You are on page 1of 10

สัปดาห์ที่ หน้าที่

เนื้อหาการสอน 6 1
รหัสและชื่ อวิชา : : 2106-2110 กลศาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน

จุดเซนทรอยและจุดศูนย์ ถ่วง (Centroid and Gravity)


แรงกระจาย ( Distribution Forces)
แรงที่ปรากฎในธรรมชาติโดยทัว่ ไปจะเป็ นแรงแบบแผ่กระจายอยูบ่ นพื้นที่จากัดหนึ่งปริ มาณของ
วัตถุ แต่อย่างไรก็ตามแรงกระจายเป็ นแรงรวมแรงเดียวได้เมื่อพิจารนาในกรณี แรงกระทาบนพื้นที่นอ้ ยๆ เมื่อกับ
พื้นที่ท้ งั หมดของโครงสร้างนั้นๆ แรงดึงดูดของโลก ถือเป็ นแรงกระจายที่สาคัญ ซึ่ งกระจายทัว่ ทั้งปริ มาณของ
วัตถุสามารถทาให้ทราบถึงจุดศูนย์ถ่วง ( Center of Gravity ) ของวัตถุต่างๆใด
1. จุดศูนย์ ถ่วง และจุดกลางมวล ( Center of Gravity and Center of Mass)
จุดศูนย์ถ่วง หมายถึง จุดซึ่ งแนวของน้ าหนักของก้อนของวัตถุน้ นั ผ่านดิ่งลงไม่วา่ วัสดุน้ นั จะอยูใ่ นลักษณะใดก็
ตาม หรื อบางครั้งจุดศูนย์ถ่วงยัง หมายถึง จุดที่แรงลัพธ์ของแรงกระจายหรื อแรงกระจายหรื อแรงย่อยภายในวัตถุ
นั้น
2. เซนทรอยด์ หรื อจุดศูนย์ กลางของวัตถุ
เซนทรอยด์ หมายถึง จุดศูนย์กลางทางเลขาคณิ ตของวัตถุน้ นั แต่ถา้ จะพิจารณาถึงคุณสมบัติทางฟิ สิ กส์ของวัตถุ
มักจะเป็ น จุดศูนย์กลางมวล อย่างไรก็ตาม จุดศูนย์กลาง ( Centroid ) และจุดศูนย์กลางมวล ( Center of Mass )
จะเป็ นจุดเดียวกันเมื่อวัตถุน้ นั มีความหนาแน่นสม่าเสมอและถ้าหากวัตถุมีความหนาแน่นไม่สม่าเสมอแล้ว จุด
ดังกล่าวทั้งสองจะไม่ทบั กัน
จุดเซนทรอยด์ของพื้นที่เดียวกัน
จุดเซนด์ทรอยด์ของพื้นที่เดี่ยวกัน ( Centroid of An Area )
1. รู ปสี่ เหลี่ยม Y a

b
y X
x
สัปดาห์ที่ หน้ าที่
เนือ้ หาการสอน 6 2
รหัสและชื่อวิชา : 2106-2110 กลศาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา :วิทนาลัยเทคนิคน่าน

b
เซนทรอยด์จากแกน X = y =
2

a
เซนทรอยด์จากแกน Y = x =
2
2.วงกลม Y

r A = лr2
c
y
X
x
เซนทรอยด์จากแกน X = y = r
เซนทรอยด์จากแกน Y = x = r

3.ครึ่ งวงกลม y

A = л r2
y r 2
C
x

4r
เซนทรอยด์จากแกน X = y =
3
เซนทรอยด์จากแกน Y = x = r
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 6 3
รหัสและชื่ อวิชา : : 2106-2110 กลศาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยยเทคนิคน่าน

4. ครึ่ งพาราโบล่า
y
x
2
A= ab
3
b c
y
a
3
เซนทรอยด์จากแกน X = y = b
8

2
เซนทรอยด์จากแกน Y = x = a
5
ในกรณี ที่วตั ถุไม่เป็ นเนื้ อเดียวกันและมีรูปร่ างต่างๆกัน การ หาเซนทรอยด์ของรู ปเหล่านั้นใช้วธิ ีโมเมนต์
ของพื้นที่ คือ ผลรวมของโมเมนต์ของพื้นที่รวม มีค่าเท่ากับ โมเมนต์ของพื้นที่ยอ่ ยแต่ละพื้นที่รวมกันดังรู ป

A1
Y1 A2
Y2 x
X2

X1

จากรู ปเป็ นสี่ เหลี่ยมติดเป็ นแผ่นเดี่ยวกัน โดยแบ่งพื้นที่เป็ น A1 และ A2 โดยมีระยะห่างจากแกน x และ y


ห่างจากจุดเซนทรอยด์เป็ นระยะ x1 , x2 และ y1,y2 ตามลาดับ
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 6 4
รหัสและชื่ อวิชา : : 2106-2110 กลศาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
หาระยะ x ให้โมเมนต์ของพื้นที่หมุนรอบแกน y
X (A1+A2) = A1X1 + A2X2
A1 X 1  A2 X 2
X =
A1  A2

หาระยะ y ให้โมเมนต์ของพื้นที่หมุนรอบแกน x
y (A1+A2) = A1Y1  A2Y2
A1Y1  A2Y2
y =
A1  A2
ในกรณี ที่วตั ถุเป็ นทรงลูกบาศก์ จะต้องใช้ปริ มาตรแทนพื้นที่
จะได้ x = V 1X1 + V2 X2
V1 +V2
y = V 1Y1 +V2 Y2
V1 +V2
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 6 5
รหัสและชื่ อวิชา : : 2106-2110 กลศาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน

ตัวอย่างที่ 1
จงหาเซนทรอยด์สาหรับวัตถุที่มีเป็ นเนื้อเดียวกันและเป็ นรู ปร่ างต่างกัน ดังแสดงดังรู ป
Y

Y1 Y2
X1 X
X2

วิธีทา จากรู ปเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้าติดกันเป็ นแผ่นเดียว แบ่งพื้นที่ออเป็ น A1 และ A2 ระยะทางจาก
เซนทรอยด์ถึงแกน X และแกน Y เป็ น x1,x2,y1 และ y2
1) หาระยะ x ได้จากโมเมนต์ของพื้นที่หมุนรอบแกน Y คือ
My = A1 X1 + A2 X2
หรื อ X(A1 A2 ) = A1 X1 + A2X2
Y = A1 Y1 + A2Y2
A1+A2
2) หาระยะ Y ได้จากโมเมนต์ของพื้นที่หมุนรอบแกน X คือ
Mx = A1X1 + A2X2
หรื อ X(A1A2) = A1X1 + A2X2
A1X 1  A2 X 2
X =
A1  A2
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 6 6
รหัสและชื่ อวิชา : : 2106-2110 กลศาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน

จงหาเซนทรอยด์จากรู ปที่กาหนด
Y 60 mm

X
10 mm
200 mm

10 mm

วิธีทา 1) คิดพื้นที่จากค่าที่โจทย์กาหนดให้ที่
A1 = ( 200)(10) (mm)²
= 2000 (mm)²
และ A2 = (60 – 10) (10 ) (mm)²
= 500 (mm)²
2) ระยะห่างจากเซนทรอยด์ของแต่ล่ะพื้นที่ ถึงแกน X,Y คือ

X1 = 10/2 = 5 mm.
Y1 = 200/2 = 100 mm
X2 = 50/2 +10 = 35 mm
Y2 = 10/2 = 5 mm
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 6 7
รหัสและชื่ อวิชา : : 2106-2110 กลศาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา :วิทยาลัยเทคนิคน่าน

3. ระยะ X และ y คิดจากโมเมนต์ของพื้นที่ท้ งั สองรอบแกน X และ Y จะได้หมุนรอบแกน X

X = A1x1 + A2x2
A1 + A2
แทนค่าจะได้ X = (2000) (5) + (500) (35)
2000+500
= 11 mm.

หมุนรอบแกน Y = A1y1 + A2y2


A1 + A2
Y = (2000) (100) +( 500) (5)
2000+500
= 81 mm.
ดังนั้นได้จุดเซนทรอยด์อยูท่ ี่ (x,y) = ( 11,81 )
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 6 8
รหัสและชื่ อวิชา : : 2106-2110 กลศาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา :วิทยาลัยเทคนิคน่าน

ตัวอย่างที่ 3
จงหาเซนทรอยด์ของรู ปแผ่โลหะเจาะรู ดังแสดงในรู ป

100 mm
60 mm
30 mm.

20 mm 20 mm
วิธีทา 1) แบ่งพื้นที่ออกเป็ น A1,A2 และ A3 และแทนค่าจะได้
A1 = (½)(40)(100-60) = 800 mm²
A2 = (60)(40) = 2400 mm²
และ A3 = лr² = л(10)²
= 314.1 mm²
2) คิดระยะห่างจากเซนทรอยด์ ของแต่ละพื้นที่ ถึงแกน X และ Y ได้
X1 = (2/3) (40 ) = 26.7 mm
Y1 = (1/3)(40)+60 = 73.33 mm
X2 = (40/2 ) = 20 mm
Y2 = ( 60/2) = 30 mm
X3 = 20 mm
และ Y3 = 30 mm
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 6 9
รหัสและชื่ อวิชา : : 2106-2110 กลศาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา :ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน

3) ระยะ X และ y คิดจากโมเมนต์ของพื้น


หมุนรอบแกน Y
X = A1X1 + A2X2
A1 + A2
แทนค่าจะได้ X = (800)(26.67)+(2400)(20)-(314.16)(20)
800+2400-314.16
= 21.84 mm.

หมุนรอบแกน Y = A1y1 + A2y2


A1 + A2
Y = (800)(73.3)+(2400)(30)-(314.16)(30)
800+2400-314.16
= 42.01 mm.
สัปดาห์ที่ หน้าที่
แบบฝึ กหัด 6 1
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลศาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน

จากรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า 2 รู ป จงหาโมเมนต์ของความเฉื่ อยรอบแกนผ่านจุดเซนทรอยด์

( X และ Y ) Y

150 mm A1
y = 65.625 mm. A2 75 mm
X
x =212.5 mm.
300 mm 200 mm

วิธีทา
พื้นที่ A1 = 150 x 300 = 45000 mm.
พื้นที่ A2 = 200 x 75 = 15000 mm.
หาระยะ X และ Y
X1 = 300/2 = 150 mm.
X2 = (200/2)+ 300 = 400 mm.
Y1 = 150/2 = 75 mm.
Y2 = 75/2 = 37.5 mm.
หา X
45000  150  15000  400
X =
45000  15000
= 212.5 mm.
หา Y
45000  75  15000  37.5
Y =
45000  15000
= 65.625 mm. ans

You might also like