You are on page 1of 45

คำตอบที่ถูกตองคือ ขอ 5.

เฉลยละเอียด

1. หาพื้นที่หนาตัดจากรัศมี
2
2
2.000
𝐴𝐴 = 𝜋𝜋𝑅𝑅 → 𝐴𝐴 = (3.1415) � � = 3.1415
2
2. หา ERROR แบบครึ่งสเกล
0.02
𝑚𝑚𝑚𝑚 = 0.01 𝑚𝑚𝑚𝑚 = 0.001 𝑐𝑐𝑐𝑐
2

∆𝐴𝐴 ∆𝑅𝑅 0.001


=2 =2× = 0.002
𝐴𝐴 𝑅𝑅 1.000
∆𝐴𝐴 = 0.002 × 3.1415 = 0.0062830
Error มีนัยสำคัญไดตำแหนงเดียว
∆𝐴𝐴 = 0.006
ตอบจำนวนจุดตามจำนวนจุดของ Error
𝐴𝐴 = 3.142 𝑐𝑐𝑚𝑚2
คําตอบที่ถูกต้ องคือ ข้อ 4.

เฉลยละเอียด

จากโจทย เริ่มจับเวลาการเคลื่อนที่พรอมกัน และถามเวลาที่แลนทันกัน


ดังนั้น การกระจัดของรถทั้งสองตองเทากัน
จากกราฟความเร็วและเวลา การกระจัดของการเคลื่อนที่หาไดจากพื้นที่ใตกราฟ
𝑠𝑠รถบรรทุก = 𝑠𝑠รถกระบะ
5 1 5 5
�60 × � (𝑡𝑡) = (40) �100 × � + 100 × (𝑡𝑡 − 40)
18 2 18 18
60𝑡𝑡 = 2000 + 100𝑡𝑡 − 4000
𝑡𝑡 = 50 𝑠𝑠
คำตอบที่ถูกตองคือ ขอ 1.

เฉลยละเอียด

1. พิจารณาความเร็วเชิงมุม ลูกบอลทั้งสองเริ่มเคลื่อนที่พรอมกัน และเคลื่อนที่ครบรอบ


พรอมกัน ดังนั้น 𝑡𝑡 เทากัน
𝜃𝜃 2𝜋𝜋
𝜔𝜔 = = → 𝜔𝜔 เทากัน
𝑡𝑡 𝑡𝑡
2𝜋𝜋
𝜔𝜔 = 2𝜋𝜋𝜋𝜋 = → 𝑓𝑓 เทากัน
𝑇𝑇
ดังนั้น ขอ 1. ผิด และ ขอ 5. ถูก

2. พิจาณาอัตราเร็วเชิงเสน
𝑠𝑠 2𝜋𝜋𝜋𝜋
𝑣𝑣 = = → 𝑅𝑅𝑚𝑚1 < 𝑅𝑅𝑚𝑚2 ดังนั้น 𝑣𝑣𝑚𝑚1 < 𝑣𝑣𝑚𝑚2
𝑡𝑡 𝑡𝑡
ดังนั้น ขอ 2. ถูก
3. พิจารณาแรงเขาสูศูนยกลาง
𝐹𝐹𝐶𝐶 = 𝑚𝑚𝜔𝜔2 𝑅𝑅 → 𝑚𝑚1 < 𝑚𝑚2 และ 𝑅𝑅𝑚𝑚1 < 𝑅𝑅𝑚𝑚2 ดังนั้น 𝐹𝐹𝐶𝐶𝑚𝑚1 < 𝐹𝐹𝐶𝐶𝑚𝑚2
ดังนั้น ขอ 3. ถูก
4. พิจารณาพลังงานจลน
1
𝐸𝐸𝑘𝑘 = 𝑚𝑚𝑣𝑣 2 → 𝑚𝑚1 < 𝑚𝑚2 และ 𝑣𝑣𝑚𝑚1 < 𝑣𝑣𝑚𝑚2 ดังนั้น 𝐸𝐸𝑘𝑘𝑚𝑚1 < 𝐸𝐸𝑘𝑘𝑚𝑚2
2
ดังนั้น ขอ 4. ถูก
คำตอบที่ถูกตองคือ ขอ 4.

เฉลยละเอียด

1. หาเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่จากจุด A ถึง C จากคาบการเคลื่อนที่ของวัตถุ


2𝜋𝜋 2𝜋𝜋
𝜔𝜔 = → 20𝜋𝜋 = → 𝑇𝑇 = 0.1 𝑠𝑠
𝑇𝑇 𝑇𝑇
𝑇𝑇 0.1
𝑡𝑡𝐴𝐴→𝐶𝐶 = = = 0.025 𝑠𝑠
4 4
ดังนัน้ ก. ผิด
2. พิจารณาอัตราเร็วของเงาที่จดุ A จากการเคลื่อนที่แบบ SHM ของเงาบนฉาก จุด A
คือจุดวกกลับของการเคลื่อนที่ ดังนัน้
𝑣𝑣𝐴𝐴 = 0
ดังนั้น ข. ถูก
3. พิจารณาการเคลื่อนที่จากจุด A ถึงจุด B

𝑠𝑠𝐴𝐴→𝐵𝐵 = 𝑅𝑅 − 𝑅𝑅 cos 𝜔𝜔𝜔𝜔


𝑠𝑠𝐴𝐴→𝐵𝐵 = 10 − 10 cos 20𝜋𝜋(0.01)
𝑠𝑠𝐴𝐴→𝐵𝐵 = 10 − 10 cos 36°
𝑠𝑠𝐴𝐴→𝐵𝐵 ≈ 2𝑐𝑐𝑐𝑐

ดังนั้น ค. ถูก
คำตอบที่ถูกตองคือ ขอ 4.

เฉลยละเอียด

พิจารณาการเคลื่อนที่ในแนวระดับแบบมีความเรง โดยวัตถุมีความเรงเทากับรถเพราะ
เคลื่อนที่ไปดวยกัน
� 𝐹𝐹 = 𝑀𝑀𝑀𝑀
𝑁𝑁 = 𝑀𝑀𝑀𝑀
จากโจทย กำหนดวากลองไมไภล ดังนั้น กลองไมเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
� 𝐹𝐹 = 0
𝑓𝑓 = 𝑀𝑀𝑀𝑀
𝜇𝜇𝜇𝜇 = 𝑀𝑀𝑀𝑀
𝜇𝜇𝜇𝜇𝜇𝜇 = 𝑀𝑀𝑀𝑀
𝑔𝑔
𝑎𝑎 =
𝜇𝜇
คำตอบที่ถูกตองคือ ขอ 1.

เฉลยละเอียด

1. พิจารณามวล 𝑚𝑚 เปนระบบ เมือ่ ระบบอยูในสมดุล


𝑇𝑇 = 𝑚𝑚𝑚𝑚
2. พิจารณามวล 𝑀𝑀 เปนระบบ เมือ่ ระบบอยูในสมดุล
𝑇𝑇 cos 𝜃𝜃 + 𝑇𝑇 cos 𝜃𝜃 = 𝑀𝑀𝑀𝑀
2𝑇𝑇 cos 𝜃𝜃 = 𝑀𝑀𝑀𝑀
2𝑚𝑚𝑚𝑚 cos 𝜃𝜃 = 𝑀𝑀𝑀𝑀
𝑀𝑀
=1
2𝑚𝑚 cos 𝜃𝜃
คำตอบที่ถูกตองคือ ขอ 4.

เฉลยละเอียด

1. พิจารณาพื้นที่ใตกราฟของ A และ B
เนื่องจากทั้งลูกบอล A และ B มีความเร็วเขาหากำแพง และความเร็วตอนกระเด็นออกจาก
กำแพงเทากัน และพื้นที่ใตกราฟของกราฟ F-t คือการดล
กำหนดใหทิศเขาหากำแพงเปนทิศบวก และทิศออกจากกำแพงเปนลบ
𝐼𝐼 = ∆𝑝𝑝 = 𝑚𝑚(𝑣𝑣 − 𝑢𝑢) = 1�20 − (−30)� = 50 𝑁𝑁. 𝑠𝑠 = พื้นที่ใตกราฟ
ดังนั้น ขอ 1. และ 5. ถูก
2. หาแรงเฉลี่ยที่กำแพงกระทำตอลูกบอล A และ B
𝐼𝐼 50
𝐴𝐴: 𝐹𝐹𝑎𝑎𝑎𝑎 = = = 5000 𝑁𝑁
𝑡𝑡 0.01
𝐼𝐼 50
𝐵𝐵: 𝐹𝐹𝑎𝑎𝑎𝑎 = = = 1666.67 𝑁𝑁
𝑡𝑡 0.03

ดังนั้น ขอ 2. และ 3. ถูก


ขอ 4. ผิด เนื่องจาก 5000 𝑁𝑁 เปนแรงเฉลี่ย ไมใชแรงสูงสุด
คำตอบที่ถูกตองคือ ขอ 2.

เฉลยละเอียด

สถาณการณในขอนี้เปนการหักเหของคลื่นน้ำเมื่อเคลื่อนที่จากน้ำลึกไปน้ำตื้น
จึงเปนการหักเหของคลื่นน้ำนั่นเอง
𝑣𝑣1 𝜆𝜆1
=
𝑣𝑣2 𝜆𝜆2
𝑣𝑣1 3
= =2
𝑣𝑣2 1.5
คำตอบที่ถูกตองคือ ขอ 5.

เฉลยละเอียด

พิจารณาการสะทอนของปลายเชือก
จากเวลาผานไป 2 วินาที จากความเร็วของคลื่นที่กำหนดให จะเคลื่อนที่ไดดังรูป

ดังนั้น จึงเกิดการแทรกสอดกันของคลื่นทั้งสอง ไดผลลัพธดังขอ 5.


คำตอบที่ถูกตองคือ ขอ 3.

เฉลยละเอียด

จากการเกิดการสั่นพองของหลอดปลายปดหนึ่งดาน
(2𝑛𝑛 − 1)
𝑓𝑓 = 𝑣𝑣
4𝐿𝐿
4𝐿𝐿𝐿𝐿 4(0.349)(1250)
𝑣𝑣 = =
(2𝑛𝑛 − 1) (2 × 3 − 1)
𝑣𝑣 = 349 𝑚𝑚/𝑠𝑠

หาความเร็วเสียง
𝑣𝑣 = 331 + 0.6𝑡𝑡
349 = 331 + 0.6𝑡𝑡
𝑡𝑡 = 30 ℃
คำตอบที่ถูกตองคือ ขอ 4.

เฉลยละเอียด

1. เมื่อหลอด B มีความถี่สูงสุด
𝑓𝑓𝐵𝐵 = |𝑓𝑓1 − 𝑓𝑓2 |
𝑓𝑓𝐵𝐵1 = 𝑓𝑓𝐵𝐵 − 𝑓𝑓𝐴𝐴
12
= 𝑓𝑓𝐵𝐵 − 440
2
𝑓𝑓𝐵𝐵 = 446 𝐻𝐻𝐻𝐻
2. หลอด A มีความถี่สูงกวาหลอด C
𝑓𝑓𝐵𝐵 = |𝑓𝑓1 − 𝑓𝑓2 |
𝑓𝑓𝐵𝐵2 = 𝑓𝑓𝐵𝐵 − 𝑓𝑓𝐶𝐶
6
= 446 − 𝑓𝑓𝐶𝐶
2
𝑓𝑓𝐶𝐶 = 443 𝐻𝐻𝐻𝐻
คำตอบที่ถูกตองคือ ขอ 2.

เฉลยละเอียด

1. พิจารณาการสะทอนกลับหมดที่แสงเคลื่อนที่จากแกนไปยังเปลือกหุมแกน
𝑛𝑛3 √3
sin 𝜃𝜃𝐶𝐶 = =
𝑛𝑛2 2
𝜃𝜃𝐶𝐶 = 60
เพื่อใหเกิดการสะทอนกลับหมดมุมตกกระทบที่ผิวนี้ตองมีคามากกวา 60°

2. พิจารณาการหักเหที่ผิวของจุดปลอยแสงและแกน
sin 𝜃𝜃 𝑛𝑛2
=
sin 90 − 60 𝑛𝑛1
sin 𝜃𝜃 2
=
sin 90 − 60 1
sin 𝜃𝜃 2
=
1/2 5/3
𝜃𝜃 = 37°
เพื่อไมใหมุมหักเหมีคานอยกวามุม 30° มุมตกกระทบมีคาไดไมเกิน 37°
คำตอบที่ถูกตองคือ ขอ 5.
เฉลยละเอียด

1. จากการหักเหของแสงผานชองแคบเดี่ยว โดยพิจารณาแถบมืดแรก
𝑑𝑑 sin 𝜃𝜃 = 𝑛𝑛𝑛𝑛
𝑥𝑥
𝑑𝑑 ≈ 𝑛𝑛𝑛𝑛
𝐿𝐿
𝑛𝑛𝑛𝑛𝑛𝑛
𝑑𝑑 =
𝑥𝑥
1 × 600 × 10−9 × 2
𝑑𝑑 = = 12 𝜇𝜇𝜇𝜇
20 −2
× 10
2
ดังนั้น ก. ถูก
2. พิจารณาแถบมืดลำดับที่สอง
𝑥𝑥
𝑑𝑑 ≈ 𝑛𝑛𝑛𝑛
𝐿𝐿
𝑛𝑛𝑛𝑛𝑛𝑛
𝑥𝑥 =
𝑑𝑑
2 × 600 × 10−9 × 2
𝑥𝑥 = = 20 𝑐𝑐𝑐𝑐
12 × 10−6

2𝑥𝑥 = 40 𝑐𝑐𝑐𝑐
ดังนั้น ข. ถูก

3. พิจารณาการลดขนาดชองแคบและความกวางของแถบสวางกลาง
𝑥𝑥
𝑑𝑑 ≈ 𝑛𝑛𝑛𝑛
𝐿𝐿
𝑛𝑛𝑛𝑛𝑛𝑛
𝑑𝑑 =
𝑥𝑥
1
𝑑𝑑 ∝
𝑥𝑥
ดังนั้น ค. ถูก
คำตอบที่ถูกตองคือ ขอ 5.

เฉลยละเอียด

คามอดูลัสของยังใชในชวงที่ไมเกินขีดจำกัดการแปรผันตรงเทานั้น หรือชวงที่ออกแรง
0-200 นิวตัน จากกราฟ
𝐹𝐹 𝑙𝑙
𝑌𝑌 =
𝐴𝐴 ∆𝑙𝑙
𝑌𝑌𝑌𝑌
𝐹𝐹 = ∆𝑙𝑙
𝑙𝑙

𝑌𝑌𝑌𝑌 200 − 0
= ความชันของกราฟ =
𝑙𝑙 4 × 10−2 − 0
−4
𝑌𝑌1 × 10 200
=
1 4 × 10−2

𝑌𝑌 = 5 × 107 𝑁𝑁/𝑚𝑚2
คำตอบที่ถูกตองคือ ขอ 4.

เฉลยละเอียด

จากกฏขอที่หนึ่งของเทอรโมไดนามิค
𝑄𝑄 = ∆𝑈𝑈 + 𝑊𝑊
เนื่องจากไมมีความรอนเขาหรืออกจากระบบ
0 = ∆𝑈𝑈 + 𝑊𝑊
𝑊𝑊 = −(300 − 250)
𝑊𝑊 = −50 𝐽𝐽
งานติดลบ จากความสัมพันธ 𝑊𝑊 = 𝑃𝑃∆𝑉𝑉 ดังนั้น ปริมาตรจงลอดลง

เนื่องจากพลังงานภายในเพิ่มขึ้น และจากความสัมพันธ
3
∆𝑈𝑈 = 𝑛𝑛𝑛𝑛∆𝑇𝑇
2
ดังนั้น อุณหภูมิเพิ่ม
คำตอบที่ถูกตองคือ ขอ 2.

เฉลยละเอียด
ของเหลวชนิดเดียวกัน ที่ระดับเดียวกัน ความดันจะเทากัน
ที่ขาฝงซายมีความดันแกสกดอยู ที่ขาฝงขวามีความดันอากาศและความดันจากของเหลว
กดอยู
𝑃𝑃1 = 𝑃𝑃2
𝑃𝑃 = 𝜌𝜌𝜌𝜌ℎ + 𝑃𝑃𝑎𝑎
𝑃𝑃 = 𝜌𝜌ℎ𝑔𝑔 + 105
𝑃𝑃 = 13.6 × 103 × (0.25 − 0.5) × 9.8 + 105
𝑃𝑃 = 1.3 × 105 𝑃𝑃𝑃𝑃
คำตอบที่ถูกตองคือ ขอ 5.

เฉลยละเอียด

เนื่องจากความเรงมีคานอยกวาคา 𝑔𝑔 ดังนั้น ตองมีแรงตานแรงโนมถวง แรงไฟฟาตองมิทศ


ชี้ขึ้น
ดังนั้น ตัวนำเปนประจุลบ
� 𝐹𝐹 = 𝑚𝑚𝑚𝑚
𝑚𝑚𝑚𝑚 − 𝑄𝑄𝑄𝑄 = 𝑚𝑚𝑚𝑚
𝑚𝑚
𝐸𝐸 = (𝑔𝑔 − 𝑎𝑎)
𝑄𝑄
คำตอบที่ถูกตองคือ ขอ 4.

เฉลยละเอียด

1. เมื่อนำตัวเก็บประจุที่มีความตางศุกยไมเทากัน จะเกิดการถายเทประจุจากตัวที่มีศักยสูง
ไปศักยต่ำ จะหยุดถายเทประจุก็ตอเมื่อตัวเก็บประจุทั้งสองมีความตางศํกยเทากัน และ
เทากับความตางศักยรวม
ดังนั้น ก. ถูก

1. หาความตางศํกยรวม จากความจุรวมและประจุรวม
𝐶𝐶𝑡𝑡 = 𝑄𝑄1 + 𝑄𝑄2 = 4 × 10−6 + 6 × 10−6 = 10 𝜇𝜇𝜇𝜇

𝑄𝑄𝑡𝑡 = 100 × 10−6 + 120 × 10−6 = 220 𝜇𝜇𝜇𝜇


𝑄𝑄 220 𝜇𝜇𝜇𝜇
𝑉𝑉 = = = 22 𝑉𝑉
𝐶𝐶 10 𝜇𝜇𝜇𝜇
2. หาประจุในตัวเก็บประจุแตละตัวหลังถายเทประจุเสร็จ

𝑄𝑄1′ = 𝐶𝐶1 𝑉𝑉 = 4 × 10−6 × 22 = 88 𝜇𝜇𝜇𝜇


𝑄𝑄2′ = 220𝜇𝜇𝜇𝜇 − 88𝜇𝜇𝜇𝜇 = 132 𝜇𝜇𝜇𝜇
ดังนั้น ข. ผิด
3.

1 1
𝑊𝑊2 = 𝑄𝑄2′ 𝑉𝑉 = × 132 𝜇𝜇𝜇𝜇 × 22𝑉𝑉 = 1.45 𝑚𝑚𝑚𝑚
2 2

ดังนั้น ค. ถูก
คำตอบที่ถูกตองคือ ขอ 3.

เฉลยละเอียด

หาความตานทานของอุปกรณไฟฟาจาก spec ที่กำหนดมาให


𝑉𝑉 2
𝑃𝑃 =
𝑅𝑅
𝑉𝑉 2 1002
𝑅𝑅 = = = 20
𝑃𝑃 500
หาความตานทานรวม
1 1 1
= +
𝑅𝑅𝑡𝑡 20 20
𝑅𝑅𝑡𝑡 = 10 Ω
หากระแสรวม
𝐸𝐸 = 𝐼𝐼(𝑅𝑅𝑡𝑡 + 𝑟𝑟)

44 = 𝐼𝐼(10 + 1)
𝐼𝐼 = 4 𝐴𝐴
เนื่องจากเปนการตอแบบขนานของตัวตานทานที่เหมือนกัน ดังนั้น กระแสที่ไหลผาน
เครื่องใชไฟฟาแตละตัวจึงเทากับ 2 𝐴𝐴
หากำลังไฟฟาของเครื่องใชไฟฟาแตละตัว
𝑃𝑃 = 𝐼𝐼 2 𝑅𝑅 = 22 × 20 = 80 𝑤𝑤𝑤𝑤𝑤𝑤𝑤𝑤
คำตอบที่ถูกตองคือ ขอ 3.

เฉลยละเอียด

1. หาสภาพนำไฟฟาของตัวนำแตละชนิด
𝐿𝐿
𝑅𝑅 = 𝜌𝜌
𝐴𝐴
𝑅𝑅𝑅𝑅
𝜌𝜌 =
𝐿𝐿

10 × 0.1 × 10−6
𝜌𝜌𝐴𝐴 = = 1 × 10−6
1
20 × 0.1 × 10−6
𝜌𝜌𝐵𝐵 = = 1 × 10−6
2
30 × 0.2 × 10−6
𝜌𝜌𝐶𝐶 = = 2 × 10−6
3
ดังนั้น ขอ ก. ถูก
เนื่องจากสภาพตานทานขึ้นอยูกับชนิดของวัสดุ ไมวาจะยืดจะหดแบบไหน สภาพ
ตานทานกไมเปลี่ยน
ดังนั้น ข. ถูก
2. หาความตานทานของ B เมื่อถูกยืดใหยาวเพิ่มขึ้น 2 เทา
เมื่อถูกยืดใหยาวเพิ่มขึ้น 2 เทา พื้นที่หนาตัดจะลดลงครึ่งหนึ่ง เนื่องจากปริมาตรไมเปลี่ยน
𝐿𝐿
𝑅𝑅 = 𝜌𝜌
𝐴𝐴
1 × 10−6 × 4
𝑅𝑅𝐵𝐵 = = 80
0.05 × 10−6
ดังนั้น ค. ผิด
คำตอบที่ถูกตองคือ ขอ 2.

เฉลยละเอียด

1. หาเวลาที่อนุภาคเคลื่อนที่ในสนามแมเหล็ก
เนื่องจากอนุภาคเคลื่อนที่เขาไปตั้งฉากกับสนามแมเหล็ก ทำใหเคลื่อนที่เปนแบบวงกลม
และไดระยะทางที่เคลื่อนที่เปนครึ่งวงกลม
𝑚𝑚𝑣𝑣 2
𝑞𝑞𝑞𝑞𝑞𝑞 =
𝑅𝑅
𝑚𝑚𝑚𝑚
𝑞𝑞𝑞𝑞 =
𝑅𝑅
𝑠𝑠
𝑚𝑚 �𝑡𝑡 �
𝑞𝑞𝑞𝑞 =
𝑅𝑅
𝜋𝜋𝜋𝜋
𝑚𝑚 � 𝑡𝑡 �
𝑞𝑞𝑞𝑞 =
𝑅𝑅
𝜋𝜋 1
𝑡𝑡 =
𝐵𝐵 𝑞𝑞/𝑚𝑚
3.14 1
𝑡𝑡 = −6 7
= 5 × 10−3 𝑠𝑠
10 × 10 6.28 × 10

2. เนื่องจากอนนุภาคเคลื่อนที่แบบวงกลมภายใตสนามแมเหล็กทานั้น ทำใหขนาดความเร็ว
ไมเปลี่ยน ดังนั้น พลังงานจลนของอนุภาคจึงเทาเดิม
คำตอบที่ถูกตองคือ ขอ 1.

เฉลยละเอียด

1. พิจารณาคลื่นแมเหล็กไฟฟา

ดังนั้น ก. ผิด
2. พิจารณาระบบ GPS
เพื่อความแมนยำสูงในการระบุตำแหนงจำเปนตองใชดาวเทียมสงสัญญาณอยางนอย 4 ดวง เพื่อหาตำแหนงบน
พื้นโลก ณ เวลานั้นๆ
ดังนั้น ข. ถูก
3. แผนโพลารอนยชนิดพอลิไวนิลแอลกอฮอลจะยอมใหสนามไฟฟาในแนวแนวโพลาไรสหรือแนวตั้งฉากกับการ
เรียงตัวของโมเลกุลผานเทานั้น
ดังนั้น ค. ผิด
คำตอบที่ถูกตองคือ ขอ 5.

เฉลยละเอียด

อิเล็กตรอนที่มีความยาวคลื่นสั้นที่สุดก็คือมีพลังงงานมากที่สุด
1. หาโมเมตัมของอิเล็กตรอนจากปรากฏการณโฟโตอิเล็กติก
𝐸𝐸𝐾𝐾𝐾𝐾 = 𝐸𝐸แสง − 𝑊𝑊
𝑝𝑝2
= 𝐸𝐸 − 𝑊𝑊
2𝑚𝑚
𝑝𝑝 = �2𝑚𝑚(𝐸𝐸 − 𝑊𝑊)
2. จากความสัมพันธโมเมนตัมและความยาวคลื่นของอนุภาค

𝜆𝜆 =
𝑝𝑝

𝜆𝜆 =
�2𝑚𝑚(𝐸𝐸 − 𝑊𝑊)
คำตอบที่ถูกตองคือ ขอ 4.

เฉลยละเอียด

1. หาครึ่งชีวิตของการสลายของลูกบาศกเมื่อเทียบกับการสลายของกัมมนตรังสี
เมื่อคาคงที่การสลายเทียบไดกับความนาจะเปนที่ลูกเตาหนาสีจะถูกคัดออกจากการทอด
ลูกเตาในแตละครั้ง
ln 2
𝑇𝑇 =
𝜆𝜆
0.693
𝑇𝑇 =
2
20
𝑇𝑇 = 6.93
2. หาจำนวนวนครั้งของการสลาย จะเทียบไดกับเวลาในการสลายของกัมมันตรังสี

𝑁𝑁0
𝑁𝑁 = 𝑡𝑡/𝑇𝑇
2
𝑁𝑁 1
= 𝑡𝑡/𝑇𝑇
𝑁𝑁0 2
12.5% 1
= 𝑡𝑡/6.93
100% 2
1 1
= 𝑡𝑡/6.93
8 2
1 1
=
23 2𝑡𝑡/6.93
𝑡𝑡 = 3 × 6.93
𝑡𝑡 ≈ 21 ครั้ง
คำตอบที่ถูกตองคือ ขอ 2.

เฉลยละเอียด

1. หาพลังงานมวลนิ่งของอนุภาคทั้งสองเมื่อเกิดการทำลายคู
𝐸𝐸 = 2𝑚𝑚𝑐𝑐 2 = 2 × 9.1 × 10−31 (3 × 108 )2 = 1.64 × 10−13 𝐽𝐽
1.64 × 10−13
𝐸𝐸 = = 1.03 𝑀𝑀𝑀𝑀𝑀𝑀
1.6 × 10−19

2. หาลพลังงานของโฟตอนจากการทําลายคู่
𝐸𝐸 = 1.03 + 3 + 3 = 7.03 𝑀𝑀𝑀𝑀𝑀𝑀
โฟตอน1ตัว = 3.5 𝑀𝑀𝑀𝑀𝑀𝑀
คําตอบที่ถูกต้ องคือ 2.5

เฉลยละเอียด
คำตอบที่ถูกตองคือ 9J

เฉลยละเอียด

เนื่องจากแรงที่กระทำกับวัตถุทำมุม 60° กับทิศการเคลื่อนที่


หางานของแรง 𝐹𝐹 ไดจาก
𝑊𝑊 = 𝐹𝐹𝐹𝐹 cos 𝜃𝜃
𝑊𝑊 = (พื้นที่ใตกราฟ) cos 60
1 1
𝑊𝑊 = � × 8 × 6 + × 4 × (−3)� cos 60
2 2
1
𝑊𝑊 = (18)
2
𝑊𝑊 = 9 𝐽𝐽
คําตอบที่ถกู ต้ องคือ 100

เฉลยละเอียด
คําตอบที่ถูกต้ องคือ 1

เฉลยละเอียด
คําตอบที่ถูกต้ องคือ 0.1

เฉลยละเอียด

You might also like