You are on page 1of 21

ใบงำน มุมที่จัดศูนย์กลางและมุมในส่วนโค้งของวงกลม ชื่อ.........................................................ชั้น...............เลขที่................

คำชี้แจง : จงพิสูจน์ว่ามุมในครึ่งวงกลมเป็นมุมฉาก
สิ่งที่กำหนดให้ ให้ O เป็นจุดศูนย์กลางของวงกลม
AC เป็นเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม
ˆ เป็นมุมในครึ่งวงกลม
ABC

สิ่งที่ต้องพิสูจน์ ABCˆ เท่ากับหนึ่งมุมฉาก

พิสูจน์ ลาก OB
ใน △ AOB , OA = OB (รัศมีของวงกลม)
△ AOB (เป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว)
ˆ  OBA
OAB ˆ (มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วย่อมเท่ากัน)
และ △ COB, OB = OC (รัศมีของวงกลม)
△ COB เป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว
ˆ  OBC
OCB ˆ (มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วย่อมเท่ากัน)
จะได้
ˆ  OCB
OAB ˆ  OBA
ˆ  OBC
ˆ
ˆ  OCB
OAB ˆ  ABC
ˆ
แต่ OABˆ  OCB
ˆ  ABC
ˆ  2© (มุมภายในของรูปสามเหลี่ยมรวมกันเท่ากับสองมุมฉาก)
ดังนั้น ˆ  1©
ABC
ใบงำน มุมที่จัดศูนย์กลางและมุมในส่วนโค้งของวงกลม ชื่อ.........................................................ชั้น...............เลขที่................

คำชี้แจง : จงพิสูจน์ว่า มุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลมมีขนาดเป็นสองเท่าของมุมในส่วนโค้งของวงกลมซึ่งตั้งอยู่ บนส่วนโค้งเดียวกัน


สิ่งที่กำหนดให้ ให้ O เป็นจุดศูนย์กลางของวงกลม
ˆ เป็นมุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลม
AOB
ˆ เป็นมุมในส่วนโค้งของวงกลม
ACB

ˆ  2( ACB
สิ่งที่ต้องพิสูจน์ AOB ˆ )
พิสูจน์ ลาก CO ต่อออกมาถึงจุด D
ˆ  OAC
AOD ˆ  OCA
ˆ (ถ้าต่อด้านใดด้านหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมออกไปมุมภายนอก
จะเท่ากับมุมภายในที่ไม่ใช่มุมประชิดสองมุมรวมกัน)
ˆ  2  OCA
หรือ AOD ˆ  _① (△ AOC เป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว)
ในทานองเดียวกัน
ˆ  OBC
DÔB  OCB ˆ
ˆ ) _②
หรือ DÔB  2(OCB ( △ BOC เป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว)
ˆ  DÔB  2 OCA
①  ②, AOD ˆ ˆ
 2 OCB   
ˆ  2(OCA
AOB ˆ  OCB
ˆ )
ˆ )
 2( ACB
ˆ  2( ACB
ดังนั้น AOB ˆ )
ใบงำน มุมที่จัดศูนย์กลางและมุมในส่วนโค้งของวงกลม ชื่อ.........................................................ชั้น...............เลขที่................

คำชี้แจง : จงพิสูจน์ว่า มุมในส่วนโค้งของวงกลมส่วนเดียวกันย่อมเท่ากัน


สิ่งที่กำหนดให้ ให้ O เป็นจุดศูนย์กลางของวงกลม
ˆ และ BDC
BAC ˆ อยู่ในส่วนโค้งของวงกลม BC เดียวกัน

สิ่งที่ต้องพิสูจน์ BAC
ˆ  BDC
ˆ

พิสูจน์ ลาก BO และ CO


ˆ  1 BOC
BAC
2
ˆ   (มุมที่จุดศูนย์กลางมีขนาดเป็นสองเท่าของมุมที่เส้นรอบวง ซึง่ ตั้งอยู่บน
ส่วนโค้งเดียวกัน)
ในทานองเดียวกัน
ˆ  1 BOC
BDC
2
ˆ  
ดังนั้น ˆ  BDC
BAC ˆ
ใบงำน มุมที่จัดศูนย์กลางและมุมในส่วนโค้งของวงกลม ชื่อ.........................................................ชั้น...............เลขที่................

1. คำชี้แจง : จงพิสูจน์ว่า ในวงกลมเดียวกันหรือวงกลมสองวงที่เท่ากัน ถ้ามุมที่จุดศูนย์กลางหรือมุมที่เส้นรอบวง มีขนาดเท่ากันแล้ว


ส่วนโค้งของวงกลมที่รองรับมุมที่จุดศูนย์กลางหรือมุมที่เส้นรอบวงนั้นจะยาว เท่ากัน
สิ่งที่กำหนดให้ ให้ O และ M เป็นจุดศูนย์กลางของวงกลมสองวงที่เท่ากัน
BOC ˆ  EMF ˆ หรือ BACˆ  EDF ˆ

สิ่งที่ต้องพิสูจน์ BKC = ELF


พิสูจน์ ในวงกลมสองวงที่เท่ากัน รัศมีจะยาวเท่ากัน
OB  ME (รัศมีของวงกลมที่เท่ากัน) เข้า
OC = MF (รัศมีของวงกลมที่เท่ากัน)
ˆ  EMF
BOC ˆ (กาหนดให้)
ส่วนโค้งของวงกลม BKC ยาวเท่ากับส่วนโค้งของวงกลม ELF
ดังนั้น BKC  ELF

2. คำชี้แจง : ให้นักเรียนพิสูจน์ว่าในวงกลมเดียวกันหรือวงกลมสองวงที่เท่ากัน ถ้าส่วนโค้งของวงกลมที่รองรับมุมที่จุดศูนย์กลางนั้น


ยาวเท่ากัน มุมที่จุดศูนย์กลางหรือมุมที่เส้นรอบวงย่อมมีขนาดเท่ากัน

สิ่งที่กำหนดให้ ให้ O และ M เป็นจุดศูนย์กลางของวงกลมสองวงที่เท่ากันและ BKC  ELF


สิ่งที่ต้องพิสูจน์ BOC ˆ หรือ BAC
ˆ  EMF ˆ  EDFˆ

พิสูจน์
BKC  ELF (กาหนดให้)
ˆ
BAC ˆ
 EDF (มุมที่ตั้งอยู่บนส่วนโค้งที่เท่ากันย่อมเท่ากัน)
ˆ  2 BAC
BOC ˆ (มุมที่จุดศูนย์กลางเป็นสองเท่าของมุม ที่เส้นรอบวงซึ่งตั้งอยู่บนส่วนโค้งเดียวกัน)
ˆ  2 EDF
EMF ˆ (มุมที่จุดศูนย์กลางเป็นสองเท่าของมุม ที่เส้นรอบวงซึ่งตั้งอยู่บนส่วนโค้งเดียวกัน)
ดังนั้น ˆ  EMF
BOC ˆ (สมบัติการถ่ายทอด)
ใบงำน คอร์ดของวงกลม ชื่อ.........................................................ชั้น...............เลขที่................

คำชี้แจง : จงพิสูจน์ว่า ในวงกลมเดียวกันหรือวงกลมสองวงที่เท่ากัน ถ้าคอร์ดเท่ากันแล้วส่วนโค้งของวงกลม ที่รองรับคอร์ดนั้นจะ


ยาวเท่ากัน
สิ่งที่กำหนดให้ ให้ ABC และ DEF เป็นวงกลมที่เท่ากัน มี O และ M เป็นจุดศูนย์กลาง คอร์ด BC ยาวเท่ากับคอร์ด EF

สิ่งที่ต้องพิสูจน์ BKC  ELF


BAC  EDF
พิสูจน์ ลาก BO , CO , EM และ FM
ในวงกลมสองวงที่เท่ากัน รัศมีจะยาวเท่ากัน
ใน △ BOC และ △ EMF
BO = EM (รัศมีของวงกลมที่เท่ากัน)
OC = MF (รัศมีของวงกลมที่เท่ากัน)
BC = EF (กาหนดให้)
△ BOC ≅ △ EMF (ด.ด.ด.)
ˆ  EMF
BOC ˆ (มุมที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการ)
BKC  ELF (มุมที่จุดศูนย์กลางมีขนาดเท่ากันส่วนโค้งจะยาวเท่ากัน)
ทานองเดียวกัน BAC  EDF
ดังนั้น BAC = EDF
ใบงำน คอร์ดของวงกลม ชื่อ.........................................................ชั้น...............เลขที่................

คำชี้แจง : จงพิสูจน์ว่า ในวงกลมเดียวกันหรือวงกลมสองวงที่เท่ากัน ถ้าส่วนโค้งของวงกลมที่รองรับคอร์ดนั้นเท่ากัน แล้วคอร์ดจะ


ยาวเท่ากัน

สิ่งที่กำหนดให้ ให้ 0 และ M เป็นจุดศูนย์กลางของวงกลมสองวงที่เท่ากัน BKC  ELF และ BAC  EDF


สิ่งที่ต้องพิสูจน์ BC = EF
พิสูจน์ ใน △ BOC และ △ EMF
BO = EM (รัศมีของวงกลมที่เท่ากัน)
BOCˆ  EMF ˆ (มุมที่ตั้งอยู่บนส่วนโค้งที่เท่ากันย่อมเท่ากัน)
OC = MF (รัศมีของวงกลมที่เท่ากัน)
△ BOC ≅ △ EMF (ด.ม.ด.)
ดังนั้น BC = EF (ด้านที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการ)

คำชี้แจง : จากรูปให้ I เป็นจุดศูนย์กลางของวงกลม FL = RO จงพิสูจน์ว่า FO = RL


สิ่งที่กำหนดให้ ให้ I เป็นจุดศูนย์กลางของวงกลม FL = RO

สิ่งที่ต้องพิสูจน์ FO = RL
พิสูจน์ จาก FLR ˆ ˆ
 ROF (ตั้งอยู่บนฐาน FRเดียวกัน)
และ ˆ
ˆ  FOL
RLO (ฐาน FL = ฐาน RO)
ˆ  RLO
FLR ˆ  FOL
ˆ  ROF ˆ
ˆ
ˆ  ROL
FLO
ใน △FLO และ △ROL
FL = RO (กาหนดให้)
ˆ
ˆ  ROL
FLO (พิสูจน์แล้ว)
LO (ด้านร่วม)
△FLO ≅ △ROL (ด.ม.ด.)
ดังนั้น FO = RL (ด้านที่สมนัยกัน ของรูปสามเหลี่ยม ที่เท่ากันทุกประการ)
ใบงำน คอร์ดของวงกลม ชื่อ.........................................................ชั้น...............เลขที่................
คำชี้แจง : จากรูป จงหาค่า x และ y
1)
ให้ OD ตั้งฉากกับ AB ที่จุด G
จะได้ AG = 5 (กาหนดให้)
ดังนั้น AG = BG = 5
นั่นคือ X = 5
AB = EF = 10
ดังนั้น AB = EF
นั่นคือ y = 140 (มุมที่ตั้งอยู่บนส่วนโค้งที่
เท่ากันย่อมเท่ากัน)

2) ให้ O เป็นจุดจุดหนึ่งบนคอร์ด UV และ QO  UV


ใน △QOV
จะได้ QV2 = QO2 + OV2
= 42 + 32
= 16 + 9 = 25
QV = ±5
ดั้งนั้น y = 5 (ความยาวเป็นจานวนบวก)
เนื่องจาก QT = QV = 5 (รัศมีของวงกลม)
ใน △OST
จะได้ QS2 = QT2 – ST2
= 52 – 32
= 25 – 9 = 16
QS = ±4
ดังนั้น X = 4 (ความยาวเป็นจานวนบวก)
ใบงำน คอร์ดของวงกลม ชื่อ.........................................................ชั้น...............เลขที่................

คำชี้แจง : จากรูปต่อไปนี้ จงเติมคาตอบในช่องว่างให้ถูกต้อง


1.
OC 2  17 2  152
AB = 30 ; OC = 8  289  225
OC 2  64
OC  64
8
2. FG 2  132  52
 169  25
FG 2  144
EG = 24 FG  144
 12
EG  FG  2
 24
3.
OJ 2  7 2  7 2
 49  49
OJ 2  98
JK = 14 ; OJ = 7 2
OJ 2  98
 772
4.
7 2

DE = 16 ; OD = 10
OD 2  62  82
 36  64
OD 2  100
OD  100
5.  10
กาหนดให้ E เป็นจุดศูนย์กลางของวงกลม
TU  RS
VS = 4
จงหาว่า 1) RV = 4
2) ถ้า TU = 10 แล้ว EV = 3
ใบงำน คอร์ดของวงกลม ชื่อ.........................................................ชั้น...............เลขที่................

1. คำชี้แจง : จากรูปต่อไปนี้ จงทาโจทย์ข้อ 1) และข้อ 2)

1) กาหนดให้ AC  CE
จงพิสูจน์ว่า 3ˆ  4ˆ

พิสูจน์ AC  CE (กาหนดให้)
1ˆ  2ˆ (มุมที่อยู่ตรงข้ามกับส่วนโค้งที่เท่ากันย่อมเท่ากัน)
2ˆ  3ˆ และ 1ˆ  4ˆ (มุมตรงข้าม)
ดังนั้น 3ˆ  4ˆ (สมบัติการถ่ายทอด)

2) กาหนดให้ 1ˆ  2ˆ
จงพิสูจน์ว่า BD  DF
พิสูจน์ 1ˆ  2ˆ (กาหนดให้)
1ˆ  4ˆ และ 2ˆ  3ˆ (มุมตรงข้าม)
3ˆ  4ˆ (สมบัติการถ่ายทอด)
ดังนั้น BD  DF (ส่วนโค้งที่อยู่ตรงข้ามมุมที่เท่ากันย่อมเท่ากัน)

2. คำชี้แจง : จากรูป กาหนดให้ O เป็นจุดศูนย์กลางของวงกลม


5ˆ  7ˆ
จงพิสูจน์ว่า RT  SU

พิสูจน์ 5ˆ  7ˆ (กาหนดให้)
5ˆ  6ˆ  7ˆ  6ˆ (สมบัติการเท่ากัน)
ˆ
RÔT  SOU (สมบัติการเท่ากัน)
ดังนั้น RT  SU (ส่วนโค้งที่อยู่ตรงข้ามมุมที่เท่ากันย่อม
เท่ากัน)
ใบงำน คอร์ดของวงกลม ชื่อ.........................................................ชั้น...............เลขที่................

คำชี้แจง : กาหนดให้ WZ เป็นเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม O


OX / / ZY
จงพิสูจน์ว่า WX = XY (ข้อเสนอแนะ ลาก OY )

พิสูจน์ ลาก WX , XY และ OY


จะได้ ˆ  OYZ
XOY ˆ ( OX / / ZY มุมแย้งจากเส้นตัดย่อมเท่ากัน)
OY  OZ (รัศมีของวงกลม)
△OYZ เป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว (มีด้านยาวเท่ากันสองด้าน)
ˆ  OZY
OYZ ˆ (สมบัติรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว)
ˆ
ˆ  WOX
OZY ( OX / / ZY มุมภายนอกและมุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัด)
ˆ
YOX ˆ
 WOX (สมบัติการถ่ายทอด)
XY  WX (มุมที่จุดศูนย์กลางเท่ากับส่วนโค้งที่รองรับจะเท่ากัน)
XY  WX (ส่วนโค้งที่รองรับคอร์ดเท่ากันคอร์ดจะยาวเท่ากัน)
ใบงำน คอร์ดของวงกลม ชื่อ.........................................................ชั้น...............เลขที่................

คำชี้แจง : จงแสดงการพิสูจน์ในแต่ละข้อต่อไปนี้
ข้อ รูป พิสูจน์
1 MARK เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ผ MARK (กาหนดให้)
จงพิสูจน์ว่า ขนาดของ MA เท่ากับ ขนาดของ KR MA = KR (สมบัติของ ผ )
MA  KR (คอร์ดยาวเท่ากันแล้ว ส่วนโค้งจะยาวเท่ากัน)

2 กาหนดให้ ˆ และ TON


COE ˆ เป็นมุมที่จุดศูนย์กลาง ˆ = TON
COE ˆ (มุมตรงข้าม)
ของวงกลมทั้งสอง จงพิสูจน์ว่า ขนาดของ CE CE  TN (มุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลมเท่ากันแล้ว ส่วน
เท่ากับ ขนาดของ TN โค้งที่รองรับมุม ย่อมเท่ากัน)

3 กาหนดให้ POUN เป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู PO  NU (กาหนดให้)


ขนาดของ PO เท่ากับ ขนาดของ NU PO  PN  NU  PN (บวกด้วยส่วนโค้งที่เท่ากันย่อม
จงพิสูจน์ว่า POU
ˆ  NUOˆ
เท่ากัน)
PNU  OPN (สมบัติการเท่ากัน)
ˆ
PÔU  NUO (มุมที่ส่วนโค้งที่เท่ากันของวงกลม
เดียวกัน ย่อมมีขนาดเท่ากัน)
ใบงำน คอร์ดของวงกลม ชื่อ.........................................................ชั้น...............เลขที่................

คำชี้แจง : จงแสดงการพิสูจน์ในแต่ละข้อต่อไปนี้
ข้อ รูป พิสูจน์
1 กาหนดให้ R เป็นจุดศูนย์กลางของวงกลม ใน ADI และ ANI
AI  DN DI = NI (เส้นจากจุดศูนย์กลางตั้งฉากจะแบ่งครึ่ง
จงพิสูจน์ว่า ขนาดของ DA เท่ากับ ขนาดของ NA คอร์ด)
AIDˆ = AINˆ =1 (กาหนดให้)
AI (ด้านร่วม)
ADI  ANI (ด.ฉ.ด.)
ˆ  IDA
INA ˆ (มุมที่สมนัยกัน ของรูปสามเหลี่ยมที่
เท่ากันทุกประการ)
หรือ DNAˆ  NDA
ˆ

ดังนั้น DA  NA
(มุมที่เส้นรอบวงเท่ากันส่วนโค้งที่รองรับ
ย่อมเท่ากัน)
2 กาหนดให้ E เป็นจุดศูนย์กลางของวงกลม KR / / EO (กาหนดให้)
KR / / EO 1ˆ  3ˆ (มุมแย้งเท่ากัน)
จงพิสูจน์ว่า ขนาดของ RO เท่ากับ ขนาดของ ON 2ˆ  4ˆ (มุมภายนอกและมุมภายใน ที่อยู่ตรงข้าม
บนข้างเดียวกันของเส้นตัด)
△KER เป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว (ER = EK)
3ˆ  4ˆ (สมบัติรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว)
1ˆ  2ˆ (สมบัติถ่ายทอด)
RO  ON (ส่วนโค้งที่อยู่ตรงข้ามมุมที่เท่ากันย่อม
เท่ากัน)
3 กาหนดให้ LO / / MA LO / / MA (กาหนดให้)
จงพิสูจน์ว่า ขนาดของ LM เท่ากับ ขนาดของ OA ˆ  AMO
LOM ˆ (มุมแย้งเท่ากัน)
LM  OA (ส่วนโค้งที่อยู่ตรงข้ามมุมที่เท่ากันย่อม
เท่ากัน)
ใบงำน มุมที่จัดศูนย์กลางและมุมในส่วนโค้งของวงกลม ชื่อ.........................................................ชั้น...............เลขที่................

คำชี้แจง : จงแสดงการพิสูจน์ในแต่ละข้อต่อไปนี้
ข้อ รูป พิสูจน์
1 กาหนดให้ SOI เป็นส่วนโค้งรอบครึ่งวงกลมระบบ SOI เป็นส่วนโค้งรอบครึ่งวงกลม
OL  SI OL  SI (กาหนดให้)
จงพิสูจน์ว่า SL OL ˆ 1
 SOI
OL IL
ใน △SOL และ △ SOI
ˆ 1
ˆ  SOI
SLO
ˆ  OSI
OSL ˆ (มุมร่วม)
ˆ  OIS
SOL ˆ (มุมภายในของรูปสามเหลี่ยมสองรูปมีมุม
สองมุมเท่ากันมุมที่เหลือย่อมเท่ากัน)
ใน △SOL และ △OIL
ˆ ( OIS
ˆ  OIL
SOL ˆ ) (มุมเดียวกัน)

ˆ  OLI
OLS ˆ 1
ˆ  LOI
OSL ˆ (มุมภายในของรูปสามเหลี่ยมสองรูปมีมุม
สองมุมเท่ากันมุมที่เหลือย่อมเท่ากัน)
△SOL∼△ OIL (มุมเท่ากันสามมุมมุมต่อมุม)
SL OL
ดังนั้น  (สมบัติรูปสามเหลี่ยมคล้าย)
OL IL
2 กาหนดให้ AD, AB ED และ EB เป็นคอร์ดของ ˆ  BOE
AOD ˆ (มุมตรงข้าม)
วงกลม DABˆ  BEDˆ (มุมที่ตั้งอยู่บน DB เดียวกัน)
จงพิสูจน์ว่า △ADO ∼ △EBO ADEˆ  EBAˆ (มุมที่ตั้งอยู่บน AE เดียวกัน)
ดังนั้น △ADO ∼ △EBO (มุมเท่ากันสามมุม มุมต่อมุม)
ใบงำน มุมที่จัดศูนย์กลางและมุมในส่วนโค้งของวงกลม ชื่อ.........................................................ชั้น...............เลขที่................

คำชี้แจง : จงแสดงการพิสูจน์ในแต่ละข้อต่อไปนี้
ข้อ รูป พิสูจน์
1 กาหนดให้ LO และ NI เป็นคอร์ดของวงกลม ตัดกัน ใน △LNS และ △IOS
ที่จุด S 5̂  6ˆ (มุมตรงข้าม)
LN LS
จงพิสูจน์ว่า  1ˆ  2ˆ (มุมที่ตั้งอยู่บน NO เดียวกัน)
IO IS
3ˆ  4ˆ (มุมที่ตั้งอยู่บน LI เดียวกัน)

△LNS∼△IOS (มุมเท่ากันสามมุมมุมต่อมุม)
LN LS
ดังนั้น  (สมบัติรูปสามเหลี่ยมคล้าย)
IO IS

2 วงกลมที่เท่ากันสองวงตัดกันที่จุด A และจุด B ลาก ลาก AB ได้ ASB และ ARB


ส่วนของเส้นตรง PQ ผ่านจุด A และสิ้นสุดที่เส้นรอบ AB (คอร์ดร่วม)
วงของวงกลมทั้งสอง จงพิสูจน์ว่า BP = BQ ASB = (คอร์ดยาวเท่ากันส่วนโค้งจะยาวเท่ากัน)
ARB

APBˆ  AQB ˆ (มุมที่ตั้งอยู่บนส่วนโต้งที่เท่ากันย่อมเท่ากัน)

△PBQ เป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว(มุมที่ฐานมีขนาดเท่ากัน)
ดังนั้น BP = BQ (สมบัติรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว)

.
ใบควำมรู้ เส้นสัมผัสวงกลม ชื่อ.........................................................ชั้น...............เลขที่................

กำรสร้ำงเส้นสัมผัส (เส้นสัมผัส tangent line)


ให้นักเรียนพิจารณาการสร้างเส้นสัมผัสต่อไปนี้
จงลากเส้นสัมผัสวงกลมวงหนึ่ง ณ จุดที่กาหนดให้ภายในวงกลม

กาหนดให้ ให้ O เป็นจุดศูนย์กลางของวงกลม


P เป็นจุดจุดหนึ่งบนเส้นรอบวง
สิ่งที่ต้องการสร้าง ลากเส้นสัมผัสมาสัมผัสวงกลม O ที่จุด P
สร้าง ลาก OP
ที่จุด P ลากเส้นตั้งฉาก ℓ ให้ตั้งฉากกับ OP
จะได้ ℓ เป็นเส้นสัมผัสวงกลม O ที่จุด P
จากจุดจุดหนึ่งภายนอกวงกลมลากเส้นสัมผัสมายังวงกลม

กาหนดให้ ให้ P เป็นจุดจุดหนึ่งภายนอกวงกลม O


สิ่งที่ต้องการสร้าง จากจุด P ลากเส้นสัมผัสมายังวงกลม O
สร้าง ลากเส้นเชื่อม OP
แบ่งครึ่ง OP ที่จุด M
ใช้ M เป็นจุดศูนย์กลางรัศมี MO เขียนส่วนโค้งของวงกลมตัดวงกลม O
ที่จุด A และ จุด B
ลาก PA และ PB
จะได้ PA และ PB เป็นเส้นสัมผัสวงกลม O ที่จุด A และจุด B
พิสูจน์ ลาก OA และ OB
OAP ˆ และ OBP ˆ ต่างก็เท่ากับ 1 (มุมในครึ่งวงกลม)

PA เป็นเส้นสัมผัสวงกลม 0 ที่จุด A
PB เป็นเส้นสัมผัสวงกลม 0 ที่จุด B
วงกลม O และวงกลม O' สัมผัสกันภายนอกที่จุด A
จุดศูนย์กลาง O, O' และจุด A อยู่บนเส้นตรงเดียวกัน
BC เป็นเส้นสัมผัสร่วม

OC ตั้งฉากกับ BC และมีความยาว R +r


BC แบ่งครึ่งเส้นสัมผัส DE และ FG
รูปที่ 1วงกลมสัมผัสกันภายนอก

วงกลม O และ O' สัมผัสกันภายในที่จุด P


AB เป็นเส้นสัมผัสร่วม

OO ต่อออกมาพบจุด P และตั้งฉากกับ AB

OO ยาว R - r
รูปที่ 2 วงกลมสัมผัสกันภายใน

วงกลม O และวงกลม O' ตัดกัน


AB เป็นคอร์ดร่วม
ถ้าวงกลมไม่เท่ากัน
เส้นสัมผัส CD และ EF ต่อออกไปตัดกันที่จุด P

รูปที่ 3 วงกลมตัดกัน เส้น OO แบ่งครึ่งและตั้งฉากกับ AB


และต่อออกไปจะพบจุด P

วงกลม O และวงกลม O' ไม่ตัดกัน


AB และ CD เป็นเส้นสัมผัสตัดกันที่จุด P
AB=CD
EF และ GH เป็นเส้นสัมผัส
EF = GH

รูปที่ 4 วงกลมไม่ตัดกัน

AB เป็นเส้นสัมผัส ลากมาสัมผัสวงกลม O ที่จุด A


เส้นสัมผัส AB ตั้งฉากกับรัศมี OA ที่จุด A

รูปที่ 5ส่วนของเส้นตรงซึ่งตัดวงกลมเพียงจุดเดียว
เท่านั้น เรียกว่า เส้นสัมผัสวงกลม
ใบงำน เส้นสัมผัสวงกลม ชื่อ.........................................................ชั้น...............เลขที่................

1. คำชี้แจง : กาหนดให้ ให้ o เป็นจุดศูนย์กลางของวงกลม PA และ PB เป็นเส้นสัมผัส

สิ่งที่ต้องพิสูจน์ PA = PB
พิสูจน์ ลาก PO, OA และ OB
ใน △ POA และ △ POB
ˆ 1
PÂO  PBO
OA =OB (รัศมีของวงกลม)
OP (ด้านร่วม)
△ POA ≅ △ POB (ฉ.ด.ด.)
PA = PB (ด้านที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการ)

หมำยเหตุ จาก △ POA ≅ △ POB จะได้ว่า POA ˆ  PÔB

สรุปได้ว่า เส้นสัมผัสสองเส้น คือ PA และ PB รองรับมุมที่จุดศูนย์กลางเท่ากัน

2. คำชี้แจง : กาหนดให้ PT เป็นเส้นสัมผัสซึ่งสัมผัสวงกลม O ที่จุด P

สิ่งที่ต้องพิสูจน์ PT ตั้งฉากกับรัศมี OP
พิสูจน์ ให้ Q เป็นจุดใด ๆ บน PT
ลาก OQ
ถ้า PT เป็นเส้นสัมผัสทุกจุดที่อยู่ใน PT
นอกจากจุด P จะอยู่นอกวงกลม
OQ ยาวกว่ารัศมี OP และเป็นจริงสาหรับทุกจุด Q บน PT
OP เป็นเส้นสั้นที่สุดที่ลากจากจุด O ไปยัง PT (ลากเส้นจากจุดจุดหนึ่งภายนอกเส้นตรงไปยังเส้นตรง
เส้นตั้งฉากเป็นเส้นที่สั้นที่สุด)
ใบงำน เส้นสัมผัสวงกลม ชื่อ.........................................................ชั้น...............เลขที่................

คำชี้แจง : จงพิสูจน์ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1. 2.

จากรูป X มีความยาวเท่าใด
△ OAB เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก จากรูป X มีความยาวเท่าใด
จะได้ OB2 = OA2 + AB2 ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก OBA
= 142+ 482 จะได้ OA2 = OB2 + AB2
= 196 + 2,304 102 = 52 + AB2
= 2,500 AB2 = 75
OB = ±50 ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABD
เนื่องจากความยาวเป็นจานวนบวก DA2 = AB2 + BD2
จะได้ BC = CO + OB X2 = AB2 + DB2
X = OB + 14 = 75 + 102
= 50 + 14 = 175
= 64 X = 5 7
ดังนั้น x = 64 เนื่องจาก ความยาวเป็นจานวนบวก X = 5 7
3. 4.

กาหนดให้ LO, LN และ LG เป็นเส้นสัมผัสวงกลม


IL และ IK เป็นเส้นสัมผัสวงกลม E จงพิสูจน์ว่า LO = LG
จงพิสูจน์ว่า △ILE ≅ △IKE พิสูจน์ LO = LN (จากจุดภายนอกวงกลมลากเส้นสัมผัส
พิสูจน์ IE (ด้านร่วม) วงกลมได้เพียงสองเส้น และเส้นสัมผัสทั้ง
IL = LK (ลากเส้นสัมผัสจากจุด สองยาวเท่ากัน)
ภายนอกมาสัมผัสวงกลมเส้น LN= LG (จากจุดภายนอกวงกลมลากเส้นสัมผัส
สัมผัสทั้งสองยาวเท่ากัน) วงกลมได้เพียงสองเส้น และเส้นสัมผัสทั้ง
LE = KE (รัศมีของวงกลม) สองยาวเท่ากัน)
นั่นคือ △ILE ≅ △ IKE (ด.ด.ด.) นั่นคือ LO = LG (สมบัติการถ่ายทอด)
ดังนั้น △ILE ≅ △ IKE ดังนั้น LO=LG
ใบงำน เส้นสัมผัสวงกลม ชื่อ.........................................................ชั้น...............เลขที่................

คำชี้แจง : จงพิสูจน์ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1. 2.

กาหนดให้ CA และ EA เป็นเส้นสัมผัสวงกลมทั้งสอง กาหนดให้ TW และ TN เป็นเส้นสัมผัสวงกลม


จงพิสูจน์ว่า CR = EV WANT เป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน
พิสูจน์ AC = AE (จากจุดภายนอกลากเส้นสัมผัสวงกลมได้ จงพิสูจน์ว่า WANT เป็นรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน
เพียงสองเส้นและเส้นสัมผัสทั้งสองยาว พิสูจน์ TW = TN (จากจุดภายนอกลากเส้นสัมผัสวงกลมได้
เท่ากัน) เพียงสองเส้นและเส้นสัมผัสทั้งสองยาว
AR = AV (จากจุดภายนอกลากเส้นสัมผัสวงกลมได้ เท่ากัน)
เพียงสองเส้นและเส้นสัมผัสทั้งสองยาว TW = NA (ด้านตรงข้ามของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานจะ
เท่ากัน) ยาวเท่ากัน)
AC - AR = AE - AV (สมบัติการเท่ากัน) TN = NA (ด้านตรงข้ามของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานจะ
AC - AR = CR ยาวเท่ากัน)
AE - AV = EV TW = TN = NA = W (สมบัติการถ่ายทอด)
นั่นคือ CR = EV (สมบัติการถ่ายทอด) นั่นคือ WANT เป็นรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน
ดังนั้น CR = EV ดังนั้น WANT เป็นรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน
3.
กาหนดให้ WI และ WB เป็นเส้นสัมผัสวงกลม
จงพิสูจน์ว่า WS แบ่งครึ่ง IWH
ˆ

พิสูจน์ ลาก SI และ SH


SI = SH (รัศมีของวงกลม)
WI = WH (จากจุดภายนอถลากเส้นสัมผัสวงกลมได้เพียงสองเส้น และเส้นสัมผัสทั้งสองยาวเท่ากัน)
WS (ด้านร่วม)
△WIS ≅ △WHS (ด.ด.ด.)
ˆ  HWS
IWS ˆ (มุมที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการ)
นั่นคือ WS แบ่งครึ่ง IWHˆ

ดังนั้น WS แบ่งครึ่ง IWH


ˆ
ใบงำน เส้นสัมผัสวงกลม ชื่อ.........................................................ชั้น...............เลขที่................

คำชี้แจง : จงพิสูจน์ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1. 2.

กาหนดให้ PI และ PE เป็นเส้นสัมผัสวงกลม N จากรูป AD และ AE เป็นเส้นสัมผัสวงกลม O


จงพิสูจน์ว่า IPE
ˆ  180  INE
ˆ AD และ AE ยาวด้านละ 8 เซนติเมตร
พิสูจน์ NIP ˆ  90 (รัศมีตั้งฉากกับเส้นสัมผัสที่จุด
ˆ  NEP BC สัมผัสวงกลม O ที่จุด F
สัมผัส) และ BC = 3 เซนติเมตร
ˆ  NEP
NIP ˆ  180 จงหาความยาวของเส้นรอบรูป△ ABC
IPE ˆ  360  180 (ผลบวกมุมภายในรูป
ˆ  INE พิสูจน์ BF = BD = 1.5 เซนติเมตร
สี่เหลี่ยมรวมกันเท่ากับ360∘) CF = CE = 1.5 เซนติเมตร
ˆ  INE
IPE ˆ  180 AD = AE =8 เซนติเมตร
นั่นคือ ˆ (สมบัติการเท่ากัน)
ˆ  180  INE
IPE AB = AD - BD = 8 - 1.5 = 6.5 เซนติเมตร
ดังนั้น ˆ  180  INE
IPE ˆ AC = AE - CE =8-1.5 = 6.5 เซนติเมตร
ความยาวเส้นรอบรูปของ △ ABC = AB + AC + BC
= 6.5 + 6.5 + 3
= 16
ดังนั้น เส้นรอบรูปของ △ABC เท่ากับ 16 เซนติเมตร

3.

กาหนดให้ PT เป็นเส้นสัมผัส
ˆ และ PTS
จงเปรียบเทียบ PAT ˆ

จะได้ PRT ˆ (มุมที่เกิดขึ้นจากเส้นสัมผัสจดกับคอร์ด ย่อมเท่ากับ มุมที่อยู่ในส่วนของวงกลมตรงกันข้าม)


ˆ  PTS

ดังนั้น PRT
ˆ  PTS
ˆ
ใบงำน เส้นสัมผัสวงกลม ชื่อ.........................................................ชั้น...............เลขที่................

คำชี้แจง : จงพิสูจน์ในแต่ละข้อต่อไปนี้
1.
กาหนดให้ UX เป็นเส้นสัมผัสวงกลม
จงหาว่า YVZ
ˆ และ VYZ ˆ มีขนาดกี่องศา

ˆ
YVZ เป็นมุมตรงข้ามของรูปสี่เหลี่ยมซึ่งแนบในวงกลม รวมกันเท่ากับสองมุมฉาก
จะได้ ˆ
180  110  YVZ
YVZ  180  110
 70
ˆ เป็นมุมตรงข้ามของรูปสี่เหลี่ยมซึ่งแนบในวงกลม
VYZ รวมกันเท่ากับสองมุมฉาก
จะได้ ˆ
180  100  YVZ
ˆ  180  100
YVZ
 80
ดังนั้น ˆ
YVZ เท่ากับ 70 องศา
ˆ เท่ากับ 80 องศา
VYZ

2.

กาหนดให้ ด้านทั้งสามของ △APR สัมผัสวงกลม


ที่จุด S, I และจุด E และ SPI ˆ
ˆ  SAE

จงพิสูจน์ว่า PS = SA

พิสูจน์ SPI ˆ
ˆ  SAE หรือ SPRˆ  SAR ˆ (กาหนดให้)

RI = RE (เส้นสัมผัสจากจุดภายนอกยาวเท่ากัน)
△ APR เป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว (มีด้านยาวเท่ากันสองด้าน)
ˆ  PÂR
APR (สมบัติรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว)
PR - RL = AR-RE (สมบัติการเท่ากัน)
PI = AE
แต่ PI = PS (เส้นสัมผัสจากจุดภายนอกยาวเท่ากัน)
AE = SA (เส้นสัมผัสจากจุดภายนอกยาวเท่ากัน)
นั่นคือ PS = SA (PL= AE)
ดังนั้น PS = SA

You might also like