You are on page 1of 16

DOI: 10.14456/mj-math.2017.

11

วารสารคณิตศาสตร์ MJ-MATh 62(693) Sep–Dec, 2017


โดย สมาคมคณิตศาสตร์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
http://MathThai.Org MathThaiOrg@gmail.com

ทฤษฎีบทเซวา
Ceva’s Theorem
ภัคคินี ชิตสกุล
Pakkinee Chitsakul

Retired Associate Professor


Faculty of Science, King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang
Chalongkrung Rd., Bangkok, 10520

Email: jimreivat99@gmail.com

บทคัดย่อ
บทความนี้แสดงการพิสจู น์ทฤษฎีบทเซวาโดยใช้ความรูเ้ กีย่ วกับเส้นขนานและ
สามเหลีย่ มคล้าย และนาทฤษฎีบทเซวาใช้ในการพิสูจน์ ความรูท้ างเรขาคณิต เกี่ยวกับ
เซนทรอยด์ และออร์โทเซนเตอร์ของสามเหลีย่ ม รวมถึงการหาจุดศูนย์กลางของวงกลม
แนบในและล้อมรอบสามเหลีย่ ม
คาสาคัญ: ทฤษฎีบทเซวาเซนทรอยด์ ออร์โทเซนเตอร์ จุดศูนย์กลางวงกลมแนบใน
สามเหลีย่ ม จุดศูนย์กลางวงกลมล้อมรอบสามเหลีย่ ม
ABSTRACT
This article shows how to prove Ceva’s theorem by using the knowledge
concern on parallel lines and similar triangles. We employ Ceva’s theorem for
proving centroid and orthocenter and also finding incenter and circumcenter of a
triangle.
Keywords: Ceva’s Theorem, Centroid, Orthocenter, Incenter of a Triangle,
Circumcenter of a Triangle

วารสารคณิตศาสตร์ MJ-MATh 62(693) Sep–Dec, 2017 1


1. บทนา
ทฤษฎีบทเซวา ถ้า ∆ABC เป็ นสามเหลี่ยมใดๆ ที่ม ี D E และ F เป็ นจุดบนด้า น
BC CA และ AB ตามล าดับ แล้ว AD BE และ CF ตัดกันที่จุดเดียวกันก็ต่อเมื่อ
AF BD CE
=1
FB DC EA
ทฤษฎีบ ทเซวาเป็ น ทฤษฎีบ ทที่ม ีค วามส าคัญ ในการศึก ษาเรขาคณิ ต
เนื่องจากสามารถนาทฤษฎีบทเซวาใช้ในการพิสูจน์ความรูท้ างเรขาคณิตเกี่ยวกับ
เซนทรอยด์และออร์โทเซนเตอร์ของสามเหลี่ยม รวมถึงการหาจุดศูนย์กลางของ
วงกลมแนบใน และการหาจุดศูนย์กลางของวงกลมล้อมรอบสามเหลีย่ ม
บทความนี้แสดงการพิสูจน์ทฤษฎีบทเซวาโดยใช้ความรูเ้ กี่ยวกับเส้นขนาน
และสามเหลีย่ มคล้าย และนาทฤษฎีบทเซวาพิสจู น์ความรูท้ างเรขาคณิตต่อไปนี้
 เส้น ที่ล ากจากมุ ม ของสามเหลี่ย มไปแบ่ ง ครึ่ง ด้า นที่อ ยู่ต รงข้า มมุ ม หรือ
มัธยฐานจะตัดกันทีจ่ ุดจุดหนึ่งภายในสามเหลีย่ ม เรียกจุดนี้ว่า เซนทรอยด์
ซึง่ จุดนี้จะเป็ นจุดศูนย์กลางของสามเหลีย่ มด้วย
 เส้นที่ล ากจากมุมของสามเหลี่ยมไปตัง้ ฉากกับด้า นที่อ ยู่ต รงข้า มมุ ม หรือ
เส้น ที่แ ทนส่ ว นสู ง ของสามเหลี่ย มจะตัด กัน ที่จุ ด จุ ด หนึ่ ง เรีย กจุ ด นี้ ว่ า
ออร์โทเซนเตอร์
 เส้ น ที่แ บ่ ง ครึ่ง มุ ม ทุ ก มุ ม ของสามเหลี่ย มจะตัด กัน ที่จุ ด จุ ด หนึ่ ง ภายใน
สามเหลีย่ ม ซึง่ จุดตัดนี้จะเป็ นจุดศูนย์กลางของวงกลมแนบในสามเหลีย่ ม
 เส้นทีต ่ งั ้ ฉากและแบ่งครึง่ ด้านทัง้ สามของสามเหลีย่ มจะตัดกันที่จุดจุดหนึ่ง
ซึง่ จุดตัดนี้จะเป็ นจุดศูนย์กลางของวงกลมล้อมรอบสามเหลีย่ ม
2. การพิ สจู น์ ทฤษฎี บทเซวา
บทตัง้ 1 ให้ ∆ABC เป็ นสามเหลีย่ มใดๆ ทีม่ ี D E และ F เป็ นจุดบนด้าน BC, CA
และ AB ตามลาดับ ถ้า AD, BE และ CF ตัดกันทีจ่ ดุ K เดียวกันแล้ว
AF BD CE
=1
FB DC EA

2 ทฤษฎีบทเซวา
สิง่ ทีก่ าหนดให้ 1. ให้ ∆ABC เป็ นสามเหลีย
่ มใดๆ
2. ให้ D เป็ นจุดบนด้าน BC
3. ให้ E เป็ นจุดบนด้าน CA
4. ให้ AD และ BE ตัดกันที่ K
5. ให้ CK ต่อไปตัดด้าน AB ที่ F ดังรูปที่ 1

รูปที่ 1 สิง่ ทีก่ าหนดให้ตามบทตัง้ 1

AF BD CE
สิง่ ทีต่ อ้ งการพิสจู น์ =1
FB DC EA

สร้างเพื่อการพิสจู น์ 1. ลากเส้นตรง XY ผ่านจุด A ให้ขนานกับ BC


2. จากจุด B ต่อ BE ออกไปทาง E ให้ตด
ั เส้นขนานกับ
BC ที่ X
3. จากจุด C ต่อ CF ออกไปทาง F ให้ตด
ั เส้นขนานกับ
BC ที่ Y ดังรูปที่ 2

รูปที่ 2 สร้างเพื่อการพิสจู น์ตามบทตัง้ 1

วารสารคณิตศาสตร์ MJ-MATh 62(693) Sep–Dec, 2017 3


พิ สจู น์
ข้อความพิสูจน์ เหตุผล
1. FÂY = FB̂C 1. มุมแย้ง (YX // BC มี AB เป็ นเส้นตัดขวาง)

2. AŶF = BĈF 2. มุมแย้ง (YX // BC มี YC เป็ นเส้นตัดขวาง)

3. AF̂̂Y = BF̂C 3. มุมตรงข้าม (AB ตัดกับ YC ที่ F)

4. ∆AFY ∼ ∆BFC 4. จาก 1 2 และ 3 สามเหลีย่ มคล้าย คือ


สามเหลีย่ มทีม่ มี ุมเท่ากันทุกมุม มุมต่อมุม
AF AY
5. = 5. จาก 4 ด้านทีอ
่ ยู่ในลาดับเดียวกันของ
BF BC
สามเหลีย่ มคล้าย จะเป็ นสัดส่วนทีเ่ ท่ากัน
CE CB
6. = 6. ในทานองเดียวกันกับ 5 (∆CEB ∼ ∆AEX)
AE AX
AX AK
7. = 7. ในทานองเดียวกันกับ 5 (∆AXK ∼ ∆DBK)
DB DK
AY AK
8. = 8. ในทานองเดียวกันกับ 5 (∆YAK ∼ ∆CDK)
DC DK
AX AY
9. = 9. จาก 7 และ 8
DB DC
BD AX
10. = 10. จาก 9
DC AY
AF BD CE AY AX CB
11. = 11. จาก 5 10 และ 6
BF DC AE BC AY AX
AF BD CE
12. =1 12. จาก 11
BF DC AE

บทตัง้ 2 ให้ ∆ABC เป็ นสามเหลีย่ มใดๆ ทีม่ ี D E และ F เป็ นจุดบนด้าน BC, CA
AF BD CE
และ AB ตามลาดับ ถ้า =1 แล้ว AD, BE และ CF ตัดกันทีจ่ ุด K
FB DC EA
เดียวกัน

4 ทฤษฎีบทเซวา
สิง่ ทีก่ าหนดให้ 1. ให้ ∆ABC เป็ นสามเหลีย
่ มใดๆ
2. ให้ D E และ F เป็ นจุดบนด้าน BC, CA และ AB ตามลาดับ
AF BD CE
3. ให้ = 1 ดังรูปที่ 3
FB DC EA

รูปที่ 3 สิง่ ทีก่ าหนดให้ตามบทตัง้ 2

สิง่ ทีต่ อ้ งการพิสจู น์ เส้น AD, BE และ CF ตัดกันทีจ่ ดุ K เดียวกัน

สร้างเพื่อการพิสจู น์ 1. ลาก BE และ CF ตัดกันทีจ่ ด


ุ K
2. จาก AK ต่อไปตัด BC ทีจ่ ด
ุ D ' ดังรูปที่ 4

D'

รูปที่ 4 สร้างเพื่อการพิสจู น์ตามบทตัง้ 2

พิ สจู น์
ข้อความพิสจู น์ เหตุผล
AF BD CE
1. =1 1. กาหนดให้
BF DC AE
AF BD' CE
2. =1 2. สร้างและบทตัง้ 1
BF D'C AE
BD BD'
3. = 3. จาก 1 และ 2
DC D'C

วารสารคณิตศาสตร์ MJ-MATh 62(693) Sep–Dec, 2017 5


BD BD'
4. +1 = +1 4. จาก 3
DC D'C
BD + DC BD' + D'C
=
DC D'C
BC BC
=
DC D'C
5. D = D' หรื อ AD, BE และ CF ตัดกัน 5. จาก 4
ที่จดุ K เดียวกัน

จากบทตั ้ง 1 ถ้ า AD, BE แล ะ CF ตั ด กั น ที่ จุ ด K เดี ย ว กั น แล้ ว


AF BD CE
=1
FB DC EA
AF BD CE
จากบทตัง้ 2 ถ้า =1 แล้ว AD, BE และ CF ตัดกันทีจ่ ดุ K
FB DC EA
เดียวกัน
ดังนัน้ จากบทตัง้ 1 และบทตัง้ 2 จะได้ทฤษฎีบทเซวา
AF BD CE
AD, BE และ CF ตัดกันทีจ่ ด ุ K เดียวกัน ก็ต่อเมือ่ =1
FB DC EA

3. เซนทรอยด์และออร์โทเซนเตอร์
บทแทรก 1 เส้นทีล่ ากจากมุมของสามเหลีย่ มไปแบ่งครึง่ ด้านทีอ่ ยู่ตรงข้ามมุม ตัด
กันทีจ่ ดุ เดียวกันภายในสามเหลีย่ ม เรียกว่า จุดเซนทรอยด์
สิง่ ทีก่ าหนดให้ 1. ให้ ∆ABC เป็ นสามเหลีย่ มใดๆ
2. D E และ F เป็ นจุดแบ่งครึง่ ด้าน BC, CA และ AB ดังรูปที่ 5

รูปที่ 5 สิง่ ทีก่ าหนดให้ตามบทแทรก 1

6 ทฤษฎีบทเซวา
สิง่ ทีต่ อ้ งการพิสจู น์ เส้น AD, BE และ CF ตัดกันทีจ่ ดุ G เดียวกัน

พิ สจู น์
ข้อความพิสจู น์ เหตุผล
1. BD = DC 1. กาหนดให้ (D เป็ นจุดกีง่ กลาง BC)

2. CE = EA 2. กาหนดให้ (E เป็ นจุดกีง่ กลาง CA)

3. AF = FB 3. กาหนดให้ (F เป็ นจุดกีง่ กลาง AB)

AF BD CE
4. =1 4. จาก 3, 1 และ 2
FB DC EA

5. AD, BE และ CF ตัดกันทีจ


่ ุด G เดียวกัน 5. จาก 4 และทฤษฎีบทเซวา

บทแทรก 2 เส้นทีแ่ ทนส่วนสูงเมื่อเทียบกับด้านทัง้ สามของสามเหลีย่ มใดๆ ตัดกัน


ทีจ่ ดุ เดียวกัน
สิง่ ทีก่ าหนดให้ 1. ให้ ∆ABC เป็ นสามเหลีย่ มใดๆ
2. ให้ AD⏊BC ที่ D
ให้ BE⏊CA ที่ E
ให้ CF⏊AB ที่ F ดังรูปที่ 6

รูปที่ 6 สิง่ ทีก่ าหนดให้ตามบทแทรก 2

สิง่ ทีต่ อ้ งการพิสจู น์ เส้น AD, BE และ CF ตัดกันทีจ่ ดุ H เดียวกัน

วารสารคณิตศาสตร์ MJ-MATh 62(693) Sep–Dec, 2017 7


พิ สจู น์
ข้อความพิสจู น์ เหตุผล
1. BÊC = AD̂C = 90˚ 1. กาหนดให้ (BE⏊CA และ AD⏊BC)

2. BĈE = AĈD 2. มุมร่วม

3. EB̂C = DÂC 3. มุมภายในของสามเหลีย


่ มรวมกันมีค่า
180˚ เมื่อมุมภายในของสามเหลีย
่ มมีค่า
เท่ากันสองมุม มุมต่อมุม แล้วมุมทีเ่ หลือย่อม
มีค่าเท่ากัน จาก 1 และ 2
4. ∆BCE ∼ ∆ACD 4. จาก 1 2 และ 3 สามเหลีย
่ มคล้าย คือ
สามเหลีย่ มทีม่ มี ุมเท่ากันทุกมุม มุมต่อมุม
CE BE
5. = 5. จาก 4 ด้านทีอ
่ ยู่ในลาดับเดียวกันของ
CD AD
สามเหลีย่ มคล้ายจะเป็ นสัดส่วนทีเ่ ท่ากัน
AF CF
6. = 6. ในทานองเดียวกับ 5 (∆CAF ∼ ∆BAE)
AE BE
BD AD
7. = 7. ในทานองเดียวกับ 5 (∆ABD ∼ ∆CBF)
BF CF
AF CE BD CF BE AD
8. = 8. จาก 6 5 และ 7
AE CD BF BE AD CF
AF BD CE
9. =1 9. จาก 8
FB DC EA

10. AD, BE และ CF ตัดกันทีจ


่ ดุ H 10. จาก 9 และทฤษฎีบทเซวา

เดียวกัน

ข้ อ สัง เกต ออร์ โ ทเซนเตอร์ อ าจจะอยู่ ภ ายในหรือ ภายนอกสามเหลี่ย ม ถ้ า


สามเหลีย่ มเป็ นสามเหลีย่ มมุมป้ านแล้วออร์โทเซนเตอร์จะอยูภ่ ายนอกสามเหลีย่ ม
ให้ ∆ABC เป็ น สามเหลี่ย มที่ม ี BÂC > 90˚ โดย AD⏊BC ที่ D BE⏊
ส่วนต่อ CA ที่ E และ CF⏊ส่วนต่อ BA ที่ F ดังรูปที่ 7(ก) แล้ว BE, DA และ CF
ตัดกันทีจ่ ุดเดียวกัน H ดังรูปที่ 7(ข) ซึง่ สามารถพิสูจน์ได้โดยใช้ทฤษฎีบทเซวาใน
ทานองเดียวกับบทแทรก 2

8 ทฤษฎีบทเซวา
(ก) (ข)
รูปที่ 7 ออร์โทเซนเตอร์อยู่ภายนอกสามเหลีย่ ม

4. จุดศูนย์กลางของวงกลมแนบในและล้อมรอบสามเหลี่ยม
นิ ยาม วงกลมแนบในสามเหลีย่ ม คือวงกลมซึง่ บรรจุอยูภ่ ายในสามเหลีย่ มโดยด้าน
ทัง้ สามด้านของสามเหลี่ยมเป็ นเส้นสัมผัส กับวงกลมนัน้ เรียกจุดศูนย์กลางของ
วงกลมว่า จุดของวงกลมแนบใน

บทแทรก 3 เส้นแบ่งครึง่ มุมทุกมุมของสามเหลี่ยมตัดกันที่จุดเดียวกันซึ่งเป็ นจุด


ศูนย์กลางของวงกลมแนบในสามเหลีย่ ม
สิง่ ทีก่ าหนดให้ 1. ให้ ∆ABC เป็ นสามเหลีย่ มใดๆ
2. ให้ D E และ F เป็ นจุดบนด้าน BC, CA และ AB ตามลาดับ
3. ให้ดา้ น AD, BE และ CF แบ่งครึง่ Â B̂ และ Ĉ ตามลาดับ
1 ˆ 1ˆ
4. ให้ α = A β= B และ γ = 1 Cˆ ดังรูปที่ 8
2 2 2

วารสารคณิตศาสตร์ MJ-MATh 62(693) Sep–Dec, 2017 9


รูปที่ 8 สร้างรูปสามเหลีย่ มทีก่ าหนดให้ตามบทแทรก 3

สิง่ ทีต่ อ้ งการพิสจู น์ 1) เส้น AD, BE และ CF ตัดกันทีจ่ ด


ุ I เดียวกัน
2) I เป็ นจุดศูนย์กลางของวงกลมแนบในสามเหลีย
่ม

สร้างเพื่อการพิสจู น์ 1) 1. จาก D ลากเส้น DP⏊AC และ DQ⏊AB แล้ว


ADsin  คือ ส่วนสูงของ ∆ADC และ ∆ADB
2. จาก A ลาก AR⏊BC แล้ ว AR คือส่วนสูงของ ∆ADB
และ ∆ADC ดังรูปที่ 9

รูปที่ 9 สร้างเพื่อการพิสจู น์ 1) ตามบทแทรก 3

ข้อกาหนด ให้ (ABC) แทนพืน้ ทีข่ อง ∆ABC

10 ทฤษฎีบทเซวา
พิ สจู น์ 1)
ข้อความพิสจู น์ เหตุผล
1
1. (ABD) = × BD × AR 1. สูตรการหาพืน
้ ทีข่ องสามเหลีย่ ม คือ
2
1
× ฐาน × สูง
2
1
2. (ACD) = × CD × AR 2. ในทานองเดียวกับ 1
2
1
3. (ABD) = × AB × ADsin 3. ในทานองเดียวกับ 1 และสร้างเพื่อการ
2
พิสจู น์
1
4. (ACD) = × AC × ADsin 4. ในทานองเดียวกับ 1 และสร้างเพื่อการ
2
พิสจู น์
(ABD) BD
5. = 5. จาก 1 และ 2
(ACD) CD
(ABD) AB
6. = 6. จาก 3 และ 4
(ACD) AC
BD AB
7. = 7. จาก 5 และ 6
CD AC
AF AC
8. = 8. ในทานองเดียวกับ 7
FB BC
CE BC
9. = 9. ในทานองเดียวกับ 7
EA AB
AF BD CE AC AB BC
10. = 10. จาก 8 7 และ 9
FB CD EA BC AC AB
AF BD CE
11. =1 11. จาก 10
FB CD EA

12. AD, BE และ CF ตัดกันทีจ


่ ดุ I เดียวกัน 12. จาก 11 และทฤษฎีบทเซวา

สร้างเพื่อการพิสจู น์ 2) จาก I ลาก IX, IY และ IZ ตัง้ ฉากกับ BC, CA และ AB


ตามลาดับ ดังรูปที่ 10

วารสารคณิตศาสตร์ MJ-MATh 62(693) Sep–Dec, 2017 11


รูปที่ 10 สร้างเพื่อการพิสจู น์ 2) ตามบทแทรก 3

พิ สจู น์ 2)
ข้อความพิสจู น์ เหตุผล
1. ZÂI = YÂI 1. กาหนดให้ (AI แบ่งครึง่ Â)

2. AẐI = AŶI = 90˚ 2. สร้างเพื่อการพิสจ


ู น์ (IY⏊AC และ IZ⏊AB)

3. AÎZ = AÎY 3. มุมภายในของสามเหลีย


่ มรวมกันมีค่า 180˚
เมื่อมุมภายในของสามเหลีย่ มมีค่าเท่ากันสองมุม
มุมต่อมุม แล้วมุมทีเ่ หลือย่อมมีค่าเท่ากัน จาก 1
และ 2
4. ∆AZI  ∆AYI 4. มุม-ด้าน-มุม จาก 1 4 และ AI เป็ นด้านร่วม

5. IZ = IY 5. จาก 4

6. IZ = IX 6. ในทานองเดียวกับ 5

7. IX = IY = IZ หรือ I เป็ นจุด 7. จาก 5 และ 6

ศูนย์กลางของวงกลมแนบใน ∆ABC

ข้อสังเกต จากบทแทรก 3 จะได้ว่า


1. ถ้า r เป็ นรัศมีของวงกลมแนบใน ∆ABC แล้ว IX = IY = IZ = r
2. รัศ มีข องวงกลมตั ง้ ฉากกับ เส้ น สัม ผัส วงกลม ณ จุ ด สัม ผัส เนื่ อ งจาก
IX⏊BC IY⏊CA และ IZ⏊AB ที่ X Y และ Z ตามลาดับ

12 ทฤษฎีบทเซวา
3. จากจุดหนึ่งจุดภายนอกวงกลมสามารถลากเส้นสัมผัสวงกลมได้สองเส้นที่ม ี
ความยาวเท่ า กัน เนื่ อ งจาก ∆AZI⏊∆AYI แล้ว AZ = AY ในท านอง
เดียวกัน CX = CY และ BX = BZ

นิ ยาม วงกลมล้อ มรอบสามเหลี่ยม (Circumcircle of Triangle) คือ วงกลมที่ม ี


เส้นรอบวงของวงกลมผ่านจุดยอดของมุมทุกมุมของรูปสามเหลีย่ ม

บทแทรก 4 เส้นแบ่งครึ่งและตัง้ ฉากกับด้านทัง้ สามของสามเหลี่ยมตัดกันที่จุด


เดียวกันซึง่ เป็ นจุดศูนย์กลางของวงกลมล้อมรอบสามเหลีย่ ม
สิง่ ทีก่ าหนดให้ 1. ให้ ∆ABC เป็ นสามเหลีย่ มใดๆ
2. ให้ D E และ F เป็ น จุ ด กี่ง กลางของด้ า น BC, CA และ AB
ตามลาดับ
3. ให้ OE⏊AC และ OF⏊AB ดังรูปที่ 11

รูปที่ 11 สิง่ ทีก่ าหนดให้ตามบทแทรก 4

สิง่ ทีต่ อ้ งการพิสจู น์ 1) OD⏊BC


2) O เป็ นจุดศูนย์กลางของวงกลมล้อมรอบสามเหลีย
่ม

สร้างเพื่อการพิสจู น์ 1. ลาก OD
2. ลากด้าน OA, OB และ OC ดังรูปที่ 12

วารสารคณิตศาสตร์ MJ-MATh 62(693) Sep–Dec, 2017 13


รูปที่ 12 สร้างเพื่อการพิสจู น์ตามบทแทรก 4

พิ สจู น์
ข้อความพิสจู น์ เหตุผล
1. AF = BF 1. กาหนดให้ (F เป็ นจุดกีง่ กลาง AB)

2. AF̂O = BF̂O = 90˚ 2. กาหนดให้ (OF⏊AB)

3. ∆AFO  ∆BFO 3. ด้าน-มุม-ด้าน จาก 1 2 และ OF เป็ นด้าน


ร่วม
4. AO = BO 4. จาก 3

5. AO = CO 5. ในทานองเดียวกับ 4 (∆AEO ≃ ∆CEO)

6. AO = BO = CO หรือ O เป็ นจุด 6. จาก 4 และ 5

ศูนย์กลางของวงกลมรอบ ∆ABC

7. BD = CD 7. กาหนดให้ (D เป็ นจุดกีง่ กลาง BC)

8. ∆BDO  ∆CDO 8. ด้าน-ด้าน-ด้าน จาก 6 7 และ DO เป็ นด้าน


ร่วม

14 ทฤษฎีบทเซวา
9. BD̂O = CD̂O 9. จาก 8

10. BD̂O + CD̂O = 180˚ 10. เส้นตรงเส้นหนึ่งตัง้ อยู่บนเส้นตรงอีกเส้น

หนึ่งมุมประชิดรวมกันมีค่า 180˚
11. BD̂O = CD̂O = 90˚ 11. จาก 9 และ 10

12. OD⏊BC 12. จาก 11

ข้อ สัง เกต จุด ศู น ย์ก ลางของวงกลมล้อ มรอบสามเหลี่ย มอาจจะอยู่ภ ายในหรือ


ภายนอกสามเหลี่ยม ถ้าสามเหลี่ยมเป็ นสามเหลี่ยมมุมป้ านแล้วศูนย์กลางวงกลม
ล้อมรอบจะอยูภ่ ายนอกสามเหลีย่ ม ดังรูปที่ 13

รูปที่ 13 จุดศูนย์กลางวงกลมล้อมรอบ ∆ABC อยู่ภายนอกสามเหลีย่ ม


เมื่อ ∆ABC เป็ นสามเหลีย่ มมุมป้ าน

5. บทสรุป
การพิสูจน์ ทฤษฎีบทเซวา และการนาทฤษฎีบทเซวาไปใช้ในการหาเซน
ทรอยด์ ออร์โ ทเซนเตอร์ จุด ศู น ย์ก ลางของวงกลมแนบในสามเหลี่ย ม และจุด
ศูนย์กลางของวงกลมล้อมรอบสามเหลี่ยม เป็ นหัวข้อที่มคี วามสาคัญในการศึกษา
สมบัตทิ างเรขาคณิตบางประการของสามเหลีย่ ม เช่น จุดทัง้ สีจ่ ุด ดังกล่าวจะเป็ นจุด
เดียวกัน ก็ต่อเมื่อสามเหลีย่ มเป็ นสามเหลีย่ มด้านเท่า จุดทัง้ สีจ่ ุดนี้จ ะอยู่บนเส้นตรง

วารสารคณิตศาสตร์ MJ-MATh 62(693) Sep–Dec, 2017 15


เดียวกัน ก็ต่อเมื่อสามเหลี่ยมเป็ นสามเหลี่ยมหน้ าจัว่ สาหรับสามเหลี่ยมใดๆ ที่
ไม่ใช่สามเหลีย่ มด้านเท่า เซนทรอยด์ ออร์โทเซนเตอร์ และจุดศูนย์กลางของวงกลม
ล้อ มรอบสามเหลี่ยมจะอยู่บนเส้นตรงเดียวกัน เรียกเส้นตรงนี้ว่า เส้นออยเลอร์
(Euler Line) เป็ นต้น

เอกสารอ้างอิ ง
[1] H. S. M. Coxeter & S. L. Greitzer, Geometry Revisited, United States of
America, Washington D. C.: The Mathematical Association of America,
1967.
[2] ทศวรรษ วงศ์วฒ ั นอนันต์ ธนกฤต กวินสังคม และสุพตั รา อินชุม่ . “การศึกษาสมบัติ
บางประการของรูปหลายเลีย่ มด้านเท่าและรูปสามเหลีย่ มทีม่ วี งกลมล้อมรอบ.”
ปั ญหาพิเศษนักศึกษาคณิตศาสตร์ประยุกต์. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้า
คุณทหารลาดกระบัง. กทม. 2559.

16 ทฤษฎีบทเซวา

You might also like