You are on page 1of 14

Node Analysis

การแก้ปัญหาวงจรด้วยวิธีการของ node จะมี 2 ชนิด


กรณีที่ 1
1) หาค่าแรงดันไฟฟ้า 𝑉1

2) หาค่าแรงดันไฟฟ้า 𝑉2

3) หาค่ากระแสไฟฟ้าผ่าวบนตัวอุปกรณ์

4) หาค่ากาลังไฟฟ้า

พิจารณาที่ node 𝑉1
𝑉1 𝑉1 −𝑉2
−10 + 5 + + =0
6 4

−5(12) + 2𝑉1 + 3𝑉1 − 3𝑉2 = 0


5𝑉1 − 3𝑉2 = 60
𝑛𝑜𝑑𝑒 𝑉2
𝑉2 − 𝑉1 𝑉2
−5 + + =0
4 2
−𝑉2 + 3𝑉2 = 20

𝑉1 = 20 𝑉
𝑉2 = 13.33 𝑉
หากระแสไฟฟ้าบนตัวอุปกรณ์แต่ละตัว
𝑉1 20
𝐼6Ω = = = 3.33 𝐴
𝑅 6
𝑉1 − 𝑉2 20 − 13.33
𝐼4Ω = = = 1.67 𝐴
𝑅 4
𝑉2 13.33
𝐼2Ω = = = 6.67 𝐴
𝑅 2

หาพลังงานไฟฟ้าบนตัวอุปกรณ์ทกุ ตัว

𝑃10𝐴 = −(20)(10) = −200 𝑊.


𝑃5𝐴 = (5)(6.67) = 33.35 𝑊.
𝑃6Ω = (3.33)(20) = 66.6 𝑊.
𝑃4Ω = (1.67)(6.67) = 11.14 𝑊.
𝑃2Ω = (6.67)(13.33) = 88.91 𝑊.

∑P = -200 + 33.35 + 66.6 + 11.14 + 88.91 = 0 W.


5) หาแรงดันไฟฟ้า 𝑉1

6) หาแรงดันไฟฟ้า 𝑉2

7)หากาลังไฟฟ้าบนตัวอุปกรณ์ทกุ ตัวในวงจร

พิจารณา node 𝑉1 :
𝑉1 𝑉1 −𝑉2
−5 + + =0
1 5
6𝑉1 − 𝑉2 = 25

พิจารณา node 𝑉2 :
𝑉2 𝑉2 − 𝑉1
4+ + =0
2 5
7𝑉2 − 2𝑉2 = 40

27 −19
𝑉1 = 𝑉. , 𝑉2 = 𝑉.
8 4
หากาลังไฟฟ้าบนตัวอุปกรณ์ทกุ ตัว
27 135
𝑃5𝐴 = −𝑉𝐼 = − ( ) (5) = − 𝑊.
8 8
27 27 729
𝑃1Ω = 𝑉𝐼 = ( ) ( ) = 𝑊.
8 8 64
65 13 845
𝑃5Ω = (𝑉1 − 𝑉2 )𝐼 = ( ) ( ) = 𝑊.
8 8 64
−19 −19 361
𝑃2Ω = 𝑉𝐼 = ( )( )= 𝑊.
4 8 32
−19
𝑃4Ω = 𝑉𝐼 = ( ) (4) = −19 𝑊.
4

∑P = 0 W.

8) หาแรงดันไฟฟ้า 𝑉1

9) หาแรงดันไฟฟ้า 𝑉2

10) หากาลังไฟฟ้าบนอุปกรณ์ทกุ ตัวในวงจร


𝑛𝑜𝑑𝑒 𝑉1 :
𝑉1 𝑉1 − 𝑉2
−2 + + =0
9 1
10𝑉1 − 9𝑉2 = 18

𝑛𝑜𝑑𝑒 𝑉2 :
𝑉2 𝑉2 − 𝑉1
−15 + + =0
2 1
3𝑉2 − 2𝑉1 = 30

𝑉1 = 27 𝑉. , 𝑉2 = 28 𝑉.

หากาลังไฟฟ้าบนตัวอุปกรณ์ทกุ ตัวในวงจร

𝑃2𝐴 = 𝑉𝐼 = −(27)(2) = −54 𝑊.


𝑃15𝐴 = 𝑉𝐼 = −(28)(15) = −420 𝑊.
𝑃2Ω = 𝐼2 𝑅 = (14)2 (2) = 392 𝑊.
𝑃1Ω = 𝐼2 𝑅 = (1)2 (1) = 1 𝑊.
𝑃9Ω = 𝐼2 𝑅 = (3)2 (9) = 81 𝑊.

∑P = -54 – 420 + 392 + 1 + 81 = 0 W.


11) หาแรงดันไฟฟ้า 𝑉1

12) หาแรงดันไฟฟ้า 𝑉2

13) หาแรงดันไฟฟ้า 𝑉3

14) หาแรงดันไฟฟ้า 𝑉4

15) หากระแสไฟฟ้า 𝐼𝑥

พิจารณา Supernode 1

𝑉1 = −9

เมื่อเรารูปค่า 𝑉1 = −9 แล้วเราจะหาค่าของ 𝑉2 , 𝑉3 , 𝑉4 ได้ดงั นี ้


พิจารณา Supernode 2

𝑉4 − 𝑉3 = 0.1𝑉𝑎
𝑉4 − 𝑉3 = 0.1(𝑉1 − 𝑉2 )
0.1𝑉2 − 𝑉3 + 𝑉4 = −0.9
พิจารณา Supernode 3

𝑉2 − 𝑉3 = 0.1𝐼𝑥
(𝑉4 −𝑉1 )
𝑉2 − 𝑉3 = 0.1
4.7𝑘Ω

4.7𝑘𝑉2 − 4.7𝑘𝑉3 − 0.1𝑉4 = 0.9

หา node ที่ผิวปิ ด คือ 𝑉2 , 𝑉3 , 𝑉4


𝑉2 −(−9) 𝑉2 𝑉3 𝑉4 −(−9) 𝑉4
+ + + + =0
4.7𝑘 4.7𝑘 4.7𝑘 4.7𝑘 4.7𝑘

𝑉2 + 9 + 𝑉2 + 𝑉3 + 𝑉4 + 9 + 𝑉4 = 0
2𝑉2 + 𝑉3 + 2𝑉4 = −18

เราจะใช้สมการที่ 2,3,4 ในการหาค่า 𝑉1 , 𝑉2 , 𝑉3

0.1 -1 1 -0.9
4.7k -4.7k -0.1 0.9
2 1 2 -18

จะได้คา่ 𝑉2 = −3.37 𝑉

𝑉3 = −3.37 𝑉
𝑉4 = −3.94 𝑉
𝑉1 −𝑉4 (−9)−(−3.94)
เราจะหาค่าของ 𝐼𝑥 ได้จาก 𝐼𝑥 = = = −1.07 𝑚𝐴
𝑅 4.7𝑘
กรณีที่ 2
จะมี Voltage Source เข้ามาเป็ นอุปกรณ์อยูใ่ นวงจรด้วย

จากรูป

1) หาแรงดันไฟฟ้า 𝑉1

2) หาแรงดันไฟฟ้า 𝑉2

3) หาแรงดันไฟฟ้า 𝑉3

4) หาแรงดันไฟฟ้า 𝑉4
5) หาแรงดันไฟฟ้ากาลังไฟฟ้าบนตัวอุปกรณ์

พิจารณาที่ supernode 4 V :

𝑉1 − 𝑉2 = 4
Supernode 2𝐼1 :
𝑉2 − 𝑉3 = 2𝐼1
จาก 𝐼1 คือ กระแสที่ไหล Voltage Source และตัวต้านทาน 5Ω จะได้ดงั นี ้
𝑉3 − 𝑉4
𝐼1 =
5
แทนค่า 𝐼1 แล้วจะได้สมการ ดังนี ้

5𝑉2 − 7𝑉3 + 2𝑉4 = 0


Supernode 1 V :
𝑉4 = 1
พิจารณาที่ผิวปิ ด
𝑉1 𝑉3 𝑉3 − 𝑉4
+ + =0
4 3 5
𝑉1 8𝑉3 𝑉4
+ − =0
4 15 5
จาก 4 สมการจะได้คา่

𝑉1 = 2.5 𝑉
𝑉2 = −1.5 𝑉
𝑉3 = −0.8 𝑉
𝑉4 = 1 𝑉

𝑉3 −𝑉4
หาค่า 𝐼1 = = −0.3 𝐴
5

จะได้แรงดัน ccvs= 2𝐼1 = 2(-0.3) = - 0.6 V


หาค่ากาลังไฟฟ้าที่ตวั อุปกรณ์

𝑃4𝑉 = 𝑉𝐼 = −(4)(0.6) = −2.4 𝑊.


𝑃2𝐼1 = 𝑉𝐼 = −(0.6)(0.6) = −0.36 𝑊.
𝑃1𝑉 = 𝑉𝐼 = (1)(−0.3) = 0.3 𝑊.

𝑃3Ω = 𝑉𝐼 = (−0.8)(−0.3) = 0.24 𝑊.


𝑃6Ω = 𝑉𝐼 = (−1.8)(−0.3) = 0.54 𝑊.
𝑃4Ω = 𝑉𝐼 = (2.5)(0.6) = 1.5 𝑊.

จากรูป

6) หาค่าแรงดันไฟฟ้า 𝑉𝑎

7) หาค่าแรงดันไฟฟ้า 𝑉𝑏

8) หาค่าแรงดันไฟฟ้า 𝑉𝑐

9) หากระแสไฟฟ้า 𝐼2

10) หาค่ากาลังไฟฟ้าที่ตวั อุปกรณ์บนวงจรทุกตัว


พิจารณา Supernode :

𝑉𝑏 = 10 𝑉
Node 𝑉𝑎 :
𝑉𝑎 − 𝑉𝑏 𝑉𝑎 − 𝑉𝑐
−0.02𝑉1 + + =0
3 5
จาก 𝑉1 = 𝑉𝑐 − 𝑉𝑏

−0.30𝑉𝑐 + 0.30𝑉𝑏 + 5𝑉𝑎 − 5𝑉𝑏 + 3𝑉𝑎 − 3𝑉𝑐 = 0


8𝑉𝑎 − 4.7𝑉𝑏 − 3.3𝑉𝑐 = 0
จาก 𝑉𝑏 = 10 จะได้ 8𝑉𝑎 − 3.3𝑉𝑐 = 47

Node 𝑉𝑏 :
𝑉𝑏 − 𝑉𝑎 𝑉𝑏 − 𝑉𝑐
− 10 + =0
3 2
−60 + 2𝑉𝑏 − 2𝑉𝑎 + 3𝑉𝑏 − 3𝑉𝑐 = 0
จาก 𝑉𝑏 = 10 จะได้ −60 + 20 − 2𝑉𝑎 + 30 − 3𝑉𝑐 = 0

−2𝑉𝑎 − 3𝑉𝑐 = 10

เมื่อรูค้ า่ 𝑉𝑏 = 10 เราจะใช้ 2 สมการในการหาค่า 𝑉𝑎 , 𝑉𝑐


60
𝑉𝑎 = 𝑉.
17
290
𝑉𝑐 = − 𝑉.
51

−290 60
𝑉𝑎 −𝑉𝑐 −17 94
เราจะหาค่ากระไฟฟ้า 𝐼2 จาก = 51
=− 𝐴
5 5 51
หาค่ากาลังไฟฟ้าบนตัวอุปกรณ์ทกุ ตัว
470 94
𝑃5Ω = 𝑉𝐼 = (− ) (− ) = 17 𝑊.
51 51
110 110
𝑃3Ω = 𝑉𝐼 = ( )( ) = 14 𝑊.
17 51
800 400
𝑃2Ω = 𝑉𝐼 = (− ) (− ) = 123 𝑊.
51 51

𝑃10𝑉 = −𝑉𝐼 = −(10)(10) = −100 𝑊.


−494 −290
𝑃0.2𝑉3 = −𝑉𝐼 = − ( )( ) = −55 𝑊
51 51
−16 60
𝑃0.02𝑉1 = −𝑉𝐼 = − ( ) ( ) = 1 𝑊.
51 17

∑P = 17 + 14 + 123 – 100 – 55 + 1 = 0 W.
11) หาแรงดันไฟฟ้า 𝑉𝑎

12) หาแรงดันไฟฟ้า 𝑉𝑏

13) หาแรงดันไฟฟ้า 𝑉𝑐

14) หาแรงดันไฟฟ้า 𝑉𝑑

15) หากาลังไฟฟ้าทุกตัวในวงจร

พิจารณา Supernode

𝑉𝑎 = 100 𝑉
Node 𝑉𝑏 :
𝑉𝑏 − 𝑉𝑎 𝑉𝑏 𝑉𝑏 − 𝑉𝑐
+ + =0
8 4 2
𝑉𝑏 − 𝑉𝑎 + 2𝑉𝑏 + 4𝑉𝑏 − 4𝑉𝑐 = 0
−𝑉𝑎 + 7𝑉𝑏 − 4𝑉𝑐 = 0
Node 𝑉𝑐 ∶
𝑉𝑐 − 𝑉𝑏 𝑉𝑐 𝑉𝑐 − 𝑉𝑑
+ + −8=0
2 3 10
15𝑉𝑐 − 15𝑉𝑏 + 10𝑉𝑐 + 3𝑉𝑐 − 3𝑉𝑑 = 240
−15𝑉𝑏 + 28𝑉𝑐 − 3𝑉𝑑 = 240
Node 𝑉𝑑 ∶
𝑉𝑑 𝑉𝑑 − 𝑉𝑐
+ +8=0
5 10
2𝑉𝑑 + 𝑉𝑑 − 𝑉𝑐 = −80
−𝑉𝑐 + 3𝑉𝑑 = −80
𝑉𝑎 = 100 𝑉
𝑉𝑏 = 25.89 𝑉
𝑉𝑐 = 20.31 𝑉
𝑉𝑑 = −19.89 𝑉
หากาลังไฟฟ้าบนอุปกรณ์ในวงจร

𝑃100𝑉 = −𝐼𝑉 = −(9.3)(100) = −930 𝑊


𝑃8𝐴 = −𝐼𝑉 = −(8)(40.2) = −322 𝑊

𝑃8Ω = 𝑉𝐼 = (74.11)(9.3) = 689 𝑊.


𝑃4Ω = 𝑉𝐼 = (25.89)(6.5) = 168 𝑊.
𝑃2Ω = 𝑉𝐼 = (5.58)(2.8) = 16 𝑊.
𝑃3Ω = 𝑉𝐼 = (20.31)(6.8) = 138 𝑊.
𝑃10Ω = 𝑉𝐼 = (40.2)(4.02) = 162 𝑊.
𝑃5Ω = 𝑉𝐼 = (−19.89)(3.98) = 79 𝑊.
∑P= - 930 – 322 + 689 + 168 + 16 +138 + 162 + 79 = 0 W.

You might also like