You are on page 1of 11

สัปดาห์ที่ หน้าที่

เนื้อหาการสอน 17 1
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
บทที่ 6 การโก่งของคาน
Deflection of beam

การโก่งของคาน
คานเป็นส่วนของโครงสร้างที่ทาหน้าที่รับโมเมนต์ดัดและแรงเฉือน ซึ่งเกิดจากแรงภายนอกที่กระทาหรือ
น้าหนักบรรทุกบนคานนั้น เมื่อคานได้รับน้าหนักหรือแรงภายนอกกระทา คานก็จะเกิดการแอ่นลงหรือโก่งงอทาให้
คานไม่อยู่ในแนวตรงเหมือนตอนแรกที่ยังไม่ได้รับน้าหนัก ฉะนั้นในการคานวณและออกแบบคานที่รับน้าหนัก
จะต้องคานึงถึงการดก่งของคานด้วย นอกเหนือไปจากความเค้นดัดและความเค้นเฉือนที่เกิดขึ้นในคานตามปกติ
เส้นโค้งอีลาสติก (Elastic curve) เป็นเส้นที่อยู่ในแนวแกนสะเทินของคาน ซึ่งแสดงลักษณะการโก่งของคาน
เมื่อมีแรงภายนอกหรือน้าหนักบรรทุกกระทาอยู่บนคาน ในขณะที่คานยังไม่มีแรงภายนอกหรือน้าหนักมากระทาบน
คาน เส้นโค้งอีลาสติกนี้เป็นเส้นตรงและอยู่ในแนวเดียวกันกับแนวของแกนสะเทิน เมื่อคานรับแรงภายนอกหรือ
น้าหนักบรรทุกขึ้น เส้นโค้งอีลาสติกนี้ก็จะแอ่นหรือโก่งไปจากตาแหน่งเดิม ลักษณะของการดก่งของคานนี้ขึ้นอยู่กับ
ค่าของโมเมนต์ดัดที่เกิดขึ้นในคานนั้น
ความลาดเอียง (Slope) ของคานที่จุดใดๆ หมายถึงมุมระหว่างแนวเดิมของคานกับเส้นสัมผัส ซึ่งสัมผัสกับ
โค้งอีลาสติกที่จุดนั้น
ระยะโก่ง (Deflection) หรือการแอ่นของคานจุดใดๆ หมายถึงระยะในแนวดิ่งที่จุดนั้นบนเส้นโค้งอีลาสติกที่
เคลื่อนที่ไปจากตาแหน่งเดิม (ก่อนจะรับน้าหนักนั้น)

รูปที่ 1

ข้อสมมติฐานในการคานวณหาระยะโก่งของคานมีดังนี้
1. ก่อนที่คานจะรับน้าหนักหรือแรงภายนอก คานจะต้องอยู่ในแนวตรงระดับเดียวกับแนวระดับเสมอ
2. การโก่งของคานจะคิดเฉพาะเนื่องจากโมเมนต์ดัดเพียงอย่างเดียว
3. ความเค้นที่เกิดจากน้าหนักหรือแรงที่กระทาจะต้องไม่เกินขีดจากัดยืดหยุ่น
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 17 2
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
4. ระนาบของหน้าตัดคานก่อนรับและหลังรับโมเมนต์ดัดจะยังคงเป็นระนาบเดิม
5. การโก่งของคานจะมีค่าน้อยมากเมื่อเทียบกับความยาวของคาน

Moment-Area
วิธีของ moment-area เป็น simigraphical method ซึ่งจะทาให้สามารถหาความลาดเอียงและระยะโก่ง ณ
ตาแหน่งใดๆ บนเส้นโค้งอีลาสติกของคานได้ และถ้าหากว่าเราต้องการที่จะทราบแต่เพียงความลาดเอียง หรือระยะ
โก่งของเส้นโค้งอีลาสติกเพียงสองสามตาแหน่งเท่านั้น วิธีนี้จะมีความสะดวกและรวดเร็ว
ทฤษฎีที่ใช้หาความลาดเอียงและระยะโก่งที่ใช้ในวิธี moment-area จะมีอยู่ด้วยกัน 2 ทฤษฎี คือทฤษฎีหนึ่ง
จะใช้สาหรับหาความลาดเอียง อีกทฤษฎีหนึ่งใช้สาหรับหาระยะโก่งของคานนั้น

รูปที่ 2
ในการพิสูจน์หาทฤษฎีทั้งสองนั้นให้พิจารณาคานซึ่งถูกกระทาด้วยแรงใดๆ ในรูปที่ 2(ก) ถ้าคานมีหน้าตัดสม่าเสมอ
M
(EI = คงที่) diagram จะมีรูปร่างเช่นเดียวกับ BMD ดังในรูป 2(ข) ส่วนเส้นโค้งอีลาสติกจะแสดงในรูปที่ 2(ค)
EI
d M
จากความสัมพันธ์ที่ได้ว่า =
ds EI
เมื่อกรณีที่ระยะโก่งของคานมีค่าน้อยมาก ค่า ds  dx
d M
 =
ds EI
M dx
d =
EI
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 17 3
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
A A
M dx
 d = 
B B
EI
A
M dx
 AB = 
B
EI

เมื่อ  AB คือมุมระหว่างเส้นสัมผัสที่ลากจากจุด A และ B บนเส้นโค้งอีลาสติกมีค่าเท่ากับพื้นที่ทั้งหมดของ


M
diagram ระหว่างจุด A และ B ในกรณีที่พื้นที่มีทั้งบวกและลบ ก็ให้คิดเครื่องหมายของพื้นที่เหล่านั้นด้วย
EI
ฉะนั้นเราจะได้ทฤษฎีที่หนึ่งว่า “เมื่อคานตรงถูกกระทาด้วยโมเมนต์ดัด มุมระหว่างเส้นสัมผัสที่ลากจากจุด
M
ใดๆ สองจุดบนเส้นโค้งอีลาสติก จะมีค่าเท่ากับพื้นที่ทั้งหมดของ diagram ระหว่างสองจุดนั้น”
EI
ต่อไปให้  BA เป็นระยะทางในแนวดิ่งของจุด B เมื่อเทียบกับเส้นสัมผัสที่ลากจากจุด A ไป ซึ่งจะได้
ความสัมพันธ์ว่า
d ( BA ) = x d
A

 d ( BA ) =  x d
B

A
Mx dx
 BA = 
B
EI

A
Mx dx M
จะเห็นได้ว่า  เป็นค่าของโมเมนต์ของ diagram ระหว่างจุด A และจุด B เทียบกับแกนผ่านจุด
B
EI EI
B ฉะนั้นจึงได้ทฤษฎีสาหรับการหาระยะโก่งซึ่งเป็นทฤษฎีที่สองว่า “เมื่อคานตรงถูกกระทาด้วยโมเมนต์ดัด ระยะใน
แนวดิ่งของจุด B เมื่อเทียบกับเส้นสัมผัสที่ลากจากจุด A จะมีค่าเท่ากับโมเมนต์รอบแกนซึ่งผ่านจุด B ของ
M
diagram ระหว่างจุดทั้งสองนั้น”
EI
M
ในการหาโมเมนต์ของ diagram ซึ่งมีพื้นที่ที่มีทั้งค่าบวกและลบ ก็ให้คิดเครื่องหมายของพื้นที่เหล่านั้น
EI
ด้วย

เนื่องจากการคานวณหาระยะโก่ง โดยวิธีนี้มีความจาเป็นที่จะต้องรวมโมเมนต์ของพื้นที่รอบแกนๆ หนึ่ง


เสมอ ฉะนั้นจึงแสดงถึงจุดศูนย์ถ่วงของพื้นที่ชนิดต่างๆ ซึ่งต้องใช้อยู่บ่อยครั้งดังต่อไปนี้
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 17 4
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน

รูปที่ 3

ขั้นตอนการหาค่าความลาดเอียงและระยะโก่งโดยวิธี Moment-area
1. จากโจทย์ที่กาหนดให้ถ้าเป็นคานแบบช่วงเดียวหรือคานช่วงเดียวปลายยื่น จะต้องคานวณหาแรงปฏิกิริยา
ที่จุดรองรับก่อน ส่วนคานแบบยื่นไม่จาเป็นจะต้องหา
2. เขียนแผนผังของโมเมนต์ดัด (BMD) จากการคานวณหาได้จากโจทย์ที่กาหนดให้
3. เขียนเส้นโค้งอีลาสติก แสดงถึงลักษณะการโก่งของคานให้ใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากที่สุด
M
4. เขียนแผนผังของ diagram
EI
5. เลือกจุดบนเส้นโค้งอีลาสติกที่ทราบค่าความลาดเอียงหรือระยะโก่ง เช่น จุดรองรับหรือจุดที่อยู่ในแกน
สมมาตร หรือจุดที่โจทย์กาหนดค่าแน่นอนมาให้ เป็นต้น แล้วลากเส้นสัมผัสกับจุดที่เลือกนั้น
6. คานวณหาการเคลื่อนที่ของจุดเทียบจากเส้นสัมผัสในข้อ 5
7. คานวณหาระยะโก่งและความลาดเอียงโดยการพิจารณาลักษณะของเส้นโค้งอีลาสติก และอาศัยทฤษฎีทั้ง
สองทฤษฎีนั้นเข้าช่วย
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 17 5
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน

ลาดับการคานวณ
จากทฤษฎีทั้งสองข้างต้น เราสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการคานวณความลาดและระยะโก่งของจุดใด ๆ
บนคาน โดยมีลาดับการคานวณดังต่อไปนี้
1. สร้างแผนผังโมเมนต์ดัดของคานที่กาหนดให้
M
2. สร้างแผนผัง โดยหารค่า M ของทุกจุดด้วยค่า EI ในกรณีที่คานมีค่า
EI
M
EI คงที่ตลอดทั้งคาน รูปแผนผัง จะเป็นแบบเดียวกับแผนผังโมเมนต์ดัด ดังนั้นอาจสร้างแผนผังโมเมนต์ดัด
EI
อย่างเดียว แล้วหารด้วยค่า EI ในขั้นตอนของการคานวณ
3. เขียนเส้นโค้งยืดหยุ่นที่ควรจะเป็นของคาน
4. เลือกจุดบนเส้นโค้งยืดหยุ่นที่ทราบค่าความลาดหรือระยะโก่ง เช่น จุดรองรับ
หรือจุดที่อยู่ในแกนสมมาตร หรือจุดที่โจทย์กาหนดค่าแน่นอนมาให้ เป็นต้น ลากเส้นสัมผัสกับจุดที่เลือก
5. ใช้ทฤษฎีที่ 1 หรือทฤษฎีที่ 2 คานวณค่าความลาดที่เปลี่ยนไป หรือระยะ
เบี่ยงเบนของจุดอื่นที่ต้องการ โดยเทียบกับจุดที่เลือกในข้อ (4)
6. คานวณหาค่าความลาดหรือระยะโก่งตัว

การคิดเครื่องหมาย
1. ค่าความลาดที่เปลี่ยนไปจากซ้ายไปขวาระหว่างสองจุดบนเส้นโค้งยืดหยุ่น จะ
M
เป็นบวกในกรณีพื้นที่แผนผัง เป็นบวก หรือเมื่อเส้นสัมผัสที่จุดด้านขวาหมุนทวนเข็มและจะเป็นลบในกรณีที่
EI
M
พื้นที่แผนผัง เป็นลบ หรือเมื่อเส้นสัมผัสที่จุดด้านขวาหมุนตามเข็ม
EI
2. ระยะเบี่ยงเบนของจุดใด ๆ จะมีค่าบวกเมื่อจุดนั้นอยู่เหนือเส้นสัมผัสที่ลากจาก
อีกจุดหนึ่ง แต่จะมีค่าลบ เมื่อจุดนั้นอยู่ใต้เส้นสัมผัสที่ลากจากอีกจุดหนึ่ง
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 17 6
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ตัวอย่างที่ 1
จงหาระยะโก่งสูงสุดของคานช่วงเดียว ซึ่งถูกกระทาด้วยแรงแผ่นกระจายสม่าเสมอ โดยวิธี Moment-Area
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 17 7
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ตัวอย่างที่ 2
จงหาระยะโก่งสูงสุดของคานแบบยื่นซึ่งถูกกระทาด้วยแรงที่กระจายออกไปอย่างสม่าเสมอ โดยวิธี Moment-
area
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 17 8
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
Example 3
Determine the slope at point B and C of the beam shown in Fig 8 – 13 a. Take E = 29(103)
ksi and I = 600 in4
SOLUTION
M/EI Diagram. This diagram is shown in Fig. 8 – 13 b. It is easier to solve the problem in terms of EI
and substitute the numerical data as a last step.

Elastic Curve. The 2-k load causes the beam to deflect as shown in Fig. 8-13c. (The beam is deflected
concave down, since M/EI is negative.)
B  B / A
C  C / A

Moment-Area Theorem. Applying Theorem 1, B / A is equal to the area under the M/EI diagram
between point A and B; that is,
 30k  ft  1  60k  ft 30k  ft 
B  B / A     15 ft      15 ft 
 EI  2  EI EI 
 675k  ft 2 
   
 EI 
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 17 9
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน

Substituting numerical data for E and I, and converting feet to inches, we have
B 

675k  ft 2 144in 2 /1 ft 2 
  3
29 10 k / in 600in 2
 4

= - 0.00559 rad Ans.
The negative sign indicates that the angle is measured clockwise from A, Fig 8-13c.
In a similar manner, the area under the M/EI diagram between points A and C equals C / A We
have
1  60k  ft 
C  C / A      30 ft 
2  EI 
900k  ft 2

EI
Substituting numerical values for EI, we have
C 

900k  ft 144in 2 / ft 2 
  3
29 10 k / in 600in 2
 4

= - 0.00745 rad Ans.

Example 4
Determine the slope at point C of the beam shown in Fig 8 – 15 a. Take E = 200 GPa and I
= 60(10 ) mm4.
6

20 kN

A B

C D

9m
3m

SOLUTION
M/EI Diagram. Fig b.
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 17 10
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน

Elastic Curve.
Since the loading is applied symmetrically to the beam, the elastic curve is symmetric, as
shown in Fig. C. We are required to fined C This can easily de done, realizing that the tangent at D is
horizontal, and therefore, by the construction the angle  D / C between tan C and tan D is equal to C
that is,
C   D / C

Moment – Area Theorem.


Using theorem 1, D / C is equal to the shaded area under the M/EI Diagram between point C
and D. We have
 30kN  m  1  60kN  m 30kN  m 
C   D / C  3m     3m    
 EI  2  EI EI 
135kN  m2
=
EI
Thus,
135kN  m2
C   D / C 
 200 10  kN / m  6 10
6 2 6

1012 m4

= 0.112 rad Ans

You might also like