You are on page 1of 6

LECTURE 6

MESH CURRENT ANALYSIS


วิธีการวิเคราะห์ วงจรด้วยวิธี Mesh จะเป็ นการหากระแสไฟฟ้ าในแต่ละ
Mesh โดยใช้ KVL
ข้อจากัดของวิธีการนี้คอ
ื จะใช้กบ
ั วงจรทีม
่ ีลกั ษณะเป็ น planar circuit
Planar circuit คือวงจรทีอ
่ ุปกรณ์ ทุกตัววางในแนวราบ
Planar
circuit
4
nodes 5 branches

Non-
planar circuit
ใช้
วิเคราะห์กระแส mesh ไม่ได้

Mesh วงรอบปิ ดทีเ่ ล็กทีส


่ ุดในวงจร
Loop วงรอบปิ ดใดๆในวงจรไฟฟ้ า
วิธีการวิเคราะห์วงจรด้วยวิธีกระแส Mesh
1. กาหนดทิศทางของกระแสไฟฟ้ าลงในแต่ละ Mesh ของวงจรโดย
จะต้องมีทศ ิ ทางเดียวกันทัง้ วงจร
2. กาหนดตัวแปรกระแสลงในแต่ละ Mesh จนครบทัง้ หมด
𝑖𝑎 , 𝑖𝑏 , 𝑖𝑐 , 𝑖𝑑 , …
𝑖1 , 𝑖2 , 𝑖3 , 𝑖4 , ….
3. เขียนสมการของ KVLในแต่ละ Mesh จนครบทัง้ หมด
4. แก้สมการหากระแสไฟฟ้ าในแต่ละ Mesh ออกมา
การวิเคราะห์วงจรด้วย Mesh Current จะมี 2 แบบ
้ อยูก
ขึน ่ บ
ั ชนิดของอุปกรณ์ ทน
ี่ ามาต่อในวงจรไฟฟ้ า
กรณีที่ 1
1.วงจรประกอบไปด้วย R กับ Voltage

สามารถเขียนสมการได้ทน
ั ที
ตัวอย่าง

ที่ MESH 𝑖𝑎 ใช้ KVL


𝐾𝑉𝐿 80 + 2𝐼𝐴 + 3𝐼𝐴 − 3𝐼𝐵 + 40 = 0 สมการที่ 1

ที่ MESH 𝑖𝑏 ใช้ KVL


𝐾𝑉𝐿 100 + 4𝐼𝐵 − 40 + 3𝐼𝐵 − 3𝐼𝐴 = 0 สมการที่ 2

จากสมการที1
่ 5𝐼𝐴 − 3𝐼𝐵 = −120

จากสมการที2 −3𝐼𝐴 + 7𝐼𝐵 = −60

5 −3 𝐼𝐴 −120
[ ][ ] = [ ]
−3 7 𝐼𝐵 −60

𝐼𝐴 = −39.23 𝐴 𝐼𝐵 = −25.38 𝐴

1. 𝑃 = 𝐼𝑉 = 80 × −39.23 = −3138.4 𝑊

2. 𝑃 = 𝐼 2 𝑅 = (−39.23)2 × 2 = +3077.99𝑊

3. 𝑃 = 𝐼𝑉 = 100 × −25.38 = −2538 𝑊

4. 𝑃 = 𝐼 2 𝑅 = (−25.38)2 × 4 = +2576.58𝑊

5. 𝐾𝐶𝐿 = 39.23 − 25.38 + 𝑖𝑥 = 0 𝑖𝑥 = −13.85 𝐴 𝑃 = 𝐼 2 𝑅 = (−13.85)2 × 3 = +575.47𝑊

6. 𝑃 = 𝐼𝑉 = −13.85 × 40 = −554 𝑊
กรณีที่ 2
∑ 𝑝 = −3138.4 + 3078 − 2538 + 2576.6 + 575.5 − 554 = 0𝑊
ประกอบไปด้วย ตัวR , Voltage source , Current source
ถ้ามีแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้ า เพิม
่ เข้ามาในวงจรแล้วต้องวิเคราะห์วธิ ี Mesh จะ
พบว่าไม่สามารถ หาว่าแรงดันไฟฟ้ าทีต ่ กคร่อมแหล่งจ่ายกระแสได้ วิธีการทา
มี ดังนี้
1. ให้หาความเกีย่ วข้องของ Current Source กับตัวแปรกระแส Mesh
ในกระแสแล้วเขียน 1 สมการ
2. ให้เปิ ดวงจร Current Source ออกและเขียนสมการของ KVL ถ้า
เขียนได้
ตัวอย่าง

4 mesh 4 สมการ.
1 𝐼𝐴 = 5 𝐴 สมการที่ 1

2 − 𝐼𝐷 + 𝐼𝐶 + 4 = 0 → 𝐼𝐷 − 𝐼𝐶 = 4 สมการที่ 2

เขียนสมการของตัวจ่ายกระแสเสร็จแล้ว เปิ ดวงจร Current Source


𝐾𝑉𝐿 𝐼𝐵 = 25𝐼𝐵 − 25𝐼𝐴 − 60 + 20𝐼𝐵 − 20𝐼𝐶 = 0 → −25𝐼𝐴 + 45𝐼𝐵 − 20𝐼𝐶 = 60 สมการที3

𝐾𝑉𝐿 𝐼𝐷 , 𝐼𝐶 = 20𝐼𝐶 − 20𝐼𝐵 + 60 + 100 + 40𝐼𝐶 = 0 → −20𝐼𝐵 + 60𝐼𝐶 = −160 สมการที่ 4

จากสมการที่ 3 แทน IA = 45𝐼𝐵 − 20𝐼𝐶 = 185


0 −1 1 𝐼𝐵 3.43
[ 45 −20 𝐼
0] [ 𝐶 ] = [−1.52]
−20 60 0 𝐼𝐷 2.48

𝐼𝐵 = 3.43 𝐴 𝐼𝐶 = −1.52 𝐴 𝐼𝐷 = 2.48 𝐴

1 𝑃 = 𝐼 2 𝑅 = (−1.52)2 × 40 = +92.41𝑊

2. 𝑃 = 𝐼𝑉 = 2.48 × 100 = +248 𝑊

𝐾𝐶𝐿 = −3.43 + 5 + 𝐼𝑋 = 0 𝐼𝑋 = −41.57 𝐴

𝐾𝐶𝐿 = 1.52 + 3.43 + 𝐼𝑌 = 0 𝐼𝑌 = −4.95 𝐴

3. 𝑃 = 𝐼 2 𝑅 = (−1.57)2 × 25 = +61.62𝑊

4 𝑃 = 𝐼 2 𝑅 = (−4.95)2 × 20 = +490.05𝑊

𝑉 = 𝐼𝑅 = −1.57 × 25 = −39.25

5. 𝑃 = 𝐼𝑉 = −5 × 39.23 = −196.25𝑊

𝐾𝑉𝐿 = −𝑉𝑌 + 60 + 100 = 0 𝑉𝑌 = 160 𝑉

6. 𝑃 = 𝐼𝑉 = −160 × 4 = −640𝑊

𝐾𝐶𝐿 = −4 + 4.98 + 𝐼𝑍 = 0 𝐼𝑍 = −0.95𝐴

7. 𝑃 = 𝐼𝑉 = −0.98 × 60 = −57

∑ 𝑃 = +92.41 + 284 + 61.6 + 490.05 − 39.5 − 196.25 − 640 + 57 = 0

ตัวอย่าง 2
1.วิธีโนด NODE VOLTAGE

𝑉2 = 0.4𝑉1 สมการที่ 1
𝑉1 −𝑉3 𝑉1 −𝑉2
−5 + + = 0 สมการที่ 2
50 20

𝑉3 − 𝑉2 𝑉3 − 𝑉1
+ − 0.01𝑉1 = 0 สมการที่ 3
30 50
2.วิธี MESH

𝑖3 = −5 𝐴 สมการที่ 1

𝑖3 − 𝑖1 = 0.01𝑉1 สมการที่ 2

𝐾𝑉𝐿 = 20𝑖2 + 50(𝑖2 − 𝑖3 ) + 30(𝑖2 − 𝑖1 ) = 0 สมการที่ 3


หา V1 ใช้ KVL −0.4𝑉1 + 20𝑖2 + 𝑉1 = 0
0.6𝑉1 + 20𝑖2 = 0
𝑉1 = −33.33𝑖2

จากสมการที่ 2 = 𝑖3 − 𝑖1 = 0.01 × −33.33𝑖2 → −0.33𝑖2 + 𝑖1 = −5


จากสมการที่ 3 20𝑖2 + 50𝑖2 − 50𝑖3 + 30𝑖2 − 30𝑖1 = 0
20𝑖2 + 50𝑖2 + 30𝑖2 − 30𝑖1 = 50 × −5
−30𝑖1 + 100𝑖2 = −250
1 −0.333 𝑖1 −5
[ ][ ] = [ ]
−30 100 𝑖2 −250
𝑖1 = −6.48 𝐴
𝑖2 = −4.44 𝐴

You might also like