You are on page 1of 29

บทที่ 3

อินทิกรัล 3 ชั้น (Triple Integral)


ในบทนี้ เราจะศึกษาอินทิกรัลของฟังก์ชัน 3 ตัวแปร

3.1 อินทิกรัลของฟังก์ชัน 3 ตัวแปร


ให้ W = f (x, y, z) เป็นฟังก์ชันที่นิยามบนทรงตัน Q

แบ่ง Q ออกเป็นส่วน ๆ ด้วยระนาบที่ขนานกับระนาบพิกัดทั้ง 3 ซึ่งจะทำให้เกิดเป็นรูปทรงกล่องสี่เหลี่ยม


หลายรูป
ให้ Q1 , Q2 , . . . , Qn แทนรูปทรงกล่องทั้งหมดที่อยู่ภายใน Q และ ∆V1 , ∆V2 , . . . , ∆Vn แทนปริมาตร
ของ Q1 , Q2 , . . . , Qn ตามลำดับ
เลือกจุด (x1 , y1 , z1 ), (x2 , y2 , z2 ), . . . , (xn , yn , zn ) จาก Q1 , Q2 , . . . , Qn ตามลำดับ ถ้าแบ่ง Q มี
ความละเอียดพอจนทำให้ผลรวม n
!
f (xk , yk , zk )∆Vk
k=1

มีค่าเข้าใกล้ค่าคงที่ค่าหนึ่ง (และเพียงค่าเดียว) เราจะกล่าวว่า f อินทิเกรตได้บน Q และค่าคงที่ ดังกล่าวจะ


เรียกว่า อินทิกรัล 3 ชั้น ของ f บน Q และเราจะเขียนแทนด้วย
˚
f (x, y, z)dV
Q

การคำนวณค่าอิ˚
นทิกรัล 3 ชั้น
ในการคำนวณ f (x, y, z)dV เราจะอาศัยการอินทิเกรตซ้ำเช่นเดียวกับการหาค่าอินทิกรัล 2 ชั้น ซึ่ง
Q

แบ่งวิธีการคำนวณได้เป็น 3 แบบใหญ่ ๆ โดยขึ้นอยู่กับรูปทรงตัน Q ดังนี้


1. Q เป็นทรงตันที่ล้อมรอบด้วยพื้นผิว z = k1 (x, y) และ z = k2 (x, y) โดยที่ k1 , k2 เป็นฟังก์ชันที่ต่อ
เนื่องบนอาณาบริเวณ Rxy ซึ่งเป็น Projection ของทรงตัน Q บนระนาบ XY และ k1 (x, y) ≤ k2 (x, y)
ทุก (x, y) ∈ Rxy และด้านข้างเป็นทรงกระบอกที่มีตัวก่อกำเนิดขนานกับแกน Z นั่นคือ
Q = {(x, y, z)|k1 (x, y) ≤ z ≤ k2 (x, y) และ (x, y) ∈ Rxy }
66

 
˚ ¨ k2ˆ(x,y)
 
จะได้ว่า f (x, y, z)dV =  f (x, y, z)dz  dA
Q Rxy k1 (x,y)

เมื่ออินทิกรัลที่อยู่ในวงเล็บ หมายถึง การอินทิเกรตเทียบ z โดยคิด x, y คงที่ ดังนั้น


ถ้า Rxy เป็นแบบ I จะได้ว่า
˚ ˆ bˆ g2 (x) ˆ k2 (x,y)
f (x, y, z)dV = f (x, y, z)dzdydx
a g1 (x) k1 (x,y)
Q

และถ้า Rxy เป็นแบบ II จะได้ว่า


˚ ˆ d ˆ h2 (y) ˆ k2 (x,y)
f (x, y, z)dV = f (x, y, z)dzdxdy
c h1 (y) k1 (x,y)
Q

2. Q เป็นทรงตันที่ล้อมรอบด้วยพื้นผิว y = ρ1 (x, z) เเละ y = ρ2 (x, z) โดยที่ ρ1 , ρ2 เป็นฟังก์ชันที่ต่อ


เนื่องบนอาณาบริเวณ Rxz ซึ่งเป็น Projection ของทรงตัน Q บนระนาบ XZ และ ρ1 (x, z) ≤ ρ2 (x, z)
ทุก (x, z) ∈ Rxz และด้านข้างเป็นทรงกระบอกที่มีตัวก่อกำเนิดขนานกับแกน Y นั่นคือ
Q = {(x, y, z)|ρ1 (x, z) ≤ y ≤ ρ2 (x, z) และ (x, z) ∈ Rxz }

˚ ¨ (ˆ ρ2 (x,z)
)
จะได้ว่า f (x, y, z)dV = f (x, y, z)dy dA โดยค่าทางขวามือใช้
ρ1 (x,z)
Q Rxz
หลักการคำนวณเดียวกับกรณีแรก
3. Q เป็นทรงตันที่ล้อมรอบด้วยพื้นผิว x = q1 (y, z) เเละ x = q2 (y, z) โดยที่ q1 , q2 เป็นฟังก์ชันที่ต่อ
เนื่องบนอาณาบริเวณ Ryz ซึ่งเป็น Projection ของทรงตัน Q บนระนาบ Y Z และ q1 (y, z) ≤ q2 (y, z) ทุก
(y, z) ∈ Ryz และด้านข้างเป็นทรงกระบอกที่มีตัวก่อกำเนิดขนานกับแกน X นั่นคือ

Q = {(x, y, z)|q1 (y, z) ≤ x ≤ q2 (y, z) ทุก (y, z) ∈ Ryz }


67

˚ ¨ (ˆ q2 (y,z)
)
จะได้ว่า f (x, y, z)dV = f (x, y, z)dx dA โดยค่าทางขวามือใช้หลักการคำนวณ
q1 (y,z)
Q Ryz
เดียวกับกรณีแรก
หมายเหตุ
˚
1. dV เป็นปริมาตรของ Q
Q

2. เราสามารถเปลี่ยนลำดับการอินทิเกรตโดยที่ค่าอินทิกรัล 3 ชั้น ไม่เปลี่ยน


3. การประยุกต์อินทิกรัล 3 ชั้น มีได้มากมายแล้วเเต่การนำไปตีความหมายในเรื่องนั้น ๆ แต่ในที่นี้จะกล่าว
เฉพาะเรื่องปริมาตร
ตัวอย่างที่ 3.1.1. กำหนดให้ f (x, y, z) = x2 zexyz และ D = [1, 2] × [1, 3] × [2, 3] จงหาค่าปริพันธ์ 3
ชั้น ของ f บน D
˚
ตัวอย่างที่ 3.1.2. จงหาค่าของ x3 y 2 zdxdydz เมื่อ Q เป็นทรงตันที่ล้อมรอบด้วยทรงกระบอก
Q
1
y = x2 และ z = กับระนาบ x = 1, x = 2, y = 0 และ z = 0
x
ตัวอย่างที่ 3.1.3. จงหาปริมาตรของรูปทรงตันใน octant ที่ 1 ซึ่งล้อมรอบด้วยระนาบ z = 0, z = 20−x−y
และทรงกระบอก x2 + y2 = 144
แบบฝึกหัด 3.1
ข้อ 1-5 จงหาค่าของปริพันธ์ซ้อน

ˆ 1 ˆ x2 ˆ x3 y ˆ 1 ˆ y ˆ y+z
1. 3 2
x y z dz dy dx 2. xy dx dz dy
0 0 0 0 y 0

ˆ 2 ˆ 4−z 2 ˆ 2−z ˆ 1 ˆ x ˆ x+z
3. z dx dy dz 4. ex+y+z dy dz dx
0 0 0 0 −x −x−z
√ √ 2 2
ˆ 1 ˆ 3z ˆ 3(y +z ) *
5. xyz x2 + y 2 + z 2 dx dy dz
0 0 0

ข้อ 6-9 จงเปลี่ยนลำดับของปริพันธ์ซ้อนที่กำหนดให้โดยให้มีลำดับตามที่ระบุไว้พร้อมทั้งเขียนรูปโดเมนของ


การหาปริพันธ์
68

6−x 6−x−2y
ˆ 6 ˆ ˆ
2 3
6. f (x, y, z) dz dy dx; dx dy dz
0 0 0
ˆ 1 ˆ 3−3z ˆ 2−2z
7. f (x, y, z) dx dy dz; dy dz dx
0 0 0
√ √
ˆ 1 ˆ 2 1−z ˆ 1−z
8. f (x, y, z) dy dx dz; dx dz dy
0 0 0
√ 4−x−z 2
ˆ 4 ˆ 4−x ˆ
2
9. f (x, y, z) dy dz dx; dz dx dy
0 0 0

*
10. จงเขียนปริพันธ์ซ้อนทั้ง 6 แบบของฟังก์ชัน f (x, y, z) บนบริเวณ S ที่ล้อมรอบด้วยผิว z = 16 − x2 − y 2
และระนาบ z = 2

ข้อ 11-20 จงหาค่าของปริพันธ์สามชั้นของฟังก์ชัน f บนบริเวณ S ที่กำหนดให้

11. f (x, y, z) = x กำหนดให้ S เป็นรูปทรงตันล้อมรอบด้วยผิว z = 0, y = 0, y = x, x + y = 2


และ x + y + z = 3
12. f (x, y, z) = z 2 กำหนดให้ S เป็นรูปทรงตันล้อมรอบด้วยผิว z = 0, x2 + z = 1, y2 + z = 1
13. f (x, y, z) = z กำหนดให้ S ล้อมรอบด้วยผิว x = 0, y = 0, z = 0,
x y z
+ + = 1; (a, b, c > 0)
a b c √ √ √
14. f (x, y, z) = z กำหนดให้ S ล้อมรอบด้วยผิว x = 0, y = 0, z = 0, x + √y + z = a
15. f (x, y, z) = xy2 z 3 กำหนดให้ S เป็นรูปทรงตันล้อมรอบด้วยผิว z = xy และระนาบ
y = x, x = 1 และ z = 0
16. f (x, y, z) = (1 + x + y + z)−3 กำหนดให้ S เป็นรูปทรงตันล้อมรอบด้วยระนาบพิกัดทั้งสามและ
ระนาบ x + y + z = 1
17. f (x, y, z) = xyz กำหนดให้ S = {(x, y, z) | x2 + y2 + z 2 ≤ 1, x ≥ 0, y ≥ 0, z ≥ 0}
x2 y 2 z 2 x2 y 2 z 2
18. f (x, y, z) = 2 + 2 + 2 กำหนดให้ S เป็นรูปทรงตันที่ล้อมรอบด้วยทรงรี 2 + 2 + 2 = 1
a* b c a b c
19. f (x, y, z) = x + y กำหนดให้ S เป็นรูปทรงตันที่ล้อมรอบด้วยกรวย z = x + y2 และ
2 2 2 2

ระนาบ z = 1
20. f (x, y, z) = x2 กำหนดให้ S เป็นรูปทรงตันที่ล้อมรอบด้วยผิว y2 + z 2 = 4ax, y2 = ax และ
x = 3a
21. จงหาปริมาตรของรูปทรงตันที่ล้อมรอบด้วยทรงพาราโบลาเชิงวงรี z = x2 + 9y2 และ
z = 18 − x2 − 9y 2
22. จงหาปริมาตรของรูปทรงตันที่ล้อมรอบด้วยทรงกระบอก x2 + y2 = a2 และ x2 + z 2 = a2
23. จงหาปริมาตรของรูปทรงตันซึ่งถูกล้อมรอบทางด้านล่างด้วยระนาบ z = 0 ถูกล้อมรอบทางด้านข้าง
ด้วยทรงกระบอกเชิงวงรี x2 + 4y2 = 4 และถูกล้อมรอบทางด้านบนด้วยระนาบ z = x + 2
69

3.2 การเปลี่ยนตัวแปรจากระบบพิกัด XY Z ไปสู่ระบบพิกัดอื่นที่สำคัญ


การเปลี่ยนตัว˚
แปรในอินทิกรัล 3 ชั้น
พิจารณา f (x, y, z)dxdydz เมื่อ Qxyz เป็นทรงตันในระนาบพิกัด XY Z ถ้า x = ϕ(u, v, w),
Qxyz
y = ψ(u, v, w), z = ρ(u, v, w) มีคุณสมบัติ TP สามารถ ไป ปไ เสมอ

1. ϕ, ψ, ρ มีอนุพันธ์ย่อยอันดับ 1 ที่ต่อเนื่องบนทรงตัน Quvw ในระบบพิกัด U V W


2. แต่ละจุด (u, v, w) ใน Quvw จะจับคู่กับจุด (x, y, z) ใน Qxyz โดยการจับคู่นี้มีคุณสมบัติว่าจุดที่ต่าง
กันใน Quvw จะจับคู่กับจุดเดียวกันใน Qxyz ไม่ + ได้ +
+x x x +
+ u v w+ Jacobian matril
∂(x, y, z) ∂(x, y, z) + +
3. '= 0 เมื่อ = ++ yu yv yw ++
∂(u, v, w) ∂(u, v, w) + +
+ zu zv zw +
จะได้ว่า
˚ ˚ + ∂(x, y, z) +
+ +
f (x, y, z)dxdydz = g(u, v, w)+ +dudvdw
∂(u, v, w)
Qxyz Quvw

เมื่อ g(u, v, w) = f (ϕ(u, v, w), ψ(u, v, w), ρ(u, v, w))

ดเ ง งใน ระบบ สาม เ ม


FinalExammunnn.com M
ระบบ
( 2 =
2)
< 3.2.1 ระบบพิกัดทรงกระบอก (Cylindrical Coordinates Systems)
การกำหนดตำแหน่งของจุดในระบบนี้จะบอกด้วยพิกัด (r, θ, z) เมื่อ r, θ, z ถูกกำหนด ดังนี้
เงา
projeetion pr

อมา การ แตก แรง K

|
'

าง จาก P ไป P
|
× rcos 0 ⇐× ระยะ = 2

rsih @ =
y
1
rsine

[ โ,TT

เ อ
_

projationp วส
ด น ห งใน ด Rh
ดๆ
จะ ระบบ

ง บ หา อ เ น ใสระยะ
ดก, ด
ำ =
จาก
-

ให้ P เป็นจุดในระบบนี้ที่มีพิกัด (r, θ, z) และ P เป็นจุดที่เป็น projection ของ P บนระนาบ XY จะ


#

ได้ว่า (r, θ) เป็นพิกัดเชิงขั้วของ P # บนระนาบ XY และ


z = |P P # |
มิ
นำ
ปิ
มิ
ขั
ห่
ทำ
ต่
จุ
บิ
กุ์
จุ
พิ
คื
นิ
จุ
รี
จึ
สีดำ
ส้
พิ่
ชิ
มื่
ด้
กั
ติ
นึ่
กิ์
70

ความสัมพันธ์ของพิกัด (x, y, z) กับพิกัดทรงกระบอก (r, θ, z)


1. x = r cos θ, y = r sin θ, z =, z-
* y
2. r = x2 + y2 , θ = tan−1 ; x '= 0
x
หมายเหตุ
1. สมการ r = r0 คือ ทรงกระบอกกลมที่มีรัศมี r0 (วัดจากแกน Z ) และมีแกน Z เป็นตัวก่อกำเนิด

2. สมการ θ = θ0 คือ ระนาบที่ทำมุม θ0 กับระนาบ XZ

3. สมการ z = z0 คือ ระนาบที่ขนานกับระนาบ XY และห่างจากระนาบ XY เป็นระยะ z0


71

4. สมการ z = 4r2 คือ paraboloid z = 4(x2 + y2 )

5. สมการ r = 4 sin θ คือ ทรงกระบอกกลม x2 + (y − 2)2 = 4

อินทิกรัล 3 ชั้น ในพิกัดทรงกระบอก


ให้ f (r, θ, z) เป็นฟังก์ชันที่นิยามบนทรงตัน Q

แบ่ง Q ออกเป็นส่วน ๆ ด้วยระนาบที่มีรูปแบบเป็น θ = θ0 , z = z0 และทรงกระบอก r = rk ซึ่งทำให้


เกิดเป็นทรงตันคล้ายกล่องหลายรูป
ให้ Q1 , Q2 , . . . , Qn เป็นทรงตันนั้นทั้งหมดที่อยู่ภายใน Q และ ∆V1 , ∆V2 , . . . , ∆Vn เป็นปริมาตรของ
Q1 , Q2 , . . . , Qn ตามลำดับ ถ้าแบ่งละเอียดพอจนทำให้ค่าผลรวม
n
!
f (rk , θk , zk )∆Vk
k=1

มีค่าไม่แตกต่างมากในเเต่ละครั้งที่แบ่ง กล่าวคือ ผลรวมนี้เข้าใกล้ค่าคงที่ค่าหนึ่ง เราจะกล่าวว่า f อินทิเกรตได้


บน Q ในระบบพิกัดทรงกระบอก และเรียกค่าคงที่นั้นว่า อินทิกรัลของ f บน Q ในระบบพิกัดทรงกระบอก
72

เขียนแทนด้วย ˚
f (x, y, z)dV
Q

หมายเหตุ ถ้า Q เป็นทรงตันที่ล้อมรอบด้วยพื้นผิว z = k1 (r, θ) และ z = k2 (r, θ) โดยที่ k1 , k1 เป็น


ฟังก์ชันที่ต่อเนื่องบนอาณาบริเวณ Rrθ ซึ่งเป็น projection ของ Q บนระนาบ XY และ k1 (r, θ) ≤ k2 (r, θ)
ทุก (r, θ) ∈ Rrθ และด้านข้างเป็นทรงกระบอกที่มีตัวก่อกำเนิดขนานกับแกน Z นั่นคือ
Q = {(r, θ, z)|k1 (r, θ) ≤ z ≤ k2 (r, θ) และ (r, θ) ∈ Rrθ }
˚ ¨ (ˆ k2 (r,θ) )
จะได้ว่า f (r, θ, z)dV = f (r, θ, z)dz dA
k1 (r,θ)
Q Rrθ

ในกรณีเฉพาะ ถ้า Rrθ เป็นอาณาบริเวณดังรูปด้านล่างนี้ จะได้ว่า

˚ ˆ β ˆ g2 (θ) ˆ k2 (r,θ)
f (r, θ, z)dV = rf (r, θ, z)dzdrdθ
α g1 (θ) k1 (r,θ)
Q

การเปลี่ยนตั
˚วแปรไปสู่พิกัดทรงกระบอก
พิจารณา f (x, y, z)dxdydz
Qxyz
∂(x, y, z)
ให้ x = r cos θ, y = r sin θ, z = z จะได้ว่า =r
˚ ˚ ∂(r, θ, z)
ดังนั้น f (x, y, z)dxdydz = rf (r cos θ, r sin θ, z)drdθdz
Qxyz Qrθz

หมายเหตุ การเปลี่ยนตัวแปรโดยวิธีนี้ นิยมใช้กับการคำนวณอินทิกรัล 3 ชั้น ในพิกัด XY Z ที่มีตัว inte-


grand (f (x, y, z)) หรือลิมิตของการอินทิเกรตเกี่ยวข้องกับเทอม x2 + y2
ตัวอย่างที่ 3.2.1. จงหาปริมาตรของรูปทรงตันที่ล้อมรอบด้วยพื้นผิว z = x2 +y2 และ z = 27−2x2 −2y2
˚
ตัวอย่างที่ 3.2.2. จงหาค่าของ เมื่อ Qxyz เป็นรูปทรง 3 มิติ ที่ปิดล้อมด้วยพื้นผิว
1
(x2 + y 2 ) 2 zdxdydz
Qxyz
*
2z = 2 − x2 + y 2 และ y ≥ 0, z ≥ 0 และระนาบ XZ, XY
เ ยว รวม

กhe.✓
So12 ม ทร . . าง วง บ น
, 2
z = +
→ y

- -

¥/
///
/
1
i
l
1 NO/ /
l
l

i
→ z = 27-2×-2

>
y
2 2


Projection บน
หy
อนจะไป หา สมการ Projection เรา จะ มา ขอบเขต ความ
ง อน
ปทรงทรง ขนาน บ แกน 2 สาว เ น จาก บน ลง าง
100 วง ขอบเขต บน

เ ยว ขอบเขต าง
TB
Brojcetion วง < ไ
การ
จะ หา สมการ วง กลม
2g
สมการ เงา > พบ ระนาบ จาก

โบ แ 2 สม การ พก ลอย มา สมการ น .

27-2×2-2ๆ
2
2 = -

= ะ +
-

① =
② ะ
2
27-2×2
2 2
× +
2g y
=

Ey +2g
2 2 2
87
=
☒ ± 2×

27 = 3×2+3 -
× ③
a =
×
ำ - → บน อ วงกลม ด Origin โ ลา แรก

แร .
ข =3 ห วย
2
วาด
ป Ptojection ใน R
เงา
Rojeotion เ ม วง
Y


n
×
= 9 I. ⑦ อ C
0,2
p
g V2 =
ฯ จะ เ น า อ การ น เกมมา ใน ป วง กลม ง น เรา ง เป ยน
ด จากไป เ นระบบ ด ทรง กระบอก
G.มr→\ จากระบบ
r =
±3

.

TITTJT
|
X =
r COSQ ชะ
"
r - o rะ 3
m.no
( ญ)
'
tai
-

อะ ×#°
y
=
;
2 = 2
สี
กั
สีม่
ห่
ก้
กั
บ่
ฐฺรู
ก่
สู
ก่
ล้
กั
ที่
ม่
ล่
สีม่
ล่
นำ
มี
คำ
ที่มีจุ
กีคื
ง้
ง้
ง้
ส้
ก็
รู
ทำ
คื
จึ
นั้
ดั
รู
พิ
อิ
นี้
ข้
ว่
พิ
พิ
ห็
ติ
ส้
ป็
ขี
ด้
ขี
ก้
กั
น่
กั
ลี่
ว้
.GS/tex,y,z)dvzffSrtcrcose,rsino,z)d2drdQQxy2
±

@ ข• =
6 K< Jacominmatri •
ตร

ป มาตร
ตร ห =
fffedv
Q#yz
② = 217 ช =3 2 2
27 -
29 22
=
S S f rcndzdrde
2 2
② 2
820
y
= 0 z _ →
2
7
2) 3 27 -2
-2g <

rcndzdrdotype
ss S
=

วาง
แปลใ
การ เ น เ ง
Ey
2
o ๐

21
3 27-2 [ × = ข

=
ff S rdzdrda
0 0
+5 - r

&1| 3 27 -2

=
ff Srdzdrdo
o 0
.

.
.

"

-
-

f [ F
rdz
] drde
.

211 3 27-2

f S [ r S
2
เ da] drd อ
๐ 0 r
3
211 27 -

=
f | [ข [ 2]
] drda
๐ 0 re
243
=

ff [r[ 27 -
-

}]] drda
cr
๒ ง
21
1 3
As
=/ Sxc ะ7-3 า] drd @
00
สู
สู
ทิ
ข้
ง้
ข้
นำ
ข้
ข้
งื๋
งุ์
ช้
ช้
ก้
นำ
นั๋
ป็
ชิ
ริ
ห้
2T 3

drd Q
=

% / 27 ข-3

2M 3
ฑํ๋ dr] de
f [ Har
=
-

[ ญื๋ -

ญื๋µ
[1 ใ %] da
"

}
[¥ |[
3 -13 0]
=

=
[¥ c -

][ 2# 0 ]
#
ขู๋
ฎั๋
ษุ๋
ฏุ๋
รู๋
ข็
ยึ๋
ท้
กราฟใน Geo Qebraใ เ น ป กราฟ
Step เ ใน
812 .
การ ใ พอ ต อน .


าน
ET-
-

ใ ความ ง เ น แกน E ลาก 6 ขนาน แกน Z

,ไา เจอ สมการ อน แ ว มา เจอ ร นาย .

งเอ )
ะ= ๐

_ ด ป ① = = 2-

_ำำ
F -

=
#
÷
tstttttifojeet แทน น
xy
=

ะฐ

จะ หา สมช Projectdon ม
Rg C = =
แทน 2=0 ใน สมการ ①

0 = 2-
ร×2+TTg
2 =

T +yTR dr )
r = 2 ± ขอบเขต (อ ข
,
.

d① co * 7

ป Projeati ใน
2 ,
วาด ระนาบ R
+F เ น itegran

~้ t
ง จะ เ นา จะ พอ

อง เป ยน ด ใน ระบบ สมทรง กระบอก



ควร ระบบ ฉาก

Rtt
|
rcosa r -

×- -

rsino
(¥ ) ;
"
⑦ tom 0
g-
=
× *
-

2 = 2

Sf Jfcmy ,
dห =
SSSrfcrcosgrsino =) dadrda ,

Qxgz QQ 2
ทำ
รฺฐฺะ
ก้
ก่
รู
สู
นี่ก่
ท่
ศฺา
รู
จั
ก็
รู
น์
มี
น์
ต้
ฏุ๋
ปิ
ด้
หิ
ห็
ป็
ป็
ล้
ห้
ห้
ห้
ก้
สื้
จึ
ด้
ส๋
ลี่
ง้
ด้
£ กาใ ขอบเขต ของ
tgran
TI
2
-

(2-5)/2

=
J S frcrtzdzdrdo
⑧ 0 ③

= 21/15

Ex 3.2.3 จะ / / / xำy้ dxdydz เ อ ④ เ น ทรง สน
2
. ของ หา

ง อม วยทรง กระบอก
2
× + = × และ กรม
นะ 2
× +

อาหา2 3 < 1 ๗08/2565> 15i 30 -


15:45 น .

£1
Portgrapin Geo Gebre
"
.

\!(\น"jน
ะ *
= +

° = = ±
า#yTR

? . ×

÷

/ #
20⑨ r

Projection Ry / 1 / Eijidxdydz =/ ffrrdadrde

|
# =
* a ¥
-
r

¥ 1
#
=
rcoso =

.
.. . . .
. . .. . .
. .
.
.
. .
e)
.

rcr -
cos = 0

r =
0,8054
-
ข้
คำ
สำทุ
ศ็
ง้
ง้
ง้
ดุ
ด้
ล้
ซึ่
ฐฺณุ๊
นู
ญู่
ฐุ
ช้
ศฺ
ง้
หุ๋
มื่
ป็
ส่
ง้
ษื้
ฐั๊
เม

เ น
ม/0 แกนะ ๐

P ไป ง )
ด Origin
ระยะ ทาง หา
ๆ Cp

ลงไป ระนาบ
P การ แตก แรง
Xg

÷
\


z
=p cosf
g-psinesince
'

.
.


.. .
.

. . ... .
. .
.
.

ไม ระบบ ง เ ยก า ดทรง กลม


2
าน §
cpsingcose
2
ท@ +
× + + > +
cp
=

นมนอนนนานนอนน
] ใน
โอนโกนไ pำ☒[
+
c. • + •

ooszoesino -1
นา [¢ นะ ออ
-

sin# ] +• ย
2 2
% # +yำ→
=p
มุ
ที่
นี้ถึ
ทำ
ปู่วู่
ณั๋
ทำ
จุ
ยั
ริ
ยำ
ท่
ท่
ว้
ง้
ปิ
รู้
ริ่
ป็
รี
ท็
ว่
ที
73

3.2.2 ระบบพิกัดทรงกลม (Spherical Coordinate System)


การกำหนดตำแหน่งของจุดในระบบนี้จะบอกด้วยพิกัด (ρ, φ, θ) เมื่อ ρ, φ, θ กำหนดดังนี้

พิจารณา จุด P ในระบบนี้ ซึ่งพิกัดเป็น (ρ, φ, θ)


ให้ P # เป็นจุดที่เป็น projection ของ P บนระนาบ XY จะได้ว่า
ρ =| OP |
φ = มุมระหว่างแกน Z กับ OP (0 ≤ φ ≤ π)
θ = มุมในพิกัดเชิงขั้วที่กำหนดตำแหน่งของ P # บนระนาบ XY (0 ≤ θ ≤ 2π)

ความสัมพันธ์ระหว่างพิกัดทรงกลมกับพิกัด XY Z
1. x = ρ sin φ cos θ, y = ρ sin φ sin,θ, z-= ρ cos φ
* y
2. ρ = x2 + y2 + z 2 , θ = tan−1 ; x '= 0
x
หมายเหตุ
1. สมการ ρ = ρ0 (ρ0 > 0) คือทรงกลมรัศมี ρ0 มีจุดศูนย์กลางที่จุดกำเนิด
74

2. สมการ φ = φ0 เป็นรูปทรงกรวยที่มีจุดยอดที่จุด 0 โดยที่พื้นที่ผิวด้านข้างทำมุม φ0 กับแกน Z

3. สมการ θ = θ0 เป็นระนาบที่ตั้งฉากกับระนาบ XY และทำมุม θ0 กับระนาบ XZ

อินทิกรัล 3 ชั้น ในพิกัดทรงกลม


ให้ f (ρ, φ, θ) เป็นฟังก์ชันที่นิยามบนทรงตัน Q

แบ่ง Q ออกเป็นส่วน ๆ ด้วยพื้นผิวที่มีสมการในรูป ρ = ρ0 , φ = φ0 , θ = θ0 ซึ่งจะทำให้เกิดเป็นรูปทรง


ตันคล้ายกล่องหลายรูป
ให้ Q1 , Q2 , . . . , Qn แทนรูปทรงตันนั้นทั้งหมดที่อยู่ภายใน Q และ ∆V1 , ∆V2 , . . . , ∆Vn แทนปริมาตร
ของ Q1 , Q2 , . . . , Qn ตามลำดับ
เลือกจุด (ρ1 , φ1 , θ1 ), (ρ2 , φ2 , θ2 ), . . . , (ρn , φn , θn ) จาก Q1 , Q2 , . . . , Qn ตามลำดับ ถ้าแบ่ง Q มี
ความละเอียดพอจนทำให้ผลรวม n
!
f (ρk , φk , θk )∆Vk
k=1
75

ไม่เปลี่ยนแปลงมากในเเต่ละครั้งที่แบ่ง กล่าวคือ ผลรวมนั้นเข้าใกล้ค่าคงที่ค่าหนึ่ง เราจะกล่าวว่า f


อินทิเกรตได้บน Q ในระบบพิกัดทรงกลม และเรียกค่าคงที่นั้นว่า อินทิกรัล 3 ชั้น ของ f บน Q ในระบบ
พิกัดทรงกลม ซึ่งเขียนแทนด้วย ˚
f (ρ, φ, θ)dV
Q

หมายเหตุ ถ้า Q = {(ρ, φ, θ)|α ≤ θ ≤ β, g1 (θ) ≤ φ ≤ g2 (θ) และ k1 (φ, θ) ≤ ρ ≤ k2 (φ, θ)}

˚ ˆ β ˆ g2 (θ) ˆ k2 (φ,θ)
f (ρ, φ, θ)dV = f (ρ, φ, θ)ρ2 sin φdρdφdθ
α g1 (θ) k1 (φ,θ)
Q

การเปลี่ยนตั
˚วแปรไปสู่พิกัดทรงกลม
พิจารณา f (x, y, z)dxdydz ให้ x = ρ sin φ cos θ, y = ρ sin φ sin θ, z = ρ cos φ จะได้ว่า
Qxyz
+ ∂(x, y, z) +
+ +
+ + = |ρ2 sin φ| Jueobianmothic
∂(ρ, φ, θ)
˚ ˚
ดังนั้น f (x, y, z)dxdydz = g(ρ, φ, θ) | ρ2 sin φ | dρdφdθ
Qxyz Qρφθ

เมื่อ g(ρ, φ, θ) = f (ρ sin φ cos θ, ρ sin φ sin θ, ρ cos φ)

หมายเหตุ การเปลี่ยนตัวแปรโดยวิธีนี้ นิยมใช้กับการคำนวณอินทิกรัล 3 ชั้น ในพิกัด XY Z ที่มีตัว inte-


grand หรือลิมิตของการอินทิเกรตเกี่ยวข้องกับเทอม x2 + y2 + z 2
˚ *
ตัวอย่างที่ 3.2.3. จงหาค่าของ x2 + y 2 + z 2 dV เมื่อ Q คือส่วนของทรงกลมรัศมี a ส่วน ที่อยู่ใน
Q

octant ที่ 1
ตัวอย่างที่ 3.2.4. จงเขียนปริพันธ์ซ้อนในระบบพิกัดทรงกลมแสดงค่าของปริมาตรของรูปทรงตัน Q ที่ล้อมข้าง
*
บนด้วยครึ่งทรงกลม z = a2 − x2 − y2 และล้อมข้างล่างด้วยกรวย x2 + y2 = 3z 2
ตัวอย่างที่ 3.2.5. จงหาปริมาตรของทรงตัน Q ในอัฐภาคที่หนึ่ง ซึ่งล้อมรอบด้วย x2 + y2 + z 2 = 4,
* * 1 √
x2 + y 2 + z 2 = 9, z = x2 + y 2 , z = 3(x2 + y 2 ), y = √ x และ y = 3x
3
orzs

กอด
ห น
ง ทรง กลม ด
หมาย

2 2
+
ay a
× =

i.
ทรง กลม
ศ อ a

โจท
#/ ป g้ dV
2 2
ะ จาก += จะ
¢

ฐํ๋ น
น จะ ตอบ เป ยน
a

\ พจ 2

integran × + ง

ดตกไป เ น ระบบ ด ไ

¥
T/2 ระบบ ทรง กลม ง
@=
.

f. × .in . .•
- -
-
=p .

6.
ร ท@ไท ⑦
.
y =p
=p cosffi
=
1

p
=

#+j+Tz2Tา
"
tom
(¥ |
i ⑦ =
× °
× า
1

%
ff/fcxypsdv=fflp2'nftcpsn@cosgpdnosingp.co รอง dpdede
Qxyr §• •

⑦ ะ17/28=7/2 p
= 9

โจท / ปIyultd # = S S
Spsiingpdpdede
⑨ = 0 820 p
= o

¥ ¥ a

= ff S
0 5
pน ¢
dpddd e.
0

¥¥
=
// sin@ [
dp] dede
น¥
=/ / sing [ ฐํ๋] dcgdo
a

๒ 0

± %
=

ffsin¢ [ ] dedda
0 0

%µ dcdde
นิ
ที่มีจุ
ถึ
นี้มีรั
ม้
มี
คื
มี
หินำมี
นั้
ย้ดั
หุ้
พิ
พิ
ฐู๋
นี้
ดั
ญํ๋
ข้
รื๋
วู
รู้กํ
ฏื๋
ญู๋
อ่
ป็
ว่
นิ
ด้
กั
กั
ลี่
ล้
น์
มี
หึ๋
ย์
ญุ๋
ย์
ฑุ์
ปู๋
= 1 / singdo ] da
"
=

[
-
eos ¢ ] do

[ -

ำฐ -
da

แ ⑦

11k
[0น
=

[¥ -
o

] =

(E) =
*
ฎึ๋
ฐื๋
ฐู๊
ฒ์
ฏื้
หู๋
ภึ๋
ฐื๋
ฐื๋
ฏื๊
ปุ๋
ฐู๊
Qcia 4

ra2l÷
tx2.FI/Rx2+y2=3zR.i i. :

. ..
.

.
..
. ... .
.
..

f
a

Projection บน
Rxy
④[ 0,214]

จ โจท จะ เ นา อ ขอบเขต การ น เราร ตอใน ป ของ + +22 ง น จะ อง เป ยน


การ

จากระบบ ด กลาย
เ นระบบ ดทรง นใด ง
xyz ~
2
#+

=p singcos p
= + =

'
gapsingsine 0 tan
(¥ | i
=

× ←°
cos 8
=p
=

ffffcxy =) dห ffl pน
8tcpsnecosgps.in#nQ,pcos0)dpdgdeQxyz
e- =

Qpge
จะ หา ขอบเขต ของ ไ จาก Z =

92--2×2-94

2
=
×
2-
=
-

"
+ + - a

92
"
=

p =
± a
p
ะ < < a
p
o _ _
รู้
ทำ
ต้
นั้
ดั
ว้
รู
ทิ
อิ
นี้มี
ข้
ว่
ปิ
ฎุ้
นี้
ดั
ปิ
ย้
ว้
งุ้ห้
ห้
ห็
ป็
ด้
ลี่
ย์
ไ 322
จะ หา ขอบเขต ของ จาก +
[ =

2 2
2×2 g +
=3 = 2

Cpsingcos อา +
cpsin @sin • =3
Cpoos 8)
ไทย Tp ทน อง
2
cos ① •
p =3

ไทย [co
3p2cos%f2fs.in#=fcos2ggin2g=3cos2f
e- เรา • ] =

ฐ = 3

( อ =3

tang =3

tmg =
ร3

( ร3) §
"
¢ = tan =

rad
°


0 →
กราด

,oLแ

TL = 180


-5
)



ทา

Rxy
projeetion
หา

บน
จะ หา ขอบเขต ของ 0 จาก

Z =

va2-x2Fti21ton.tt ะ 322

2- .ie#iFT -
① y
×
=

#
×
2- =3 e-

2


atxhff )
2

แทน
① ใน ② 3 (
=

j +
y
yำ
"
2-
+
=3 Ca _
×

×

2
=3 -3×2-3
y
-

4×2+4 =3 a
I. 0 E ② E 214
2
4 [× +
f) =3
&
2
ำ 2 39
×
g
-

F
มุ
สื่
ท้
ริ
?⃝
ร้
รำที่
นำ
ว้
บ๋
ซิ่
ญี๋
วุ้
ห้
งุ้
ว้
ผ้
งู้
ก๋
ท๋
บ้
หุ้
หึ๋
ด้
ด้
ด้
ง้
% ใน
"

ngdpdgd
2

.
.

.
v = /// เ dve =

0=0 ¢= 0
Qye pzo

2# 9

11 1 pำ ¢ dpdgda

ง o
o
ฐั๋
ท่
octemt เ Ct )
×เ
y >
2


yำ 4

fmp
= =
ะ ×
-
-
_

2
4
p
=

ne,
± 2
p =

เ ดไป กลม
/
p
จาก

ง วง
เ อก +2

%#
=

p
mi 2-
× = -9
nentn
⑦ นหาก แดน ×

2=9
p
± 3

,
p
=

... µ .

.. ..
µ →
.

I. 2 EPE 3
×


2
2+22=4 -

y
+
จาก ×
จะ หา ขอบเขต ของ
p 2
.

× + + = 9 ②
-
กำ
จุ
อุ
ยั
งุ๋
นำ
ฎู๋
อํ
วั
ย้
หุ้
ลื
ด้
นิ
ฐู้
สุ๋
รุ๋
ฑั๋
ญุ๋
จะ หา ขอบเขต ของ
ff ไ จาก Z =

บ +y2โ หละ = =
ngcftyftj
_
จารนา . = =
+
T

vcpsingcosgIFTpn. o/she)2T'=p2gin2gcos2a+Fp2m gdn2aE=p2sin2oIc s2o+sin2oFT


pfcosf
=

=
นอน
sin @
=p
Cos # =

ngf
°

45
¢
=
=
ฎั๋
ท่
หู้
ส้
พิ
ด้
ขู้
ด้
v3cfty2FS.sc
จารณา .
2 =

qcpaineiocpsinasrne
os 8 =

1ofatfah%a1FFai3p2wIIcos2a .in#Fytai(Ir,)

3 [ nย

โอม
=

ร5 ±
ypsing
อ =

fcos
¢ 3

¥ =
ะ tmga #
ก๋
พิ
ญั่
อ์
ศู๊
ท่
บทที่ 3
อินทิกรัล 3 ชั้น (Triple Integral)
ในบทนี้ เราจะศึกษาอินทิกรัลของฟังก์ชัน 3 ตัวแปร

3.1 อินทิกรัลของฟังก์ชัน 3 ตัวแปร


ให้ W = f (x, y, z) เป็นฟังก์ชันที่นิยามบนทรงตัน Q

แบ่ง Q ออกเป็นส่วน ๆ ด้วยระนาบที่ขนานกับระนาบพิกัดทั้ง 3 ซึ่งจะทำให้เกิดเป็นรูปทรงกล่องสี่เหลี่ยม


หลายรูป
ให้ Q1 , Q2 , . . . , Qn แทนรูปทรงกล่องทั้งหมดที่อยู่ภายใน Q และ ∆V1 , ∆V2 , . . . , ∆Vn แทนปริมาตร
ของ Q1 , Q2 , . . . , Qn ตามลำดับ
เลือกจุด (x1 , y1 , z1 ), (x2 , y2 , z2 ), . . . , (xn , yn , zn ) จาก Q1 , Q2 , . . . , Qn ตามลำดับ ถ้าแบ่ง Q มี
ความละเอียดพอจนทำให้ผลรวม n
!
f (xk , yk , zk )∆Vk
k=1

มีค่าเข้าใกล้ค่าคงที่ค่าหนึ่ง (และเพียงค่าเดียว) เราจะกล่าวว่า f อินทิเกรตได้บน Q และค่าคงที่ ดังกล่าวจะ


เรียกว่า อินทิกรัล 3 ชั้น ของ f บน Q และเราจะเขียนแทนด้วย
˚
f (x, y, z)dV
Q

การคำนวณค่าอิ˚
นทิกรัล 3 ชั้น
ในการคำนวณ f (x, y, z)dV เราจะอาศัยการอินทิเกรตซ้ำเช่นเดียวกับการหาค่าอินทิกรัล 2 ชั้น ซึ่ง
Q

แบ่งวิธีการคำนวณได้เป็น 3 แบบใหญ่ ๆ โดยขึ้นอยู่กับรูปทรงตัน Q ดังนี้


1. Q เป็นทรงตันที่ล้อมรอบด้วยพื้นผิว z = k1 (x, y) และ z = k2 (x, y) โดยที่ k1 , k2 เป็นฟังก์ชันที่ต่อ
เนื่องบนอาณาบริเวณ Rxy ซึ่งเป็น Projection ของทรงตัน Q บนระนาบ XY และ k1 (x, y) ≤ k2 (x, y)
ทุก (x, y) ∈ Rxy และด้านข้างเป็นทรงกระบอกที่มีตัวก่อกำเนิดขนานกับแกน Z นั่นคือ
Q = {(x, y, z)|k1 (x, y) ≤ z ≤ k2 (x, y) และ (x, y) ∈ Rxy }
76

แบบฝึกหัดที่ 3.2
ข้อ 1-4 จงเขียนปริพันธ์สามชั้นของฟังก์ชัน f (x, y, z) บนบริเวณที่ล้อมรอบด้วยผิวที่กำหนดให้ใน R3
ในรูปปริพันธ์ซ้อนในระบบพิกัดทรงกระบอก
1. ทรงกลม x2 + y2 + z 2 = 9 และอยู่ภายในทรงกระบอก x2 + y2 = 4
2. ทรงกลม x2 + y2 + z 2 = 9 และอยู่ถายในทรงกระบอก x2 + y2 = 2y
3. ทรงกลม x2 + y2 + z 2 = 20 และอยู่ภายในพาราโบลา z = x2 + y2
4. ทรงพาราโบลา z = 24 − x2 − y2 และระนาบ z = 8

ข้อ 5-11 จงหาค่าของปริพันธ์ที่กำหนดให้โดยการเปลี่ยนเป็นตัวแปรในระบบพิกัดทรงกระบอก


˚
5. (x2 + y 2 ) dx dy dz เมื่อ S เป็นทรงตันที่ล้อมรอด้วยผิว x2 + y2 = 2z และระนาบ z = 2
S
˚
6. dx dy dz เมื่อ S เป็นทรงตันที่ล้อมรอบด้วยระนาบพิกัดทั้งสาม และผิว z = x2 + y 2 และ
S
ระนาบ x + y = 1
˚
7 (y 2 + z 2 ) dx dy dz เมื่อ S เป็นกรวยกลมที่มีส่วนสูงเท่ากับ h มีฐานอยู่ระนาบ xy เป็นวงกลม
S
รัศมี a และแกนของกรวยคือแกน z
ˆ 2 ˆ √
4−x2 ˆ √4−x2 −y2 ˆ 2 ˆ √4−y2 ˆ 8−x2 −y 2
8. 2
z dz dy dx 9. xy dz dx dy
0 0 0 0 0 0
ˆ 4 ˆ √4y−y2 ˆ √x2 +y2
10. yz 2 dz dx dy
0 0 0

ˆ 2ˆ 2x−x2 ˆ 4−x2 −y 2 *
11. x2 + y 2 dz dy dx
0 0 0

ข้อ 12-17 จงเขียนปริพันธ์สามชั้นของ f (x, y, z) บนบริเวณที่ล้อมรอบด้วยผิวที่กำหนดให้ใน R3 ใน


รูปของปริพันธ์ซ้อนในระบบพิกัดทรงกลม
12. ทรงกลม x2 + y2 + z 2 = a2
13. ทรงกลม x2 + y2 + z 2 = az
*
14. ทรงกลม x2 + y2 + z 2 = az และอยู่ภายในกรวย z = x2 + y2
*
15. ทรงกลม x2 + y2 + z 2 = a2 และอยู่ภายในกรวย z = 3(x2 + y2 )
16. ทรงกลม x2 + y2 + z 2 = 2az และอยู่เหนือระนาบ z = a
*
17. กรวย z = x2 + y2 และอยู่ใต้ระนาบ z = a
77

ข้อ 18-25 จงหาค่าของปริพันธ์ที่กำหนดให้โดยการเปลี่ยนเป็นตัวแปรในระบบพิกัดทรงกลม


˚
18. dx dy dz เมื่อ S คือทรงกลมรัศมี a จุดศูนย์กลางอยู่ที่จุดกำเนิด
S
˚
19. dx dy dz เมื่อ S คือรูปทรงตันที่ล้อมรอบด้วยสองทรงกลมที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุดกำเนิดร่วม
S
กันและมีรัศมี a และ b โดยที่ 0 < a < b
ˆ a ˆ √
a2 −x2 ˆ √a2 −x2 −y2
20. (x2 + y 2 + z 2 ) dz dy dx
0 0 0
√ √
ˆ aˆ a2 −y 2 ˆ 4a2 −x2 −y 2 *
21. √ x2 + y 2 + z 2 dz dx dy
0 0 3(x2 +y 2 )
ˆ a ˆ √a2 −y2 ˆ a+

a2 −x2 −y 2 *
22. √ x2 + y 2 dz dx dy
0 0 a− a2 −x2 −y 2
√ √
ˆ a ˆ a2 −x2 ˆ a+ a2 −x2 −y 2
23. √ (x2 + y 2 ) dz dy dx
0 0 x2 +y 2
ˆ a 3
√ ˆ √
3a2 −x2 ˆ √4a2 −x2 −y2
24. (x2 + y 2 + z 2 ) dz dy dx
0 0 0
√ √
ˆ a ˆ a2 −x2 ˆ a+ a2 −x2 −y 2 *
25. x2 + y 2 + z 2 dz dy dx
0 0 0
2 2
2
10 A 4 4- y
= =
✗ + -
① →
c -

# ง +22
2
± 9 -
② ✗ =
g- y

yg
#
_ _ - - -
#/
Bg
hpprojection
หา สมการ จาก ① และ 20
① ②
j
±


สิ้
ว้

You might also like