You are on page 1of 6

สัปดาห์ที่ หน้าที่

เนื้อหาการสอน 15 1
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
บทที่ 6 ความเค้นเฉือนในคาน
Shear Stress in Beam

เมื่อคานถูกกระท้าด้วยแรงภายนอกหรือมีน้าหนักกระท้ากับคานแล้ว ก็จะท้าให้เกิดแรงต้านทานภายใน
ขึนมาสองตัวด้วยกันคือ แรงเฉือนในแนวดิ่งและโมเมนต์ดัด ส้าหรับค่าของโมเมนต์ดัดจะท้าให้เกิดความเค้นดัดตัง
c
ฉากขึนบนหน้าตัดทางขวางของคาน โดยจะหาได้จากสมการ   และในขณะเดียวกันแรงเฉือนในแนวดิ่งก็

จะท้าให้เกิดความเค้นเฉือนเกิดขึนอีก

6.1 ความเค้นเฉือนของคาน

พิจารณาคานช่วงเดียว (Simply supported beam) ในรูปที่ 1 มีแรง P กระท้า ถ้าคานมีรูปหน้าตัดเป็นรูป


สี่เหลี่ยมผืนผ้า มีขนาดกว้าง b และสูง h ทีห่ น้าตัดระยะ x จะมีโมเมนต์ M กระท้าและท้าให้เกิดความเค้นดัด 
ส่วนที่หน้าตัดระยะ x+dx จะมีโมเมนต์ดัด M+dM และท้าให้เกิดความเค้นดัดเป็น  + d ถ้าให้ระยะ dx มีขนาด
เล็กมาก ค่าของความเค้นเฉือน  จะมีค่าคงที่ นอกจากนีให้ความเค้นเฉือน  มีค่าคงที่ตลอดความกว้างของคาน b
รูป free body diagram ของ element ของคานที่ระดับ y0 จากแนวแกนสะเทิน (N.A.) ถูกแสดงในรูปที่ 1 (ค)
เนื่องจากว่า element นีอยู่ในสภาวะสมดุล ฉะนันแรงรวมตามแนวแกน x จะต้องมีค่าเท่ากับศูนย์ นั่นคือ

Fx  0  (  d ) dA    dA  bgdx = 0
โดยที่ dA เป็น element ของพืนที่หน้าตัด
y ( M  dM ) y
แต่  = และ   d =
 I
( M  dM ) y
c c
My
y dA   dA   bgdx = 0
0
I y0
I
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 15 2
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
c c c
My dM y dA My dA
 dA      b dx = 0
y0
I y0
I y0
I
c
dM y dA
 b dx = 
y0
I
c
1 dM y dA
 = 
b dx y0 I
c
1 dM
=  y dA
Ib dx y0
c
dM
แต่ V และให้ Q   y dA
dx y0

VQ
 
Ib
เมื่อ  คือความเค้นเฉือนในคาน
I คือโมเมนต์ของความเฉื่อยรอบแกนสะเทินของคาน
V คือแรงเฉือนในแนวดิ่ง
b คือความกว้างของคาน
c
Q คือโมเมนต์ของพืนที่รอบแกนสะเทิน =  y dA = ay
y0

ตัวอย่างการหาค่า Q

จากรูปที่ 2 ค่า a ไม่ใช่พืนที่ของหน้าตัดทังหมดของคานนัน แต่เป็นพืนที่จากระดับที่ต้องการหาความเค้นเฉือน


ไปยังผิวบนสุดหรือผิวล่างสุดก็ได้ ส่วนระยะ y เป็นระยะจากจุดศุนย์ถ่วง (Centroid) ของพืนที่ a ไปยังแนวแกน
สะเทิน (neutral axis)
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 15 3
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ตัวอย่างที่ 1
จงหาค่าความเค้นเฉือนสูงสุดที่เกิดขึนบนคานในรูป ถ้าให้ P เท่ากับ 80 กิโลนิวตัน

200 mm
P = 80 kN
P==5 kN
N.A. 300 mm
/m
3m 2m

วิธีทา
[M A  0] 5RB = 80  3
RB = 80  3 = 48 kN
5
RA = 80 - 48 = 32 kN
จากสูตร  max =
VQ
Ib
เมื่อ b = 200 mm2, h = 300 mm2, V = 32 x 103 N
bh 2 200  300 2
Q = = = 2,250,000 mm2
8 8
bh 3 200  300 3
I = = = 450,000,000 mm2
12 12
 max =
(32  10 3 )(2.25  10 6 )
(4.5  10 8 )(200)
= 0.8 N/mm2
 ความเค้นเฉือนสูงสุดที่เกิดขึนบนคานเท่ากับ 800 kN/m2 Ans
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 15 4
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ตัวอย่างที่ 2
คานไม้ซึ่งประกอบขึนจากการเอาคานขนาด 150  60 mm สามชินน้ามาต่อกันดังรูป คานนีเป็นคานแบบ
ช่วงเดียวซึ่งยาว 3 m กระท้าที่กึ่งกลางคาน ถ้าให้ความเค้นเฉือนในรอยต่อด้วยกาวไม่เกิน 2.5 N/mm2 จงหาขนาด
ของแรง P
150 mm
P

N.A. 60 mm
3m 60 mm
60 mm
RA RB
วิธีทา
เนื่องจากแรงกระท้าที่กึ่งกลาง จะได้
P
RA = RB = N
2
VQ
จากสูตร  
Ib
P
เมื่อ b = 40 mm, V = N และ  = 2.5 N/mm2
2
bh 3 150  180 3
I = = = 72,900,000 mm4
12 12
_
Q = ay = 150  60  60 = 540,000 mm2
P
 540,000
แทนค่า 2.5 = 2
72,900,000  150
2.5  72,900,000  150
P = = 101,250 N
0.5  540,000
 ขนาดของแรง P เท่ากับ 101.250 kN Ans
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 15 5
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน

You might also like