You are on page 1of 8

สัปดาห์ที่ หน้าที่

เนื้อหาการสอน 5 1
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
1.8 ส่วนของโครงสร้างเชิงประกอบ (Composite Bar)

ถ้าส่วนของโครงสร้างที่ใช้รับแรงกระทาจากภายนอกเป็นแรงดึงหรือแรงอัดที่ประกอบด้วยวัสดุตั้งแต่
สองชนิดขึ้นไป เรียกส่วนของโครงสร้างนั้นว่า ส่วนของโครงสร้างเชิงประกอบ ในการแก้ปัญหาต้องใช้สมการ
เกี่ยวกับการสมดุลยของแรงและสมการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง ส่วนของโครงสร้างเชิงประกอบแบ่งการ
พิจารณาออกเป็น 2 แบบ คือ
1.) ส่วนของโครงสร้างเชิงประกอบขนานกัน
หมายถึงส่วนของโครงสร้างที่ประกอบด้วยวัสดุ 2 ชนิด ประกอบกันขึ้นแบบขนาน ซึ่งประกอบด้วย
วัสดุ A และ B มีความยาวเท่ากันวางซ้อนกันดังแสดงในรูปที่ 1.15
PA

P PB

รูปที่ 1.15 แสดงโครงสร้างเชิงประกอบขนานกัน

จากสมดุลของแรง
แรงภายนอก = แรงภายใน

P = PA + PB = AA A + AB B (1.17)

เมื่อ AA และ AB เป็นพื้นที่หน้าตัดของวัสดุ A และ B ตามลาดับ


A และ B เป็นความเค้นของท่อนวัสดุ A และ B ตามลาดับ
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 5 2
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
จากการสมดุลของการเปลี่ยนรูปร่าง
การหดตัวของวัสดุ A (A) = การหดตัวของวัสดุ B (B)
หรือ
ความเครียดของวัสดุ A (A) = ความเครียดของวัสดุ B (B)

A B PA PB
 หรือ  (1.18)
EA EB AA E A AB EB

จากสมการ (1.17) และ (1.18) สามารถหาค่าแรงในวัสดุแต่ละชนิดได้

2.) ส่วนของโครงสร้างเชิงประกอบอนุกรม
หมายถึงการเอาส่วนของโครงสร้างเชิงประกอบของวัสดุแต่ละชนิดมาต่อกันแบบอนุกรม

LB
LA
P B P
A

รูปที่ 1.16 ส่วนของโครงสร้างเชิงประกอบอนุกรม


จากสมการการสมดุลยของแรงจะได้

PA = P B = P (1.19)
จากสมการการสมดุลยของการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง
ส่วนที่ยืดรวม    A   B
P LA P LB
แต่  A  และ  B 
E A AA EB AB

 L L 
  P A  B  (1.20)
 EA AA EB AB 
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 5 3
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ตัวอย่างที่1.8
เสาคอนกรีตเสริมเหล็กขนาด 200 x 200 mm ถูกเสริมด้วยเหล็กขนาด 450 mm2 จานวณ 4 เส้น
ระยะห่างเท่า ๆ กัน ถ้าแรง P = 1.1 MN มากระทาอยู่ในแนวแกน จงหาค่าความเค้นในเหล็กและคอนกรีต
กาหนดให้ Es เท่ากับ 205 GN/m2 และ Ec = 14 GN/m2
P = 1.1 MN

200mm

200 mm

วิธีทา
พิจารณาสมดุลการเปลี่ยนรูปร่าง การหดตัวของเหล็ก (  S ) = การหดตัวของคอนกรีต (  C )
PL L
จากสูตร   
AE E
S = C
SL  L
หรือ  C
ES EC
ES
S =  C
EC
205 103
= C
14 103
S = 14.6428 C N/mm2 …………..………………………(1)
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 5 4
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน

พิจารณาสมดุลของแรง
Ps + Pc = P
AS S + AC C = 1.1 x 106 …………………………………….(2)
เมื่อ AS = 4 x 450 = 1800 mm2
AC = 2002 - 1800 = 38200 mm2

แทนค่า (1) ใน (2)


1800 x 14.6428 C + 38200 C = 1.1 x 106
64557.04 C = 1.1 x 106
1.1106
C =
64557.04
C = 17.039 N/mm2
แทนค่าใน (1)
S = 14.6428 x 17.039
S = 249.501 N/mm2
 ความเค้นในเหล็ก = 249.051 N/mm2 Ans
 ความเค้นในคอนกรีต = 17.039 N/mm2 Ans
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 5 5
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ตัวอย่างที่ 1.9
ท่อนโลหะมีหน้าตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส กว้าง 50 mm ยึดติดแน่นอยู่ระหว่างกาแพง จงหาแรง
ปฏิกิริยาที่ปลายทั้งสองข้างและความยาวที่ท่อนขวามือยืดออก กาหนดให้ E = 205 GN/m2
20 kN

100mm 150mm

P1 P1 P2 P2

พิจารณาสมการสมดุล
จาก P1 + P 2 = P
P1 + P2 = 20 x 1000 ………………………………………......(1)
พิจารณาสมดุลการยืดหดตัว
เนื่องจากการหดตัวและการยืดจะเท่ากันคือ 1   2
PL PL
1 1
 2 2
A1 E1 A2 E2
P1 100 P2 150

50  50  205 1000 50  50  205 1000
P1 = 1.5 P2 ……………………………(2)
แทนค่า P1 สมการ (2) ลงในสมการที่ (1)
1.5P2 + P2 = 20 x 1000
20000
P2 =
2.5
P2 = 8000 N = 8 kN Ans
แทนค่า P2 ลงในสมการ (2)
P1 = 1.5 x 8 = 12 kN Ans
PL
จากสูตร  
AE
8 1000 150
= = 0.00234 mm
50  50  205 1000
 ความยาวที่ท่อนขวามือยืดออก = 0.00234 mm Ans
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 5 6
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ตัวอย่างที่ 1.10
ใช้ลวดเหล็ก 2 เส้น และลวดบรอนซ์ 1 เส้น แขวนน้าหนัก 180 kN ดังในรูป จงหาค่าความเค้นใน
ลวดแต่ละเส้น ถ้าพื้นที่หน้าตัดของลวดเหล็กเท่ากับ 600 mm2 และของบรอนซ์เท่ากับ 900 mm2 กาหนดให้ Es =
205 GN/m2 และ Eb = 83 GN/m2

บรอนซ์
เหล็ก L=1.6 m เหล็ก
L=1 m L=1 m

180 kN

วืธีทา
พิจารณาสมการสมดุลของแรง
 Fy  0 ; 2 PS + Pb = 180 kN …………………………………(1)
พิจารณาสมดุลส่วนยืดของวัสดุ
ส่วนที่ยืดของเหล็กและบรอนซ์ต้องเท่ากันคือ  s  b
Ps Ls PL
 b b
As Es Ab Eb
Ps 1000 Pb 1600

600  205 1000 900  205 1000
Ps = 2.6345 Pb . ……………………...(2)
แทนค่าสมการที่ (2) ลงในสมการ (1)
2 x 2.6345 Pb + Pb = 180
6.269 Pb = 180
180
Pb =
6.269
Pb = 28.71271 kN
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 5 7
รหัสและชื่อวิชา : 3100 - 0107 ความแข็งแรงของวัสดุ วันที่ : เวลา :
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
แทนค่า Pb ลงในสมการที่ (2)
Ps = 2.6345 x 28.71271
Ps = 75.6436 kN
พิจารณาค่าความเค้นที่เกิดในลวดเหล็ก
Ps
s 
As
75.6436 1000
=
600
= 126.072 N/mm2
2
 ความเค้นของลวดเหล็กเท่ากับ 126.072 N/mm Ans
พิจารณาค่าความเค้นที่เกิดในลวดบรอนซ์
Pb
b 
Ab
28.712711000
=
900
= 31.903 N/mm2
2
 ความเค้นของลวดบรอนซ์เท่ากับ 31.903 N/mm Ans

You might also like