You are on page 1of 205

โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.

net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

คำนำ
โครงการ Jailbreak PAT3 by FECAMP X จัดขึ้นโดยนิสิตชมรม FECAMP คณะวิศวกรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อแนะแนวความรู้เกี่ยวกับการสอบวิชาความถนัดทางวิศวกรรม (PAT3) ให้กับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากทั่วประเทศ ที่กาลังจะเข้ารับการสอบ GAT-PAT ประจาปีการศึกษา 2560
ในอีกไม่ช้านี้ อันจะทาให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ และกระบวนการคิดที่ถูกตัองในทาง
วิศวกรรม เกิดเป็นความพร้อมในการสอบวิชาความถนัดทางวิศวกรรมต่อไป

PX
หนังสือที่อยู่ในมือของน้องเล่มนี้ เป็นหนังสือประกอบการเรียนในโครงการ Jailbreak PAT3 ประกอบ
ไปด้วย 2 ส่วน ได้แก่ สรุปสูตรและเนื้อหา ซึ่งใช้ประกอบการเรียนทบทวนเนื้อหาที่จาเป็น และ โจทย์แนว
ข้อสอบ PAT3 ซึ่งถูกคัดสรรมาอย่างดี ทั้งสาหรับการเรียนในช่วงติว และการฝึกทาด้วยตนเอง โดยเนื้อหา

AM
ทั้งหมดภายในชุดหนังสือนี้ได้ครอบคลุมเนื้อหาที่ใช้ในการทดสอบตามระบบการสอบในปัจจุบันเกือบทั้งหมด
อันได้แก่ วิชากลศาสตร์, วิชาไฟฟ้า, วิชาสมบัติสาร ,วิชาเคมี, วิชาคณิตศาสตร์ และวิ ชาความถนัดทาง
วิศวกรรม ทางคณะผู้จัดทาจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อน้องในการเตรียมตัวสอบ
FEC
วิชาความถนัดทางวิศวกรรม (PAT3) ไม่มากก็น้อย
อย่างไรก็ตาม น้อง ๆ ควรจะตั้งใจเรียนขณะที่อยู่ในคาบเรียนของค่าย รวมถึงหมั่นทบทวนเนื้อหาและ
ฝึกทาโจทย์อย่างสม่าเสมอ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจอย่างละเอียดถ่องแท้ อันเป็นกุญแจสาคัญในการสอบ
by

และนาไปสู่ความสาเร็จในการเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา ในคณะและมหาวิทยาลัยที่น้อง ๆ ใฝ่ฝัน สมดัง


เจตนารมณ์ของโครงการฯ สืบไป
eak

คณะผู้จัดทา
28 สิงหาคม 2559
lbr
Jai

คานา
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

สำรบัญ
วิชากลศาสตร์
สรุปสูตรและเนื้อหา 1
โจทย์แนวข้อสอบ PAT3 วิชากลศาสตร์ 11

วิชาไฟฟ้า

PX
สรุปสูตรและเนื้อหา 36
โจทย์แนวข้อสอบ PAT3 วิชาไฟฟ้า 50

วิชาสมบัติสาร

AM
สรุปสูตรและเนื้อหา 80
โจทย์แนวข้อสอบ PAT3 วิชาสมบัติสาร 85
FEC
วิชาเคมี
สรุปสูตรและเนื้อหา 106
โจทย์แนวข้อสอบ PAT3 วิชาเคมี 127
by

วิชาคณิตศาสตร์
สรุปสูตรและเนื้อหา 154
eak

โจทย์แนวข้อสอบ PAT3 วิชาคณิตศาสตร์ 157

วิชาความถนัดทางวิศวกรรม
โจทย์แนวข้อสอบ PAT3 วิชาคึวามถนัดทางวิศวกรรม 183
lbr

เฉลยคาตอบ 194
บรรณานุกรม 201
Jai

คณะผู้จัดทา 203

สารบัญ
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

PX
AM
FEC

กลศาสตร์
by
eak
lbr
Jai

กลศาสตร์ หน้า 1
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

การเคลือ่ นทีแ่ บบต่าง ๆ


การเคลื่อนที่แนวตรง (การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ)
- เมื่อ : จะมี 2 กรณี คือ 1. v คงที่ หาได้จาก s  vt
2. v  0
- เมื่อ คงที่: จะมี 4 สมการที่สาคัญในการคานวณ ดังนี้
uv  1 2
1. s    t 2. s  ut  at 3. v  u  at 4. v 2  u2  2as

PX
 2  2
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ (การเคลื่อนที่ใน 2 มิติ)
- นิยาม: เป็นการเคลื่อนที่ในแนวแกน x และแกน y พร้อม ๆ กัน ใช้เวลาเท่ากัน

AM
 แกน x: ความเร็วคงที่  a  0  s x  u x t
1
 แกน y: ความเร็วไม่คงที่  a  g  s y  u y t  gt 2
FEC 2
- เพิ่มเติม: 1. แตกความเร็วเข้าแกน x และแกน y ก่อนเสมอ
2. พยายามใช้สมการ s x หรือ s y ก่อนเพื่อหาค่า t
สูตรลัดเมื่อจุดเริ่มต้นกับสุดท้ายอยู่ระดับเดียวกัน
by

2usin  u 2 sin2 s y 1
t updown  , sx  ,  tan 
g g sx 4
eak

การเคลื่อนที่แบบวงกลม
- แรงเข้าสู่ศูนย์กลาง ( Fc ): เป็นแรงที่ทาให้วัตถุเคลื่อนที่ mv 2
Fc  mac   m2R
lbr

เป็นวงกลม โดยมีความเร็วตั้งฉากแนวแรง
R
- ความเร่งสู่ศูนย์กลาง ( ac ): มีทิศเดียวกับแรงสู่ศูนย์กลางเสมอ
Jai

v2 2 1
ac   2R   2f  f
R T T

โดยที่ f คือ ความถี่ (รอบต่อวินาที) และ T คือ คาบ (วินาทีต่อรอบ)

หน้า 2 กลศาสตร์
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิก
- ที่ตาแหน่งสมดุล: x  0, a  0, v  v max x  A cos  t    หรือ
- ทีต่ าแหน่งไกลสุด: x  x max , a  amax , v  0 x  A sin  t   
k k
- ความถี่เชิงมุม: มวลติดสปริง   , มวลติดสปริง  
m l
- ปริมาณเชิงมุม: การกระจัดเชิงมุม     s  R
อัตราเร็วเชิงมุม    v  R

PX
อัตราเร่งเชิงมุม     a  R
- การโคจรของดาวเทียม: แรงดึงดูดระหว่างมวลจะทาหน้าที่เป็นแรงสู่ศูนย์กลาง

AM
FEC
โดยที่ g คือ ความเร่งโน้มถ่วงของดาวมวล M

การเคลื่อนที่แบบหมุน
by

ปริมาณเชิงเส้น ปริมาณเชิงมุม
s 
v 
t t
eak

v 
a 
t t
v  u  at   0  t
lbr

v 2  u2  2as 2  0 2  2
1 1
s  ut  at 2   t   t 2
Jai

2 2
uv   
s   t    0 t
 2   2 

p  mv L  I  mvR
1 1
Ek  mv 2 EkR  I2
2 2
* หากไม่ได้บอกรูปร่างของวัตถุ จะสมมุติว่าวัตถุนั้นเป็นจุดมวล I  mR 2 เมื่อ R เป็นระยะจากวัตถุถึงแกน
กลศาสตร์ หน้า 3
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

- การหมุนของสายพานและเฟือง
 เฟืองที่มีแกนหมุนเดียวกันจะมี  เท่ากัน
 จุดที่เฟืองสัมผัสกันจะมี v เท่ากัน
 จุดที่เฟืองสัมผัสกับสายพานระหว่างเฟืองจะมี v เท่ากัน

กฎการเคลือ่ นทีข่ องนิวตัน

PX
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มีอยู่ 3 ข้อ ดังนี้
กฎข้อที่ 1: เมื่อแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุมีค่าเท่ากับ 0
วัตถุจะหยุดนิ่ง หรือเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงด้วยความเร็วคงที่

AM
กฎข้อที่ 2: เมื่อแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุมีค่าไม่เท่ากับ 0
วัตถุจะมีความเร่งไปในทิศทางไปตามทิศของแรงลัพธ์
FEC
กฎข้อที่ 3: แรงกิริยา เท่ากับ แรงปฏิกิริยา (Action = Reaction) มีประเด็นที่ควรทราบอยู่ 3 ข้อ
1) มีขนาดเท่ากัน 2) ทิศทางตรงข้ามกัน 3) กระทากันบนคนละวัตถุ
**ดังนั้น ACTION กับ REACTION จะหักล้างกันเองไม่ได้
(แรงจะหักล้างกันได้ ต้องกระทาบนวัตถุชิ้นเดียวกัน)
by

การเขียน Free Body Diagram บนวัตถุ


- แรงปฏิกิริยาตั้งฉาก (N): จะตั้งฉากกับพื้นผิววัตถุเสมอ
eak

- ค่าที่อ่านได้จากตาชั่ง: ตาชั่งสปริงแขวน จะอ่านค่าได้เท่ากับ แรงตึงเชือก (T)


ตาชั่งผลไม้ จะอ่านค่าได้เท่ากับ แรงปฏิกิริยาตั้งฉาก (N)
lbr

แรงเสียดทาน แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ แรงเสียดทานสถิต  fs  และแรงเสียดทานจลน์  fk 


1) แรงเสียดทานสถิต: เกิดขึ้นเมื่อวัตถุยังไม่เคลื่อนที่ เมื่อเทียบกับผิวสัมผัสของวัตถุนั้นมีได้หลายค่า ตั้งแต่ 0
Jai

นิวตัน ถึง แรงเสียดทานสถิตสูงสุด  fsmax  sN 


2) แรงเสียดทานจลน์: เกิดขึ้นเมื่อวัตถุเคลื่อนที่แล้ว เมื่อเทียบกับผิวสัมผัสของวัตถุ มีค่าเดียวคือ fk  k N
** s  k เสมอ ดังนั้นแรงเสียดทานสถิตสูงสุด จึงมีค่ามากกว่า แรงเสียดทานจลน์เสมอ

หน้า 4 กลศาสตร์
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

การเคลื่อนที่ของระบบมวล
ระบบมวล คือ การพิจารณามวลตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไป สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด
1. ระบบมวลที่มวลทุกชิ้นมีความเร่งเท่ากัน -> สามารถใช้วิธีการคานวณทั้งระบบได้
2. ระบบมวลที่มวลแต่ละชิ้นมีความเร่งไม่เท่ากัน -> เวลาคานวณต้องคิดแยกชิ้น
ตัวอย่าง การพิจารณาความสัมพันธ์ของความเร่งของวัตถุในระบบมวลที่มีความเร่งไม่เท่ากัน
ตัวอย่างที่ 1:

PX
AM
ตัวอย่างที่ 2:
FEC
by

สมดุลกล
eak

สภาพสมดุล แบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลัก คือ


lbr

1. สมดุลต่อการเลื่อนที่ เกิดเมื่อ
โดยสมดุลประเภทนี้วัตถุอาจอยู่นิ่ง หรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่
2. สมดุลต่อการหมุน เกิดเมื่อ
Jai

โดยสมดุลประเภทนี้วัตถุต้องไม่หมุน หรือหมุนด้วยอัตราการหมุนคงที่

เมื่อใดก็ตามที่วัตถุอยู่ในสมดุลทั้งสองประเภท เรากล่าวได้ว่าวัตถุนั้นอยู่ใน “สภาพสมดุลสัมบูรณ์”

นั่นคือ และ

กลศาสตร์ หน้า 5
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ทฤษฎีของลามี (Lami’s Theorem)

ถ้ามีแรง 3 แรง มากระทากับวัตถุ โดยแรงกระทาร่วมกันที่จุดหนึ่ง


แล้ววัตถุอยู่ในสภาพสมดุล จะได้ว่าอัตราส่วนของแรงต่อ sine ของมุมตรง
ข้ามแรงนั้นย่อมมีค่าเท่ากัน
F1 F F
 2  3
sin  sin sin 

PX
โมเมนต์ของแรง (Moment)

AM
โมเมนต์ เป็นปริมาณที่บอกถึงแนวโน้มของแรงที่จะส่งผลต่อการหมุนของวัตถุรอบแกนหมุนใด ๆ
FEC
โมเมนต์ = แรง x ระยะทางที่ลากจากจุดหมุนไปตั้งฉากกับแนวแรง
by
eak

การไถลและการล้มของวัตถุ
- การไถลของวัตถุ : ในขณะที่วัตถุเริ่มไถลพอดี ค่าแรงเสียดทานสถิต (fs) จะมีค่าสูงสุด
 fsmax  N  และวัตถุยังคงอยู่ในสมดุล
lbr

ดังนั้น เราพิจารณาวัตถุเริ่มไถลเมื่อเกิดสมดุลของ
Jai

Fฉุด = Fต้าน
โดยที่แรงเสียดทานเป็นแรงเสียดทานสถิตสูงสุด  fsmax 
- การล้มของวัตถุ: ในขณะที่วัตถุเริ่มล้มพอดี โมเมนต์ของแรงฉุดหรือผลักจะมีค่าเท่ากับโมเมนต์
ของแรงต้าน (โดยทั่ วไปมั ก เป็ นน้าหนัก ของวัตถุ ) รอบจุดหมุ น (จุดที่ วัต ถุ
หมุนรอบจุดนั้น) และวัตถุยังอยู่ในสมดุล
ดังนั้น เราจะพิจารณาว่าวัตถุเริ่มล้มเมื่อ
Mทวน = Mตาม
โมเมนต์ของแรงฉุด = โมเมนต์ของแรงต้าน(น้าหนัก) ต่อ รอบจุดที่ล้ม
หน้า 6 กลศาสตร์
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

สมดุลของคาน และวัตถุพิงผนัง

มักใช้ทั้ง 3 สมการในการแก้
- Fx  0
- Fy  0
- M  0

PX
สมดุลของบานพับและประตู

AM - แรงที่บานพับมีทงั้
FEC
แนวราบและแนวดิ่ง
- ให้บานพับเป็นจุดหมุนจะ
คิดโมเมนต์ง่าย
by
eak
lbr
Jai

กลศาสตร์ หน้า 7
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

งานและพลังงาน
งานและทฤษฎีงาน - พลังงาน
เรานิยาม งาน ว่าคือ W = F  S = F S cos 

จากกฎของนิวตัน เราได้ว่า “เมื่อมีงานกระทากับวัตถุ วัตถุจะเกิดการเปลี่ยนแปลงพลังงานจลน์”

โดยพลังงานจลน์มีค่าเท่ากับ

PX
แรงอนุรักษ์และกฎอนุรักษ์พลังงาน

AM
แรงอนุรัก ษ์ คือ แรงที่ ง านของแรงนั้นไม่ขึ้นกั บ เส้นทางการเคลื่อนที่ ขึ้นกั บ แค่ตาแหน่ง ตั้งต้นกั บ
ตาแหน่ง สุดท้ ายของการเคลื่อ นที่เท่ านั้น (เช่น แรงโน้ม ถ่วง และแรงสปริง ) งานของแรงอนุรักษ์เขียนเป็น
สมการได้ว่า โดย คือ พลังงานศักย์
FEC
สาหรับพลังงานศักย์โน้มถ่วง ส่วนพลังงานศักย์ของสปริง

จากทฤษฎีงาน-พลังงาน และงานของแรงอนุรักษ์จะได้ว่า ถ้าแรงที่กระทากับวัตถุมีเพียงแรงอนุรักษ์อย่างเดียว


by

(กฎอนุรักษ์พลังงาน)
eak

ถ้ามีแรงอื่นนอกเหนือจากแรงอนุรักษ์มากระทากับวัตถุ สมการที่ใช้จะเปลี่ยนเป็น
lbr

เพิ่มเติม
สาหรับเรื่องสปริงเราอาจนาสปริงมาต่อขนานหรืออนุกรมกัน ซึ่งจะให้ค่าคงที่สปริงค่าใหม่
Jai

ต่อขนาน ต่ออนุกรม

ถ้าสปริงยาว L ค่าคงตัว k ถูกตัดให้สั้นลงเป็น ค่าคงตัวของสปริงจะเพิ่มเป็น

หน้า 8 กลศาสตร์
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

กาลัง
กาลัง คือ งานที่ทาได้ในหนึ่งหน่วยเวลา
ประสิทธิภาพ

PX
โมเมนตัมและการชน

AM
โมเมนตัม แรง และการดล
โมเมนตัม คือ ปริมาณที่บอกถึงการเคลื่อนที่ของวัตถุ โดยนิยามว่า
FEC
แรง คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมต่อช่วงเวลา
by

สาหรับระบบที่เราสนใจ ผลรวมแรงภายในมีค่าเท่ากับเวกเตอร์ศูนย์ ( ) เพราะผลจากกฎข้อ


eak

ที่ 3 ของนิวตัน ดังนั้น


 P 
 Fext =
t
lbr

การดล คือ การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมที่เกิดจากแรงดล โดยแรงดล คือ แรงที่กระทาในช่วงเวลาสั้น ๆ


Jai

กฎการอนุรักษ์โมเมนตัม
ถ้าไม่มีแรงภายนอกมากระทากับวัตถุหรือระบบ ผลรวมโมเมนตัมจะมีค่าคงตัว

ก่อน = หลัง

กลศาสตร์ หน้า 9
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

การชน
ยืดหยุ่น ไม่ยืดหยุ่น
ก่อน= หลัง ก่อน > หลัง

ก่อน = หลัง
1 มิติ
ก่อน = หลัง ก่อน = หลัง
(ชนกันผ่านแนว CM)

PX
ก่อน = หลัง
2 มิติ ก่อน = หลัง

AM
ก่อน = หลัง
(ชนกันไม่ผ่านแนว CM) ก่อน = หลัง
ก่อน = หลัง
FEC
ถ้าโจทย์บอกว่าชนแบบไม่ยืดหยุ่นอย่างสมบูรณ์ คือ การชนแล้วติดกันไป
ถ้าโจทย์ไม่ได้บอกว่าชนแบบไหน ให้คิดว่าเป็นการชนแบบไม่ยืดหยุ่น

จุดศูนย์กลางมวล ความเร็วและความเร่งของจุดศูนย์กลางมวล
by

จุดศูนย์กลางมวล คือ ตาแหน่งที่เป็นตัวแทนของมวลของระบบที่เราสนใจ


m i x i m y m z
eak

x CM = , y CM = i i , z CM = i i
m i m i m i
ความเร็วของจุดศูนย์กลางมวล คือ ความเร็วของจุดที่เป็นตัวแทนของมวลของระบบ
lbr

ความเร่งของจุดศูนย์กลางมวล คือ ความเร่งของจุดที่เป็นตัวแทนของมวลของระบบ


m i v i mi ai
v CM = aCM =
Jai

m i m i

จากนิยามของ v CM จะได้ว่าโมเมนตัมของระบบ Msystem v CM  mi vi   Pi  Psystem

จากกฎอนุรักษ์โมเมนตัมและโมเมนตัมของระบบ จะได้ว่า ถ้าระบบใดอนุรักษ์โมเมนตัม v CM ของระบบจะคงตัว


จากแนวคิดของจุดศูนย์กลางมวลทาให้สามารถเขียนกฎของนิวตันสาหรับวัตถุที่มีขนาดได้เป็น

 F  ma CM

หน้า 10 กลศาสตร์
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

แนวข้อสอบ PAT3 วิชา กลศาสตร์


การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
ข้อ 1 พี่ภีมขับ รถจากกรุงเทพฯ ไปเมื องจีนเป็นระยะทาง 2,300 กิโลเมตร ขาไปขับ รถด้วยความเร็ว 90
กิโลเมตรต่อชั่วโมง ขากลับขับด้วยความเร็ว 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง พี่ภีมขับรถไปกลับด้วยอัตราเร็ว
เฉลี่ยกี่กิโลเมตรต่อชั่วโมง

PX
AM
ข้อ 2 ในการทดลองบินเป็นเส้นตรงไป - กลับ เพื่อเปรียบเทียบระหว่างการบินในขณะที่ไม่มีลมกับการบิน
FEC
ในขณะที่มีลมพัดด้วยความเร็วคงที่ตลอดการบิน โดยลมจะพัดในทิศคงที่ขนานกับเส้นทางขาไป ผล
การทดลองในอุดมคติ ควรให้ข้อสรุปอย่างไร
1. การบินโดยไม่มีลมพัดใช้เวลารวมบินไป - กลับ มากกว่า การบินโดยมีลมพัด
2. การบินโดยไม่มีลมพัดใช้เวลารวมบินไป - กลับ เท่ากับ การบินโดยมีลมพัด
by

3. การบินโดยไม่มีลมพัดใช้เวลารวมบินไป - กลับ น้อยกว่า การบินโดยมีลมพัด


4. ข้อมูลไม่เพียงพอในการหาข้อสรุป
eak
lbr

ข้อ 3 ลิฟต์ส่งของอันหนึ่งท างานในปล่อ งลึก 750 เมตร ใช้เวลาในการเคลื่อนที่จากปากปล่องสู่ก้นปล่อง


ทั้ง หมด 45 วินาที โดยความเร็วจะเพิ่ม ขึ้นอย่างสม่าเสมอในช่วงระยะทาง 187.5 เมตรแรก และ
Jai

ความเร็วจะลดลง อย่างสม่าเสมอในช่วง 187.5 เมตรสุดท้าย ถ้าขนาดของอัตราเร่งในช่วงแรก เท่ากับ


อัตราหน่วงช่วงสุดท้าย จงหาอัตราเร็วสม่าเสมอของลิฟต์

กลศาสตร์ หน้า 11
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 4 วัตถุเคลื่อ นที่ อ อกจากหยุดนิ่ง ไปในแนวเส้นตรงด้วยความเร่ง คงที่ โดยมี สมการการเคลื่อนที่ เป็ น


3
s  t 2 จงหาว่าความเร็วของวัตถุที่เวลา t  6 วินาทีเป็นเท่าใด
2

PX
ข้อ 5 พี่อู๋ใช้ลิฟต์เคลื่อนที่ขึ้นจากเหมืองด้วยความเร่งคงที่ ภายหลังขึ้นมาได้ 6 วินาที พี่อู๋ก็ปล่อยก้อนหินไป
ก้อนหนึ่ง ปรากฎว่าก้อนหินถึงก้นบ่อในเวลา 4 วินาที จงหาว่าขณะปล่อยก้อนหิน ลิฟต์อยู่สูงจากก้น

AM
บ่อเท่าใด
FEC
ข้อ 6 (PAT3 มี.ค. 53) นายวิศวกรยืนบนยอดตึกแล้วโยนลูกบอลออกไป 2 ลูก โดยโยนบอลลูกแรกออกไป
by

ก่อนด้วยความเร็ว 25 เมตรต่อ วินาที ท ามุ ม 53 องศา กั บ แนวระดับ แล้วจึงโยนลูก บอลลูก ที่ส อง


ออกไปตามหลังในแนวเดียวกันด้วยความเร็วเท่าเดิม แต่ทามุม 37 องศากับแนวระดับ พบว่าบอลสอง
eak

ลูก ได้ชนกั นกลางอากาศ จงหาว่าตาแหน่ง ที่ลูกบอลชนกั นห่างจากตึก ตามแนวราบที่ร ะยะกี่ เมตร


(กาหนดให้ ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก g = 10 เมตรต่อวินาที2)
lbr
Jai

ข้อ 7 พี่หนิวเตะลูกบอลออกไปด้วยความเร็ว 10 เมตรต่อวินาที ทามุม 45 องศากับแนวราบ ขณะนั้นมีลม


พัดมาต้านการเคลื่อนที่ของลูกบอลในแนวราบ 5 นิวตันอย่างสม่าเสมอ กาหนดให้ลูกบอลมีมวล 1
กิโลกรัม ลูกบอลของพี่หนิวจะไปตกได้ไกลสุดห่างออกไปเท่าใด

หน้า 12 กลศาสตร์
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 8 ยิงวัตถุขึ้นพื้นเอียงที่ ทามุม 37 องศากับแนวราบด้วยมุม 30 องศา ถ้าวัตถุมีความเร็วต้น 6 เมตรต่อ


วินาที กาหนดให้พื้นเอียงสูง H จงหาระยะทางตามแนวพื้นเอียงที่วัตถุขึ้นไปได้

PX
ข้อ 9 (ความถนัดวิศวฯ ปี 36) การตัดถนนโค้งที่ มี รัศมีความโค้ง 500 เมตร เพื่อให้ร ถยนต์แล่ นได้อย่าง
ปลอดภัย แม้ในขณะที่มีฝนตกที่ความเร็ว 90 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จะต้องตัดถนนให้เอียงทามุมกับแนว

AM
ระดับเท่าใด กาหนดค่า g = 10 เมตร/วินาที2
1. tan-1 1.620 2. tan-1 1.250
3. tan-1 0.162 4. tan-1 0.125
FEC
by

ข้อ 10 จงหาสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานระหว่างมอเตอร์ไซค์กับถังที่น้อยที่สุด ที่ทาให้มอเตอร์ไซค์สามารถไต่


ติดกับผนังด้านในของถังหมุนได้โดยไม่ตก ด้วยความเร็ว 36 กิโลเมตรต่อชั่วโมง โดยถังมีขนาดเส้นผ่าน
eak

ศูนย์กลาง 10 เมตร กาหนดให้ ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก มีค่าเท่ากับ 10 เมตร/วินาที2


1. 0.4
2. 0.5
lbr

3. 0.6
4. 0.7
Jai

ข้อ 11 (PAT3 มี.ค. 52) มอเตอร์ไฟฟ้ าหมุ น ล้อ สะสมพลัง งานที่ ห ยุ ดนิ่ ง ด้ วยทอร์ก คงที่ 10 นิ วตัน -เมตร
กาหนดให้ โมเมนต์ความเฉื่อยของล้อสะสมพลังงานและแกนหมุนของมอเตอร์เท่ ากับ 2 กิโลกรัม -
ตารางเมตร จงหาค่าอัตราเร็วเชิงมุมของล้อสะสมพลังงานเป็นกี่เรเดียนต่อวินาที เมื่อผ่านไป 4 วินาที
1. 20 2. 10
3. 4 4. 2

กลศาสตร์ หน้า 13
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 12 สายพานที่วิ่งผ่านล้อ A มีอัตราเร็วเชิงเส้น 2 เมตรต่อวินาที โดยมีอัตราส่วนรัศมีของล้อ A : B : C คือ


2 : 1 : 3 จงหาว่าอัตราเร็วเชิงเส้นของสายพานที่วิ่งผ่านล้อ C เป็นกี่เมตรต่อวินาที
1. 2 2. 4 3. 6
4. 8 5. 10

PX
AM
ข้อ 13 (ENT มี.ค. 48) สาหรับการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายที่มีแอมพลิจูดเป็น A จงหาขนาดของการ
กระจัด ณ ตาแหน่งที่มีอัตราเร็วเป็นครึ่งหนึ่งของอัตราเร็วสูงสุด

1 3
1. A 2. A
FEC
4 4
1 3
3. A 4. A
2 2
by

ข้อ 14 แมลงตัวหนึ่งมวล m บินมาชนใยแมงมุมสั่นด้วยความถี่ kHz ถ้าต้องการให้ใยแมงมุมสั่นด้วยความถี่


ครึ่งหนึ่งของความถี่เดิม แมลงจะต้องมีมวลเป็นกี่เท่าของมวลเดิม
eak
lbr

กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
Jai

ข้อ 1 (PAT3 มี.ค. 53) กล่องมวล 10 กิโลกรัม ถูกวางตั้งอยู่นิ่ง ต่อมาถูกแรง 120 นิวตันมาดึงโดยทามุม 37
องศากับแนวราบ ถ้าผิวสัมผัสระหว่างพื้นและกล่องขรุขระ มีสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานจลน์และ
สถิตเท่ากับ 0.5 และ 0.75 ตามลาดับ จงหาระยะที่กล่องเคลื่อนที่ไปได้ เมื่อเวลาผ่านไป 2.5 วินาที
1. 10.25 เมตร
2. 20.50 เมตร
3. 21.88 เมตร
4. 25.63 เมตร
5. 0 เมตร เนื่องจากแรงที่ดึงไม่มากพอที่จะทาให้กล่องเคลื่อนที่ได้

หน้า 14 กลศาสตร์
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 2 (Young & Freedman) ปล่อยก้อนหินมวล 6 กิโลกรัม ตกลงในของเหลวหนืด โดยที่ตอนแรกของผิว


ของเหลวนั้น มีแรงสุทธิกระทาต่อก้อนหินในทิศลงขนาด 30 นิวตัน ถ้าแรงต้านของของเหลวนั้นที่
กระท าต่อก้ อ นหินเป็นไปดังสมการ f = kv โดย v คือ อัตราเร็วในหน่วยเมตร/วินาที และ k เป็น
ค่าคงที่เท่ากับ 3 นิวตัน  วินาที/เมตร จงหาอัตราเร็วของวัตถุ เมื่อเวลาผ่านไปนานมาก ๆ
(ถ้าไม่คิดถึงผลของแรงลอยตัวของของเหลวที่กระทาต่อวัตถุนั้น)

PX
AM
ข้อ 3 (ความถนัด วิศวฯ ปี 47) ชายคนหนึ่ง มี ม วล m ได้ นาตาชั่ง ไปชั่ง บนลิฟต์ ถ้าขาขึ้น เขาชั่ง ตาชั่ง วัด
FEC
น้าหนัก ได้ N1 นิวตัน และถ้าขาลง เขาชั่งตาชั่งวัดน้าหนักได้ N2 นิวตัน และให้ขาขึ้น ลิฟต์เคลื่อนที่
ขึ้นด้วยอัตราเร่งเป็น 2 เท่าของอัตราเร่งของลิฟต์ในการเคลื่อนที่ขาลง จงหาอัตราเร่งของลิฟต์ขาขึ้น
2N  2N2 2N  2N1
1. 1 2. 2
by

3m 3m
2N  N N  2N2
3. 1 2 4. 1
2m 2m
eak
lbr

ข้อ 4 (PAT3 ต.ค. 53) ลิฟต์มวล 500 กิโลกรัม ถูกออกแบบให้เคลื่อนที่ ขึ้นและลงได้ด้วยอัตราเร่งสูงสุด 4


เมตรต่อวินาที2 ถ้าลวดที่รับน้าหนักลิฟต์สามารถรับแรงดึงได้สูงสุด 12,000 นิวตัน ลิฟต์ดังกล่าว จะ
Jai

รองรับผู้โดยสารได้สูงสุดกี่คน (กาหนดให้ น้าหนักเฉลี่ยของผู้โดยสารเท่ากับ 50 กิโลกรัมต่อคน)


1. 7 คน 2. 8 คน 3. 12 คน
4. 15 คน 5. 30 คน

กลศาสตร์ หน้า 15
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 5 (Serway) ถ้าหากว่าเด็กต้องการดึงตัวเองขึ้นโดยใช้รอกเดี่ยวตายตัวดังรูป โดย


ที่เด็กมีน้าหนัก 320 นิวตัน แผ่นไม้รองนั่งมีน้าหนัก 160 นิวตัน ถ้าหากว่าเด็ก
คนนี้ดึงเชือก ทาให้อ่านค่าจากตาชั่งสปริงที่ติดไว้ได้เท่ากับ 250 นิวตัน จงหา
ว่า แรงที่แผ่นไม้นี้กระทาต่อเด็กคนนี้มีค่าเท่าไร

PX
ข้อ 6 (ความถนัดวิศวฯ ปี 39) ระบบลิฟต์ประกอบด้วยห้องโดยสาร A หนัก 1,000 กิโลกรัม ตุ้มถ่วง B หนัก

AM
1,200 kg และระบบฉุดลาก C พร้อมรอกและสายพาน หากขณะที่ ห้องโดยสารเคลื่อนที่ ขึ้นด้วย
ความเร่ง 2 เมตร/วินาที2 จงหาแรงฉุดลากที่ C กระทาต่อสายพาน โดยสมมติว่าไม่มีแรงเสียดทาน
ของรอกและสายพาน และไม่คิดมวลของรอกและสายพาน
FEC
by
eak

ข้อ 7 (ความถนัดวิศวะ ปี 34) โซ่เส้นหนึ่งยาว L มีมวล m ต่อหนึ่งหน่วยความยาว


และคล้องผ่านรอกทีไ่ ม่มีน้าหนักและแรงเสียดทาน ถ้าปล่อยให้รอกเคลื่อนที่
lbr

จากตาแหน่งดังรูป จงหาขนาดของความเร่งของโซ่ขณะที่โซ่อยู่ที่ตาแหน่งดัง
รูป กาหนดให้คิดว่ารอกเล็กเป็นจุด
Jai

1. 2 เมตรต่อวินาที2
2. 4 เมตรต่อวินาที2
3. 5 เมตรต่อวินาที2
4. 14 เมตรต่อวินาที2

หน้า 16 กลศาสตร์
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 8 (PAT3 มี.ค 57) จงหาความเร่งของมวล m (เมื่อ M > 2m)


Mg  2mg
1.
2M  2m
Mg  2mg
2.
2M  4m
Mg  2mg
3.
M  4m
m

PX
2Mg  4mg M
4.
M  4m
4Mg  2mg

AM
5.
4M  m

ข้อ 9 จากระบบดังรูป ให้ k ของพื้นกับมวล 4 กิโลกรัมมีค่าเท่ากับ 0.2 หากรอกเบาและลื่น และเชือก


FEC
เบา จงหาว่าแรงที่ผนังกระทาต่อเส้นเชือกมีขนาดเท่าไร และมวล 4 กิโลกรัม มีอัตราเร็วเป็นกี่เท่ า
ของมวล 6 กิโลกรัม
1. 24 นิวตัน, 2 เท่า
by

2. 43.2 นิวตัน, 2 เท่า


3. 96 นิวตัน, เท่ากัน
4. 16.8 นิวตัน, 0.5 เท่า
eak

5. 28.4 นิวตัน, 0.5 เท่า


lbr

ข้อ 10 (PAT3 ต.ค. 54) มวล A และ B วางซ้ อนกั น อยู่ บ นพื้ น ฝื ด ในแนวระดั บ ดั ง รู ป มวล A มี ข นาด 2
กิโลกรัม และมวล B มีขนาด 0.5 กิโลกรัม กาหนดให้ ค่าสัมประสิท ธิ์ความเสียดทานสถิตและจลน์
Jai

ระหว่างผิววัตถุ A กับ B เท่ากับ 0.8 และ 0.5 ตามลาดับ ค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตและจลน์


ระหว่างผิววัตถุ A กับพื้น เท่ากับ 0.6 และ 0.4 ตามลาดับ
จงหาความเร่งของมวล A เมื่อ
10.1) P มีขนาด 25 นิวตัน
10.2) P มีขนาด 50 นิวตัน

กลศาสตร์ หน้า 17
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

สมดุลกล
ข้อ 1 จงหาขนาดของแรง P ที่ทาให้ล้อสามารถกลิ้งขึ้นบันไดได้พอดี กาหนดให้ h = 3 cm, r = 6 cm และ
มวลของล้อ m = 0.8 kg

PX
AM
ข้อ 2 วางวัตถุบนพื้นราบที่มีค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน  ออกแรงดัน P ในทิศเฉียงลงทามุม  กับ
แนวระดับ ดังรูป ถ้าต้องการดันมวลนี้ให้เคลื่อนที่ ขนาดของ P ต้องเป็นอย่างน้อยกี่เท่าของน้าหนัก
FEC
วัตถุ

1.
cos 

by

2.
sin    cos 

3.
eak

cos    sin 

4.
cos    sin 
lbr


5.
sin    cos 
Jai

ข้อ 3 แรงตึงเชือกเส้นใดมีค่าสูงสุด
1. เชือก A
2. เชือก B
3. เชือก C
4. เชือก D
5. เชือก A และ D

หน้า 18 กลศาสตร์
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

งานและพลังงาน
ข้อ 1 (PAT3 ต.ค. 52) กล่องหนัก 15 นิวตัน ถูกลากไปตามพื้นที่มีสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน 0.1 โดยแรง
P ซึ่งมีขนาด 50 นิวตัน และทามุม 60 องศากับแนวระดับ ด้วยความเร็ว 3 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เป็น
เวลา 1 นาที งานที่เกิดจากการลากกล่องเป็นเท่าไร

1. 375 จูล
2. 1,250 จูล

PX
3. 1,625 จูล
4. 75 จูล

AM
FEC
ข้อ 2 แรง F ขนาด 10 นิวตัน กระทาบนเส้นเชือก ดังรูป จงหางานทั้งหมดที่เกิดขึ้นเมื่อแรง F ดึงเส้นเชือก
จนวัตถุมวล 10 กิโลกรัม เลื่อนถึงตาแหน่ง B พอดี (ไม่คิดแรงเสียดทานใด ๆ)

1. 0 นิวตันเมตร 2. 20 นิวตันเมตร
by

3. 40 นิวตันเมตร 4. 50 นิวตันเมตร
eak
lbr
Jai

ข้อ 3 ลูกเหล็กมีมวล 5 กิโลกรัม วางอยู่บนสปริงที่มีค่านิจสปริงเท่ากับ 10 x 103 นิวตันต่อเมตร มีแรง F


ขนาด 250 นิวตัน มากดลูกเหล็กไว้ที่ระดับ A ถ้าเอาแรง F ออก ลูกเหล็กจะเคลื่อนที่ขึ้นไปจากระดับ
A ได้ระยะสูงสุดเท่าไร กาหนดให้ g = 10 เมตรต่อวินาที2

1. 3.0 เซนติเมตร
2. 6.3 เซนติเมตร
3. 9.0 เซนติเมตร
4. 12.0 เซนติเมตร

กลศาสตร์ หน้า 19
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 4 ลูกเหล็กมวล m ถูกกดลงในสปริงซึ่งมีค่าคงที่สปริง k เป็นระยะ x เมื่อวัดจากตาแหน่งสมดุลของสปริง


ดังรูป เมื่อปล่อยทันทีทันใด จงหาค่าระยะ x ที่น้อยที่สุดที่ทาให้ลูกเหล็กเคลื่อนที่ไปตามรางโค้งรัศมี r
โดยไม่หลุดจากรางที่ตาแหน่ง C กาหนดให้ รางปราศจากแรงเสียดทาน และความเร่งเนื่องจากสนามโน้ม
ถ่วงมีค่าเท่ากับ g

PX
AM
FEC
ข้อ 5 (PAT3 ต.ค. 53) กล่องมวล 100 กิโลกรัม วางนิ่งอยู่บนพื้นเอียงลื่น โดยมีสปริงที่ยังไม่ยืดไม่หดและมี
by

ค่าคงที่ k = 80 นิวตัน/เมตร ยึดติดอยู่ ถ้าออกแรงคงที่ P ขนาด 200 นิวตัน ดึงกล่องในแนวราบจาก


จุดหยุดนิ่งจากตาแหน่ง 1 ไปตามพื้นเอียง ถึงตาแหน่ง 2 เป็นระยะ 2.5 เมตร ดังรูป จงหาขนาดของ
eak

ความเร็วที่ตาแหน่ง 2 (กาหนดให้ ค่าความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลกมีค่า 10 เมตร/วินาที 2


และไม่คิดมวลสปริง)
lbr

1. 11 เมตร/วินาที
Jai

2. 22 เมตร/วินาที
3. 33 เมตร/วินาที
4. 44 เมตร/วินาที
5. 55 เมตร/วินาที

หน้า 20 กลศาสตร์
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 6 มวล 50 กิโลกรัม ถูกปล่อยลงมาตามพื้นเอียง โดยก่อนปล่อยมวลถูกยึดไว้กับสปริงทีม่ ีค่าคงที่ของสปริง


เท่ากับ 60 นิวตัน/เมตร และในขณะนั้นสปริงถูกยืดออกเป็นระยะ 0.6 เมตร ที่ตาแหน่ง A ถ้ากาหนดให้
พื้นเอียงมีค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานที่ผิวสัมผัสเท่ากับ 0.3 และค่าความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วง
ของโลกมีค่าเท่ากับ 10 เมตร/วินาที2 จงหาความเร็วที่มวลเคลื่อนที่ผ่านตาแหน่ง B
1. 1.4 เมตร/วินาที 2. 4.2 เมตร/วินาที
3. 5.0 เมตร/วินาที 4. 6.0 เมตร/วินาที

PX
AM
FEC
ข้อ 7 (PAT3 มี.ค. 54) มวลขนาด 50 กิโลกรัม ถูกปล่อยจากตึกสูง 10 เมตร โดยมีเชือกยืดหยุ่นที่มีสมบัติ
เหมือนสปริงผูกติดอยู่ ถ้าเชือกมีค่านิจของสปริง 2,500 นิวตันต่อเมตร พบว่าเมื่อปล่อยมวลจากตึก
แล้วเชือกจะยืดจนมวลแตะสัมผัสพื้นพอดีโดยไม่เกิดการกระแทก จงหาว่าเชือกจะดึงมวลกลับจากพื้น
by

ด้วยความเร่งกี่เท่าของแรงโน้มถ่วงของโลก
eak
lbr

ข้อ 8 ลูกยางกลมลูกหนึ่งตกจากที่สูง 10 ฟุต เมื่อกระทบพื้นจะกระดอน 2/3 ของระยะที่ตกลงมาของ


Jai

แต่ละครั้ง อยากทราบว่าระยะทางที่ลูกยางเคลื่อนที่ได้ทั้งหมดตั้งแต่เริ่มตกจนกระทั่งลูกยางหยุด
มีค่ากี่ฟุต
1. 20 ฟุต
2. 30 ฟุต
3. 40 ฟุต
4. 50 ฟุต
5. 60 ฟุต

กลศาสตร์ หน้า 21
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 9 ปั้นจั่นอันหนึ่งใช้ลูกตุ้มที่ มีมวล 300 กิโลกรัม ตอกเสาเข็มยาว 21 เมตร จมมิดดินในเวลา 10 นาที


นับจานวนครั้งที่ตอกได้ 50 ครั้ง ถ้าในแต่ละครั้งลูกตุ้มถูกยกให้สูงขึ้นเหนือหัวเสาเข็ม 1 เมตร จงหา
กาลังเฉลี่ยของปั้นจั่น กาหนดให้ g = 10 m/s2
1. 250 W
2. 1,500 W
3. 2,500 W
4. 15,000 W

PX
AM
ข้อ 10 (PAT3 ต.ค. 52) รถยนต์ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ไอพ่นขนาด 200 กิโลวัตต์ และมีประสิทธิภาพของ
FEC
เครื่องกลเท่ากับ 0.8 ถ้าเครื่องยนต์สามารถสร้างแรงผลักสูงสุดได้เท่ากับ 2 กิโลนิวตัน จงหาว่ารถยนต์
คันนี้สามารถวิ่งได้ด้วยความเร็วสูงสุดเท่าไร
1. 288 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
by

2. 320 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
3. 360 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
4. 466 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
eak
lbr

ข้อ 11 ถ้าต้องการสูบน้าจานวน 50 ลูกบาศก์เมตร จากระดับพื้นดินขึ้นไปยังถังเก็บซึ่งอยู่สูงจากพื้นดิน 20


เมตร ในเวลา 10 นาที ต้องให้พลังงานกับเครื่องสูบเท่าใด เมื่อเครื่องสูบมีประสิทธิภาพ 80% (ความ
Jai

หนาแน่นของน้าเท่ากับ 1,000 กิโลกรัมต่อเมตร3, g มีค่าเท่ากับ 10 เมตรต่อวินาที2)


1. 8 แรงม้า
2. 18 แรงม้า
3. 28 แรงม้า
4. 38 แรงม้า

หน้า 22 กลศาสตร์
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

โมเมนตัมและการชน
ข้อ 1 ปั้นจั่นปล่อยลูกเหล็กมวล 500 กิโลกรัม จากจุดหยุดนิ่งที่ระยะสูง 1.6 เมตร จากปลายบนของเสาเข็ม
ลงมากระทบเสาเข็มมวล 250 กิโลกรัม ถ้าหลังกระทบลูกเหล็กกระดอนขึ้นทันทีสูง 0.1 เมตร แล้ว
หยุด ความเร็วของเสาเข็มหลังกระทบมีค่าเท่าใด

PX
AM
FEC
ข้อ 2 (PAT3 ต.ค. 52) ชายคนหนึ่งหนัก 75 กิโลกรัม กาลังซื้อตั๋วขึ้นเรือเพื่อข้ามฟากที่ท่าพระจันทร์ เขา
สังเกตว่าเรือกาลังจะออกจากท่าดังนั้นเขาจึงวิ่งกระโดดขึ้นเรือ ความเร็วที่เขาวิ่งกระโดดขึ้นเรือเท่ากับ
2.5 เมตรต่อ วินาที น้ าหนัก เรือ และน้าหนัก บรรทุ ก ขณะนั้น เท่ ากั บ 3,000 กิ โลกรัม การกระท า
by

ดังกล่าวจะทาให้เรือไหลไปด้วยความเร็วเท่าไร ให้คิดว่าน้าไม่มีความต้านทาน
1. 0 กิโลเมตรต่อชั่วโมง 2. 0.15 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
eak

3. 0.22 กิโลเมตรต่อชั่วโมง 4. 0.225 กิโลเมตรต่อชั่วโมง


lbr
Jai

ข้อ 3 ลูกบอลมวล 2 กิโลกรัม เคลื่อนที่ในแนวระดับไปชนกาแพงด้วยอัตราเร็วก่อนชน 4 เมตรต่อวินาที ดัง


รูป ถ้าการชนเป็นแบบไม่ยืดหยุ่น โดยที่ค่าพลังงานจลน์ของระบบหลังการชนลดลง 3 จูล จงหาค่า
มุมสะท้อน A

กลศาสตร์ หน้า 23
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 4 (พื้น ฐานวิศ วฯ มี .ค. 46) กล่อ ง A, B และ C มี ม วล 10, 20 และ 30 กิ โ ลกรัม ตามล าดั บ เริ่ม ต้ น
เคลื่อนที่จากระยะห่าง ดังรูป ถ้ากล่องทั้งสามเคลื่อนที่โดยไม่มีแรงเสียดทาน จงหาเวลาที่กล่อง B จะ
เข้ามาสัมผัสกับกล่อง C กาหนดให้ หลังจากการกระแทกวัตถุทั้งสองยึดติดกัน

PX
AM
ข้อ 5 ดินน้ามันสองก้อนมีมวล 2m และ m เคลื่อนที่เข้าชนกันด้วยความเร็ว v และ 2v ตามลาดับ ดังรูป
เมื่อชนกันแล้วจะติดกันเป็นก้อนเดียวกัน จงหาว่าพลังงานจลน์ที่เสียไปในการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของ
FEC
ก้อนดินน้ามันมีค่าเท่าไร
by
eak

ข้อ 6 วัตถุก้อนหนึ่งมีมวล m กิโลกรัม เคลื่อนที่ในแนวระดับด้วยความเร็ว v ทิศไปทางขวามือแล้วระเบิด


lbr

ออกเป็น 3 ส่วน
ส่วนที่ 1 มีความเร็ว 4v ในแนวระดับ ทิศไปทางขวามือ
Jai

ส่วนที่ 2 มีความเร็ว v/3 ในแนวดิ่ง ทิศขึ้น


ส่วนที่ 3 มีความเร็ว 2v/3 ในแนวดิ่ง ทิศลง
อัตราส่วนของมวล ส่วนที่ 1 : ส่วนที่ 2 : ส่วนที่ 3 เท่ากับเท่าใด
1. 1 : 2 : 1
2. 2 : 1 : 6
3. 3 : 2 : 1
4. 6 : 1 : 2

หน้า 24 กลศาสตร์
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 7 ลูกบิลเลียด A วิ่งด้วยอัตราเร็ว 10 เมตรต่อวินาที เข้าชนกับลูกบิลเลียด B ที่อยู่นิ่งและมีมวลเท่ากับ A


หลังจากชนกันแล้วลูกบิลเลียดทั้งสองเคลื่อนที่แยกออกจากกันโดย A ทามุม 37º กับแนวเดิม ดังรูป
ถ้าการชนเป็นแบบยืดหยุ่นและไม่คิดผลจากการหมุนและความฝืดของพื้นกับลูกบิลเลียด อัตราเร็ว
ของลูกบิลเลียดทั้งสองจะเป็นเท่าใด

PX
AM
FEC
by
eak

ข้อ 8 (BPAT3 ต.ค. 51) เรื อ บรรทุ ก สิ น ค้ า มี ค่ ามวลรวมเท่ า กั บ 1,000 กิ โ ลกรั ม ก าลั ง แล่ น ไปทางทิ ศ
ตะวันออกด้วยความเร็วคงที่ 20 กิ โลเมตรต่อชั่วโมง ถูก ชนเข้าด้านขวาด้วยเรือหางยาวมวล 200
lbr

กิโลกรัม ซึ่งกาลังแล่นไปทางทิศเหนือด้วยความเร็วคงที่ 50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ถ้าการชนกันนี้ทาให้


เรือหางยาวหยุดนิ่งทันที จงหาค่าความเร็วของเรือบรรทุกสินค้าหลังจากเกิดอุบัติเหตุชนกัน
Jai

1. 42.54 กิโลเมตรต่อชั่วโมง 2. 40.00 กิโลเมตรต่อชั่วโมง


3. 30.00 กิโลเมตรต่อชั่วโมง 4. 22.36 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

กลศาสตร์ หน้า 25
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

โจทย์เสริมประสบการณ์ วิชา กลศาสตร์


ข้อ 1 ลิฟต์อันหนึ่งใช้ในการขึ้นลงอาคารสูง 7 ชั้น มอเตอร์ที่ ใช้ขับ เคลื่อนลิฟต์นี้จ ะมีความเร่ง 1.5 m/s2
และให้ความหน่วง 2.25 m/s2 โดยในการเคลื่อนที่ จากชั้นบนสุดมายังชั้นล่างสุดจะใช้เวลาทั้งสิ้น 8
วินาที จงหาความสูงในแต่ละชั้นของอาคาร ถ้าแต่ละชั้นมีความสูงเท่ากัน

PX
ข้อ 2 เด็ก คนหนึ่ง มีม วล 30 kg ยืนอยู่ที่ หัวเรือล าหนึ่ง ซึ่งจอดนิ่งอยู่ในคลอง เด็กขว้างก้อนหินมวล 1 kg

AM
ออกไปในทิศขนานกับระดับน้าในแนวลาเรือ ในตอนแรกก้อนหินอยู่ในระดับไหล่ของเด็ก ซึ่งอยู่สูงจาก
ผิวน้า 122.5 cm ก้อนหินตกกระทบผิวน้าห่างจากจุดที่เด็กปา 4 เมตร เรือมีมวล 20 kg ถอยหลังไป
16 cm จงหาแรงต้านเฉลี่ยของน้า กาหนด ค่า g = 9.8 m/s2
FEC
by

ข้อ 3 ลูกกระสุนมวล m ถูกยิงเข้าไปในกล่องมวล M ที่วางนิ่งอยู่ที่ขอบโต๊ะซึ่งไม่มีแรงเสียดทานที่ความสูง h


eak

ลูก กระสุนฝัง เข้าไปในกล่อ ง และหลังชนกล่องจะตกลงบนพื้ นไกลออกไปจากโต๊ะเป็นระยะตาม


แนวราบ d จงหาความเร็วของกระสุนปืนก่อนชน
lbr
Jai

ข้อ 4 ลูกเหล็กทรงกลมมวล m วิ่งบนผิวกรวยด้านมนเป็นวงกลมรัศมี r


ด้วยความเร็ว v โดยอยู่สูงจากปลายแหลมของกรวยเป็นระยะ h
ดังรูป ถ้ากาหนดให้ปลายแหลมของกรวยเป็นระดับอ้างอิงของ r
พลังงานศักย์ จงหาอัตราส่วนของพลังงานจลน์ต่อพลังงานศักย์ m

ขณะนั้น h

หน้า 26 กลศาสตร์
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 5 (BPAT3 ต.ค. 51) ตามรูป เครื่องจักรเครื่องหนึ่งส่งกาลังผ่านมู่เล่และเฟืองทด โดยใช้สายพานส่งกาลัง


จากมู่ เล่ 1 มายังมู่เล่ 2 ความเร็วรอบของเครื่องยนต์เป็น 3,000 รอบต่อนาที หมุนตามเข็มนาฬิก า
โดยมู่เล่ 1 มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 6 นิ้ว และ 12 นิ้วสาหรับมู่เล่ 2 ในขณะที่เฟือง 1, 2, 3 มี 48, 35, 18
ซี่ ตามลาดับ เฟือง 3 จะมีความเร็วรอบเท่าใดและหมุนไปทางทิศใด
1. 562.5 รอบต่อนาที ทวนเข็มนาฬิกา
2. 562.5 รอบต่อนาที ตามเข็มนาฬิกา
3. 4,000 รอบต่อนาที ตามเข็มนาฬิกา

PX
4. 4,000 รอบต่อนาที ทวนเข็มนาฬิกา

AM
ข้อ 6 รอกอันหนึ่งมีค่าโมเมนต์ความเฉื่อยรอบแกนหมุนเท่ากับ 8 กิโลกรัม-เมตร2 รอกนี้มีอัตราเร็วเชิงมุม
FEC
เริ่ม ต้นเท่ ากั บ 2 เรเดียนต่อ วินาที ดึง เชือกเบาที่ พั นรอกท าให้เกิ ด ทอร์ก 40 นิวตัน -เมตร ในทิ ศ
เดียวกับอัตราเร็วเชิงมุมเป็นเวลา 4 วินาที จงหาอัตราเร็ วเชิงมุมเป็นกี่เรเดียนต่อวินาที หลังจาก 4
วินาทีนี้
by

1. 12 2. 16 3. 18
4. 22 5. 26
eak

ข้อ 7 ปล่อยให้ทรงกระบอกมวล M รัศมี R เริ่มกลิ้งจากหยุดนิ่งลงมาจากพื้นเอียง ณ ตาแหน่งที่สูงจากพื้น


lbr

เอียง h โดยทรงกระบอกกลิ้งลงมาโดยไม่มีการไถล จงหาความเร็วจุดศูนย์กลางมวลของทรงกระบอก


เมื่อกลิ้งลงมาถึงปลายล่างพื้นเอียง
Jai

1
กาหนดโมเมนต์ความเฉื่อยทรงกระบอกมีค่า mR 2
2

กลศาสตร์ หน้า 27
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 8 (พื้นฐานวิศวฯ มี.ค. 44) ลูกตุ้มนาฬิกาถูกทาการทดลองบนดาวดวงหนึ่ง โดยลูกตุ้มมีความถี่การแกว่ง


เชิงมุมเท่ากับ 4 เรเดียนต่อวินาที ถ้าก้านความยาวของจุดที่ยึดถึงตุ้มเท่ากับ 0.5 เมตร จงหาแรงดึงดูด
บนดาวดวงนี้
1. 42 2. 82
3. 164 4. 324

PX
ข้อ 9 จากรูป ถ้ามวล 3 กิโลกรัม อยู่ชิดกับผนังฝืดซึ่งมีค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตและสัมประสิทธิ์

AM
ความเสียดทานจลน์เท่ากับ 0.25 และ 0.20 ตามลาดับ หากไม่คิดถึงมวลของรอกและรอกไม่มีความ
ฝืด จงหาว่า W จะมีมวลได้มากที่สุดกี่กิโลกรัมที่จะยังทาให้ระบบไม่เคลื่อนที่
FEC
by

ข้อ 10 (ENT 48) วัตถุมวล 40 กิโลกรัม กาลังเคลื่อนที่อยู่บนพื้นที่มีสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์ เท่ากับ


eak

0.3 หากในตอนแรกวัตถุมีความเร็วต้น 5 เมตรต่อวินาที หลังจากนั้นมี แรงขนาดคงที่ 250 นิวตัน


กระทาต่อวัตถุนี้เป็นเวลา 20 วินาที จงหาอัตราการทางานเฉลี่ยของวัตถุในช่วง 20 วินาทีนี้
lbr
Jai

ข้อ 11 จากรูป ชายคนนี้มวล 60 กิโลกรัม นั่งอยู่บนรถมวล 20 กิโลกรัม เมื่อชายคนนี้ออกแรงดึงเชือก 200


นิวตัน เพื่อให้รถเคลื่อนที่ขึ้น ถ้าคิดว่าระบบไม่มีแรงเสียดทาน และเชือกและรอกเบามาก จงหาว่าชาย
คนนี้จะดึงปลายเชือกด้วยอัตราเร่งเท่าใด

หน้า 28 กลศาสตร์
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 12 (แนวข้อสอบPAT3) กล่อง 2 ใบ มวล 5 กิโลกรัม และ 10 กิโลกรัม วางอยู่ชิดกับมุมผนังด้านหนึ่ง ดัง


รูป หากออกแรง 160 นิวตัน กับกล่องมวล 5 กิโลกรัม ในแนวระดับ จะทาให้กล่องมวล 10 กิโลกรัม
เคลื่อนที่ขึ้นไปตามกาแพงได้ หากกาหนดให้ทุกผิวสัมผัสลื่น จงหาขนาดของความเร่งในแนวดิ่งของ
กล่องมวล 10 กิโลกรัม

160 N

PX
AM
ข้อ 13 มวล M วางอยู่บนโต๊ะในแนวระดับที่มีสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์เท่ากับ 0.2 โดยมวล M ถูกผูก
ไว้กับเชือกเส้นหนึ่งนาไปคล้องผ่านรอกและถ่วงปลายเชือกด้วยมวล 11 กิโลกรัม ที่ระดับความสูงจาก
พื้น 50 เซนติเมตร หากปล่อยให้ระบบเคลื่อนที่จากตาแหน่งนั้น พบว่ามวล 11 กิโลกรัม จะเคลื่อนที่
FEC
ถึงพื้นในเวลา 0.4 วินาที จงหาค่าของมวล M
by
eak

ข้อ 14 กล่อง A, B, C มีม วล 2, 3 และ 1 กิ โลกรัม ตามลาดับ วางซ้อนทั บกัน ดังรูป ถ้าสัม ประสิทธิ์ความ
lbr

เสียดทานแต่ละผิวจากบนลงล่างเป็น 0.5, 0.2, 0.1 ตามลาดับ จงหาแรง F ที่มากที่สุดที่ใช้ในการดึง


กล่อง B ที่ทาให้กล่องทั้ง 3 เคลื่อนที่ไปโดยไม่ไถลระหว่างกัน
Jai

1. 28 นิวตัน
2. 30 นิวตัน
3. 32 นิวตัน
4. 34 นิวตัน
5. 36 นิวตัน

กลศาสตร์ หน้า 29
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 15 ก้อนโลหะ 2 ก้อน ดังภาพ ถูกดึงด้วยแรง F = 9 นิวตัน มวลของก้อน A กับก้อน B มีค่าก้อนละ 10


นิวตัน ถ้าค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตระหว่างก้อน A กับพื้นมีค่า 0.8 และระหว่างก้อน A กับ
ก้อน B มี ค่า 0.9 ค่าสัมประสิท ธิ์ความเสียดทานจลน์ระหว่างก้อน A กับ พื้นมีค่า 0.6 ข้อใดอธิบาย
เหตุการณ์ได้ถูกต้อง
1. ก้อนโลหะ A เลื่อนไปทางขวาพร้อมกับก้อนโลหะ B
2. ก้อนโลหะ A เลื่อนไปทางขวา ก้อนโลหะ B หล่นที่พื้น
3. ก้อนโลหะ A เลื่อนไปทางขวา ก้อนโลหะ B ไหลไป

PX
ทางซ้ายด้วยความเร็วเท่ากับก้อนโลหะ A
4. ก้อนโลหะ A และก้อนโลหะ B หยุดนิ่ง
5. ก้อนโลหะ A เลื่อนไปทางขวา ก้อนโลหะ B

AM
หล่นไปทางขวา
FEC
ข้อ 16 กล่องสี่เหลี่ยมยาว 50 เซนติเมตร สูง 20 เซนติเมตร หนัก 5 นิวตัน วางอยู่บ นพื้นที่ มีสัมประสิท ธิ์
ความเสียดทานจลน์เท่ ากั บ 0.2 มุ ม บนของกล่องผูก ติดกั บ สปริงไว้ จากนั้นออกแรงในแนวระดับ
by

กระทากับวัตถุที่ตาแหน่งความสูงจากพื้น 10 เซนติเมตร โดยค่อย ๆ เพิ่มแรงขึ้นเรื่อย ๆ เริ่มจากศูนย์


ลากกล่องให้เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ เมื่อออกแรงถึง P นิวตันพบว่ากล่องจะแหงนขึ้น จงหาค่า P
1. 2 N
eak

2. 5.25 N
3. 7.25 N
4. 13.5 N
lbr
Jai

ข้อ 17 (ความถนัดวิศวฯ ปี 43) รถเข็นของบรรทุกของหนัก 20 กิโลกรัม ซึ่งมีจุดศูนย์กลางมวลอยู่ที่จุด G ดัง


รูป ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างล้อกับ พื้นเป็น 0.3 และคนเข็นรถออกแรงกระท า P ใน
แนวราบเสมอ คนเข็นรถควรเอียงรถด้วยมุม  เท่าไร จึงจะเข็นรถได้สะดวกที่สุด
1. 15
2. 25
3. 30
4. 45
5. เท่าใดก็ได้

หน้า 30 กลศาสตร์
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 18 กล่ อ งสี่ เหลี่ ย มดั ง รู ป มี ม วล 225 กิ โ ลกรัม ถู ก ตรึ ง ไว้ กั บ ไม้ ค านที่ มี ม วล 45 กิ โ ลกรัม ก าหนดให้
  30 ,   45 จงหาแรงตึงเชือกและแรงที่บานพับกระทากับไม้คาน
-

PX
ข้อ 19 ชายผู้หนึ่งหนัก 890 นิวตัน ต้องการดึงขาของตัวเองด้วยเชือก ดังรูป ให้
พอดีเลื่ อ น ถ้าก าหนดให้สั ม ประสิ ท ธิ์ค วามเสี ยดทานระหว่างพื้ น กั บ

AM
รองเท้าเป็น 0.53 เขาจะต้องดึงด้วยแรงอย่างน้อยที่สุดเท่าไร
FEC
ข้อ 20 ทรงกลมรัศมี R เมตร มีมวล m กิโลกรัม วางบนพื้นเอียงเกลี้ยงที่ทามุม  กับระดับ โดยมีเชือกยาว
by

R เมตร ผูกติดกับพื้นเอียงดังรูป จงหาค่าแรงตึงในเส้นเชือก


1. mgsin นิวตัน
2. 2mgsin นิวตัน
eak

3. 3mgsin นิวตัน
2
4. mgsin  นิวตัน
3
lbr

3
5. mgsin  นิวตัน
2
Jai

ข้อ 21 ไม้คานสม่าเสมออันหนึ่งน้าหนัก W วางให้ปลายล่างยันพื้นระดับและปลายบนวางพิงกาแพงซึ่งตั้งตรง


ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานที่ปลายล่างกับพื้นเป็น  และปลายบนกับกาแพงเป็น  ' ถ้าบันได
อยูใ่ นสภาวะที่จะเริ่มไถลลงได้พอดีเมื่อบันไดเอียงตัวทากับพื้นเป็น  จงหามุม  นี้

กลศาสตร์ หน้า 31
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 22 บานหน้าต่างสม่าเสมอหนัก 12 นิวตัน จุดศูนย์กลางมวลอยู่ห่างจากแนวบานพับ 1 เมตร บานพับทั้ง


สองตัวติดกับกาแพงแนวดิ่งห่างกัน 2 เมตร จงหาแรงปฏิกิริยาที่บานพับแต่ละตัว เมื่อ
22.1) บานพับตัวบนรับน้าหนักเพียงตัวเดียว
22.2) บานพับทั้งสองรับน้าหนักเท่ากัน
22.3) บานพับตัวล่างรับน้าหนักเพียงตัวเดียว

PX
AM
FEC
by

ข้อ 23 (I.E. Irodov) วัตถุมวล m ถูกลากขึ้นไปบนเนินอย่างช้า ๆ ภายใต้สนามโน้มถ่วง g ดังรูป ด้วยแรง F


ซึ่งมีทิศขนานกับเส้นสัมผัสเส้นทางการเคลื่อนที่ในแต่ละจุด จงหางานซึ่งกระทาโดยแรงนี้ กาหนดให้
เนินสูง h มีฐานยาว l และสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน  
eak
lbr
Jai

หน้า 32 กลศาสตร์
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 24 (I.E. Irodov) ก้อนวัตถุเล็ก ๆ A เริ่มไถลจากรางโค้งที่ความสูง h และผ่านเข้าไปในรางโค้งครึ่งวงกลม


รัศมี h/2 ดังรูป จงหาความเร็วของวัตถุที่จุดสูงสุดของเส้นทางหลังจากวัตถุหลุดออกจากรางแล้ว
กาหนดให้ แรงเสียดทานมีค่าน้อยมากจนละได้

PX
AM
FEC
ข้อ 25 (I.E. Irodov) ระบบหนึ่งประกอบด้วยลูกบาศก์มวล m เหมือนกัน 2 ก้อน ผูกติดกันด้วยสปริงที่มีค่า
by

คงตัวสปริง k มวลทั้งสองถูกอัดเข้าหากันและยึดไว้ด้วยเชือก ระบบทั้งหมดวางตั้งตรงบนพื้น โดยที่


ก้อนลูกบาศก์ทั้งสองและสปริงอยู่ในแนวดิ่ง ดังรูป หลังจากนั้นเผาเชือกให้ขาด จงหาว่าที่ระยะอัด
เริ่มต้น ใด ลูกบาศก์อันล่างจึงจะลอยขึ้นจากพื้นหลังจากเชือกถูกเผา
eak
lbr
Jai

กลศาสตร์ หน้า 33
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 26 วัตถุมวล 2 กิโลกรัม อยู่บนพื้นที่ราบเกลี้ยง ถูกโยงด้วยสปริงเหมือนกัน 2 เส้น โดยแต่ละเส้นมีความ


ยาวปกติ 2 เมตร และยึดติดกับหมุด A และ B ดังรูป ดึงมวลไปทาง B เป็นระยะ 1 เมตร เมื่อปล่อย
มือมวลจะเคลื่อนที่ผ่านจุดสมดุลด้วยอัตราเร็วเท่าไร ถ้าสปริงมีค่าคงตัว 2 นิวตันต่อเมตร

PX
AM
ข้อ 27 (I.E. Irodov) วัตถุมวล M ซึ่งมีแผ่นกลมเล็กมวล m วางอยู่ด้านบน อยู่นิ่งบนพื้นราบลื่น ถ้าแผ่นกลม
FEC
ถูก ทาให้เคลื่อนที่ในแนวระดับด้วยความเร็ว v จงหาว่าหลังจากที่แผ่นกลมหลุดออกจากก้อนวัตถุ
มวล M แล้ว มันจะลอยขึ้นไปสูงสุดได้เท่าใด เทียบกับระดับแรกเริ่ม สมมติให้ไม่มีความเสียดทาน
ระหว่างผิวสัมผัสใด ๆ
by
eak
lbr
Jai

ข้อ 28 ชายคนหนึ่งมีมวล 60 กิโลกรัม ยืนอยู่บนแผ่นกระดานมวล 40 กิโลกรัม กระดานวางอยู่บนพื้นราบลื่น


และมีทิศตั้งฉากกับกาแพง เดิมชายคนนี้อยู่ห่างจากกาแพง 20 เมตร ถ้าเขาเดินไปบนกระดานได้ 10
เมตร ในทิศทางเข้าหากาแพง ในขณะนั้นเขาอยู่ห่างจากกาแพงเท่าไร

หน้า 34 กลศาสตร์
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 29 กระสุนมวล 1 กิโลกรัม ถูกยิงออกไปในแนวระดับด้วยอัตราเร็ว 200 เมตรต่อวินาที จากปืนใหญ่มวล


400 กิโลกรัม พบว่าตัวปืนกระแทกถอยหลังไปกดสปริงให้หดเข้าไปสั้นที่สุดเป็นระยะ 25 เซนติเมตร
จงหาค่านิจของสปริงที่ยึดข้างหลังปืน

PX
AM
FEC
by

ข้อ 30 มวล m1 เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 8 เมตรต่อวินาที เข้าชนมวล m2 ซึ่งหยุดนิ่ง หลังจากชนแล้ว m1


กระเด็น ท ามุ ม กั บ แนวเดิม และมี ความเร็วเปลี่ยนไปเป็น 4 เมตรต่อวินาที ส่วนมวล m2 ถูก ชน
eak

กระเด็นออกไปด้วยความเร็ว 6 เมตรต่อวินาที ถ้าให้การชนนี้เป็นการชนแบบยืดหยุ่น อัตราส่วนของ


มวล m1 ต่อ m2 จะมีค่าเป็นเท่าใด
lbr
Jai

กลศาสตร์ หน้า 35
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

PX
AM
FEC

ไฟฟ้า
by
eak
lbr
Jai

หน้า 36 ไฟฟ้า
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ประจุไฟฟ้า (Electric Charge)
ประจุไฟฟ้ามี 2 ชนิด คือ ประจุไฟฟ้าบวกและประจุไฟฟ้าลบ มีหน่วยเป็นคูลอมบ์ (C)
ข้อควรจา 1. ประจุของอิเล็กตรอนมีค่าเท่ากับ 1.6  10 19 คูลอมบ์
2. ประจุของโปรตอนมีค่าเท่ากับ 1.6  10 19 คูลอมบ์

PX
กฎของคูลอมบ์ (Coulomb’s law)
ประจุคู่ห นึ่งจะมีแรงกระทาระหว่างกั นโดยประจุชนิดเดียวกั นจะผลักกั นและประจุต่างชนิดกั น

AM
จะดูดกัน

kq1q 2
F  qE 
FEC R2

สนามไฟฟ้า (Electric Field)


by

เป็นปริมาณเวกเตอร์ที่แสดงถึงอิทธิพลของประจุไฟฟ้า สนามไฟฟ้าเป็นตัวการทาให้เกิดแรงทางไฟฟ้า
เราเรียกเส้นที่บอกทิศทางของสนามไฟฟ้าว่า “เส้นแรงไฟฟ้า” มีหน่วยเป็นนิวตันต่อคูลอมบ์ (N/C)
หรือโวลต์ต่อเมตร (V/m)
eak

kq
E
R2
lbr

k แทน ค่าคงตัวคูลอมบ์ในอากาศหรือสุญญากาศ มีค่าเท่ากับ 9  109 N  m2 / C2


q แทน ขนาดของประจุไฟฟ้า (คูลอมบ์: C)
Jai

R แทน ระยะห่างจากจุดประจุไปถึงจุดที่สนใจ (เมตร: m)

ข้อควรจา 1. เส้นแรงไฟฟ้ามีทิศออกจากประจุบวกเข้าหาประจุลบ
2. สนามไฟฟ้าภายในตัวนามีค่าเป็นศูนย์เสมอ
3. จุดที่มีความเข้มของสนามไฟฟ้าลัพธ์เป็นศูนย์ เรียกว่า จุดสะเทิน (Neutral Point)
4. เวกเตอร์ที่เป็นบวกหรือเป็นลบไว้บ่งบอกทิศทาง เราทราบทิศทางของสนามไฟฟ้าอยู่
แล้ว ไม่ต้องแทนค่าลบลงในสมการ

ไฟฟ้า หน้า 37
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ศักย์ไฟฟ้า (Electric Potential)


- ศักย์ไฟฟ้าจากจุดประจุ เมื่อนาประจุทดสอบมาวางในสนามไฟฟ้า ประจุนั้นจะถูกแรงกระทาให้เกิด
การเคลื่อนที่ การที่ป ระจุเคลื่อนที่ได้แสดงว่าประจุนั้นมีพลังงานสะสมอยู่ในตัว พลังงานนี้เรียกว่า พลังงาน
ศักย์ไฟฟ้า และขนาดของพลังงานศักย์ไฟฟ้าของประจุ 1 คูลอมบ์ เรียกว่า “ศักย์ไฟฟ้า” เป็นปริมาณสเกลาร์
มีหน่วยเป็นโวลต์ (V)
kq ข้อควรจา 1. ศักย์ไฟฟ้าภายในตัวนาทรงกลมมีค่าเท่ากับศักย์ไฟฟ้าที่ผิวทรงกลม
V
R

PX
2. ศักย์ไฟฟ้าเป็นปริมาณสเกลาร์ บวกลบสาคัญ ต้องคิดเสมอ

- พลังงานศักย์ไฟฟ้า เมื่อจุดประจุ q1 อยู่บนจุดที่มีศักย์ไฟฟ้า V ซึ่งเกิดจากประจุ q 2 เราสามารถหา


พลังงานศักย์ไฟฟ้าของประจุ q1 ได้จาก

AM
kq q
E p  q1 V  1 2
R
FEC
- งานในการเลื่อนประจุ ถ้าเราเลื่อนประจุโดยพลังงานจลน์ไม่เปลี่ยนแปลง สามารถหางานได้จาก
ผลต่างของพลังงานศักย์ไฟฟ้าตามสมการ
Wab  qV  q(Vb  Va )
by

แผ่นโลหะคู่ขนาน
กรณีที่มีแผ่นโลหะ 2 แผ่นวางขนานกัน ห่างกันเป็นระยะ d มีความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างแผ่นทั้งสอง
eak

เป็น V จะมีสนามไฟฟ้าสม่าเสมอเกิดขึ้นในทิศทางจากแผ่นบวกไปสู่แผ่นลบโดยแผ่นที่มีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าจะ
เป็นแผ่นบวก ส่วนแผ่นที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ากว่าจะเป็นแผ่นลบ และขนาดของสนามไฟฟ้าในทุก ๆ จุดระหว่าง
แผ่นคู่ขนานนี้จะมีค่าเท่ากัน เราสามารถหาขนาดของสนามไฟฟ้าสม่าเสมอนี้ได้จาก
lbr

V
E
d
Jai

ข้อควรจา 1. ศักย์ไฟฟ้า ณ จุดที่อยู่ระหว่างแผ่นบวกและลบ


มีค่าไม่คงที่ขึ้นกับระยะห่างจากทั้งสองแผ่น
2. เส้นที่แสดงถึงจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากันเรียกว่า
เส้นสมศักย์ (Equipotential line)

ตัวเก็บประจุ (Capacitor)
ตัวเก็บประจุ คือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการจุประจุไฟฟ้า เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ หรือ

หน้า 38 ไฟฟ้า
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ความจุไฟฟ้า (Capacitance)
ความจุไฟฟ้า (C) คือ ค่าที่บ่งบอกความสามารถในการเก็บประจุ มีหน่วยเป็นคูลอมบ์ต่อโวลต์ (C/V)
หรือ ฟารัด (F)
- ตัวเก็บประจุที่เป็นตัวนาทรงกลม
r
เมื่อ r แทน รัศมีของทรงกลม (เมตร: m) C
k แทน ค่าคงตัวคูลอมบ์ในอากาศหรือสุญญากาศ k

PX
- ตัวเก็บประจุที่เป็นแผ่นโลหะคู่ขนานในวงจรไฟฟ้า
q
เมื่อ q แทน ปริมาณประจุในตัวเก็บประจุ (คูลอมบ์: C) C
V แทน ความต่างศักย์ไฟฟ้าคร่อมแผ่นโลหะคู่ขนาน (โวลต์: V) V

AM
การต่อตัวเก็บประจุ FEC
1. การต่อแบบอนุกรม ตัวเก็บประจุทุกตัวจะมีปริมาณประจุ (q) เท่ากัน

1 1 1 1
    ...
by

Cรวม C1 C 2 C 3
eak

2. การต่อแบบขนาน ตัวเก็บประจุทุกตัวจะมีความต่างศักย์ไฟฟ้า (V) เท่ากัน


lbr

Cรวม  C1  C2  C3  ...
Jai

พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
งานที่เกิดจากการใส่ประจุให้กับตัวเก็บประจุจะถูกสะสมเป็นพลังงานศักย์ตามสมการ
1 1 q2 1 2
E  qVavg  qV   CV
2 2 C 2
ไฟฟ้า หน้า 39
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)


กระแสไฟฟ้า (Current)
กระแสไฟฟ้า (I) คือ ปริมาณประจุไฟฟ้าที่เคลื่อนที่ผ่านพื้นที่ภาคตัดขวางในหนึ่งหน่วยเวลา มีหน่วย
เป็นคูลอมบ์ต่อวินาทีหรือเรียกว่าแอมแปร์ (A)
ในกรณีกระแสไฟฟ้าในโลหะตัวนา สามารถหาได้จากความสัมพันธ์
q Ne
I    nevA

PX
t t
เมื่อ q แทน ปริมาณประจุทั้งหมดที่ผ่านภาคตัดขวางของตัวนา (คูลอมบ์)
N แทน จานวนอิเล็กตรอนอิสระ (อนุภาค)

AM
n แทน ความหนาแน่นของอิเล็กตรอนอิสระ (อนุภาคต่อลูกบาศก์เมตร)
e แทน ประจุของอิเล็กตรอน ( 1.6  10 19 คูลอมบ์)
FEC
v แทน ความเร็วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอนอิสระ (เมตรต่อวินาที)
A แทน พื้นที่ภาคตัดขวางของโลหะตัวนา (ตารางเมตร)
ความต้านทาน (Resistance)
by

ความต้านทานไฟฟ้า (R) คือ คุณสมบัติของตัวนาไฟฟ้าที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลได้มากน้อยต่างกัน


มีหน่วยเป็นโอห์ม (  ) โดยสารที่มีความต้านทานมากจะยอมให้ก ระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้น้อย และสารที่ มี
ความต้านทานน้อยจะยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้มาก สามารถหาได้จากสมการ
eak

l
R
A
 แทน สภาพต้านทาน ขึ้นอยู่กับชนิดของโลหะ (โอห์ม  เมตร)
lbr

เมื่อ
l แทน ความยาวของลวดโลหะ (เมตร)
A แทน พื้นที่ภาคตัดขวางของลวดโลหะ (ตารางเมตร)
Jai

วงจรไฟฟ้า
- กฎของโอห์ม เราสามารถหาความต่างศักย์ที่ตกคร่อมตัวต้านทานได้จาก
V  IR
- การต่อตัวต้านทาน แบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ
แบบอนุกรม แบบขนาน

1 1 1 1
    ...
R t R1 R 2 R 3
R t  R1  R 2  R 3  ...
หน้า 40 ไฟฟ้า
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

- การต่อเซลล์ไฟฟ้า (E) ที่มีความต้านทานภายในเซลล์ไฟฟ้า (r)


1. แบบอนุกรม
แบบเรียงขั้ว แบบกลับขั้ว

E t  E1  E2 E t  E1  E2

PX
rt  r1  r2  ... rt  r1  r2  ...

2. แบบขนาน (ตามหลักสูตร ม.ปลาย) จะเป็นการนาเอาเซลล์ไฟฟ้าที่มี E และ r เหมือนกันมาต่อ

AM
ขนานกัน n ตัว และจ่ายกระแสไฟฟ้าในทิศทางเดียวกัน
FEC
r
Et  E rt 
n
by

กาลังไฟฟ้า (Electric Power)


- กาลังไฟฟ้า (P) คือ พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ไปในหนึ่งหน่วยเวลา มีหน่วยเป็น จูลต่อวินาที หรือวัตต์ (W)
eak

V2 2
P  IV   I R
R
lbr

- การคิดค่าไฟ คิดจากพลังงานที่ใช้ไปในหน่วยกิโลวัตต์  ชั่วโมง หรือเรียกว่า ยูนิต (Unit)


W  Pt
Jai

กฎของเคอร์ชอฟฟ์ (Kirchoff’s Law)


- KCL ณ จุดใด ๆ ของวงจรไฟฟ้า ผลรวมของกระแสที่ไหลเข้าต้องเท่ากับผลรวมกระแสที่ไหลออก
 Iin   Iout
- KVL ภายในวงจรไฟฟ้าปิดใด ๆ ผลรวมของแรงดันจะมีค่าเท่ากับ 0 เสมอ

V  0
ไฟฟ้า หน้า 41
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

การวัดปริมาณทางไฟฟ้า
- แอมมิ เ ตอร์ คือ อุ ป กรณ์ ที่ ใช้วัดกระแสไฟฟ้า โดยจะนามาต่ออนุก รมกั บ วงจรที่ ต้ องการจะวัด
แอมมิเตอร์ที่ดีควรมีความต้านทานน้อย ๆ สามารถสร้างแอมมิเตอร์จากการดัดแปลงกัลวานอมิเตอร์ด้วยการ
ต่อขนานกับตัวต้านทาน (ชันต์) เพื่อให้วัดกระแสไฟฟ้าได้มากขึ้น ใช้สัญลักษณ์เป็น

 I 
R   G RG

PX
 I  IG 

AM
- โวลต์มิเตอร์ คือ อุปกรณ์ที่ใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้า โดยจะนามาต่อขนานคร่อมกับวงจรที่ต้องการ
จะวัด โวลต์มิเตอร์ที่ดีควรมีความต้านทานมาก ๆ สามารถสร้างโวลต์มิเตอร์ได้จากการดัดแปลงกัลวานอมิเตอร์
FEC
ด้วยการต่ออนุกรมกับตัวต้านทาน เพื่อให้วัดความต่างศักย์ได้มากขึ้น ใช้สัญลักษณ์เป็น

V  V0
R   R
by

 G
 V 
eak

เว้นไว้ 8 pts
ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current)
แหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current Source)
lbr

โดยทั่วไปจะจ่ายไฟอย่างต่อเนื่องในลักษณะที่เรียกว่า Sinusoidal wave


สมการทั่วไป: V  t   Vm sin  t    โดย  แทน ความถี่เชิงมุม (เรเดียน)
Jai

2 f แทน ความถี่ (เฮิรตซ์)


เมื่อ   2 f 
T T แทน คาบ (วินาที)

ค่าสูงสุด, ค่ายังผล
- ค่าสูงสุด (max): ค่าแอมพลิจูดของฟังก์ชัน 2
i t
irms 
- ค่ายังผล (eff): ค่าที่อ่านได้จากมิเตอร์ โดยจะอ่านค่าได้ t
เป็นค่ารากที่สองกาลังสองเฉลี่ย; Root Mean Square (rms)

หน้า 42 ไฟฟ้า
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

สาหรับสัญญาณแบบ sine wave


imax
จะได้ imax  im และ ieff  irms 
เช่นเดียวกันกับค่าความต่างศักย์ 2

อุปกรณ์กินกาลัง (Passive Element)


R ความต้านทาน    C ตัวเก็บประจุ  F  L ขดลวดเหนี่ยวนา  H 

PX
1

AM
AC R XC  X L  L
C
เฟส I เท่ากับ V เฟส I นา V 90 o
เฟส V นา I 90 o

iR VR
FEC
iC VL
VC iL
by

การต่อวงจร R, C, L
การต่อวงจรอนุกรม
eak

i เท่ากัน: i t  iR  i C  iL
จะได้ว่า
Vt  VR 2   VL  VC 
2

R C L
lbr

วาด Phasor diagram


 iR R    iL X L  i C X C 
2 2
it Z 
Jai

VL
Vt
Z   R 2   X L  X C 
2
นัน่ คือ
VL  VC
VR i t  iR  i C  iL
VC

ไฟฟ้า หน้า 43
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

การต่อวงจรขนาน V เท่ากัน: Vt  VR  VC  VL
จะได้ว่า
i t  iR 2   iL  i C 
2

R C L

2
Vt VR 2
V V 
วาด Phasor diagram   L  C 
Z R  XL X C 
iC

PX
it

นัน่ คือ 1 1  1 1 
2
2

i C  iL    
iR Z R  XL X C 
Vt  VR  VC  VL

AM
iL

Note: ค่า Z คือ ความต้านทานเชิงซ้อน (impedance) มีหน่วยเป็น โอห์ม


FEC
กาลังไฟฟ้ากระแสสลับ (Power)
การหากาลังของไฟฟ้ากระแสสลับจะคิดเฉพาะกาลังรวมบนตัวต้านทานเท่านั้น โดยสามารถหาได้จาก
by

สูตร Prms  Vrms irms cos  โดย cos แทน ตัวประกอบกาลัง


V P แทน กาลัง (W)
i แทน กระแสไฟฟ้า (A)
eak

VR 2
PR  VR iR  iR R 
2
 R V แทน ความต่างศักย์ (V)
i
lbr

การสั่นพ้องในวงจร (Resonance)
คือ การที่แอมพลิจูดของกระแสรวมในวงจรมีค่ามากที่สุด  Z t ต่าสุด สาหรับวงจรแบบอนุกรม
Jai

การที่แอมพลิจูดของกระแสรวมในวงจรมีค่าน้อยที่สุด  Z t มากสุด สาหรับวงจรแบบขนาน


โดยทั้งสองกรณีเกิดขึ้นเมื่อ XL  X C
1 1 1
นัน่ คือ L     f
C LC 2  LC

หน้า 44 ไฟฟ้า
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

เว้นไว้ 8 pts
แม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnets)
เส้นแรงแม่เหล็ก
เส้นสมมติที่ใช้ในการแสดงทิศทางของสนามแม่เหล็ก โดยมีทิศพุ่งออกจากขั้วเหนือและพุ่งเข้าสู่ขั้วใต้
แต่ภายในตัวแม่เหล็ก เส้นแรงแม่เหล็กจะมีทิศพุ่งออกจากขั้วใต้ไปสู่ขั้วเหนือ

PX
AM
ที่มา: http://pongpol5710122526008.blogspot.com/2015/09/blog-post.html

ความเข้มสนามแม่เหล็ก FEC
ความเข้มสนามแม่เหล็ก คือ จานวนเส้นแรงแม่เหล็กที่พุ่งตั้งฉากกับพื้นที่หนึ่งหน่วย

 โดย B แทน ความเข้มสนามแม่เหล็ก (Wb/m2 หรือ เทสลา: T)


B  แทน จานวนเส้นแรงแม่เหล็ก หรือ ฟลักซ์แม่เหล็ก (เวเบอร์: Wb)
A
by

A แทน พื้นที่ตั้งฉากกับเส้นแรงแม่เหล็ก (ตารางเมตร: m2)

แรงแม่เหล็กที่กระทาต่อประจุไฟฟ้า
eak

สัญลักษณ์ทิศทางของสนามแม่เหล็ก
• • • • • × × × × × ×
• × × × × × ×
lbr

• • • • •
• • • • • •
× × × × × ×
• • • • • • × × × × × ×
Jai

สนามแม่เหล็ก•พุง่ ออกจะมีสัญลักษณ์เป็นรูปจุด สนามแม่เหล็กพุง่ เข้าจะมีสญ


ั ลักษณ์เป็นรูปกากบาท

แรงแม่เหล็กที่กระทาต่อประจุเดี่ยว
ประจุที่เคลื่อ นที่ ผ่านบริเวณที่มี ส นามแม่ เหล็กจะมี แรงแม่เหล็กกระทาโดยทิ ศทางตามกฎมื อขวา
โดย ใช้สี่นิ้วชี้ตามทิศ V กาเข้าหา B ได้ทิศของนิ้วหัวแม่มือ คือ ทิศของ F
โดย F แทน แรงแม่เหล็กทีก่ ระทาต่อประจุ (นิวตัน: N)
F  qV  B
q แทน ขนาดของประจุไฟฟ้า (คูลอมบ์: C)
F  qVBsin 
V แทน ความเร็วของประจุ (เมตรต่อวินาที: m/s)
ไฟฟ้า B แทน ขนาดของสนามแม่เหล็ก (เทสลา: T) หน้า 45
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

หากประจุมีความเร็วทามุมฉากกับสนามแม่เหล็กจะทาให้ประจุเคลือ่ นที่เป็นวงกลม โดยมีแรงแม่เหล็ก


เป็นแรงเข้าสู่ศูนย์กลาง

mv 2
จาก F  qV  B และ F   m2R
R
mv 2m
จะได้ว่า R  และ T 
qB qB

PX
แรงแม่เหล็กที่กระทาต่อลวดตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน

AM
เมื่อเส้นลวดมีประจุเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็กทาให้เกิดแรงแม่เหล็กกระทาต่อเส้นลวด
F แทน แรงแม่เหล็กทีก่ ระทาต่อเส้นลวด (นิวตัน: N)
F  il  B
FEC
i แทน กระแสไฟฟ้า (แอมแปร์: A)
F  ilBsin 
l แทน ความยาวเส้นลวดมีทิศเดียวกับกระแส (เมตร: m) i
F
B แทน ขนาดสนามแม่เหล็ก (เทสลา: T)
by

แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาที่เกิดจากสนามแม่เหล็ก
eak

 B - กฎของฟาราเดย์: เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงฟลักซ์แม่เหล็กบนขดลวดเหนี่ยวนา
  N ทาให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนา (emf,  ) บนขดลวดนั้น โดยเครื่องหมายลบแสดง
t
lbr

ทิศทางของแรงเคลื่อนไฟฟ้าในทิศทางย้อนกลับ
- แท่ งตั ว นาเคลื่ อ นที่ ตั ด สนามแม่ เหล็ ก : เมื่ อ แท่ งตั วน า
Jai

เคลื่ อ นที่ ตั ด สนามแม่ เ หล็ ก จะท าให้ เ กิ ด ความต่ า งศั ก ย์


ระหว่างปลายของตั วน าทั้ ง สองข้าง เมื่ อน ามาต่อ เข้ ากั บ
ตัวต้านทาน จะท าหน้าที่ เป็ นแหล่ง จ่ายแรงเคลื่อนไฟฟ้ า
โดย   VBl
- เส้นลวดหมุนตัดสนามแม่เหล็ก:   BANsin 

หน้า 46 ไฟฟ้า
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

สนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสไฟฟ้า
สนามแม่เหล็กจากกระแสบนลวดตัวนา จะเกิดสนามแม่เหล็กขึ้นรอบตัวนานั้น ซึ่งการหาทิศของ
สนามแม่ เ หล็ ก อาศั ย กฎมื อ ขวา โดยให้ นิ้ ว หั ว แม่ มื อ ชี้ ต ามทิ ศ ของกระแส ปลายนิ้ ว ทั้ ง สี่ จ ะชี้ ต ามทิ ศ
สนามแม่เหล็ก โดยแบ่งเป็นกรณีดังนี้
สนามแม่เหล็กจากเส้นลวดตรง สนามแม่เหล็กจากขดลวดวงกลม สนามแม่เหล็กจากขดลวดโซลินอยด์

PX
AM
FEC
0 i  0Ni  0Ni
B B B
2R 2R L
by

B = สนามแม่เหล็ก (T) B = สนามแม่เหล็ก (T) B = สนามแม่เหล็ก (T)


i = กระแสไฟฟ้า (A) i = กระแสไฟฟ้า (A) i = กระแสไฟฟ้า (A)
R = ระยะวั ด ตั้ ง ฉากจากเส้ น R = รัศมีขดลวด (m) L = ความยาวของโซลินอยด์ (m)
eak

ลวด (m) N = จานวนรอบขดลวด N = จานวนรอบขดลวด


โดยที่ 0  4  10 7 H / m
lbr

แรงบนเส้นลวดตัวนาคู่ขนานที่มีกระแสผ่าน
กระแสทิศเดียวกันลวดจะดูดกัน และ
Jai

กระแสสวนทางกันลวดจะผลักกัน โดย
i1 F F i2 i1 i 2 F
iil F
F 012
2d

ไฟฟ้า หน้า 47
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

การเหนี่ยวนากระแสไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
กฎของเลนซ์: กระแสเหนี่ยวนาที่ ไหลในวงลวดจะไหลในทิศที่ท าให้เกิ ดสนามแม่เหล็กเหนี่ยวนา
ต่อต้านกับการเปลี่ยนแปลงของสนามแม่เหล็กเดิม

PX
AM
FEC
หม้อแปลง
หม้อแปลงเป็นอุปกรณ์ที่อาศัยหลักการของแม่เหล็กใน
การแปลงแรงดันไฟฟ้า
by

จากกฎของฟาราเดย์ จะได้

V1 N1

eak

V2 N2

ในกรณีที่หม้อแปลงมีประสิทธิภาพ 100%
จะได้ว่า V1i1  V2 i2
lbr
Jai

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คุณสมบัติ
- เป็นคลื่นตามขวาง เคลื่อนที่โดยไม่อาศัยตัวกลาง
- ในสุญญากาศ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทุกชนิดมีความเร็วเท่ากัน
คือเท่ากับ 3  108 เมตรต่อวินาที โดย c  f
เมื่อ f คือ ความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

หน้า 48 ไฟฟ้า
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ควรทราบ
ชนิดคลื่น สมบัติ การใช้งาน
- ช่วงความถี่ 104 - 109 เฮิรตซ์ - ใช้ในการสื่อสาร
คลื่นวิทยุ
- ไม่สามารถผ่านโลหะได้ - กระจายเสียงมี 2 ระบบ: AM, FM
- ช่วงความถี่ 108 - 1012 เฮิรตซ์ - ใช้นาสัญญาณไปยังดาวเทียม
คลื่นไมโครเวฟ
- ไม่สะท้อนกับบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์ - สะท้อนโลหะได้ดี จึงใช้เป็นเรดาร์
- ช่วงความถี่ 1011 - 1018 เฮิรตซ์ - กล้องตรวจจับความร้อน

PX
รังสีอินฟราเรด - รับได้ด้วยประสาทสัมผัสทางผิวหนัง - รีโมทคอนโทรล
- เป็นคลื่นความร้อนที่สิ่งมีชีวิตแผ่ออกมา - ภาพถ่ายพื้นโลกจากดาวเทียม
- ความยาวคลื่น 400 - 800 นาโนเมตร - แสงเลเซอร์

AM
แสง
- รับได้ด้วยประสาทสัมผัสทางตา - เส้นใยแก้วนาแสง
- ช่วงความถี่ 1015 - 1018 เฮิรตซ์ - ใช้ฆ่าเชื้อโรค
FEC
- ส่วนมากมาจากดวงอาทิตย์ โดยสะท้อน - เป็นอันตรายต่อดวงตาและผิวหนัง
รังสีอัลตราไวโอเลต
กลับบางส่วนในชั้นบรรยากาศ ไอโอโนส-
เฟียร์
- ช่วงความถี่ 1016 - 1022 เฮิรตซ์ - ใช้ตรวจหาอาวุธในกระเป๋าเดินทาง
by

รังสีเอกซ์ - อานาจทะลุสูงแต่ถูกกั้นด้วยอะตอมธาตุหนัก - ตรวจสอบรอยร้าวในชิ้นโลหะ


ขนาดใหญ่
- ความถี่สูงกว่า 1022 เฮิรตซ์ - ใช้ในการทาลายเซลล์มะเร็ง
eak

รังสีแกมม่า - เกิดจากการสลายตัวของสารกัมมันตรังสี, - ใช้ในการฆ่าเชื้อถนอมอาหาร


รังสีคอสมิก
lbr
Jai

ไฟฟ้า หน้า 49
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

แนวข้อสอบ PAT3 วิชา ไฟฟ้า


ไฟฟ้าสถิต
ข้อ 1 ในต่างประเทศที่มีอากาศแห้ง บางครั้งพบว่าไฟฟ้าสถิตสามารถทาให้เกิดการลุกไหม้ได้ อยากทราบว่า
สมมติฐานข้อใดเป็นไปได้มากที่สุด
1. ไฟฟ้าสถิตอาจเป็นเชื้อเพลิงชนิดหนึ่งที่เสริมการลุกไหม้ได้
2. ไฟฟ้าสถิตอาจทาให้เกิดความร้อนสูงจนสามารถทาให้เชื้อเพลิงเกิดไฟลุกไหม้ได้

PX
3. ไฟฟ้าสถิตอาจทาให้เกิดก๊าซออกซิเจนในปริมาณมาก ทาให้เกิดการลุกไหม้ได้ง่าย
4. ไฟฟ้าสถิตอาจทาให้เชื้อเพลิงมีประจุมากเกินพอดี จนสามารถระเบิดเป็นการลุกไหม้ได้

AM
5. มีโอกาสเป็นไปได้ทุกข้อ

ข้อ 2 ประจุ 4 ตัว วางอยู่ที่ มุ ม สี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละ d ดังรูป ถ้าประจุทั้ ง หมดมีขนาดเท่ ากั นคือ q
FEC
กรณีใดบ้างที่ทาให้สนามไฟฟ้า ณ จุดกึ่งกลางของสี่เหลี่ยมจัตุรัสเป็นศูนย์ (สามารถตอบได้หลายข้ อ)
by
eak
lbr

1. q1  q2  q3  q 4  q 2. q1  q2  q3  q 4  q
3. q1  q 4  q, q 2  q 3  q 4. q1  q 2  q, q 3  q 4  q
Jai

10 3
ข้อ 3 ประจุ 3 ตัว วางตามรูป ถ้า Q A  10 3 C , Q B   10 9 C และ Q c   10 3 C แล้ว
9 4
แรงลัพธ์ที่กระทาต่อประจุ Q B จะมีขนาดกี่นิวตัน

หน้า 50 ไฟฟ้า
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 4 จงหางานจากแรงภายนอกในการเลื่อนประจุ +5 คูล อมบ์ อย่างช้า ๆ จากตาแหน่ง A ไป B ไป C


ภายใต้สนามไฟฟ้าสม่าเสมอขนาด 10 โวลต์ต่อเมตร ดังรูป

PX
1. 8.75 จูล 2. -8.75 จูล
3. 12.5 จูล 4. -12.5 จูล

AM
ข้อ 5 ทรงกลมตัวนาลูกหนึ่ง มีประจุ 2.1  10 3 คูลอมบ์ แขวนไว้ด้วยเชือกภายใต้สนามไฟฟ้าสม่าเสมอที่
เกิดจากแผ่นคู่ขนานวางห่างกัน 3 เซนติเมตร มีความต่างศักย์ 6 โวลต์ ดังรูป จงหาแรงตึงเชือกและ
FEC
ทิศทางของสนามไฟฟ้า
by
eak
lbr

ข้อ 6 จากวงจรดังรูป ในตอนแรกมีประจุไฟฟ้าสะสมในตัวเก็บประจุ 5 ไมโครฟารัด อยู่ 40 ไมโครคูลอมบ์


ส่ว นตั ว เก็ บ ประจุ ตั วอื่ น ๆ ไม่ มี ป ระจุ ส ะสมอยู่ หลั ง จากปล่ อ ยวงจรนี้ ไว้ สั ก พั ก จะมี ค วามต่ า ง
Jai

ศักย์ไฟฟ้าคร่อมตัวเก็บประจุ 5 ไมโครฟารัด อยู่เท่าใด

ไฟฟ้า หน้า 51
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ไฟฟ้ากระแสตรง
ข้อ 1 ลวดโลหะขนาดสม่าเสมอยาว 60 เซนติเมตร วัดความต้านทานได้ 0.5 โอห์ม ถ้าลวดถูกรีดให้มีขนาด
เส้นผ่านศูนย์กลางลดลงครึ่งหนึ่ง ความต้านทานของลวดโลหะเส้นใหม่นี้จะมีค่าเท่าใด

PX
AM
ข้อ 2 ถ้าวัดความต่างศักย์คร่อมตัวต้านทาน 4 โอห์ม ได้ 6 โวลต์ จงหาแรงเคลื่อนไฟฟ้า E
FEC
by
eak

ข้อ 3 จากวงจรดังรูป หากตัวต้านทานทุกตัวมีค่า 10 โอห์ม แล้วกระแสที่ผ่านแหล่งจ่ายมีค่ากี่แอมแปร์


lbr
Jai

หน้า 52 ไฟฟ้า
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 4 จงหากระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทาน 2 โอห์ม, 4 โอห์ม และ 6 โอห์ม เมื่อวงจรอยู่ในสภาวะคงตัว

PX
AM
ข้อ 5 จงหาแรงเคลื่อนไฟฟ้า E
FEC
by

ข้อ 6 ถ้าออยต้อ งการวัดกระแสไฟฟ้ าที่ ผ่าน R2 ด้วยแอมมิ เตอร์ โดยต่อแอมมิ เตอร์เข้ากั บ วงจร ดัง รูป
eak

แอมมิเตอร์จะอ่านค่ากระแสได้กี่แอมแปร์ และหากเปลี่ยนจากแอมมิเตอร์เป็นโวลต์มิเตอร์ จะอ่านค่า


ได้กี่โวลต์ เมื่อ R1 = 10 โอห์ม และ R2 = R3 = 20 โอห์ม
lbr
Jai

ไฟฟ้า หน้า 53
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ไฟฟ้ากระแสสลับ
ข้อ 1 (PAT3 ต.ค. 53) จากรูปที่กาหนดให้ จงหาค่า C ที่ทาให้กระแส i(t) มีแอมพลิจูดสูงสุด

PX
1. 2 F

AM
2. 2.1 F
1
3. F
2
1
FEC
4. F
4
1
5. F
8
by

ข้อ 2 (PAT3 มี .ค. 53) จากรูป ที่ ก าหนดให้ ถ้ าค่า frms มี ค่าเท่ ากั บ  f 2 เฉลีย่ แล้ว frms มี ค่าเท่ ากั บ
เท่าใด
eak
lbr

A
Jai

1.
2
A
2.
2
A
3.
2
T
4.   A
2
5. AT

หน้า 54 ไฟฟ้า
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 3 (PAT3 มี.ค. 54) หากแหล่งจ่ายอินพุตสามารถแปรค่าความถี่  ได้ ที่ค่าความถี่เท่ากับเท่าใดจึงจะ


ทาให้ VL  0 V และที่ค่าความถี่นี้ค่า VR เท่ากับเท่าไร เมื่อ L  0

PX
1.   , VR  0 V
2.   0, VR  0 V

AM
3.   , VR  1V
4.   , VR  2 V FEC
5. ไม่มีข้อใดถูก
by

ข้อ 4 (PAT3 ต.ค. 52) โรงงานแห่งหนึ่งมีอุปกรณ์ไฟฟ้าต่ออยู่รวมทั้งหมด 1000 กิโลโวลต์  แอมแปร์ โดยมี


ค่าตัวประกอบก าลั ง รวมเท่ ากั บ 0.6 หากต้ องการปรับ ปรุง ค่าตัวประกอบก าลั ง รวมให้ เป็ น 0.8
eak

จงคานวณหาค่าตัวเก็บประจุที่ต้องใช้
1. 350 กิโลวาร์
2. 580 กิโลวาร์
lbr

3. 600 กิโลวาร์
4. 80 กิโลวาร์
Jai

ไฟฟ้า หน้า 55
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 5 ข้อใดกล่าวถูกต้อง หาก IL  IC

PX
1. ตัวต้านทานจะเสียหาย
2. IL มีค่าเป็นอนันต์
3. IC มีค่าเป็นศูนย์

AM
4. ทั้ง R, L และ C ใช้กาลังไฟฟ้าเป็นวัตต์ (W)
5. วงจรนี้มีค่าตัวประกอบกาลังน้อยกว่า 1
FEC
ข้อ 6 (ความถนัดวิศวฯ ปี 48) ถ้ากระแส I มีขนาด 0.1345 แอมแปร์ จงหาความถี่เป็นเฮิรตซ์ของแหล่งจ่าย
แรงดันกระแสสลับว่าเท่ากับเท่าไร ถ้าหม้อแปลงเป็นหม้อแปลงอุดมคติ
by
eak
lbr
Jai

หน้า 56 ไฟฟ้า
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

แม่เหล็กไฟฟ้า
ข้อ 1 (ความถนัดวิศวฯ ปี 33) ทาให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว v เมตรต่อวินาที เข้าไปในพื้นที่ที่มี
ความเข้ม สนามแม่ เ หล็ก สม่ าเสมอ B เทสลา ในทิ ศทางตั้งฉากกั บ สนามแม่ เ หล็ก ดั งแสดงในรูป
อิเล็กตรอนจะใช้เวลาเท่าไรจึงจะวิ่งผ่านสนามแม่เหล็กกลับออกมาได้
2 mv
1.
qB e
V
mv

PX
2.
qB
2m
3.

AM
qB
m
4.
qB
FEC
ข้อ 2 (ความถนัดวิศวฯ ปี 44) ในสนามแม่เหล็กแห่งหนึ่ง ถ้านาขดลวดวงกลมที่มีกระแสไหลอยู่ภายในมา
ลอยอยู่เหนือระนาบดังกล่าว ข้อใดน่าจะกล่าวถูกต้องที่สุด
by
eak

1. วงกลมขดลวด ลอยขึ้นแล้วค่อยจมลง
2. วงกลมขดลวด จมลงแล้วค่อยลอยขึ้น
lbr

3. อยู่นิ่ง
4. หมุนเป็นวงกลมอยู่กับที่
Jai

ข้อ 3 (PAT3 ปี 52) สายไฟฟ้ากระแสตรงที่มีกระแสไหล แรงกระทาต่อสายไฟฟ้าทั้งสองเส้นมีลักษณะใด


1. เป็นแรงผลักระหว่างสายไฟ
2. เป็นแรงดึงดูดระหว่างสายไฟ
3. เป็นแรงขับหมุนตามเข็มนาฬิกา
4. เป็นแรงขับหมุนทวนเข็มนาฬิกา

ไฟฟ้า หน้า 57
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 4 (ความถนั ด วิ ศ วฯ ปี 35) ลวดตั ว น ายาว 20 เซนติ เ มตร มี ม วล 40 กรั ม วางอยู่ บ ริ เ วณที่ มี
สนามแม่เหล็กอยู่สม่าเสมอ 2 เทสลา และตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก ถ้ามีกระแสไฟฟ้า 5 แอมแปร์
ไหลในลวดเส้นนี้ จงหาความเร่งของลวดตัวนาในแนวราบ

PX
1. 0.05 เมตร/วินาที2

AM
2. 0.5 เมตร/วินาที2
3. 5.0 เมตร/วินาที2
4. 50.0 เมตร/วินาที2
FEC
ข้อ 5 (ความถนัดวิศวฯ มี.ค. ปี 46)
by

1. ขดลวดหมุนตามเข็มเมื่อมองทางด้านหน้า (ด้านขั้วแบตเตอรี่)
2. สลับขั้วแม่เหล็กทั้งสองแท่ง ขนาดแรงคู่ควบที่กระทากับขดลวดเท่าเดิม
3. ขดลวดหมุนด้วยความเร่งคงที่
eak

4. ขดลวดหมุนทิศเดิมตลอดเวลา
มีจานวนข้อที่ถูกต้องกี่ข้อ
1. 1 ข้อ
lbr

2. 2 ข้อ
3. 3 ข้อ
Jai

4. 4 ข้อ

หน้า 58 ไฟฟ้า
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 6 (ความถนัดวิศวฯ ปี 34) หม้อแปลงขดลวด A มี 200 รอบ ขดลวดชุด B มี 100 รอบ ถ้าต่อแหล่งจ่าย
ไฟฟ้าขดลวดชุด B ด้วยแรงดัน 80 โวลต์ และขดลวดชุด A ต่อเข้ากั บ ความต้านทาน 100 โอห์ ม
กระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้าขดลวดชุด B จะมีค่าเท่าใด ให้ถือว่าไม่มีการสูญเสียพลังงานในหม้อแปลงนี้

PX
AM
1. 2.2 แอมแปร์
2. 1.6 แอมแปร์
3. 1.1 แอมแปร์
FEC
4. 3.2 แอมแปร์

ข้อ 7 (ความถนัดวิศวฯ ต.ค. 48) กาหนดให้จานวนขดลวดด้านปฐมภูมิ ของหม้อแปลงเท่ ากับ 1,100 ขด


by

กระแสด้านปฐมภูมิของหม้อแปลงเท่ากับ 70 แอมแปร์ และแรงดันด้านปฐมภูมิของหม้อแปลงเท่ากับ


220 โวลต์ หากโหลดขนาด 4,400 วัตต์ 140 โวลต์ ต่อ อยู่ท างด้านทุ ติ ยภู มิ ของหม้ อแปลงดั งรู ป
ข้างล่าง จงหาตัวประกอบกาลังไฟฟ้าของโหลด
eak
lbr
Jai

1. 0.28
2. 0.42
3. 0.59
4. 0.73

ไฟฟ้า หน้า 59
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 8 หม้อแปลงไฟฟ้า มีอัตราส่วนการแปลงเป็น 3 : 2

ข้อใดถูกต้อง

PX
1. ฝั่งปฐมภูมิ มีกระแสไหล 30 A
2. ฝั่งปฐมภูมิ V2 อ่านค่าได้ 0 V

AM
3. ฝั่งทุติยภูมิ V1 อ่านค่าได้ 0 V
4. ฝั่งทุติยภูมิ มีกระแสไหลผ่าน 0 A
5. ถูกทุกข้อ
FEC
ข้อ 9 (ความถนัดวิศวฯ ปี 45) หม้อแปลงในรูปด้านล่าง มีอัตราส่วนจานวนรอบของขดลวดปฐมภูมิต่อทุติย -
ภูมิเท่ากับ 5 พิจารณาข้อดังต่อไปนี้
by

ก. แรงดันตกคร่อมตัวต้านทาน R เท่ากับ 0 Vrms


ข. แรงดันตกคร่อมตัวต้านทาน R เท่ากับ 264 Vrms
eak

ค. แรงดันตกคร่อมตัวต้านทาน R เท่ากับ 176 Vrms


ข้อใดถูกต้อง
1. ขัอ ก. ถูกเพียงข้อเดียว
lbr

2. ข้อ ข. ถูกเพียงข้อเดียว
3. ข้อ ข. หรือ ค. ถูกต้อง
4. ผิดทุกข้อ
Jai

หน้า 60 ไฟฟ้า
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 10 (ความถนัดวิศวฯ ปี 50) จากรูป เมื่อป้อนแรงดันไฟสลับซึ่งอยู่บนแรงดันไฟตรงเข้าที่ขดปฐมภูมิของ


หม้อแปลงไฟฟ้าอุดมคติจะได้รูปคลื่นของกระแสทุติยภูมิที่ไหลผ่านตัวต้านทานเป็นอย่างไร (แกนตั้ง
ของกราฟคือกระแสที่มีหน่วยเป็นแอมแปร์ ส่วนแกนนอนของกราฟคือเวลามีหน่วยเป็นวินาที)

PX
AM
1. 2.
FEC
by

3. 4.
eak
lbr
Jai

ข้อ 11 (ความถนัดวิศวฯ ปี 51) จากหลักการของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง


1. สนามไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงตามเวลาทาให้เกิดสนามแม่เหล็ก
2. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเคลื่อนที่ในสุญญากาศด้วยอัตราเร็วแสง
3. สนามไฟฟ้ามีทิศทางตั้งฉากกับทิศทางของสนามแม่เหล็กและมีทิศเดียวกันกับการเคลื่อนที่ของ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
4. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นตามขวาง

ไฟฟ้า หน้า 61
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 12 (ความถนัดวิศวฯ ปี 31) ข้อความใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง


1. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจะมีทิศทางของสนามไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก และการเคลื่อนที่ตั้งฉากกันเสมอ
2. การทางานของเรดาร์และโซนาร์จะใช้หลักการอันเดียวกัน นั่นคือการสะท้อนกลับของคลื่นที่ส่งไป
กระทบวัตถุแล้วนามาวิเคราะห์หาตาแหน่งของวัตถุนั้น
3. การผสมสัญ ญาณแบบเอเอ็ม จะไม่ ส ามารถท าได้ ถ้าความถี่ของคลื่นพาหะมี ค่าสูงเกินไป เช่น
ในช่วงของความถี่ไมโครเวฟ
4. เนื่อ งจากแสงเป็นคลื่นแม่ เหล็ก ไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ดังนั้นเมื่ อจุดก าเนิดแสงมี การเคลื่อนที่จ ะเกิ ด

PX
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ขึ้นได้

ข้อ 13 (ความถนัดวิศวฯ ปี 39) ถ้าสนามไฟฟ้า E1 กาลังเปลี่ยนแปลงในทางมากขึ้น มีทิศทางตามที่กาหนดให้

AM
ดังรูป อยากทราบว่าสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจะเป็นไปตามข้อใด

1. 2.
FEC
by
eak

3. 4.
lbr
Jai

หน้า 62 ไฟฟ้า
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

โจทย์เสริมประสบการณ์ วิชา ไฟฟ้า


ไฟฟ้าสถิต
ข้อ 1 (PAT3 มี.ค. 52) เมื่อใส่ประจุในตัวนาตันรูปทรงใด ๆ ก็ตามจะเกิดอะไรขึ้น
1. ประจุจะกระจายอย่างสม่าเสมอไปทั่วตัวนา
2. ประจุจะวิ่งไปอยู่ที่ผิวตัวนาและกระจายอย่างสม่าเสมอ
3. ประจุจะวิ่งไปอยู่ที่ผิวตัวนาและสนามไฟฟ้าภายในตัวนามีค่าคงที่

PX
4. ประจุจะวิ่งไปอยู่ที่ผิวตัวนาและสนามไฟฟ้าภายนอกจะตั้งฉากกับผิวของตัวนา

ข้อ 2 (PAT3 ก.ค. 52) เมื่ออัดประจุเข้าไปในฉนวนตัน จะเกิดอะไรขึ้น

AM
1. ประจุทั้งหมดจะอยู่ที่ตาแหน่งอัดครั้งแรก
2. ประจุทั้งหมดจะกระจายไปทั่วฉนวนอย่างสม่าเสมอ
3. ประจุทั้งหมดจะวิ่งไปอยู่ที่ผิวฉนวนเพื่อให้เกิดสมดุล
FEC
4. สนามไฟฟ้าภายในฉนวนจะเป็นศูนย์

ข้อ 3 (PAT3 ต.ค. 52) สนามไฟฟ้าจะต้องตั้งฉากกับผิวตัวนา ข้อความนี้


1. เป็นจริงทุกกรณี
by

2. เป็นจริงเฉพาะไฟฟ้าสถิตเท่านั้น
3. เป็นจริงเฉพาะไฟฟ้ากระแสตรงเท่านั้น
4. เป็นจริงเฉพาะไฟฟ้ากระแสสลับเท่านั้น
eak

ข้อ 4 การกระจายของประจุบนวัตถุตัวนาทรงกลม มีลักษณะใกล้เคียงกับข้อใดมากที่สุด


lbr
Jai

1. 2. 3.

4. 5.

ไฟฟ้า หน้า 63
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 5 จากการทดลองเรื่องไฟฟ้าสถิตในภาพข้างล่างนี้ ข้อสันนิษฐานใด ไม่ถูกต้อง

PX
1. กรณี A แผ่นโลหะมีความเป็นกลาง และกรณี B วัตถุ X ไม่มีประจุ
2. กรณี B วัตถุ X ไม่มีประจุ และกรณี C วัตถุ X มีประจุ
3. กรณี C วัตถุ X มีประจุ และกรณี D และวัตถุ X มีประจุชนิดเดียวกับลูกพิท

AM
4. กรณี B วัตถุ X ไม่มีประจุ และกรณี D และวัตถุ X มีประจุต่างชนิดกับลูกพิท
5. กรณี A แผ่นโลหะมีความเป็นกลาง และกรณี C วัตถุ X มีประจุ
FEC
ข้อ 6 มีประจุไฟฟ้า +q สองประจุ และ –q สองประจุ วางอยู่ที่มุมของสี่เหลี่ยมจัตุรัส FECA ดังรูป ให้จุด M
เป็นจุดกึ่งกลางของสี่เหลี่ยมจัตุรัส และจุด P เป็นจุดกึ่งกลางระหว่างจุด E และจุด A
ก. ศักย์ไฟฟ้าที่จุด M เป็นศูนย์
by

ข. ศักย์ไฟฟ้าที่จุด P เป็นศูนย์
ค. สนามไฟฟ้าที่จุด M เป็นศูนย์
eak
lbr
Jai

ข้อใดถูกต้อง
1. ก. 2. ข. 3. ค.
4. ก. และ ข. 5. ก., ข. และ ค.

หน้า 64 ไฟฟ้า
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 7 ถ้ามีประจุ Q ขนาดเท่ากัน แต่มีชนิดของประจุและตาแหน่งตามที่กาหนดในภาพ ขนาดของแรงลัพธ์


สุทธิที่กระทาต่อประจุที่จุด C มีขนาดเท่าใด

PX
KQ 2 KQ 2 2KQ 2

AM
1. 2 2. 2 sin  3. 2 sin 
R R R
3KQ 2 6KQ 2
4.  2 5.  2
5R
FEC5R

ข้อ 8 ถ้าประจุ q มีขนาด +1 คูลอมบ์ แล้วแรงลัพธ์ที่กระทาต่อประจุ q ควรมีขนาดและทิศทางตามข้อใด


เมื่อกาหนดให้ แรงระหว่างประจุ 1 คูลอมบ์ที่กระทาต่อกัน โดยวางห่างกันเป็นระยะ d มีค่าเท่ากับ A
by

นิวตัน
การวางประจุ ทิศทางของแรง
eak
lbr
Jai

1. มีขนาด 3A นิวตัน และทิศทาง ก


2. มีขนาด 5A นิวตัน และทิศทาง ข
3. มีขนาด 5A นิวตัน และทิศทาง ค
4. มีขนาด 3A นิวตัน และทิศทาง ง
5. มีขนาด 3A นิวตัน และทิศทาง จ

ไฟฟ้า หน้า 65
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 9 (PAT3 ต.ค. 52) ประจุไฟฟ้า Q1 และ Q 2 วางห่างกันเป็นระยะทาง R เมตร ทาให้เกิดแรงระหว่าง


ประจุทั้งสอง 8 นิวตัน ถ้าเพิ่มระยะทางเป็น 2 เท่า เพิ่มประจุไฟฟ้า Q1 เป็น 6 เท่ า และลดประจุ
ไฟฟ้า Q1 ลงครึ่งหนึ่ง จะมีแรงระหว่างประจุเป็นเท่าไร
1. 4 นิวตัน 2. 6 นิวตัน
3. 12 นิวตัน 4. 14 นิวตัน

PX
ข้อ 10 ถ้าตัวเก็บประจุทุกตัวมีค่า 1 ไมโครฟารัด จงหาความจุไฟฟ้าของแต่ละวงจร

AM
FEC
by

ข้อ 11 ตัวเก็ บประจุ 10 ไมโครฟารัด แต่ละตัวมีความต่างศักย์ไฟฟ้า 10 โวลต์ และตัวเก็บประจุ 5 ไมโคร


ฟารัด มีความต่างศักย์ไฟฟ้า 20 โวลต์ พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุไฟฟ้าของวงจรรวมทั้งหมดมีกี่
มิลลิจูล
eak
lbr
Jai

หน้า 66 ไฟฟ้า
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ไฟฟ้ากระแสตรง
ข้อ 1 ลวดตัวนาอันหนึ่งมีประจุ +120 คูลอมบ์ เคลื่อนที่จากปลาย A ไปยังปลาย B ในเวลา 1 นาที และมี
ประจุ -240 คู ล อมบ์ เคลื่ อ นที่ จ ากปลาย B ไปยั ง ปลาย A ในเวลาเดี ย วกั น จงหาขนาดของ
กระแสไฟฟ้าในลวดตัวนานี้
1. -2 แอมแปร์ 2. 2 แอมแปร์ 3. 6 แอมแปร์
4. 120 แอมแปร์ 5. 360 แอมแปร์

PX
AM
ข้อ 2 ลวดโลหะเส้ น หนึ่ ง มี อิ เ ล็ ก ตรอน 5  1028 อนุ ภ าคต่ อ ลู ก บาศก์ เ มตร และมี พื้ น ที่ ภ าคตั ด ขวาง
2 ตารางมิลลิเมตร อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ด้วยความเร็วลอยเลื่อน 0.2 มิลลิเมตรต่อวินาที จงหาปริมาณ
ประจุไฟฟ้าที่ผ่านในลวดในระยะเวลา 1 นาที
FEC
1. 3.2 คูลอมบ์ 2. 3200 ล้านคูลอมบ์ 3. 192 คูลอมบ์
4. 1.92 x 109 คูลอมบ์ 5. 1.2 x 1021 คูลอมบ์
by
eak
lbr

ข้อ 3 กาหนดให้ความต้านทานแต่ละตัวมีค่า 1 โอห์ม จงหาความต้านทานระหว่างจุด A และจุด B


Jai

ไฟฟ้า หน้า 67
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 4 จงหาแรงดันไฟฟ้าที่โวลต์มิเตอร์อ่านได้ เมื่อกาหนดให้โวลต์มิเตอร์เป็นแบบอุดมคติ

1. 0 V
2. 6 V
3. 9 V
4. 12 V
5. 15 V

PX
AM
FEC
ข้อ 5 ข้อใดกล่าวถูกต้อง เมื่อวงจรนี้อุดมคติและอยู่ในสภาวะคงตัว

2 2 2
by

I1 I2 I3

20 V 2 mH 2 µF 2
eak
lbr

1. วงจรนี้มีความต้านทานรวม 8 โอห์ม
2. ความต่างศักย์คร่อม R แต่ละตัวเท่ากับ 5 โวลต์
Jai

3. I2 มีค่าเท่ากับ I3
4. I1 มีค่า 2.5 แอมแปร์
5. มีข้อถูกมากกว่า 1 ข้อ

หน้า 68 ไฟฟ้า
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 6 ถ้าต้องการให้กาลังไฟฟ้าที่เกิดขึ้นในตัวต้านทาน R มีค่า 0.75 วัตต์ จะพบว่ามีค่า R ได้สองค่า


จงหาว่า R ตัวที่มีค่ามากกว่า เป็นกี่เท่าของ R ตัวที่มีค่าน้อยกว่า

1. 2 เท่า
2. 3 เท่า
2V 2V
2
3. 4 เท่า
2
4. 6 เท่า

PX
5. 9 เท่า

AM
ข้อ 7 จากวงจรดังรูป จงหาค่า I1 และ I2
1. 1 แอมแปร์, 2 แอมแปร์
FEC
2. 1 แอมแปร์, 4 แอมแปร์
3. 2 แอมแปร์, 4 แอมแปร์
4. 2 แอมแปร์, 8 แอมแปร์
by

5. 4 แอมแปร์, 8 แอมแปร์
eak

ข้อ 8 กัลวานอมิเตอร์มีความต้านทาน 25 โอห์ม เมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่าน 1 มิลลิแอมแปร์ เข็มจะเบนไป 1


ช่องสเกล ถ้าต้องการนาไปใช้เป็นโวลต์มิเตอร์ที่วัดความต่างศักย์ได้ 1 โวลต์ต่อ 1 ช่องสเกล จะต้องนา
lbr

ตัวต้านทานกี่โอห์มมาต่อกับกัลวานอมิเตอร์และต่อในลักษณะใด
1. 25 โอห์ม ต่อแบบอนุกรม
Jai

2. 975 โอห์ม ต่อแบบอนุกรม


3. 25 โอห์ม ต่อแบบขนาน
4. 975 โอห์ม ต่อแบบขนาน

ไฟฟ้า หน้า 69
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ไฟฟ้ากระแสสลับ
ข้อ 1 (PAT3 ต.ค. 52) หากกาหนดให้ v  300sin(200t  55 ) จงคานวณหาคาบ
1. 0.01 วินาที
2. 0.02 วินาที
3. 0.03 วินาที
4. 0.04 วินาที

PX
ข้อ 2 (พื้นฐานวิศวฯ ปี 48) แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสสลับดังรูป สามารถปรับเปลี่ยนความถี่ได้ ความถี่ของ
กระแสไฟฟ้าเท่าใดที่ทาให้กระแสไฟฟ้าในวงจรมีค่าสูงสุด และกระแสไฟฟ้าสูงสุดมีค่าเท่าใด

AM
FEC
by

1. ความถี่ 50000 เฮิรตช์ กระแสไฟฟ้าสูงสุด 10 แอมแปร์


2. ความถี่ 7957.75 เฮิรตช์ กระแสไฟฟ้าสูงสุด 10 แอมแปร์
3. ความถี่ 7968.75 เฮิรตช์ กระแสไฟฟ้าสูงสุด 8 แอมแปร์
eak

4. ความถี่ 7978 เฮิรตช์ กระแสไฟฟ้าสูงสุด 5 แอมแปร์

ข้อ 3 (พื้นฐานวิศวฯ ปี 48) ถ้าตัวเก็บประจุในวงจรสามารถปรับค่าได้ตั้งแต่ 1 F ถึง 1 mF กระแสไฟฟ้า


lbr

จะมีค่าน้อยที่สุดเท่าไหร่
Jai

หน้า 70 ไฟฟ้า
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 4 แหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้ ากระแสสลับ v(t)  200 2 sin(100t) จ่ายไฟให้กั บ ตัวต้านทาน ดังรูป


อยากทราบว่าข้อสังเกตใดถูกต้องที่สุด

PX
1. ตัวประกอบกาลังน้อยกว่า 1

AM
2. กระแสที่ไหลในวงจร Irms  10 2 A
3. แรงดันตกคร่อมตัวต้านทาน Vrms  200 V
FEC
(200 2 ) 2
4. กาลังไฟฟ้าที่ตัวต้านทาน P  W
20
5. มีคาตอบที่ถูกต้องมากกว่า 1 ข้อ
by

ข้อ 5 (พื้นฐานวิศวฯ ปี 48) จากรูป ข้อใดอธิบายค่ากระแสไฟฟ้ารวมในวงจรได้ในสภาวะก่อนและหลังกด


สวิตช์ เมื่อกาหนดให้ X L < X C
eak
lbr
Jai

1. ก่อนกดสวิตช์กระแสไฟฟ้ารวมมีค่าเท่ากับหลังกดสวิตช์
2. ก่อนกดสวิตช์กระแสไฟฟ้ารวมมีค่าน้อยกว่าหลังกดสวิตช์
3. ก่อนกดสวิตช์กระแสไฟฟ้ารวมมีค่ามากกว่าหลังกดสวิตช์
4. หลังกดสวิตช์กระแสไฟฟ้ารวมมีค่าเท่ากับศูนย์
5. ข้อมูลไม่เพียงพอ

ไฟฟ้า หน้า 71
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

แม่เหล็กไฟฟ้า
เว้นไว้ 8 pts

ข้อ 1 (ความถนัดวิศวฯ มี.ค. 44) จากรูป ถ้าผ่านกระแส 0.5 แอมแปร์ เข้าไปยังตัวนาที่มีความยาว 3.281
ฟุต ที่ วางอยู่ในสนามแม่ เหล็ก ความหนาแน่นฟลัก ซ์แม่ เหล็ก 0.25 เทสลา จงคานวณหาแรงและ
ทิศทางที่กระทาบนตัวนา

PX
AM
1. 0N
2. 0.125 N, ไปทางขวา
FEC
3. 0.125 N, ไปทางซ้าย
4. 0.410 N, ไปทางขวา
by

ข้อ 2 (PAT3 มี .ค. 52) ลวดตัวนาตรงเส้นหนึ่งมี มวล 0.015 กิ โลกรัม ยาว 10 เซนติเมตร วางตั้งฉากกั บ
สนามแม่ เหล็กสม่าเสมอขนาด 2 เทสลา ถ้าปล่อยกระแสไฟฟ้า 15 แอมแปร์ ผ่านลวดตัวนา จงหา
eak

ความเร่งของลวดตัวนา
1. 100 m / s2 2. 200 m / s2
lbr

3. 300 m / s2 4. 400 m / s2
Jai

ข้อ 3 (พื้นฐานวิศวฯ ปี 31) แกนเหล็กแกนหนึ่งมีพื้นที่หน้าตัด 4 cm2 และจะอิ่มตัวเมื่อสนามแม่เหล็กใน


แกนมีขนาด 0.3 เทสลา ถ้าเอาลวดตัวนามาพันรอบแกนเหล็กนี้จานวน 1,000 รอบ แล้วใส่แรงดัน
100 โวลต์ คร่อมขดลวดที่เวลา t  0 แกนเหล็กจะเริ่มอิ่มตัวที่เวลากี่มิลลิวินาที (กาหนดให้ขนาด
ของแรงดันคร่อมขดลวดเท่ากับผลคูณของจานวนรอบกับอนุพันธ์ของฟลักซ์แม่เหล็ก)

1. ตัวเ
2. ก 3. ตัวเลือกที่ 34. ตัวเลือกที่ 4

หน้า 72 ไฟฟ้า
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 4 (ความถนัดวิศวฯ ต.ค. 46) เมื่อทาการปรับลดค่าความต้านทาน R1 ข้อใดคือคากล่าวที่ถูกต้องที่สุด


ก. ขดลวดตัวนาจะหมุนทวนเข็มนาฬิกา
ข. ขดลวดตัวนาจะหมุนตามเข็มนาฬิกา
ค. ความต่างศักย์ที่วัดคร่อมจุด AB มีค่าเป็นบวก
ง. ความต่างศักย์ที่วัดคร่อมจุด AB มีค่าเป็นลบ

PX
1. ข้อ ค. ถูกต้อง
AM 2. ข้อ ง. ถูกต้อง
FEC
3. ถูกทั้งข้อ ก. และ ค. 4. ถูกทั้งข้อ ง. และ ข.
by

ข้อ 5 (ความถนัดวิศวฯ ต.ค. 34) หม้อแปลงตัวหนึ่งแปลงไฟฟ้าใช้กับหลอด 100 W 120 V ได้โดยหลอดไม่


ขาด ถ้าจานวนขดลวดขดที่ 1 ต่อขดที่ 2 เป็น 5 : 1 และประสิทธิภาพ 100% จงหากระแสที่ไหลเข้า
ในขดที่ 1 ว่าต้องเป็นเท่าใดหลอดไฟจึงไม่ขาด
eak
lbr

1
Jai

1. ไม่น้อยกว่า A
6
1
2. ไม่มากกว่า A
6
1
3. อย่างน้อยต้อง A
6
1
4. ต้องมากกว่า A
6

ไฟฟ้า หน้า 73
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 6 (ความถนัดวิศวฯ ต.ค. 47) จากรูป หม้อแปลงไฟฟ้าในเชิงอุดมคติ เมื่อกดสวิตซ์แล้วพบว่า หลอดไฟ


สว่าง โดยวัด I1 ได้ 1 A และวัด I2 ได้ 4 A ถ้านาแหล่งจ่าย V1 ออกแล้วนาแบตเตอรี่ขนาด 24 V มา
ต่อแทนที่ อยากทราบว่าเมื่อกดสวิตซ์ทิ้งไว้ 10 นาที จะอ่านค่า V2 ได้กี่โวลต์

PX
AM
FEC
ข้อ 7 (PAT3 ต.ค. 52) ใช้ข้อความต่อไปนี้ตอบคาถาม 7.1 และ 7.2
หม้อแปลงไฟฟ้าหนึ่งเฟส มีขดลวดปฐมภูมิ 200 รอบ ขดลวดทุติยภูมิ 100 รอบ โดยที่ขดลวดทุติยภูมิ
by

ติดอยู่กับโหลดที่เป็นตัวต้านทาน 5 โอห์ม
eak
lbr

7.1) กาลังไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทานมีค่ากี่วัตต์
Jai

7.2) กระแสไฟฟ้าที่ไหลด้านขดลวดปฐมภูมิมีค่ากี่แอมแปร์

หน้า 74 ไฟฟ้า
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 8 (ความถนัดวิศวฯ ต.ค. 41) หม้อแปลงไฟฟ้าในอุดมคติตัวหนึ่งมีอัตราส่วนของจานวนลวดปฐมภูมิต่อ


จ านวนลวดทุ ติยภูมิ N1 : N2  N : 1 เมื่ อต่อตัวเก็ บ ประจุ C เข้ากั บ ขดลวดทุ ติยภูมิ เราสามารถ
พิจารณาได้เสมือนว่าแหล่งกาเนิดไฟฟ้าสลับ E นั้นอยู่กับตัวเก็บประจุ C' โดย C' จะมีค่าเท่ากับ

PX
1. N2 C
N2
2.

AM
C
3. NC 2
C
4. 2
FEC
N
by

ข้อ 9 (ความถนัดวิศวฯ มี.ค. 44) ลาโพงตัวหนึ่งต่อกับแหล่งจ่ายไฟขนาด 10 Vrms มีความต้านทานภายใน


eak

1  โดยต่ อ ผ่ านหม้ อ แปลงดั ง รู ป ถ้ าก าหนดให้ อั ต ราส่ ว นจ านวนรอบเป็ น 1 : 2 จงค านวณ


กาลังไฟฟ้าที่ลาโพงในหน่วยวัตต์
lbr
Jai

ไฟฟ้า หน้า 75
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 10 (ความถนัดวิศวฯ ต.ค. 50) จากรูป จงหาค่า V2 เมื่ อ V1 = 50 โวลต์ เมื่อขดลวดปฐมภูมิต่อขดลวด


ทุติยภูมิ มีอัตราส่วน 11 : 8

PX
1. 12.5 โวลต์
2. 30.5 โวลต์
3. 75 โวลต์

AM
4. 200 โวลต์

ข้อ 11 (ความถนัด วิศวฯ ต.ค. 51) หม้ อ แปลงไฟฟ้ าหนึ่ง เฟสในอุดมคติ มี ศัก ย์ ไฟฟ้ าปฐมภู มิ 220 โวลต์
FEC
กระแสทุติยภูมิ 5 แอมแปร์ ไหลผ่านหลอดขนาด 4,400 วัตต์ จงหากระแสปฐมภูมิและอัตราส่วนของ
หม้อแปลง
1. 20 แอมแปร์ และอัตราส่วนของหม้อแปลง 2 : 8
by

2. 10 แอมแปร์ และอัตราส่วนของหม้อแปลง 2 : 4
3. 10 แอมแปร์ และอัตราส่วนของหม้อแปลง 1 : 3
4. 20 แอมแปร์ และอัตราส่วนของหม้อแปลง 2 : 4
eak

ข้อ 12 (ความถนัดวิศวฯ ต.ค. 48) หม้อแปลงไฟฟ้าหนึ่งเฟสในอุดมคติ ขดลวดปฐมภูมิ 200 รอบ และขดลวด


lbr

ทุติยภูมิ 100 รอบ โดยที่ ขดลวดทุติยภูมิอยู่กับ โหลดที่เป็นตัวต้านทาน 5 โอห์ม จงหากาลังไฟฟ้าที่


ผ่านตัวต้านทานและกระแสที่ไหลทางด้านขดลวดปฐมภูมิตามลาดับ
Jai

1. 125 วัตต์, 2.5 แอมแปร์ 2. 150 วัตต์, 5 แอมแปร์


3. 150 วัตต์, 1.5 แอมแปร์ 4. 125 วัตต์, 5 แอมแปร์

หน้า 76 ไฟฟ้า
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 13 (PAT3 มี.ค. 54) หากหม้ อแปลงไฟฟ้ามีสัญ ลักษณ์ดังรูปข้างล่างนี้ โดย V1 คือ แรงดันด้านปฐมภูมิ
และ V2 คือ แรงดันด้านทุติยภูมิ ข้อใดผิด
1. เราใช้หม้อแปลงเพื่อแปลงแรงดันไฟฟ้า
2. แยกการต่อถึงกันของวงจรทั้ง 2 ฝั่งออกจากกัน
3. หากมีการนาหม้อแปลงที่มีพิกัด 220/220 V มาใช้งาน กระแสทั้ง 2 ด้านน่าจะเท่ากัน
4. หากนาหม้อแปลงที่เหมือน ๆ กัน จานวน 3 ตัว มาต่ออย่างเป็นระบบ จะสามารถทาเป็นหม้อ
แปลง 3 เฟส ได้

PX
5. หากนาขดลวดหม้อแปลงทัง้ 2 ด้านมาต่อตามรูปนี้ และจ่ายแรงดันขนาด V1  V2 แล้วหม้อแปลง
จะได้รับความเสียหาย

AM
FEC
by

ข้อ 14 หากอุปกรณ์ทุกตัวในรูปเป็นไปตามอุดมคติแล้ว แหล่งจ่ายจะต้องจ่ายกาลังไฟฟ้าเท่าใด


eak
lbr
Jai

1. 0 วัตต์
2. 250 วัตต์
3. 500 วัตต์
4. 1,000 วัตต์
5. ไม่มีคาตอบที่ถูกต้อง

ไฟฟ้า หน้า 77
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 15 (ความถนัดวิศวฯ ต.ค. 46) หม้อแปลงที่ต่อในรูปข้างล่างนี้ ควรเขียนสัญลักษณ์ดังข้อใด

1. 2.

PX
AM
3.
FEC 4.
by
eak

ข้อ 16 (ความถนัดวิศวฯ มี.ค. 47) จากรูปเป็นการแสดงให้เห็นถึงการพันหม้อแปลง พิกัดแรงดัน 220/110


โวลต์ ถ้ามีการต่อสายไฟเชื่อมระหว่างจุด A และจุด B อยากทราบว่า ถ้านาโวลต์มิเตอร์มาวัดแรงดัน
ระหว่างจุด C และ D จะวัดค่าได้เท่าไร
lbr
Jai

1. 0 โวลต์
2. 110 โวลต์
3. 220 โวลต์
4. 330 โวลต์

หน้า 78 ไฟฟ้า
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 17 (ความถนัดวิศวฯ ต.ค. 45) โรงไฟฟ้าแห่งหนึ่งผลิตแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ Vs โวลต์ และส่งกาลัง


ไฟฟ้าผ่านสายไฟยาว 10 km ซึ่งมีค่าความต้านทานของสาย (ไป-กลับ) เท่ากับ 20  ไปยังโรงงาน
อุตสาหกรรมแห่งหนึ่ง ที่โรงงานอุตสาหกรรม จะใช้หม้อแปลงไฟฟ้าอุดมคติ ที่มีอัตราส่วนจานวนรอบ
ของขดลวดปฐมภูมิ ต่อทุ ติยภูมิเท่ ากั บ 100 โดยสายไฟที่ ส่งมาจากโรงงานไฟฟ้าจะต่อเข้ากั บด้าน
ปฐมภูมิ และภาระของโรงงานเท่ากับ 110 kW ตัวประกอบกาลังเท่ากับ 1 ที่แรงดัน 220 โวลต์ โดย
จะต่อเข้ากับด้านทุติยภูมิของหม้อแปลงไฟฟ้า จงหาค่าแรงดัน VS ว่าเท่ากับเท่าใด
1. 22.1 kV

PX
2. 22 kV
3. 32 kV
4. 10.22 kV

AM
FEC
ข้อ 18 (ความถนัดวิศวฯ ปี 38) หม้อแปลงมีขดลวดทางปฐมภูมิ 440 รอบ และมีขดลวดทางทุติยภูมิ 2 ขด
ขดละ 32 รอบ ต่ออนุกรมกัน ถ้าต่อความต้านทานขนาด 4  และ 8  เข้าไป ดังรูป กระแสใน
by

ขดทางปฐมภูมิจะมีค่าเท่าใด
eak
lbr

48
1. A
110
Jai

64
2. A
110
32
3. A
110
16
4. A
110

ไฟฟ้า หน้า 79
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

PX
AM
FEC

สมบัติสาร
by
eak
lbr
Jai

หน้า 80 สมบัติสาร
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

สมบัตสิ าร
สภาพยืดหยุ่นของของแข็ง L0 L
F P
- ความเค้น (Stress):   F
A
L
- ความเครียด (Strain):  
L0
 F  L0
- ค่ามอดูลัสความยืดหยุ่น (Young’s Modulus): Y 

PX
 A  L

ความดัน (Pressure / P)

AM
อัตราส่วนของแรงตั้งฉากที่กระทาต่อวัตถุต่อหน่วยพื้นที่ทสี่ ัมผัสกับของไหล F
P
A
มีหน่วยเป็นปาสคาล หรือ นิวตันต่อตารางเมตร FEC
- ความดันสัมบูรณ์ (Absolute Pressure / P): ความดันค่าจริง
- ความดันบรรยากาศ (Atmospheric Pressure / Pa ): ความดันเนื่องจากอากาศภายนอก ซึ่ง มี
ค่าคงที่ที่ความสูงเทียบกับระดับน้าทะเลและอุณหภูมิค่าหนึ่ง โดยทั่วไปมีค่า 1 atm
(1 atm  1.01  105 ปาสคาล  1.01 บาร์  760 mmHg  760 ทอร์  10.3 เมตรของน้า)
by

- ความดันเกจ (Gauge Pressure / Pg ): ความดันที่ไม่รวมความดันบรรยากาศ ส่วนใหญ่เป็นค่าที่


อ่านได้จากเครือ่ งวัดความดัน
eak

Pg  P  Pa
- ความดันเนื่องจากน้าหนักของเหลว (Static Fluid Pressure): ที่ระดับความลึก h เมตรจากผิวน้า
ความดันเนื่องจากน้าหนักของของเหลวมีค่า
lbr

Pfluid  fluid gh
- มานอมิเตอร์ (Manometer): เครื่องมือวัดความดันโดยอาศัยหลักการว่า
Jai

ของเหลวชนิดเดียวกันเชื่อมถึงกันทีร่ ะดับเดียวกัน จะมีความดันเท่ากัน แก๊ส P


y h
เมื่อ Px  PP และ Py  Pa  gh x
จะได้ว่า Px  Py
PP  Pa  gh
- บารอมิเตอร์ (Barometer): เครือ่ งมือที่ใช้วัดความดันของบรรยากาศเฉพาะที่
โดยประกอบด้วย หลอดสุญญากาศ และ ของเหลวซึง่ นิยมใช้ปรอทหรือน้า
Pa  P0  gh h

สมบัติสาร หน้า 81
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ความหนาแน่น (Density /  ) m

มวลของสารต่อหน่วยปริมาตร V

ความถ่วงจ้าเพาะ (Specific Gravity)



อัตราส่วนระหว่างความหนาแน่นของสาร (วัตถุ) ต่อความหนาแน่นของน้าที่ 4 o C SG 
water
แรงดันเนื่องจากของเหลว

PX
- แรงดันที่กระท้าต่อก้นภาชนะ: F  P  A  ghA
h
- แรงดันที่กระท้าต่อข้างภาชนะ: คานวณได้จากความดันเฉลีย่ ที่ผนังภาชนะ

AM
(P1  P2 ) (0  gh) gh2l l
Fside  Pside  A side  hl  hl 
2 2 2
2
FEC
- แรงดันน้าในเขื่อน: จุดที่แรงเฉลี่ยกระทาจะอยู่ที่ระยะ ของความลึกเขื่อนจากผิวน้า (h)
3
gh l
2
gh2l
- เขื่อนตรง: F  - เขื่อนเอียง: F 
2 2sin 
- เมื่อ  เป็นมุมระหว่างพื้นเอียงกับพื้น
by

l l
eak

h h
lbr

กฎของปาสคาล (Pascal’s Law)


เมื่ อ เพิ่ ม ความดัน แก่ ของเหลวที่ อ ยู่ในภาชนะปิ ด ความดัน ส่ วนที่ เพิ่ ม จะกระจายไปทั่ วทุ ก จุ ดใน
Jai

ของเหลวนั้นอย่างสม่าเสมอ

- เครื่องอัดไฮดรอลิก: เป็นเครื่องทุ่นแรงที่อาศัยหลักการจากกฎของปาสคาล
F W
Input a Output A F W
Pinput  Poutput 
a A

หน้า 82 สมบัติสาร
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

แรงลอยตัว (Buoyant Force / B) B


แรงที่ของเหลวพยายามทาให้วัตถุลอยขึ้น โดยจากหลักการของอาร์คิมิดสี
ขนาดของแรงลอยตัวจะมีค่าเท่ากับน้าหนักของของเหลวส่วนที่ถูกปริมาตรวัตถุแทนที่
B  fluid Vdisplace g mg
ความตึงผิว (Surface Tension /  )
ความพยายามที่จะยึดผิวของเหลวไว้ด้วยกัน ซึ่งเกิดจากแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลวที่

PX
บริเวณผิว โดยแรงตึงผิวสามารถหาได้จาก
F  L เมื่อ L คือ ความยาวขอบของวัสดุที่สัมผัสกับของเหลว

AM
ความหนืด (Viscosity)
สมบั ติของของไหลในการต้ านทานการไหลและต้านทานการเคลื่ อนที่ ของวัต ถุในของไหล มี ค่ า
แปรผกผันกับอุณหภูมิของของไหล
FEC
- กฎของสโตกส์: ใช้ในการหาแรงหนืดที่ กระท าต่อวัตถุทรงกลมขนาดเล็ก
Fviscosity  6rv
รัศมี r ที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว v ในของไหลซึ่งมีสัมประสิทธิ์ความหนืด 
by

สมการของไหล
- สมการความต่อเนื่อง: เมื่ อ ของเหลวไหลไปตามหลอด
การไหล มวลของของเหลวที่ไหลผ่านตาแหน่ง ใด ๆ ใน
eak

หนึ่งหน่วยเวลาจะมีค่าคงที่ Q  A 1 v 1  A 2 v 2
- สมการแบร์นูลี: สมการอธิบายการไหลของของไหล ซึ่งมี
lbr

แนวคิดมาจาก กฎการอนุรักษ์พลังงานในของไหล
1 1
P1  v 12  gh1  P2  v 22  gh2
Jai

2 2
ความร้อน
- ความร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยนอุณหภูมิ ไม่เปลี่ยนสถานะ: Q  mcT  CT
เมื่อ c เป็นความจุความร้อนจาเพาะ และ C เป็นความจุความร้อน
- ความร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะ ไม่เปลี่ยนอุณหภูมิ: Q  mL
เมื่อ L เป็นความร้อนแฝงที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะ
- การถ่ายเทความร้อนที่สภาวะสมดุล: Q increase  Q decrease

สมบัติสาร หน้า 83
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

สมบัติของแก๊ส
- กฎรวมแก๊ส
1
กฎของบอยล์ P
V
กฎของชาร์ล VT กฎรวมแก๊ส (Ideal Gas Law)
กฎของเกย์ลูแซก PT PV  nRT  Nk B T
กฎของอโวกาโดร V n

PX
โดยที่ R คือ ค่าคงตัวของแก๊ส = 8.314 จูลต่อโมล-เคลวิน
K B คือ ค่าคงที่ของโบลต์ซมันน์ (Boltzmann’s Constant) = 1.38 x 10-23 จูลต่อเคลวิน

AM
การค้านวณแก๊สผสม
กรณีทั่วไป Pt Vt  nt RTt (หาค่ารวมของแต่ละค่า)
เมื่ออุณหภูมิคงที่ Pt Vt  P1 V1  P2 V2  P3 V3   Pn Vn
FEC
เมื่อพลังงานภายในระบบคงที่ nt Tt  n1 T1  n2 T2  n3 T3   nn Tn

ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส (Kinetic Theory of Gases)


by

1 2 3 PV 3
- พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลแก๊ส: Ek  mv rms   kT
2 2 N 2 B
- อัตราเร็วรากที่สองของก้าลังสองเฉลี่ยของโมเลกุลแก๊ส (Root Mean Square – RMS):
eak

2
v 3P 3RT 3k B T
v rms    
N  M m

กฎข้อที่ 1 ของเทอร์โมไดนามิกส์ (1st Law of Thermodynamics)


lbr

Q  U  W
Jai

- Q: พลังงานความร้อนทีร่ ะบบได้รับ (+) หรือคายให้ (-) สิง่ แวดล้อม


3 3
- U : การเพิ่มขึ้น (+) หรือลดลง (-) ของพลังงานภายในระบบ โดย U  2  (PV)  2 nRT

- W: งานทีร่ ะบบกระทากับ (+) หรือได้รับ (-) จากสิ่งแวดล้อม โดย W  PV

หน้า 84 สมบัติสาร
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

แนวข้อสอบ PAT3 วิชา สมบัตสิ าร


ข้อ 1 เรือกลไฟลาหนึ่งกาลังลากเรือพ่ วง 2 ลา แต่ละลาบรรทุกน้าตาลมีมวลรวมลาละ 50 ตัน แรงเสียด
ทานระหว่างเรือพ่วงกับน้าลาละ 1 ตัน จงหาว่าเชือกที่โยงเรือพ่วงลาแรกกับเรือลากจูงควรมีขนาด
พื้นที่หน้าตัดเท่าไร จึงจะพอลากเรือทั้งสองลาให้เคลื่อนไปตามน้าด้วยความเร็วสม่าเสมอ ถ้าเชือกมี
ความเค้น 5x1010 นิวตันต่อตารางเมตร

PX
AM
ข้อ 2 (PAT3 ก.ค. 52) วิ ศ วกรออกแบบเลื อ กใช้ ท่ อ นเหล็ ก ส าหรั บ รองรั บ โครงสร้ า งที่ ไม่ ย อมให้ มี
การเปลี่ ย นรูป แบบถาวรได้ เขาทราบว่า วัส ดุ ที่ เขาเลื อ กใช้ ส ามารถรั บ ความเค้ น สู ง สุ ด ได้ 400
FEC
นิวตันต่อตารางมิลลิเมตร และรับแรงดึงครากได้ 240 นิวตันต่อตารางมิลลิเมตร แรงกระทาที่เกิดขึ้น
ต่อชิ้นส่วนนี้มี ขนาดระหว่าง 120 ถึง 180 กิโลนิวตัน ระหว่างการใช้งานชิ้ นส่วนซึ่งมีความยาว 1.5
เมตร ไม่สามารถยืดหรือหดตัวมากเกินกว่า 1 มิลลิเมตร เพื่อให้การทางานของโครงสร้างถูกต้อง เหล็ก
มีโมดูลัสความยืดหยุ่น 200 x 103 นิวตันต่อตารางมิลลิเมตร วิศวกรนายนี้ต้องเลือกใช้เหล็กที่มีขนาด
by

พื้นที่หน้าตัดอย่างน้อยเท่าไร
1. 450 ตารางมิลลิเมตร
2. 750 ตารางมิลลิเมตร
eak

3. 900 ตารางมิลลิเมตร
4. 1350 ตารางมิลลิเมตร
lbr

ข้อ 3 (ENT 35) เชือกเส้นหนึ่งทนแรงดึงได้ 25 นิวตัน นามาผูกกับแผ่นเหล็กบางที่สมมติว่าไม่มีน้าหนัก ซึ่ง


Jai

นามาอุดที่ก้นถังน้า โดยขนาดของรูเท่ากับ 0.01 ตารางเมตร ถามว่าจะสามารถนาเอาน้ามาใส่ในถัง


ดังกล่าวได้สูงมากที่สุดกี่เมตร เชือกที่ผูกไว้จึงจะไม่ขาด (กาหนด ความหนาแน่นของน้าเท่ากับ 1,000
กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร)
1
เชือก 1. เมตร
2
2. 0.25 เมตร
h
3. 2 เมตร
4. 2.5 เมตร
0.01 ตารางเมตร
สมบัติสาร หน้า 85
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 4 (PAT3 ก.ค. 52) จากรูปจงหาว่ามาตรวัดความดัน A อ่านค่าได้เท่าใด กาหนดให้ น้ามีความหนาแน่น


1,000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร น้ามันมีความหนาแน่น 800 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ปรอทมีความ
หนาแน่นเป็น 13.6 เท่าของน้า ความดันบรรยากาศ 100 กิโลปาสคาล
A
1. 45 กิโลปาสคาล
เปิดสู่ความดันบรรยากาศ
อากาศ 2. 145 กิโลปาสคาล
3. 91 กิโลปาสคาล
100 ซม. น้ามัน

PX
200 ซม. 4. 191 กิโลปาสคาล
น้า

AM
50 ซม.

ปรอท
FEC
ข้อ 5 (ENT 46) เครื่ อ งอั ด ไฮดรอลิ ก เครื่ อ งหนึ่ ง ลู ก สู บ ใหญ่ มี พื้ น ที่ ห น้ า ตั ด 600 ตารางเซนติ เ มตร
by

มี ม วล 6,000 กิ โ ลกรั ม วางอยู่ บ นลู ก สู บ ลู ก สู บ เล็ ก มี พื้ น ที่ ห น้ า ตั ด 200 ตารางเซนติ เ มตร
ในเครื่องอัดไฮดรอลิกมีน้ามันที่มีความหนาแน่น 800 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ถ้าเครื่องอัดไฮดรอลิก
อยู่ในสมดุล โดยระดับน้ามันในลูกสูบเล็กสูงกว่าระดับน้ามันในลูกสูบใหญ่ 100 เซนติเมตร มวล m
eak

ที่วางอยูบ่ นลูกสูบเล็กมีค่าเท่าใด
6000 กิโลกรัม m กิโลกรัม
lbr

1 เมตร
Jai

1. 2,016 กิโลกรัม 2. 2,000 กิโลกรัม


3. 1,984 กิโลกรัม 4. 1,800 กิโลกรัม

หน้า 86 สมบัติสาร
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 6 (PAT3 มี.ค. 53) ถ้าต้องการสร้างหอถังสูง ที่ทาให้น้าที่จุด C มีความดัน 2 บาร์ ต้องสร้างหอให้มีความ


สูง h กี่เมตร เมื่อในถังมีน้าบรรจุสูง 1.5 เมตร กาหนดให้ g = 10 เมตรต่อวินาที2 ความดันบรรยากาศ
เท่ากับ 96 กิโลปาสคาล และ 1 บาร์ = 100 กิโลปาสคาล

1.5 เมตร

PX
h

AM
ข้อ 7 (ENT 33) ถังน้าตามที่แสดงในรูป มีระดับน้าสูง 12 เมตร ประตูน้า AB ยาว 10 เมตร วางในแนวดิ่ง
FEC
จงหาแรงปฏิกิริยาของพื้น F ที่จุด B
ระดับน้า 1. 300 ตัน
2. 30 ตัน
by

6 เมตร 3. 525 ตัน


A
4. 52.5 ตัน
eak

6 เมตร
B
F
lbr

ข้อ 8 (ENT ต.ค. 41) ในการออกแบบโป๊ะเทียบเรือรูปกล่องสี่เหลี่ยมในแม่น้า จะต้องให้มีสัดส่วนของส่วนที่


Jai

พ้ น น้ าต่ อ ส่ วนที่ จ มน้ าเป็ น 1 : 2 จงหาความสู ง ของโป๊ ะ เมื่ อ ต้ อ งการให้ โ ป๊ ะ รั บ คนได้ 60 คน


(คิดมวลเฉลี่ย 60 กิ โลกรัม ต่อ คน) โดยต้องให้มีพื้นที่ รองรับ 4 คนต่อตารางเมตร น้าหนักโป๊ะเป็น
12,000 นิวตัน
1. 0.15 เมตร 2. 0.24 เมตร
3. 0.30 เมตร 4. 0.48 เมตร

สมบัติสาร หน้า 87
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 9 ในหลอดแก้วที่มีพื้นที่ 9 ตารางเซนติเมตร สูง 30 เซนติเมตร บรรจุปรอทที่มีความถ่วงจาเพาะเท่ากับ


13.6 สู ง 7.5 เซนติ เมตร และมี น้ ามั น ที่ มี ค วามถ่ว งจ าเพาะ 0.85 สู ง 5 เซนติ เ มตร ถ้ าใส่ แ ท่ ง
อะลูมิเนียมที่มีความถ่วงจาเพาะ 3.4 พื้นที่หน้าตัด 1 ตารางเซนติเมตร และสูง 5 เซนติเมตร ลงไปใน
หลอดแก้ว
ข้อใดคือผลที่สังเกตได้ ถ้าแท่งอะลูมิเนียมยังวางตัวตั้งตรงอยู่ในของเหลว
1. แท่งอะลูมิเนียมจมอยู่ระหว่างชั้น โดยอยู่ในชั้นน้ามัน 1 ซม. และในชั้นปรอท 4 ซม.
2. แท่งอะลูมิเนียมจมอยู่ระหว่างชั้น โดยอยู่ในชั้นน้ามัน 1.25 ซม. และในชั้นปรอท 3.75 ซม.

PX
3. แท่งอะลูมิเนียมจมอยู่ระหว่างชั้น โดยอยู่ในชั้นน้ามัน 2.5 ซม. และในชั้นปรอท 2.5 ซม.
4. แท่งอะลูมิเนียมจมอยู่ระหว่างชั้น โดยอยู่ในชั้นน้ามัน 3.75 ซม. และในชั้นปรอท 1.25 ซม.
5. แท่งอะลูมิเนียมจมอยู่ระหว่างชั้น โดยอยู่ในชั้นน้ามัน 4 ซม. และในชั้นปรอท 1 ซม.

AM
FEC
ข้อ 10 (ENT 33) หย่อนแท่งเหล็กซึ่งวางอยู่บนกระบะไม้ลงในบ่อน้าโคลน ซึ่งมีความถ่วงจาเพาะ 1.20 ถ้า
แท่ งเหล็ก หนัก 15.6 กิ โลกรัม มี ความถ่วงจ าเพาะ 7.8 และกระบะไม้ ห นัก 2.4 กิ โลกรัม มี ความ
ถ่วงจาเพาะ 0.6 จะต้องออกแรงสาวรอกกี่กิโลกรัม
by

1. 5.4 กิโลกรัม
2. 9.0 กิโลกรัม
3. 10.8 กิโลกรัม F
eak

4. 12.0 กิโลกรัม
เหล็ก
ไม้
lbr
Jai

ข้อ 11 (PAT3 มี.ค. 52) น้าไหลในท่ อประปาขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 100 มิลลิเมตร ที่ อัตราการไหล 50
ลิตรต่อวินาที แต่ก่อนที่น้าจะเข้าสู่ตัวบ้าน มีการใช้น้ารดสนามหญ้านอกบ้านด้วยอัตรา 10 ลิตรต่อ
วิน าที น้ าที่ เ หลื อ ได้ ไหลเข้าไปในตัว บ้ านที่ มี ท่ อประปาขนาดเส้ น ผ่า นศูน ย์ ก ลาง 50 มิ ล ลิ เม ตร
จงเปรียบเทียบความเร็วเฉลี่ยของน้าที่ไหลในท่อนอกบ้านและในท่อภายในบ้าน
1. ความเร็วเฉลี่ยในท่อนอกบ้านมีค่าเป็น 3.2 เท่าของท่อในบ้าน
2. ความเร็วเฉลี่ยในท่อในบ้านมีค่าเป็น 3.2 เท่าของท่อนอกบ้าน
3. ความเร็วเฉลี่ยในท่อนอกบ้านมีค่าเป็น 1.6 เท่าของท่อในบ้าน
4. ความเร็วเฉลี่ยในท่อในบ้านมีค่าเป็น 1.6 เท่าของท่อนอกบ้าน

หน้า 88 สมบัติสาร
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 12 (ความถนั ด วิศ วฯ ต.ค. 47) ท่ อ น้ ารู ป ทรงกระบอก ดั ง รูป มี พื้ น ที่ ห น้ า ตั ด ตอนบนเท่ า กั บ 500
ตารางเซนติเ มตร และมี พื้ น ที่ ห น้ าตั ดของท่ อตอนล่ างเท่ ากั บ 700 ตารางเซนติ เมตร น้ าในท่ อ
ทางตอนบนมี ความดัน 4  104 ปาสคาล และมี อัตราการไหลเท่ ากั บ 4 ลูก บาศก์ เมตรต่อวินาที
จงหาความดันในท่อตอนล่าง
(น้ามีความหนาแน่นเท่ากับ 1,000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และ g = 10 เมตรต่อวินาที2)
1. 2.40  105 ปาสคาล
2. 2.44  105 ปาสคาล

PX
20 เมตร 3. 1.61  106 ปาสคาล
4. 1.81  106 ปาสคาล

AM
FEC
ข้อ 13 ของเหลวชนิดหนึ่งไหลอย่างต่อเนื่องโดยไม่มีการหมุนไปตามท่อกลม ซึ่งมีพื้นที่หน้าตัดไม่สม่าเสมอ
ตลอดความยาวของท่ อ ดั ง แสดงในรูป จงหาความสู ง d ที่ แสดงในรู ป ในหน่ วยเซนติเ มตร ถ้ า
พื้นที่หน้าตัด A1 ต่อ A2 เท่ากับ 5 : 3 และ v1 เท่ากับ 60 เซนติเมตรต่อวินาที
by

d
A1
eak

v1

A2
lbr

ข้อ 14 (ENT ต.ค. 46) เครื่องบินขนาดเล็กมีมวล 1,430 กิโลกรัม มีพื้นที่ปีก 10 ตารางเมตร ขณะเครื่องบิน
Jai

วิ่งด้วยความเร็ว v ความเร็วลมใต้ปีก และเหนือปีก มี ค่าประมาณ v และ 1.2v ตามล าดับ ถามว่า


เครื่องบินนี้จะบินด้วยความเร็วต่าสุดเท่าใด จึงจะบินได้ในแนวระดับพอดี
(กาหนดให้ ความหนาแน่นของอากาศ มีค่า 1.3 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร)
1. 60 เมตรต่อวินาที 2. 65 เมตรต่อวินาที
3. 71 เมตรต่อวินาที 4. 80 เมตรต่อวินาที

สมบัติสาร หน้า 89
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 15 ถ้าให้ความร้อนปริมาณ 600 กิโลจูล และน้าแข็งจานวน 1 กิโลกรัม โดยไม่มีการสูญเสียความร้อน


กาหนดให้
ความจุความร้อนของน้า เท่ากับ 4 กิโลจูลต่อกิโลกรัม-องศาเซลเซียส
ความร้อนแฝงจาเพาะของการหลอมเหลว เท่ากับ 300 กิโลจูลต่อกิโลกรัม
ความร้อนแฝงจาเพาะของการกลายเป็นไอน้า เท่ากับ 2,200 กิโลจูลต่อกิโลกรัม
ข้อใดต่อไปนี้สรุปถูกต้อง
1. น้าแข็งละลายบางส่วน เหลือมวลน้าแข็งอยู่ 0.1 กิโลกรัม

PX
2. น้าแข็งละลายหมดกลายเป็นน้าที่มีอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส
3. น้าแข็งละลายหมดกลายเป็นน้าที่มีอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส
4. น้าแข็งละลายหมดกลายเป็นน้าที่มีอุณหภูมิ 75 องศาเซลเซียส

AM
5. น้าแข็งละลายหมดกลายเป็นน้าที่มีอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส
FEC
ข้อ 16 ลูกเหล็กมวล 7 กิโลกรัม มีอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส ถูกใส่ลงไปในน้ามวล 3 กิโลกรัม ที่มีอุณหภูมิ
25 องศาเซลเซียส อุ ณหภูมิสุดท้ ายของลูกเหล็ก และน้ามี ค่าเท่ าไร ถ้าไม่มีการถ่ายเทความร้อนกั บ
สิ่งแวดล้อม กาหนดให้ ความจุความร้อนจาเพาะของน้าเป็น 4,200 จูลต่อกิ โลกรัม -องศาเซลเซียส
by

และของเหล็กเป็น 450 จูลต่อกิโลกรัม-เคลวิน


eak
lbr

ข้อ 17 (PAT3 ก.ค. 53) เครื่องทาไอน้าต้มน้าจากอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส ให้กลายเป็นไอ โดยให้ความ


ร้อนด้วยอัตรา 5 กิโลวัตต์ เป็นเวลา 90 วินาที จะได้ไอน้ากี่กิโลกรัม กาหนดให้ ความร้อนแฝงของการ
Jai

หลอมเหลวและการกลายเป็นไอเท่ ากั บ 330 กิโ ลจูล ต่อกิโลกรัม และ 2,250 กิ โลจูล ต่อกิ โลกรัม
ตามลาดับ
1. 0.250 กิโลกรัม
2. 0.025 กิโลกรัม
3. 0.100 กิโลกรัม
4. 0.050 กิโลกรัม
5. 0.200 กิโลกรัม

หน้า 90 สมบัติสาร
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 18 (PAT3 มี .ค. 54) วิศวกรคนหนึ่งท าการให้ความร้อนในอัตราเท่ ากันแก่ส าร A และสาร B ที่ มีม วล
เท่ ากั น จนสารทั้ ง สองเปลี่ยนสถานะจากของเหลวกลายเป็ นไอในที่ สุด ได้ความสัม พันธ์ระหว่าง
อุณหภูมิและค่าความร้อน ดังรูป
จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อใดถูกต้อง
ก. สาร A มีค่าความจุความร้อนสูงกว่าสาร B ในสถานะของเหลว
ข. สาร A มีค่าความร้อนแฝงในการกลายเป็นไอสูงกว่าสาร B
ค. ค่าความร้อนแฝงในการกลายเป็นไอของสาร A

PX
มีค่าสูงกว่าสาร B
ง. สาร A เปลี่ยนสถานะกลายเป็นไอก่อนสาร B

AM
1. ข้อ ก และ ข ถูก
สาร B
2. ข้อ ก, ข และ ค ถูก
3. ข้อ ข และ ง ถูก
FEC สาร A
4. ข้อ ข, ค และ ง ถูก
5. ข้อ ก, ค และ ง ถูก
by
eak

ข้อ 19 น้ามันไหลด้วยความเร็วเชิงมวล 2.1 กิโลกรัมต่อวินาที มีอุณหภูมิ 95 องศาเซลเซียส ถูกส่งเข้าสู่เครื่อง


แลกเปลี่ยนความร้อน (หุ้มฉนวนอย่างดี ไม่มีการสูญเสียความร้อน) เพื่อลดอุณหภูมิลงเหลือ 25 องศา
lbr

เซลเซียส ในกระบวนการนี้เราใช้น้าหล่อเย็นที่ มีอุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส พบว่าอุณหภูมิของน้า


หล่อเย็นสูงขึ้นเป็น 75 องศาเซลเซียส จงหาอัต ราเร็วเชิงมวลของน้าหล่อเย็นในหน่วยกิโลกรัมต่อ
วินาที กาหนดให้ ค่าความจุความร้อนจาเพาะของน้ามันเท่ากับ 2.2 กิโลจูลต่อกิโลกรัม-องศาเซลเซียส
Jai

ค่าความจุความร้อนของน้าเท่ากับ 4.2 กิโลจูลต่อกิโลกรัม-องศาเซลเซียส

สมบัติสาร หน้า 91
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 20 ถังปริมาตร 20 ลิตร บรรจุแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่อุณหภูมิห้อง ถ้านาถังขนาดเดียวกันนี้ไปบรรจุ


แก๊สออกซิเจนที่น้าหนักเท่ากัน อุณหภูมิเดียวกัน จงหาความสัมพันธ์ระหว่างความดันของถังที่บรรจุ
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สออกซิเจน โดยสมมติให้แก๊สทั้งสองชนิดเป็นแก๊สในอุดมคติ
11 8 23
1. PCO2  PO2 2. PCO2  PO2 3. PCO2  PO2
8 11 16
16 11
4. PCO2  PO2 5. PCO2  PO2
23 23

PX
AM
ข้อ 21 ล้อยางรถยนต์มีปริมาตร 1 ลูกบาศก์เมตร อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส วัดความดันได้ 150 กิโลนิวตัน
ต่อตารางเมตร โดยความดันบรรยากาศเป็น 100 กิโลนิวตันต่อตารางเมตร ถามว่าต้องสูบลมเข้าไป
FEC
เท่าไร จึงจะทาให้วัดความดันได้เป็น 200 กิโลนิวตันต่อตารางเมตร โดยที่ปริมาตรและอุณหภูมิของ
ล้อยางรถยนต์ยังคงเหมือนเดิม กาหนดให้ ค่าคงที่ของแก๊สเท่ากับ 0.287 กิโลจูลต่อกิโลกรัม-เคลวิน
1. 0.60 กิโลกรัม 2. 0.04 กิโลกรัม 3. 2.90 กิโลกรัม
3. 50 กิโลกรัม 5. 100 กิโลกรัม
by
eak
lbr

ข้อ 22 ถั ง ลมขนาดใหญ่ มี ป ริ ม าตร 5.6 ลู ก บาศกเมตร ความดั น สั ม บู ร ณ์ 1,500 กิ โ ลปาสคาล อยู่ ใน


สิ่งแวดล้อมที่มีอุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ถ้าใช้ถังลมดังกล่าวในการอัดลมห่วงยางรถยนต์จากสภาวะ
ที่ไมมีอากาศภายในจนมีปริมาตร 0.28 ลูกบาศกเมตร และความดันสัมบูรณ์ 300 กิโลปาสคาล ถาม
Jai

ว่าจะเติมลมยางไดสูงสุดกี่เสน (คาคงที่ของอากาศ R air  0.28 กิโลจูลต่อกิโลกรัมเคลวิน)


1. 1,000 เส้น 2. 800 เส้น 3. 100 เส้น
4. 80 เส้น 5. 40 เส้น

หน้า 92 สมบัติสาร
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 23 (PAT3 มี.ค. 54) ถังบรรจุแก๊สออกซิเจน 2 กิโลโมล ที่อุณหภู มิ 250 เคลวิน ความดันสัมบูรณ์ 5 เมกะ
ปาสคาล ถูก บรรจุแก๊ ส ไนโตรเจนเพิ่ ม เข้าไปจ านวน 4 กิ โลโมลที่ อุณ หภูมิ 310 เคลวิน ความดั น
สัมบูรณ์ 20 เมกะปาสคาล ถ้าอุณหภูมิหลังจากบรรจุลงถังแล้วเป็น 300 เคลวิน อยาทราบว่าความดัน
สัมบูรณ์ของแก๊สผสมภายในถังมีค่ากี่เมกะปาสคาล กาหนดให้ ค่าคงที่ของแก๊ส R = 8.3 จูลต่อโมล-
เคลวิน

PX
AM
ข้อ 24 (PAT3 ต.ค. 53) ถังบรรจุแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 1 กิโลโมล อุณหภูมิ 300 เคลวิน ความดัน 830
กิโลปาสคาล ต่อเชื่อมกับถังบรรจุแก๊สไนโตรเจน 2 กิโลโมล อุณหภูมิ 300 เคลวิน ความดัน 415 กิโล
ปาสคาล ดังรูป ถ้าเปิดวาล์วที่เชื่อ มระหว่างสองถังดังรูป ถามว่า ความดันที่ อ่านได้ควรมี ค่ าเท่าใด
FEC
(ค่าคงที่สากลของแก๊ส R = 8.3 กิโลปาสคาล-ลูกบาศก์เมตรต่อกิโลโมล-เคลวิน)
1. 2,490 กิโลปาสคาล 2. 1,245 กิโลปาสคาล 3. 623 กิโลปาสคาล
4. 498 กิโลปาสคาล 5. 208 กิโลปาสคาล
by

CO2 N2
1 kmol 2 kmol
eak

300 K 300 K
830 kPa 415 kPa
lbr

ข้อ 25 ถังเก็บแก๊ส ก และ ข ต่างก็มีแก๊สบรรจุอยู่ภายใน และถังทั้งสองต่อเชื่อมกันด้วยท่อที่มีวาล์ว ปิด-เปิด


Jai

ได้ ในขณะที่ปิดวาล์วปรากฏว่า ถัง ก มีอุณหภูมิ 300 เคลวิน ความดัน 5 105 นิวตันต่อตารางเมตร


ปริมาตร 1 ลูกบาศก์เมตร ส่วนถัง ข มีอุณหภูมิ 400 เคลวิน ความดัน 1 105 นิวตันต่อตารางเมตร
ปริมาตร 4 ลูกบาศก์เมตร เมื่อเปิดวาล์วแล้ว ถ้าอุณหภูมิของถังยังคงมีค่าเท่าเดิม จงหาว่าหลังจาก
เปิดวาล์ว ภายในถัง ข จะมีแก๊สอยู่กี่โมล (กาหนดให้ ค่าคงที่ของแก๊ส = 8.0 จูลต่อโมล-เคลวิน)

สมบัติสาร หน้า 93
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 26 (ความถนัดวิศวฯ ปี 44) อากาศ 1 โมล บรรจุอยู่ในกระบอกสูบปิดทับด้วยลูกสูบ ซึ่งลูกสูบสามารถ


เคลื่อนที่ได้อย่างอิสระ ที่สภาวะเริ่มต้นระบบมีความดัน 200 กิโลปาสคาล ปริมาตร 0.02 ลูกบาศก์
เมตร จากนั้นระบบได้รับความร้อน จึงขยายตัวจนกระทั่งที่สภาวะสุดท้ายมีปริมาตร 0.05 ลูกบาศก์
เมตร ถ้าพลังงานภายในของระบบเป็นฟังก์ชันกับอุณหภูมิ ดังนี้

U  2T  480
โดยที่ U = พลังงานภายใน (จูล/โมล)

PX
T = อุณหภูมิสัมบูรณ์ (เคลวิน)
กาหนดให้ ค่าคงตัวของแก๊ส R = 8.3 จูล/โมล-เคลวิน
จงหาพลังงานความร้อนที่ถ่ายโอนของระบบ

AM
1. 7,446 จูล 2. 6,000 จูล
3. 2,890 จูล FEC 4. 1,444 จูล
by

ข้อ 27 (PAT3 ต.ค. 52) ถ้าท าการทดลองกดอัดแก๊ส ชนิดหนึ่งภายในกระบอกสูบ ที่ ไม่มี แรงเสียดทาน ได้
ความสัมพันธ์ระหว่างความดันและปริมาตรเป็นดังรูปด้านล่าง ถ้าจุดตัดแกน y มีค่า 800 กิโลปาสคาล
eak

และความชันของกราฟดังกล่าวมีค่า 450 กิโลปาสคาลต่อลูกบาศก์เมตร จงหาว่า งานที่ลูกสูบกระทา


จากสภาวะที่ 1 ไป 2 มีค่าเป็นบวกหรือลบและมีปริมาณเท่าใด ถ้าปริมาตรเริ่มต้นและสุดท้ายมีค่า
0.4 และ 0.1 ลูกบาศก์เมตร ตามลาดับ
lbr
Jai

หน้า 94 สมบัติสาร
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

โจทย์เสริมประสบการณ์ วิชา สมบัตสิ าร


ข้อ 1 จากรูป แท่งโลหะประกอบมีความยาว 1 เมตร ทาด้วยโลหะทรงกระบอก 2 ชั้นซ้อนกัน ชั้นในเป็น
โลหะตัน A รัศมี 5 มิล ลิเมตร ชั้นนอกท าด้วยโลหะ B เป็นทรงกระบอกกลวงมีรัศมี ถึงผิวนอก 10
มิลลิเมตร เมื่อออกแรงดึง 10 นิวตัน จงคานวณหาความเครียดของโลหะประกอบ กาหนดให้ โลหะ A
และโลหะ B มีค่าโมดูลัสของยังเท่ากับ 2 x 105 นิวตันต่อตารางเมตร และ 1 x 105 นิวตันต่อตาราง
เมตร ตามลาดับ

PX
B
20 มิลลิเมตร
10 มิลลิเมตร

10 นิวตัน
A

AM
B
FEC
by

ข้อ 2 โลหะ กขค เส้นหนึ่งยึดติดกับกาแพงที่ปลายหนึ่ง ส่วนอีกปลายหนึ่งมีระยะห่างจากกาแพงฝั่งตรงข้าม


3 มิ ล ลิเมตร ท่ อ น กข มี ความยาว 1 เมตร และมี พื้นที่ ห น้าตัด 25 ตารางเซนติเมตร ส่วน ขค มี
ความยาว 2 เมตร และมี พื้ น ที่ ห น้า ตัด 40 ตารางเซนติ เมตร ถ้ าโมดู ลั ส ของยัง ของโลหะนี้ มี ค่ า
eak

210,000 นิวตัน/ ตารางเมตร ต้อ งออกแรงที่ ป ลาย ก เท่ าไรจึง จะท าให้ โลหะเส้นนี้ยืดออกมาชน
กาแพงพอดี
40 ตารางเซนติเมตร
lbr

25 ตารางเซนติเมตร
ก ข ค
Jai

1 เมตร 2 เมตร
3 มิลลิเมตร

สมบัติสาร หน้า 95
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 3 (PAT3 ก.ค. 52) แผ่นเรียบกลมบางมีรูอยู่ตรงกลางเป็นรูปวงแหวน มีเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก 4.5


เมตร และเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 2.5 เมตร วางจมในแนวระดับอยู่ในน้าลึก 20 เมตร จงหาแรงกด
ที่เกิดจากน้าบนแผ่นเรียบกลมนี้ กาหนดให้ ความหนาแน่นของน้าเท่ากับ 1,000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์
เมตร และค่า g = 10 เมตรต่อวินาที2 และให้ใช้  = 22/7
1. 7.7 เมกะนิวตัน 2. 4.4 เมกะนิวตัน
3. 3.3 เมกะนิวตัน 4. 2.2 เมกะนิวตัน

PX
ข้อ 4 แอ่งน้ามันในอ่าวไทยแอ่งหนึ่ง มีชั้นแก๊ส ชั้นน้ามัน และชั้นน้า ตามแสดงในรูป ถ้าความดันของแก๊สใน

AM
แอ่งมี ค่าเป็น 100 เท่ าของความดัน บรรยากาศปกติ ถามว่า เมื่ อเจาะหลุม ถึง ชั้นน้ามั นซึ่ งอยู่ลึ ก
1 กิโลเมตรจากผิวน้าทะเล น้ามันจะพุ่งขึ้นสูงเหนือผิวน้าทะเลเท่าใด ผิวน้า
FEC
กาหนดให้ ความหนาแน่นของน้ามันมีค่าเป็น 900 กิโลกรัม/เมตร3
1 กม.
1. 0.111 เมตร 2. 11.1 เมตร หลุมเจาะ
3. 111 เมตร 4. 1,111 เมตร แก๊ส
น้ามัน
5. 11,111 เมตร น้า
by
eak

ข้อ 5 หลอดแก้วรูป ตัวยูมีขายาวข้างละ 40 เซนติเมตร ขนาดเท่ากั นทั้งสองข้าง มีปรอทบรรจุอยู่ภายใน


lbr

สูง 5 เซนติ เ มตร ดั ง รู ป ถ้ าปรอทมี ค วามหนาแน่ น 13.6 กรั ม /เซนติ เมตร 3 จะสามารถเติ ม น้ า
ความหนาแน่น 1 กรัม /เซนติเมตร 3 ลงไปในขาข้างใดข้ างหนึ่ ง สูง สุด เท่ าไหร่ โดยไม่ มี ของเหลว
ล้นออกนอกหลอด
Jai

1. 35.2 เซนติเมตร
2. 35.8 เซนติเมตร
3. 36.0 เซนติเมตร
4. 36.3 เซนติเมตร
5. 36.9 เซนติเมตร

หน้า 96 สมบัติสาร
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 6 (ความถนัดวิศวฯ ปี 37) มีแรงกดที่ประตูคอนกรีต 600 กิโลนิวตัน น้าหนักของประตูคอนกรีต W 


3.6 กิโลนิวตัน ประตูคอนกรีตยาว 3 เมตร จงหาความสูงของน้า h ที่จะทาให้ประตูคอนกรีตเปิด
กาหนดให้ ความหนาแน่นของน้า = 1,000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
1. 2.01 เมตร
2. 7.68 เมตร
3. 10.12 เมตร
4. 20.12 เมตร

PX
AM
ข้อ 7 จงคานวณระยะที่ต้องกดสปริงในหน่วยมิลลิเมตร ก่อนการติดตั้งเข้าไปในอุปกรณ์จากัดความสูงของ
ของเหลวในเขื่อน ดังรูป โดยถ้าของเหลวมีความสูง 10 เมตร วาล์วจะเปิดขึ้นพอดี กาหนดให้ ค่าคงที่
FEC
ของสปริงคือ 900 นิวตันต่อเมตร ของเหลวมีความหนาแน่น 1 กิโลกรัม/เมตร3
by
eak
lbr

ข้อ 8 (ENT 31) พิ จารณาหลอดแก้วรูปตัวยู หลอดด้านขวามีพื้นที่ ห น้าตัดเป็น 2 เท่ าของด้านซ้าย ตอน


Jai

เริ่มต้นบรรจุน้าความหนาแน่น 1  103 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตรเอาไว้ และระดับน้าในหลอดทั้งสอง


ข้างสูงเท่ากัน ต่อมาเติมน้ามัน ความหนาแน่น 0.9  103 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ลงไปในหลอด
ด้านซ้าย โดยลาน้ามันยาวเท่ากับ 10 เซนติเมตร จงหาว่าระดับน้าในหลอดด้านขวาจะสูงกว่าระดับน้า
ในหลอดด้านซ้ายเท่าใด
1. 10 เซนติเมตร 2. 9 เซนติเมตร
3. 5 เซนติเมตร 4. 4.5 เซนติเมตร

สมบัติสาร หน้า 97
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 9 (PAT3 ต.ค. 53) จงหาพื้นที่หน้าตัดของกระบอกสูบเล็ก ของเครื่องบรามาห์ ถ้าต้องการยกของที่ มี


น้าหนักประมาณ 1,000 เท่าของแรงที่กระทากับกระบอกเล็ก กาหนดให้ พื้นที่หน้าตัด A 1  10A 2
เมื่ อ F = 100 N ของเหลวมี ความหนาแน่น 1,000 กิ โ ลกรัม ต่อ ลูก บาศก์ เ มตร และค่ าความเร่ ง
เนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก g = 10 เมตรต่อวินาที2
F
1. 99 ตารางเมตร
2. 9.9 ตารางเมตร
10 1,000F 3. 0.99 ตารางเมตร

PX
m 4. 0.099 ตารางเมตร

AM
FEC
ข้อ 10 ชาวประมงต้องการสร้างทุ่นทรงสี่เหลี่ยมที่มีความสูง 1 เมตร ที่สามารถลอยอยู่ในแม่น้าได้ โดยที่ทุ่นนี้
ต้องทามาจากพลาสติกทีม่ ีความหนาแน่น 250 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร เมื่อทุน่ นี้สามารถรับน้าหนัก
5,000 กิ โลกรัม แล้วจะจมลงไปครึ่งหนึ่ งของความสูง ทุ่ น จงคานวณว่าชาวประมงต้องใช้ทุ่ นที่ มี
by

ปริมาตรเท่าใด
eak

ข้อ 11 (PAT3 ก.ค. 53) วัตถุทรงกรวย มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ฐาน 1 เมตร และความสูง 2 เมตร วาง
lbr

ลอยในของเหลวที่ มีความหนาแน่น 1.0 x 103 กิโลกรัม /ลูกบาศก์เมตร โดยให้ปลายยอดแหลมอยู่


ด้านล่าง ถ้าระยะความลึก ที่ ป ลายแหลมของกรวยจมลงไปในของเหลวนั้นเท่ ากั บ 1 เมตร ความ
Jai

หนาแน่นของวัตถุทรงกรวยนี้เท่ากับกี่กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร
1. 125 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร
2. 130 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร
3. 135 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร
4. 140 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร
5. 145 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร

หน้า 98 สมบัติสาร
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 12 ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับแรงลอยตัว
ก. แรงลอยตัวในของเหลว คือ น้าหนักของของเหลวที่มีปริมาตรเท่ากับของเหลวที่ถูกแทนที่ด้วยวัตถุ
ข. แรงลอยตัวของวัตถุในน้ามากกว่าในน้ามันในกรณีที่ความหนาแน่นของน้ามากกว่าน้ามัน
ค. แรงลอยตัวของก้อนเหล็กมากกว่าก้อนอะลูมิเนียมที่มีปริมาตรเท่ากันในของเหลวเดียวกัน
ง. ก้อนโลหะที่มีรูกลวงกับก้อนโลหะตันที่มีปริมาตรเท่ากันมีแรงลอยตัวไม่เท่ากัน
จ. ถ้าต้องการให้มีแรงลอยตัวเพิ่มขึ้น ต้องเพิ่มปริมาตรของวัตถุ
1. ค และ ง 2. ข และ จ 3. ข และ ค

PX
4. ก, ค และ ง 5. ก และ จ

AM
ข้อ 13 ในการทดลองหาความตึงผิวของของเหลวชนิดหนึ่ง ถ้าวงแหวนที่ ใช้มีเส้นรอบวง 25 เซนติเมตร
จะต้องแขวนมวล 50 กรัม เพื่อทาให้คานอยู่ในสมดุล และเมื่อค่อย ๆ เพิ่มมวลจนห่วงวงแหวนหลุด
FEC
จากผิวของของเหลว พบว่าจะต้องใช้มวล m ทั้งหมด 72 กรัม ความตึงผิวของของเหลวที่ใช้ในการ
ทดลองนี้มีค่าเท่าใด

1m 4m
by
eak
lbr
Jai

ข้อ 14 เมื่อปล่อยลูกโลหะกลมลงที่ผิวของน้ามันหล่อลื่น จะพบว่า เมื่อลูกโลหะกลมเคลื่อนที่ลงไป อัตราเร็ว


ของลูกโลหะกลมจะมีค่าเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ แล้วคงที่ที่ค่าหนึ่ง ข้อใดถูก
1. แรงหนืดที่ของเหลวกระทาต่อลูกโลหะกลมจะขึ้นกับความหนืดของน้ามัน อัตราเร็วของ
1. ลูกโลหะกลม และมีทิศทางเดียวกับการเคลื่อนที่ของลูกโลหะกลม
2. เมื่อแรงลัพธ์ที่กระทาต่อลูกโลหะกลมเป็นศูนย์ ลูกโลหะกลมจะหยุดการเคลื่อนที่
3. ความเร็วปลายของลูกโลหะกลมในน้ามันหล่อลื่นทีม่ ีความหนืดสูงจะมีค่ามากกว่าความเร็วปลาย
3. ของลูกโลหะกลมก้อนนั้นในน้ามันหล่อลื่นทีม่ ีความหนืดต่ากว่า
4. เมื่อเริม่ ปล่อยลูกโลหะกลม แรงหนืดจะมีค่าลดลงเรื่อย ๆ แล้วคงที่ที่ค่าหนึง่

สมบัติสาร หน้า 99
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 15 (ความถนัดวิศวฯ มี.ค. 48) ระบบหัวฉีดอุตสาหกรรมดังแสดงในรูป ถูกควบคุมความเร็วของหัวฉีดโดย


วาล์ว ถ้าวาล์วถูกปิดสนิท ความเร็วของหัวฉีดจะเท่ากับ 40 เมตรต่อวินาที อยากทราบว่า ถ้าต้องการ
ให้ความเร็วของหัวฉีดเป็น 20 เมตรต่อวินาที จะต้องเปิดวาล์วให้ของไหลไหลออกด้วยอัตราการไหล
เท่าใด เมื่อ D คือ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของท่อ
1. 2 10 4 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
= 1 cm
2. 3 10 4 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
4
3. 4  10 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที

PX
= 1 cm 4
4. 5 10 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
วาล์ว

AM
= 1 cm
FEC
ข้อ 16 (ความถนัดวิศวฯ มี .ค. 45) น้าไหลในท่ อ A ด้วยความเร็ว 10 เมตรต่อวินาที แล้วผ่านสู่ ท่ อ B ที่
ปลายเปิด โดยท่อ A มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 เซนติเมตร และปลายเปิดท่อ B มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 5
เซนติเมตร กาหนดให้ ความหนาแน่นของน้า = 1.0  10 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และความดัน
3
by

บรรยากาศ = 1.01  10 นิวตันต่อตารางเมตร จงหาความดันในท่อที่จุด A และความเร็วของน้าที่


5

ปลายเปิด B
eak

1. 2.51  10 นิวตันต่อตารางเมตร และ 40 เมตรต่อวินาที


5

2. 2.51  10 นิวตันต่อตารางเมตร และ 20 เมตรต่อวินาที


5

3. 8.51  10 นิวตันต่อตารางเมตร และ 40 เมตรต่อวินาที


5
lbr

4. 8.51  10 นิวตันต่อตารางเมตร และ 20 เมตรต่อวินาที


5
Jai

ข้อ 17 เครื่องบินมวล 120,000 กิโลกรัม มีพื้นที่ปีก 100 เมตร2 เครื่องบินลานี้จะสามารถบรรทุกคนได้มาก


ที่ สุ ด กี่ ค น โดยที่ เ ครื่ อ งบิ น จะสามารถบิ น ในแนวระดั บ ได้ ที่ ค วามเร็ ว 100 เมตร/วิ น าที
และความเร็วลมที่เหนือปีกเป็น 2 เท่าของความเร็วลมใต้ปีก (กาหนด ความหนาแน่นของอากาศเป็น
1 กิโลกรัม/เมตร3 และคนมีมวลเฉลี่ย 60 กิโลกรัม)

หน้า 100 สมบัติสาร


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 18 (PAT3 ต.ค. 53) เครื่อ งท าน้าแข็ง ดึง ความร้อนจากน้าด้วยอั ตรา 3 กิ โลวัตต์ เริ่ม ต้นน้ามี อุณหภู มิ
0 องศาเซลเซียส ในเวลา 22 นาที เครื่องจะสามารถทาให้น้าที่มีอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส กลายเป็น
น้าแข็งได้กี่ก รัม ถ้ากาหนดให้ ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวและการกลายเป็นไอเท่ากับ 330
กิโลจูลต่อกิโลกรัม และ 2,260 กิโลจูลต่อกิโลกรัม ตามลาดับ
1. 1,200 กรัม 2. 2,400 กรัม 3. 6,600 กรัม
4. 12,000 กรัม 5. 24,000 กรัม

PX
ข้อ 19 (PAT3 ก.ค. 53) ถ้าต้มน้าที่อยู่ในกระป๋องอะลูมเิ นียมทีม่ ีมวลดังรูป และการถ่ายเทความร้อนทีเ่ กิดขึ้น

AM
คิดเป็น 40% ของความร้อนที่ได้จากการเผาไหม้แล้ว กาหนดให้
ค่าความจุความร้อนของอะลูมเิ นียม = 1 กิโลจูลต่อกิโลกรัม-องศาเซลเซียส
กระป๋องอะลูมิเนียม 0.2 kg
ค่าความจุความร้อนของน้า = 4.2 กิโลจูลต่อกิโลกรัม-องศาเซลเซียส
FEC
ค่าความร้อนแฝงในการกลายเป็นไอของน้า = 2,200 กิโลจูลต่อกิโลกรัม
ค่าความร้อนของน้ามันก๊าด = 15 เมกะจูลต่อกิโลกรัม
น้า 2 kg
โดยอุณหภูมิเริ่มต้นของน้าและกระป๋องมีค่า 25 องศาเซลเซียส ข้อใดถูกต้อง
by

1. น้าไม่เดือดและมีอุณหภูมสิ ุดท้ายเป็น 42.5 องศาเซลเซียส น้ามันก๊าด 0.4 kg

2. น้าไม่เดือดและมีอุณหภูมสิ ุดท้ายเป็น 80.5 องศาเซลเซียส


3. น้าไม่เดือดและมีอุณหภูมสิ ุดท้ายเป็น 89.5 องศาเซลเซียส
eak

4. น้าเดือดและกลายเป็นไอทัง้ หมด
5. น้าเดือดและกลายเป็นไอบางส่วน
lbr
Jai

ข้อ 20 แก้วใบหนึ่งหุ้มฉนวนอย่างดีบรรจุน้าแข็ง 100 กรัม นาน้าอุ่น 500 มิลลิลิตร ที่มีอุณหภูมิ 50 องศา


เซลเซียส เติมลงไปในแก้วน้าแล้วปิดฝาให้สนิท เมื่อระบบเข้าสู่สมดุล จงหาว่าจะมีน้าแข็งเหลืออยู่ใน
แก้วน้ากี่ กรัม กาหนดให้ ความร้อนแฝงจาเพาะของการหลอมเหลวของน้าเท่ากับ 333 กิโลจูลต่อ
กิโลกรัม และค่าความจุความร้อนจาเพาะของน้าเท่ากับ 4.2 กิโลจูลต่อกิโลกรัม-องศาเซลเซียส

สมบัติสาร หน้า 101


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559


ข้อ 21 บรรจุน้าแข็งที่ 0 C ไว้บนกระดาษกรองที่อยู่ภายในกรวย เมื่อเวลาผ่านไป 5 นาที พบว่าน้าแข็ง
ละลายไป 50 กรัม ถ้านาน้าแข็งมวลเท่ากับตอนต้นบรรจุไว้ในกรวยที่เหมือนกันอีกอันหนึ่ง แต่ใช้ตัว
ทาความร้อนจุ่มในน้าแข็ง พบว่าเมื่ อผ่านไป 5 นาที น้าแข็งละลายไป 200 กรัม ถ้าความร้อนแฝง
จาเพาะของการหลอมเหลวของน้าเท่ากับ 336 kJ/kg ตัวทาความร้อนนี้มีกาลังเท่าไร

PX
ข้อ 22 (Young & Freedman) วิศวกรคนหนึ่งกาลังพัฒนาเครื่องต้มน้าไฟฟ้าซึ่งให้น้าร้อนอย่างต่อเนื่อง รูป

AM
ข้างล่างแสดงแบบทดลองชิ้นหนึ่ง น้ากาลังไหลที่อัตรา 0.500 กิโลกรัมต่อนาที เทอร์โมมิเตอร์ฝั่งขา
เข้า อ่ านค่ า 18.0 องศาเซลเซี ย ส โวลต์ มิ เ ตอร์อ่ านค่า 120 โวลต์ และแอมมิ เตอร์อ่ านค่ า 15.0
แอมแปร์ (ซึ่งมีค่าตรงกับกาลังจ่ายเข้า 120 โวลต์ x 15.0 แอมแปร์ = 1,800 วัตต์) เมื่อถึงภาวะสมดุล
FEC
อุณหภูมิที่เทอร์โมมิเตอร์ฝั่งขาออกมีค่าเท่าใด (ตอบทศนิยม 1 ตาแหน่ง)
by
eak
lbr

ข้อ 23 (PAT3 มี.ค. 54) หากต้องการผสมแก๊สอาร์กอน 3 โมล อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส รวมกับแก๊ ส


Jai

ฮีเลียม 2 โมล อุณหภูมิ 47 องศาเซลเซียส ที่ความดันเท่ากัน จงหาอุณหภูมิผสมของแก๊สทั้งสอง


หากความดันหลังผสมไม่เปลี่ยนแปลง กาหนดให้ ค่าคงที่สากลของแก๊ส R = 8.3 จูลต่อโมล-เคลวิน

หน้า 102 สมบัติสาร


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 24 (PAT3 ก.ค. 53) ใส่แก๊สผสมระหว่างอาร์กอน 1 กิโลโมล และฮีเลียม 2 กิโลโมล ในถังบรรจุแข็งเกร็ง


เริ่มต้นแก๊สผสมมีอุณหภูมิ 300 เคลวิน และความดันสัมบูรณ์เป็น 83 กิโลปาสคาล ถ้าให้ความร้อนกับ
ถังจนมีอุณหภูมิ 600 เคลวิน อยากทราบว่า ถังบรรจุแข็งเกร็งควรมีขนาดเท่าใด และความดันสัมบูรณ์
ควรเป็นเท่าใด (ค่าคงที่สากลของแก๊ส R = 8.3 จูลต่อโมล-เคลวิน)
1. 90 ลูกบาศก์เมตร, 166 กิโลปาสคาล
2. 60 ลูกบาศก์เมตร, 166 กิโลปาสคาล
3. 90 ลูกบาศก์เมตร, 110 กิโลปาสคาล

PX
4. 60 ลูกบาศก์เมตร, 110 กิโลปาสคาล
5. 90 ลูกบาศก์เมตร, 90 กิโลปาสคาล

AM
ข้อ 25 ถังแก๊ส CNG ขนาด 100 ลิตร ที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส บรรจุแก๊สธรรมชาติที่ประกอบด้วยมีเทน
FEC
(CH4) ร้อยละ 80 โดยปริมาตร และแก๊สอีเทน (C2H6) ร้อยละ 20 โดยปริมาตร ที่ความดัน 200 เท่า
ของความดันบรรยากาศ (ความดันบรรยากาศเท่ากั บ 101 กิ โลปาสคาล) จะมีป ริมาณแก๊ สคิดเป็น
น้าหนักกี่กิโลกรัม
1. 11 กิโลกรัม 2. 13 กิโลกรัม 3. 15 กิโลกรัม
by

4. 18 กิโลกรัม 5. 20 กิโลกรัม
eak

ข้อ 26 ภาชนะรูป ทรงกระบอกปิด ภายในมีลูกสูบถูก ยึดด้วยสลั กแบ่งทรงกระบอกออกเป็น 2 ส่วน คือ A


และ B ซึ่งมีปริมาตร 1 และ 3 ลูกบาศก์เมตร ตามลาดับ ดังรูป ภายใน A บรรจุแก๊สไนโตรเจนที่ความ
lbr

ดัน 9  10 ปาสคาล อุ ณ หภู มิ 27 องศาเซลเซียส ใน B บรรจุ แก๊ ส ฮีเลีย มที่ ความดัน 3  10


5 5

ปาสคาล อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เมื่อปล่อยสลักยึดลูกสูบออก ลูกสูบจะเคลื่อนที่จนกระทั่งแก๊ส


Jai

ทั้ ง สองอยู่ในสมดุล โดยมี อุ ณ หภูมิ แ ละความดัน เท่ ากั น จงคานวณหาอัต ราส่ว น L1 / L 2 (ไม่ คิ ด
ปริมาตรของลูกสูบและแรงเสียดทานระหว่างลูกสูบกับทรงกระบอก)
1. 0.9
2. 1.0
3. 1.1
4. 1.33
5. 1.67

สมบัติสาร หน้า 103


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 27 (ENT 42) จงหาว่าแก๊สไนโตรเจนอุณหภูมิเท่าใด ที่มีค่าเฉลี่ยของกาลังสองของอัตราเร็วโมเลกุลเท่ากับ


ของแก๊ ส ออกซิเ จนที่ อุ ณ หภู มิ 47 องศาเซลเซี ยส (ก าหนด น้ าหนั ก โมเลกุ ล ของไนโตรเจนและ
ออกซิเจนเท่ากับ 28 และ 32 ตามลาดับ)
1. - 28 องศาเซลเซียส 2. 7 องศาเซลเซียส 3. 42 องศาเซลเซียส
4. 47 องศาเซลเซียส 5. ข้อมูลไม่เพียงพอ

PX
ข้อ 28 ภาชนะทรงกลม 3 อัน มี ฉนวนกั นความร้อนห่อ หุ้มและต่อถึงกั นด้วยท่ อขนาดเล็ก ที่มี วาล์วเปิดปิด
ขณะที่ วาล์วปิด ภาชนะทั้ง สามบรรจุแก๊ สที่ มี ความดันและอุณหภูมิ ดังรูป หลัง จากเปิ ดวาล์วแล้ว

AM
อุณหภูมิของแก๊สจะเป็นเท่าใด (จานวนโมลของแก๊สภายในภาชนะและปริมาตรของภาชนะทั้งสาม
เท่ากัน) กาหนด P1 : P2 : P3  1: 2 : 3
1. T  T1  2T2  T3
FEC
2. T  3T1  2T2  T3
2
3. T  2T1  T2  T3
3
1 2
4. T  T1  T2  T3
by

3 3
eak

ข้อ 29 ถังเกร็งบรรจุแก๊สอาร์กอนถังหนึ่งมีปริม าตรภายในเท่ ากับ 1 ลูกบาศก์เมตร อุณหภูมิภายในถัง 60


องศาเซลเซียส ความดัน 2 กิโลปาสคาล เชื่อมต่อกับถังอีกใบหนึ่งโดยผ่านวาล์วปิดเปิด ถังใบที่สอง
บรรจุแก๊สอาร์กอนปริมาตร 0.5 ลูกบาศก์เมตร อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส ความดัน 4 กิโลปาสคาล
lbr

เริ่ม ต้นปิดวาล์วอยู่ ต่อ มาจึงเปิดวาล์วทาให้แก๊สอาร์ก อนทั้ งสองถังผสมกัน และระบบเข้าสู่สภาวะ


สมดุลกับสิ่งแวดล้อมที่อุณหภูมิสุดท้ายเท่ากับ 30 องศาเซลเซียส จงหาความดันสุดท้าย
Jai

1. 1.3 กิโลปาสคาล 2. 2.7 กิโลปาสคาล 3. 2.4 กิโลปาสคาล


4. 3.0 กิโลปาสคาล 5. 5.0 กิโลปาสคาล

อาร์กอน อาร์กอน
1 ลูกบาศก์เมตร 0.5 ลูกบาศก์เมตร
2 กิโลปาสคาล 4 กิโลปาสคาล
60 องศาเซลเซียส 60 องศาเซลเซียส

หน้า 104 สมบัติสาร


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 30 (PAT3 ก.ค. 52) ลูกสูบที่มีภาระเป็นสปริงดังรูปบรรจุแก๊สฮีเลียม เมื่อ ลูกสูบยังไม่สัมผัสกับสปริงพบว่า


แก๊ สมี ความดันและปริม าตรเป็น 150 กิโลปาสคาล และ 0.4 ลูกบาศก์เมตร เมื่ อให้ความร้อนกั บ
ลูกสูบ ทาให้ฝาลูกสูบเริม่ สัมผัสกับสปริงจนแก๊สภายในกระบอกสูบมีความดันและปริมาตรสุดท้ายเป็น
300 กิโลปาสคาล และ 0.8 ลูกบาศก์เมตร จงหางานรวมของทั้งระบบ
1. 30 กิโลจูล
2. 60 กิโลจูล
3. 90 กิโลจูล

PX
4. 120 กิโลจูล

AM
FEC
ข้อ 31 (PAT3 ต.ค. 52) กระบอกสูบบรรจุแก๊สไนโตรเจนน้าหนัก 0.5 กิโลกรัม เริ่มต้นลูกสูบอยู่นิ่งกับที่ โดยมี
ความดัน เป็น 200 กิ โลปาสคาล อุณ หภูมิ 400 เคลวิน ดัง แสดงในรูป ถ้ามี ก ารให้ความร้อ นกั บ
by

กระบอกสูบดังกล่าวจนลูกสูบเคลื่อนที่ด้วยความดันคงที่จนถึงตาแหน่งที่กั้น จากนั้นความดันเพิ่มขึ้ น
จนมีค่าเป็นสองเท่าของความดันเริ่มต้น จงหางานที่กระทาโดยลูกสูบ (ค่าคงตัวแก๊สไนโตรเจน = 0.3
eak

กิโลจูล/กิโลกรัม-เคลวิน)
lbr
Jai

1. 60 กิโลจูล 2. 120 กิโลจูล


3. 180 กิโลจูล 4. 240 กิโลจูล

สมบัติสาร หน้า 105


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

PX
AM
FEC

เคมี
by
eak
lbr
Jai

หน้า 106 เคมี


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ปริมาณสารสัมพันธ์
มวลของอิเล็กตรอน = 9.11 x 10-28 กรัม มวลของโปรตรอน = 1.66 x 10-24 กรัม
มวลของนิวตรอน = 1.66 x 10-24 กรัม 1.66 x 10-24 กรัม = 1 atomic mass unit (amu)

6.02 x 1023 เรียก “เลขอโวกาโดร” Ex: - มวล ออกซิเจน 6.02 x 1023 อะตอม หนัก
1 โมล อะตอม = 6.02 x 1023 อะตอม = 16 x 1.66 x 10-24 x 6.02 x 1023 = 16 กรัม

PX
1 โมล ไอออน = 6.02 x 1023 ไอออน - มวล ออกซิเจน 6.02 x 1023 โมเลกุล หนัก
1 โมล โมเลกุล = 6.02 x 1023 โมเลกุล = 2 x 16 x 1.66 x 10-24 x 6.02 x 1023 = 32 กรัม

AM
สารละลาย สารอยู่ในสถานะแก๊ส
ความสัมพันธ์ของจานวนโมลกับปริมาณอื่น ๆ
จานวนโมเลกุล
FEC
6.02 x 1023

เมื่อ C = ความเข้มข้น (mol/L), V sol = ปริมาตร (L)


by

P = ความดัน (atm), V = ปริมาตร (L), T = อุณหภูมิ (K), R = 0.0821 atm·L/mol·K


ที่ STP คือ สภาวะมาตรฐานของแก๊ส (ความดัน 1 atm, อุณหภูมิ 0 ºC)
eak

- เปอร์เซ็นต์โดยมวล
มวลของสาร A ในสารประกอบนั้น ๆ
%โดยมวลของสาร
มวลของสารประกอบ
lbr

ทั้งหมด
- หน่วยของความเข้มข้น
Jai

1. เปอร์เซ็นต์ ได้แก่ %โดยมวลต่อปริมาตร (W/V), %โดยมวล (W/W), %โดยปริมาตร (V/V)


ปริมาณของตัวถูกละลาย
%
ปริมาณของสารละลาย
2. Molarity (โมลาริต,ี M) 3. Molality (โมแลลลิต,ี m)
โมลของตัวถูกละลาย (mol) โมลของตัวถูกละลาย (mol)
ปริมาตรรวมของสารละลาย (L) มวลของตัวทาละลาย (kg)

เคมี หน้า 107


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

4. ppm (part per million) ปริมาณของตัวถูกละลายใน 1 ล้านหน่วย (106) ของสารละลาย


5. ppb (part per billion) ปริมาณของตัวถูกละลายใน 1 พันล้านหน่วย (109) ของสารละลาย

- การผสมและเจือจางสารละลาย
C1V1 = C2V2 เจือจางสารละลาย
CรวมVรวม = C1V1 + C2V2 + … ผสมสารละลาย

PX
กรณีที่ความเข้มข้นสารละลายต่างชนิดกัน แต่มีไอออนบางตัวซ้ากัน
aC1V1 = bC2V2

AM
โดย a, b = จานวนอะตอมของไอออนที่โจทย์ต้องการคานวณ
C1, C2 = ความเข้มข้นของสาร
V1, V2 = ปริมาตรของสาร
FEC
- สมการเคมี กาหนดสมการเคมี aA  bB  cC  dD จะได้ความสัมพันธ์ของปริมาณสารดังนี้
mol A molB mol C molD
  
by

a b c d
โดย สารกาหนดปริมาณ คือ สารตั้งต้นที่ถูกใช้หมดก่อน
สารที่มีปริมาณมากเกินพอ คือ สารตั้งต้นที่ยังคงเหลือ
eak

- กฎทรงมวล

 m ก่อนทาปฏิกิริยา =  m หลังทาปฏิกิริยา
lbr

- ปฏิกิริยาที่ไม่สมบูรณ์
Jai

ปริมาณสารตัง้ ต้นที่เกิดปฏิกิริยาเคมี
1. เปอร์เซ็นต์ผลผลิต (%yield)  100
ปริมาณสารตัง้ ต้นทั้งหมดทีม่ ีก่อนเกิดปฏิกริ ิยาเคมี

2. เปอร์เซ็นต์การเกิดปฏิกิริยา (%conversion)
ปริมาณผลิตภัณฑ์ทเี่ กิดขึ้นจริง
 100
ปริมาณผลิตภัณฑ์ที่ได้หากสารกาหนดปริมาณใช้หมด

ถ้าโจทย์ไม่มกี ารกาหนดใด ๆ ให้ถือว่าสารกาหนดปริมาณถูกใช้จนหมด (%conversion = 100)

หน้า 108 เคมี


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

สมบัตคิ อลลิเกตีฟ
1) สมบัติสารละลาย จุดเดือดเพิ่ม จุดเยือกแข็งลด เมื่อเทียบกับสารบริสุทธิ์
2) จุดเดือด จุดเยือกแข็ง ไม่ขึ้นกับชนิดตัวถูกละลาย แต่ขึ้นกับปริมาณตัวถูกละลายหรือความเข้มข้น
3) เป็นสารระเหยยาก และไม่แตกตัวเป็นไอออน
4) สมบัติคอลลิเกตีฟ แปรผันตรงกับหน่วยโมแลล (mol/kg)

สูตรที่ใช้ในการคานวณ

PX
t  m  K b หรือ m  K f โดย m = ความเข้มข้น (mol/kg)
mol x1000 x K b or K f
T  M = มวลโมเลกุลของตัวถูกละลาย

AM
W2
W1 x1000 xK b or K f
T  mol = โมลของตัวถูกละลาย
W2 xM
FEC
W1 = ตัวถูกละลาย
*Kb คือ ค่าคงที่ของจุดเดือดที่เพิ่มขึ้น W2 = ตัวทาละลาย
*Kf คือ ค่าคงที่ของจุดเยือกแข็งที่ลดลง T = ผลต่างของอุณหภูมิ
by

อัตราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี
eak

- นิยาม
กาหนดสมการเคมี aA  bB  cC  dD จะได้ความสัมพันธ์
lbr

1 [A] 1 [B] 1 [C] 1 [D]


อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (R)     
a t b t c t d t
Jai

[A] [B] [C] [D]


อัตราการเปลี่ยนแปลงของสาร R A  , RB  , RC  , RD 
t t t t

- กฎอัตรา (Rate Law)


Rate  k[A]m [B]n เมื่อ m, n คือ อันดับของปฏิกิริยา หาได้จากการทดลองเท่านั้น
k คือ ค่าคงที่อัตรา
[A], [B] คือ ความเข้มข้นของสาร A, B ตามลาดับ (mol/dm3)

เคมี หน้า 109


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

- ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1. ธรรมชาติของสารตั้งต้น (พันธะแข็งแรงจะเกิดได้ช้า)
2. พื้นที่ผิว  พื้นที่ผิวยิ่งมาก ยิ่งเกิดได้เร็ว
3. อุณหภูมิ  อุณหภูมิยิ่งสูง ยิ่งเกิดได้เร็ว (ไม่ว่าจะเป็นปฏิกิริยาดูดหรือคายความร้อน)
4. ตัวเร่งปฏิกิริยา  ช่วยลดค่า Ea ทาให้เกิดได้เร็วขึ้น (แต่ปริมาณผลิตภัณฑ์ที่ได้จะเท่าเดิม)
ตัวหน่วงปฏิกิริยา  ทาให้เกิดได้ช้าลง
5. ความเข้มข้น  ความเข้มข้นสารยิ่งมาก ยิ่งเกิดได้เร็ว

PX
6. ความดัน (มีผลเฉพาะสารสถานะแก๊ส) มีผลคล้ายกับความเข้มข้น

- พลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี

AM
พลังงานก่อกั มมั นต์หรือพลังงานกระตุ้น (Ea) หมายถึง พลังงานอย่างน้อยที่ สุดที่จ ะทาให้
เกิดปฏิกิริยาเคมีขึ้น
- เพิ่มความเข้มข้น  โมเลกุลที่มพี ลังงานมากกว่าค่า Ea มีมากขึ้น ปฏิกิริยาจึงเกิดได้เร็วขึ้น
FEC
- เพิ่มอุณหภูมิ  โมเลกุลมีพลังงานสูงขึ้น (จนอาจสูงกว่าค่า Ea) ปฏิกิริยาจึงเกิดได้เร็วขึ้น
- หากปฏิกิริยามีหลายขั้นตอน (มี Ea หลายค่า) ให้พจิ ารณาค่า Ea ที่มีค่ามากที่สุด

สมดุลเคมี
by

- นิยาม
คือ สภาวะที่ความเข้มข้นของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์มีค่าคงที่ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง (อยู่ใน
eak

ระบบปิด) ซึ่งจะได้ว่า
อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า = อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาย้อนกลับ
lbr

เราเรียกปฏิกิริยาเคมีที่ สามารถดาเนินไปข้างหน้าและย้อนกลับได้ในเวลาเดียวกันว่า “ปฏิกิริยาผัน


กลับได้” โดยใช้เครื่องหมาย เพื่อแสดงถึงปฏิกิริยาเคมีที่ผันกลับได้
Jai

- ค่าคงที่สมดุล (K)
กาหนดสมการเคมี aA (aq)  bB (aq)  cC (aq)  dD (aq)
[C]c [D]d
จะได้ค่าคงที่สมดุลของระบบ K a b
[A] [B]

! พิจารณาเฉพาะสารที่อยู่ในสถานะแก๊ส (g) และสารละลาย (aq) เท่านั้น

หน้า 110 เคมี


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

- ความสัมพันธ์ของค่าคงที่สมดุล
1. เมื่อนาสมการเคมีมาบวกกัน  นาค่า K ของแต่ละสมการมาคูณ ( x ) กัน
2. เมื่อนาสมการเคมีมาลบกัน  นาค่า K ของแต่ละสมการมาหาร (  ) กัน
3. เมื่อกลับสมการเคมี  ค่า K จะกลับเศษเป็นส่วน
4. เมื่อนาค่าคงที่คูณตลอดทั้งสมการเคมี  ค่า K ยกกาลังด้วยค่าคงที่นั้น

- การรบกวนสมดุลตามหลักของเลอชาเตอลิเอ
1. ความเข้มข้น: หากความเข้มข้นของสารมีการเปลี่ยนแปลง สมดุลจะเลื่อนไปในทางที่ทาให้การ

PX
เปลี่ยนแปลงความเข้มข้นนั้นลดลง เพื่อให้ระบบกลับเข้าสู่สมดุล
2. ความดันหรือปริม าตร: ถ้าความดันในระบบเพิ่ม ขึ้น (หรือปริมาตรของระบบลดลง) สมดุลจะ

AM
เลื่อนจากฝั่งที่ผลรวมของเลขดุลของสารที่มีสถานะเป็นแก๊สมีค่ามาก ไปยังฝั่งที่ผลรวมของเลขดุล
ของสารที่มีสถานะเป็นแก๊สมีค่าน้อย
!
FEC
ถ้าผลรวมของเลขดุลของสารทีม่ ีสถานะแก๊สมีค่าเท่ากันทัง้ สองฝั่ง สมดุลจะไม่มกี ารเปลี่ยนแปลง

3. อุณหภูมิ: นอกจากจะทาให้สมดุลเลื่อนแล้ว ยังส่งผลให้ค่าคงที่สมดุลมีการเปลี่ยนแปลงด้วย


เช่น อุณหภูมิเพิ่ม  สมดุลเลื่อนไปทางปฏิกิริยาดูดความร้อน
by

 ค่า K ของปฏิกิริยาดูดความร้อนจะมีค่าสูงขึ้น
 ค่า K ของปฏิกิริยาคายความร้อนจะมีค่าลดลง
! Note:
eak

- ตัวเร่งปฏิกิริยาจะช่วยให้ระบบเข้าสูส่ มดุลเร็วขึ้น แต่ถ้าระบบอยู่ในสมดุลแล้ว จะไม่มผี ลต่อระบบ


- ค่าคงที่สมดุลจะมีการเปลี่ยนแปลง ก็ต่อเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมเิ ท่านั้น การเปลี่ยนแปลง
ความเข้มข้นและความดันไม่ทาให้ค่าคงที่สมดุลเปลี่ยน
lbr
Jai

กรด - เบส
- ทฤษฎีกรด - เบส ทฤษฎีต่างๆ ได้ให้นิยามกรด – เบส ดังนี้
ทฤษฎี กรด เบส
Arrhenius สารทีล่ ะลายน้าแล้วแตกตัวให้ H3O+ สารทีล่ ะลายน้าแล้วแตกตัวให้ OH-
Brønsted - Lowry สารที่ให้โปรตอน (H+) สารที่รับโปรตอน (H+)
Lewis สารทีส่ ามารถรับคู่อิเล็กตรอน สารทีส่ ามารถให้คู่อิเล็กตรอน

เคมี หน้า 111


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ทฤษฎีกรด - เบสของ Brønsted - Lowry ยังได้ให้นิยามคู่กรด - เบส ซึ่งโดยทั่วไปแล้ว

คู่เบส คือ สารที่มี H ในโมเลกุลน้อยกว่าอยู่ 1 อะตอม และมีประจุลบมากกว่าอยู่ 1 ประจุ


คู่กรด คือ สารที่มี H ในโมเลกุลมากกว่าอยู่ 1 อะตอม และมีประจุลบน้อยกว่าอยู่ 1 ประจุ

เช่น NH4  เป็นคู่กรดของ NH3 และ NO 3  เป็นคู่เบสของ HNO 3

! คู่กรดไม่จาเป็นต้องมีฤทธิ์เป็นกรด คู่เบสก็ไม่จาเป็นต้องมีฤทธิ์เป็นเบส

PX
- สมบัติของกรด - เบส
1. ชนิดของกรด - เบส กรดหรือเบสสามารถแบ่งได้เป็นกรดแก่และกรดอ่อน หรือเบสแก่ และ

AM
เบสอ่อน ตามลาดับ
- กรดแก่ คื อ กรดที่ ส ามารถแตกตั ว ได้ H 100% กรดแก่ ทั่ ว ไป ได้ แ ก่ HCl, HBr, HI,
H2SO4, HNO3, HClO3, HClO4
FEC
- เบสแก่ คือ เบสที่ส ามารถแตกตัวได้ OH 100% เบสแก่ ทั่วไป ได้แก่ ไฮดรอกไซด์ของ
โลหะหมู่ 1 และหมู่ 2 ยกเว้น Mg(OH)2 (ไม่ละลายน้า)
- กรดอ่ อ น เบสอ่ อ น คื อ กรดหรือ เบสที่ ไม่ ส ามารถแตกตั ว ได้ H หรื อ OH 100%
by

ตามลาดับ

2. ค่าคงที่ของกรด - เบส คือ ความสามารถในการแตกตัวของกรดหรือเบส ซึ่งใช้พจิ ารณาความแรง


eak

ของกรด - เบส
ความแรงกรด  K a
ความแรงเบส  K b
lbr

- การคานวณ
Jai

1. ค่า pH และ pOH คือ ค่าที่ แสดงถึงความเข้ม ข้นของโปรตอน ( H ) และไฮดรอกไซด์ไอออน



( OH ) ตามลาดับ มีสูตรคานวณดังนี้
pH   log[H ] และ pOH   log[OH ]

และจากสมการการแตกตัวน้าบริสุทธิ์ จะพบว่า
K w  [H ][OH ]  K aK b  1.0 x10 14 pH  pOH  14

เมื่อ Kw คือ ค่าคงที่การแตกตัวของน้าที่ 25 ºC


หน้า 112 เคมี
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

2. กรดอ่อน - เบสอ่อน มีสูตรการคานวณ ดังนี้

[H ]  K a C a [H ]x100 Ka


%  x100
[OH ]  K b Cb Ca Ca
[OH ]x100 Kb
%  x100
เมื่อ C คือ ความเข้มข้น (mol/L) Cb Cb
% คือ เปอร์เซ็นต์การแตกตัว

PX
- ปฏิกิริยาสะเทินและการไทเทรต
1. ปฏิกิริย าสะเทิน คือ ปฏิ กิ ริยาระหว่างกรดและเบส แล้วได้เ กลือและน้าเป็ นผลิ ตภัณ ฑ์ เช่ น

AM
ปฏิกิริยาระหว่างกรด HCl และเบส NaOH ตามสมการ
HCl (aq)  NaOH(aq)  NaCl (aq)  H2 O (l )
FEC
2. การไทเทรต คือ กระบวนการหาความเข้มข้นของสารละลายตัวอย่าง โดยใช้สารละลายมาตรฐาน
ทาปฏิกิริยากับสารละลายตัวอย่าง แล้ววัดปริมาตรของสารละลายทั้งสองที่ เข้าทาปฏิกิริยากัน
โดยที่
- สารละลายตัวอย่าง คือ สารละลายที่ไม่ทราบความเข้มข้น
by

- สารละลายมาตรฐาน คือ สารละลายที่ทราบความเข้มข้นแน่นอน มักเป็นกรดหรือเบส


eak

ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม
- ปิโตรเลียม (Petroleum)
lbr

คือ สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติใ นชั้นหินใต้ผิวโลก เกิดจากการ


ทั บ ถมกั นของสารอิ นทรีย์จ านวนมากภายใต้ความร้อนและความดั นสูง ปิ โตรเลียมมี ธาตุ ที่ เป็ น
Jai

องค์ประกอบหลัก คือ ไฮโดรเจนและคาร์บอน สามารถจาแนกได้หลัก ๆ 2 ชนิด ได้แก่


1. นามันดิบ (Crude Oil) มีส ถานะเป็นของเหลว สีน้าตาลออกดา ประกอบไปด้วยธาตุ
และองค์ประกอบต่าง ๆ มากมาย เมื่อนาไปผ่านกระบวนการแยกแล้ว จะสามารถนาไปใช้งานได้
หลากหลาย
2. แก๊ส ธรรมชาติ (Natural Gas) มีส ถานะเป็นแก๊สหรือไอ ประกอบด้วย มี เทน อีเทน
โพรเพน และโพรเพนปน โดยปกติแล้วจะไม่มีสีและไม่มีกลิ่น นอกจากนี้ยังมีองค์ป ระกอบอื่น ๆ ที่
ไม่ใช่ไฮโดรคาร์บ อน เช่น คาร์บ อนไดออกไซด์ ไนโตรเจน น้า ไฮโดรเจนซัล ไฟด์ แต่ห ากเป็นแก๊ ส
ธรรมชาติที่ได้จากอ่าวไทยจะมีปรอท (Mercury) ปนอยู่ด้วย

เคมี หน้า 113


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

แก๊ส

น้ามัน

น้า

PX
ในชั้นหินภายใต้ผิวโลกนั้น แก๊สธรรมชาติ น้ามันดิบ และน้า มักจะปนอยู่ด้วยกันและเรียงตัว
แยกกันเป็นชั้นตามความหนาแน่น โดยแก๊สธรรมชาติที่มีความหนาแน่นต่าที่สุดจะอยู่ด้านบนสุด น้า

AM
ซึ่งมีความหนาแน่นสูงสุดก็จะอยู่ชั้นล่างสุด
ทุกครั้งที่มีการขุดเจาะปิโตรเลียมขึ้นมา ทั้งสามองค์ ประกอบนี้จะถูกนาขึ้นมาพร้อมกัน และ
ผสมปนกันอยู่ ดังนั้นจึงต้องนาไปผ่านกระบวนการแยกที่เหมาะสมต่อไป กระบวนการสารวจและขุด
FEC
เจาะปิโตรเลียมนั้นโดยส่วนใหญ่จะเป็นหน้าที่ของวิศวกรปิโตรเลียม ส่วนกระบวนการดูแลปิโตรเลียม
หลังจากขุดเจาะขึ้นมานั้นจะเป็นหน้าที่ของวิศวกรเคมี

- นามันดิบ (Crude Oil)


by

น้ามันดิบมีองค์ประกอบต่าง ๆ อยู่มากมาย จึงต้องผ่านกระบวนการแยกองค์ประกอบเหล่านี้


ออกจากกันตามช่วงอุณหภูมจิ ุดเดือดก่อน จึงจะได้ผลิตภัณฑ์ที่พร้อมนาไปใช้งานได้ กระบวนการที่ใช้
แยกน้ามันดิบ คือ การกลั่นลาดับส่วน
eak

ตารางแสดงประโยชน์ขององค์ประกอบต่าง ๆ ในนามันดิบ
lbr

องค์ประกอบ สถานะ การนาไปใช้


แก๊สธรรมชาติ แก๊ส ใช้เป็นเชื้อเพลิง แก๊สหุงต้ม
Jai

น้ามันเบนซิน ของเหลว เชื้อเพลิงรถยนต์แก๊สโซลีน


แนฟทา ของเหลว ทาสารเคมี เชื้อเพลิงรถยนต์ แก๊สโซลีน
น้ามันก๊าด ของเหลว เชื้อเพลิงเครื่องบิน เครือ่ งยนต์ไอพ่น ตะเกียง
น้ามันดีเซล ของเหลว เชื้อเพลิงเครื่องยนต์ดเี ซล
น้ามันหล่อลื่น ของเหลว น้ามันหล่อลื่น
จาระบี (ไข) ของเหลว ทาเทียนไข เครื่องสาอาง ยาขัดมัน
น้ามันเตา ของเหลว เชื้อเพลิงเครื่องจักร
ยางมะตอย (บิทูเมน) ของแข็ง วัตถุกันซึม ใช้ราดถนน

หน้า 114 เคมี


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

แก๊สธรรมชาติ (C1 – C4)


< 30 o C
ส่วนใหญ่เป็นมีเทน (CH4)

แนฟทาเบา (C5 – C7) 0 – 65 oo C


0 – 65 C
น้ามันเบนซิน (C6 – C8)
แนฟทาหนัก (C6 – C12) 65 – 170 o C

PX
หอกลั่น

น้ามันดิบ น้ามันก๊าด (C10 – C14) 170 – 240 o C

AM
FEC น้ามันดีเซล (C14 – C19) 250 – 340 o C

น้ามันหล่อลื่น (C19 – C35) 340 – 500 o C

จาระบี
by

น้ามันเตา > 500 o C


ยางมะตอย (C35 ++)
eak

เรียงลาดับจุดเดือด
-
มีเทน < เบนซิน < แนฟทา < น้ามันก๊าด < ดีเซล < น้ามันหล่อลื่น
lbr

< จาระบี < พาราฟิน < น้ามันเตา < ยางมะตอย


Jai

- ผลิตภัณฑ์จากนามันดิบที่น่าสนใจ
1. นามันเบนซิน หรือแก๊สโซลีน (Gasoline)
- ประกอบด้วยอะตอมคาร์บอน (C) 6 - 8 อะตอม
- ใช้กับเครื่องยนต์แก๊สโซลีน (รถยนต์ทั่วไป)
เบนซิน (benzine) คือ น้ามัน ส่วนเบนซีน (benzene) คือ วงแหวนของ C6

เคมี หน้า 115


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

เลขออกเทน คือ ค่าที่ใช้บอกคุณภาพของน้ามันเบนซิน


- เลขออกเทน = 100 เผาไหม้เหมือน isooctane

- เลขออกเทน = 0 เผาไหม้เหมือน n-Heptane

นามันที่มีเลขออกเทน 90
หมายถึง น้ามันที่มีการเผาไหม้เหมือนเชื้อเพลิงที่มี isooctane

PX
ร้อยละ 90 โดยมวล และ n-Heptane ร้อยละ 10 โดยมวล

การเพิ่มเลขออกเทน

AM
1. เติม Tetraethyl Lead [(C2H5)4 Pb]
2. เติม Tetramethyl Lead [(CH3)4 Pb]
3. เติม MTBE (Methyl Tertiary Butyl Ether)
FEC
ปัจจุบันไม่มกี ารใช้ Tetramethyl Lead และ Tetraethyl Lead แล้ว
เนื่องจากตะกั่วเป็นสารมีพิษ เป็นอันตรายต่อร่างกาย จึงใช้ MTBE แทน
by

2. นามันดีเซล
- ประกอบด้วยอะตอมคาร์บอน (C) 14 - 19 อะตอม
eak

- ใช้กับเครื่องยนต์ดีเซล

เลขซีเทน คือ ค่าที่ใช้บอกคุณภาพของน้ามันดีเซล


- เลขซีเทน = 100 เผาไหม้เหมือน Cetane ( C16H34 )
lbr
Jai

- เลขซีเทน = 0 เผาไหม้เหมือน  - methyl naphthalene

หน้า 116 เคมี


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

3. พลังงานทดแทนนามัน
แก๊สโซฮอล์ (Gasoline + Alcohol)
คือ น้ามันที่เกิดจากการผสมระหว่าง เอทานอลกับน้ามันเบนซิน

ดีโซฮอล์ (Diesel + Alcohol)


คือ น้ามันที่เกิดจากการผสมระหว่าง เอทานอลกับน้ามันดีเซล

ไบโอดีเซล (Biodiesel)

PX
คือ น้ามันที่ถูกเตรียมจากน้ามันพืชหรือน้ามันสัตว์ที่ใช้แล้วผสมกับแอลกอฮอล์ (เช่น
เมทานอล หรือ เอทานอล) ผ่านกระบวนการ “transesterification”

AM
FEC
Ester เมทานอล เมทิลเอสเทอร์ กลีเซอรอล
by

(ในรูปไตรกลีเซอไรด์) (Biodiesel)
eak

4. ชนิดของพลังงานทดแทนนามันอื่น ๆ ที่ควรทราบ
นามันแก๊สโซฮอล์ E-10 = เบนซิน 90% + เอทานอล 10% โดยปริมาตร
นามันแก๊สโซฮอล์ E-20 = เบนซิน 80% + เอทานอล 20% โดยปริมาตร
lbr

นามันแก๊สโซฮอล์ E-85 = เบนซิน 15% + เอทานอล 85% โดยปริมาตร


นามันแก๊สโซฮอล์ 91, 95 = น้ามันแก๊สโซฮอล์ E-10 ที่มีเลขออกเทนเท่ากับ 91
Jai

และ 95 ตามลาดับ
ไบโอดีเซล B-5 = น้ามันดีเซล 95% + ไบโอดีเซล 5% โดยปริมาตร
ไบโอดีเซล B-10 = น้ามันดีเซล 90% + ไบโอดีเซล 10% โดยปริมาตร
นามันเบนซิน 91, 95 = น้ามันเบนซินทีม่ ีเลขออกเทนเท่ากับ 91, 95 ตามลาดับ

เคมี หน้า 117


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

5. ข้อกาหนดสีนามันเชือเพลิง
แก๊สโซฮอล์ 91 สีเขียว
แก๊สโซฮอล์ 95 สีสม้
แก๊สโซฮอล์ E-20 สีสม้
แก๊สโซฮอล์ E-85 สีม่วง
เบนซิน 91 สีเหลืองอ่อน
เบนซิน 95 สีน้าเงิน

PX
ดีเซล B-5 สีแดง
ดีเซล สีเหลือง

AM
- แก๊สธรรมชาติ
แก๊ ส ธรรมชาติก็ ค ล้ายกั บ น้ ามั น ดิบ คื อ มี องค์ ป ระกอบต่ าง ๆ อยู่ม ากมาย จึ ง ต้อ งผ่า น
กระบวนการแยกเช่นเดียวกับน้ามันดิบ ส่วนที่มักถูกนาไปใช้คือส่วนที่เป็นไฮโดรคาร์บอน
FEC
1. แก๊สธรรมชาติเหลว (Condensate)
โดยทั่วไป แก๊สธรรมชาติจะอยู่ภายใต้อุณหภูมิสูงใต้ผวิ โลก เมื่อแก๊สธรรมชาติถูกนาขึ้นมา
บนผิวโลกซึ่ง มี อุ ณ หภู มิ ต่ ากว่าใต้ผิ วโลก แก๊ ส ธรรมชาติบ างส่วนอาจจะควบแน่ นกลายเป็ น
by

ของเหลว ซึ่งรู้จักกันในชื่อ “แก๊สธรรมชาติเหลว” หรือ “Condensate” นั่นเอง


2. LNG (Liquefied Natural Gas)
eak

ในการขนส่ง แก๊ ส ธรรมชาติ ผู้ขนส่ งนิ ยมท าให้แก๊ ส ธรรมชาติอยู่ในรูป ของของเหลว


เสี ยก่ อ น เนื่ อ งจากสามารถส่ ง ผ่านระบบท่ อได้ง่า ยกว่า แก๊ ส ธรรมชาติ ที่ ถูก ตั้ง ใจท าให้ เ ป็ น
ของเหลวนั้นเรียกว่า LNG
lbr

3. แก๊สธรรมชาติอัด (CNG: Compressed Natural Gas)


มีองค์ประกอบหลักเป็นแก๊สมีเทนที่ผ่านการอัดด้วยความดันสูง สามารถใช้เป็นเชื้อเพลิง
Jai

ในอุตสาหกรรม หรือนามาใช้ในยานพาหนะได้

คาว่า NGV ในต่างประเทศ แท้จริงแล้วย่อมาจาก “Natural Gas Vehicle” ซึ่ง


หมายถึง พาหนะที่สามารถใช้ CNG แทนน้ามันได้นั่นเอง

4. แก๊สปิโตรเลียมเหลว (LPG: Liquefied Petroleum Gas)


มีองค์ประกอบหลักเป็นแก๊สโพรเพน ( C3H8 ) และบิวเทน ( C4H10 ) ที่ถกู นามาใช้เป็นแก๊ส
หุงต้ม หรืออาจนามาใช้ในยานพาหนะบางชนิดก็เป็นได้ (LPG มีเลขออกเทนสูงถึง 120 - 130)

หน้า 118 เคมี


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ตารางเปรียบเทียบคุณสมบัติของเชือเพลิงชนิดต่าง ๆ
ข้อเปรียบเทียบ นามันเบนซิน นามันดีเซล NGV LPG
แก๊สที่ถูกอัดให้อยู่ในรูป
สถานะ ของเหลว ของเหลว แก๊ส
ของเหลว
เบากว่าอากาศ หนักกว่าอากาศ
นาหนัก หนักกว่าอากาศ หนักกว่าอากาศ ไม่มีการสะสม มีการสะสมเมื่อเกิดการ
เมื่อเกิดการรั่ว รั่ว ก่อให้เกิดอันตรายได้

PX
ขีดจากัดการติดไฟ 1.4 – 7.6% 0.6 – 7.5% 5 – 15% 2 – 9.5%
อุณหภูมิติดไฟได้เอง 275 o C 250 o C 650 o C 481 o C

AM
- ขีดจากัดการติดไฟ (Flammability Limit)
คือ ค่าที่ใช้บอกปริมาณที่เชื้อเพลิงจะสามารถสะสมอยู่ในอากาศได้โดยไม่มีการติดไฟ
FEC
- อุณหภูมิติดไฟได้เอง (Auto-ignition temperature)
คือ อุณหภูมิที่ทาให้เชื้อเพลิงลุกติดไฟได้เอง โดยไม่ต้องอาศัยแหล่งความร้อนจากภายนอก

- จุดวาบไฟ (Flash point) คือ อุณหภูมิที่ต่าทีส่ ุด ทีส่ ามารถทาให้เชื้อเพลิงคายไอออกมาผสม


by

กับอากาศแล้วก่อให้เกิดการติดไฟเป็นประกายวาบขึ้นแล้วก็ดับไป
- จุดติดไฟ (Fire point) คือ อุณหภูมิที่ทาให้เชื้อเพลิงคายไอออกมาต่อเนื่อง แล้วเกิดการติดไฟ
ต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ
eak

***โดยทั่วไป Flash point < Fire point < Auto-ignition temperature***


lbr

- การปรับปรุงคุณภาพปิโตรเลียม ทาได้ด้วยกัน 4 วิธี ดังนี้


1. การแตกสลาย (Cracking)
Jai

คือ กระบวนการทาให้สารโมเลกุลใหญ่แตกออกเป็นโมเลกุลที่มีขนาดเล็กลง เช่น

2. แอลคิเลชัน (Alkylation)
คือ กระบวนการเติมหมู่แอลคิล (ต่อโมเลกุลเล็ก ๆ ให้มีขนาดใหญ่ขึ้น) เช่น

เคมี หน้า 119


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

3. รีฟอร์มมิ่ง (Reforming)
คือ กระบวนการเปลี่ยนโครงสร้างโมเลกุลของสารเพื่อให้ได้สารที่มีคุณภาพสูงขึ้น เช่น

PX
ลองสังเกตจะพบว่าผลิตภัณฑ์ทเี่ กิดจะมีจานวนคาร์บอนอะตอม (C) เท่าเดิม

AM
4. โอลิโกเมอไรเซชัน (Oligomerization)
คือ กระบวนการต่อโมเลกุลแอลคีนเข้าด้วยกัน เช่น
FEC
by

- ถ่านหินและหินนามัน
จัดเป็นเชื้อเพลิงจากซากดึกดาบรรพ์ทสี่ าคัญอีกชนิดหนึง่ แต่ไม่ถือว่าเป็นปิโตรเลียม
eak

1. ถ่านหิน เป็นเชื้อเพลิงที่พบมากที่สุดในโลก เป็นเชื้อเพลิงหินตะกอนที่เกิดจากการทับถมของซาก


พืชซากสัตว์เป็นเวลาหลายล้านปี ผ่านความกดดันและความร้อนสูงใต้ผิวโลก
lbr

น้อย ปริมาณคาร์บอน มาก


Jai

ไม้ พีต ลิกไนต์ ซับบิทูมินสั บิทูมินัส แอนทราไซต์ แกรไฟต์

ถ่านหินแบ่งออกเป็น 5 ชนิด

ถ่านหินที่มีปริมาณคาร์บอนสูง จะให้พลังงานมากกว่าถ่านหินที่มีปริมาณคาร์บอนต่า

2. หินนามัน เป็นหินตะกอนที่มีองค์ประกอบสาคัญ คือ เคอโรเจน (kerogen) เมื่อได้รับความร้อน


จะสลายตัวเป็น “น้ามันหิน” ซึ่งสามารถนามากลั่นลาดับส่วนได้คล้ายกับน้ามันดิบ

หน้า 120 เคมี


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

- คาศัพท์อื่น ๆ ทางอุตสาหกรรมเคมีที่ควรทราบ
1. พาราฟิน (Paraffin)
คือ สารประกอบไฮโดรคาร์บ อนอิ่ม ตัวที่ มีโครงสร้างโมเลกุล เชื่อมต่อกั นเป็นเส้น ซึ่งก็ คื อ
Alkane นั่นเอง แต่ในทางอุตสาหกรรมเคมีเรานิยมใช้คาว่าพาราฟินมากกว่า
2. โอเลฟินส์ (Olefin)
คือ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีพันธะคู่อยู่ในโมเลกุล ซึ่งก็คือ Alkene นั่นเอง แต่ในทาง
อุตสาหกรรมเคมีเรานิยมใช้คาว่าโอเลฟินส์มากกว่า

PX
3. Napthene
คือ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีโครงสร้างเป็นวงแหวนอิ่มตัว เช่น Cyclopentane หรือ

AM
Cyclohexane

สารประกอบไฮโดรคาร์บอนส่วนใหญ่ที่อยู่ในน้ามันดิบจะเป็นพวก Paraffins,
FEC
Aromatics และ Napthenes โดยจะไม่พบพวก Olefins หรือ Alkynes อยู่

- มลพิษจากผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม
by

1. มลพิษทางอากาศ
คาร์บอนมอนออกไซด์ (CO) เป็นแก๊ สที่ ไม่มีสีและไม่ มีก ลิ่น เกิดจากการเผาไหม้ที่ ไม่
สมบูรณ์จากโรงงานและยานพาหนะต่าง ๆ เมื่อ CO เข้าสู่ร่างกายจะไปจับกับฮีโมโกลบินแทนที่
eak

O2 ทาให้ O2 ไม่สามารถไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ จึงก่อให้เกิดอาการเวียนศีรษะ หายใจ


ติดขัด คลื่นไส้ หรืออาจทาให้เสียชีวิตได้
lbr

ซั ล เฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) เป็นแก๊ ส ไม่ มี สี กลิ่น ฉุน และละลายน้าได้ดี เกิ ดจากการ


ระเบิดของภูเขาไฟ การเน่าเปื่อยของซากสิ่งมีชีวิต การเผาไหม้เชื้อเพลิง การถลุงแร่ สามารถกัด
กร่อนสิ่งก่อสร้าง ฟอกสีใบไม้ ทาให้ต้นไม้ตาย ทาให้เกิดฝนกรด เมื่อร่างกายรับ SO2 จะก่อให้เกิด
Jai

อาการปวดเมื่อยเรื้อรัง โลหิตจาง ถ้าได้รับในปริมาณมาก จะเป็นอันตรายต่อระบบหายใจ ได้แก่


ปอดอักเสบ หลอดลมตีบ
ออกไซด์ของไนโตรเจน (NO, NO2) หรือเรียกรวมกันว่า NOX เกิดจากการเผาไหม้
ของเชื้อเพลิง ทาให้เกิดควันพิ ษที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย NO2 เป็นแก๊สสีน้าตาลแดง กลิ่นฉุน
ละลายน้าได้ดี ทาให้เกิดฝนกรด จึงมีพิษเหมือนแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2)
ไฮโดรคาร์บ อน มั ก จะเป็น กลุ่ม อะโรมาติก ไฮโดรคาร์บ อน ซึ่งมี ผ ลกระทบต่อระบบ
ทางเดินหายใจ ทาให้ระคายเคืองคอ แสบจมูก บางชนิดเป็นสารก่อมะเร็ง

เคมี หน้า 121


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

คลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC) ประกอบด้วยคลอรีน ฟลูออรีน และคาร์บอน (CFCl3,


CF2Cl2) ใช้เป็นสารทาความเย็นในตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ ใช้ทาความสะอาดวงจรอิเล็กทรอนิกส์
เป็นสารตั้งต้นในกระป๋องสเปรย์ เป็นสารเป่าฟองในการผลิตโฟม มีคุณสมบัติดูดกลืนความร้อน
ทาลาย O3 ในชั้นบรรยากาศและก่อให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก

2. มลพิษทางนา
ฟอสเฟต (PO43-) ไม่เป็นพิษโดยตรงต่อคน แต่จะเป็นอาหารที่ดีของพืชน้า ทาให้พืชน้า
มีการเจริญเติบโตมาก เวลาที่พืชน้าเหล่านั้นตาย แบคทีเรียต้องใช้ O2 ในการย่อยสลายซากพืชน้า

PX
เหล่านั้น เมื่อ O2 ถูกใช้จนหมด น้าก็จะเน่าเสียไปในที่สุด
คราบนามัน เกิดจากการรั่วไหลในอุตสาหกรรมต่าง ๆ และการคมนาคม โดยน้ามันนี้

AM
อาจลอยปกคลุมผิวน้า ทาให้แก๊สออกซิเจนละลายลงในน้าไม่ได้ เป็นการทาลายระบบนิเวศในน้า

3. มลพิษทางดิน
FEC
สารกาจัดศัตรูพืชและปุ๋ยวิทยาศาสตร์ อาจก่อให้เกิดสารตกค้างในดิน ทาให้ดินเปรี้ยว
ขยะพลาสติก มีการย่อยสลายได้ยาก ทาให้แร่ธาตุต่าง ๆ ไม่สามารถซึมผ่านลงในดินได้

4. ปรากฏการณ์เรือนกระจกและภาวะโลกร้อน
แก๊สเรือนกระจก ปรากฏการณ์เรือนกระจก ภาวะโลกร้อน อุณหภูมิเปลี่ยนแปลง
by

แก๊สเรือนกระจก คือ แก๊สใด ๆ ที่ดูดกลืนคลื่นความร้อนหรือรังสีอินฟราเรด


1. CO2 2. CH4 3. N2O 4. HFCs
eak

5. PFCs 6. SF6 7. CFCs


แก๊ ส ที่ ท าลายชั นโอโซน คื อ CFCs (Chlorofluorocarbons) นิ ย มใช้ เ ป็ น สารท า
ความเย็น
lbr

5. ปรากฏการณ์ฝนกรด (Acid Rain)


เกิดจากแก๊ส SO2, SO3 และ NOx (เพราะทาให้เกิดกรด H2SO3, H2SO4 และ HNO3)
Jai

ผลกระทบ
1. ส่งผลต่อระบบนิเวศของสัตว์น้า
2. ป่าไม้มีการเจริญเติบโตอย่างช้า ๆ ดินเสื่อมไม่มีแร่ธาตุ
3. ทาให้เกิดการผุกร่อนของเหล็กในสิ่งก่อสร้าง
4. การหายใจเอาไนเตรทและซัลเฟตเข้าไป ทาให้เกิดโรคหืดและโรคหลอดลมอักเสบ

หน้า 122 เคมี


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

พอลิเมอร์
- นิยาม
หมายถึง สารที่มีโครงสร้างโมเลกุลขนาดใหญ่ เกิดจากโมเลกุลพื้นฐาน เรียกว่า มอนอเมอร์
(monomer) จานวนมากเชื่อมต่อด้วยพันธะโคเวเลนต์
- การแบ่งชนิดพอลิเมอร์ตามโครงสร้าง
1. พอลิเมอร์แบบเส้น (linear polymer) คือ พอลิเมอร์ที่เกิดจาก

PX
มอนอเมอร์ต่อกันเป็ นสายยาว ซึ่งเป็นโครงสร้างที่เรียงชิดกันได้
แน่นที่สุด ทาให้มีความหนาแน่นสูง แข็ง และเหนียว เช่น PVC PE PP

AM
2. พอลิเมอร์แบบกิ่ง (branched polymer) คือ พอลิเมอร์ที่เกิด
จากมอนอเมอร์ที่มโี ซ่กิ่ง ทาให้พอลิเมอร์ไม่สามารถเรียงชิดติดกัน
จึง มี ความหนาแน่นและจุดหลอมเหลวต่า แต่มี ความยืดหยุ่นสู ง
FEC
เช่น LDPE
3 . พ อ ลิ เม อ ร์ แ บ บ ร่ า ง แ ห (cross-linked polymer) คื อ
พอลิเมอร์ที่เกิดจากมอนอเมอร์เชื่อมต่อกั นเป็นร่างแห มีความ
by

แข็ง แต่เปราะ ไม่ ล ะลายน้า สลายตัวเมื่ อได้รับ ความร้อน เช่น


เบเคอไลต์ เมลามีน
eak

- พลาสติก
จัดเป็นพอลิเมอร์สังเคราะห์ชนิดหนึ่งที่นิยมนามาใช้ป ระโยชน์ได้หลากหลาย โดยพลาสติก
สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทหลัก ๆ ตามคุณสมบัติในการเปลี่ยนแปลงสถานะ ดังนี้
lbr

1. Thermoplastic คือ พลาสติกที่อ่อนตัวเมื่อเพิ่มอุณหภูมิ ทาให้สามารถนากลับมาขึ้นรูปใหม่ได้


มีโครงสร้างเป็นพอลิเมอร์แบบเส้นและกิ่ง เช่น PE PP PVC เป็นต้น
2. Thermosetting plastic หรือ Thermoset คือ พลาสติกที่สลายตัวเมื่อได้รับความร้อน ทาให้
Jai

ไม่สามารถนากลับมาขึ้นรูปใหม่ได้ มีโครงสร้างเป็นแบบร่างแห เช่น อีพอกซี เบเคอไลต์ เป็นต้น

ในอุตสาหกรรมมีพลาสติกหลากหลายชนิด ซึ่งมีคุณสมบัติแตกต่างกันออกไป ทาให้ต้องมีการ


แยกประเภทในกระบวนการรีไซเคิลพลาสติก ในปัจจุบัน ผลิตภัณฑ์พลาสติกต่าง ๆ จึงมีสัญลักษณ์
ของ รหัสชนิดพลาสติก (Resin Identification Code, RIC) เพื่อใช้บอกประเภทของพลาสติก

เคมี หน้า 123


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

สมบัติของพลาสติกชนิดต่างๆ ที่สาคัญ
รหัสชนิด ประเภท
ชื่อพลาสติก คุณสมบัติ ตัวอย่างผลิตภัณฑ์
พลาสติก พลาสติก
Polyethylene Tereph- เทอร์โม - เปลวสีน้าเงินขอบเหลือง ฟิล์มถ่ายภาพ ขวดน้า
thalate (PET, PETE) พลาสติก - กลิ่นเหมือนพาราฟิน ขวดน้าอัดลม ดอกไม้ปลอม
High Density เทอร์โม - ไม่ละลายในสารละลายทั่วไป ขวดสารทาความสะอาด ขวด

PX
Polyethylene (HDPE) พลาสติก - มีความทนทานสูง ขุ่น ถุงชอปปิง กะละมัง
แผ่นไวนิลโฆษณา รองเท้า
- ติดไฟยาก เปลวสีเหลือง
กระดาษติดผนัง กระเบื้องปู

AM
Polyvinylchloride เทอร์โม ขอบเขียว ควันขาว
พื้น ฉนวนหุ้มสายไฟ ท่อน้า
(PVC) พลาสติก - กลิ่นกรดเกลือ
พลาสติก ภาชนะบรรจุ
- อ่อนตัวได้คล้ายยาง
สารเคมี
FEC
ฟิล์มห่ออาหาร ถุงพลาสติก
Low Density เทอร์โม
(ดู PET) ใส ขวดน้าบีบได้ ถุงขยะ
Polyethylene (LDPE) พลาสติก
ถังขยะ
by

- เปลวสีน้าเงินขอบเหลือง โต๊ะ เก้าอี้ เชือก พรม


เทอร์โม
Polypropylene (PP) ควันขาว บรรจุภัณฑ์อาหาร
พลาสติก
eak

- กลิ่นเหมือนพาราฟิน ชิ้นส่วนรถยนต์
- เปลวสีเหลือง เขม่ามาก, เปราะ โฟม บรรจุภัณฑ์อาหาร
เทอร์โม
Polystyrene (PS) - กลิ่นเหมือนแก๊สจุดตะเกียง เลนส์ ของเล่นเด็ก อุปกรณ์
พลาสติก
lbr

- ละลายใน CCl4 และโทลูอีน กีฬา


- เปลวสีน้าเงินขอบเหลือง
เทอร์โม เครื่องนุง่ ห่ม ถุงน่องสตรี
ไนลอน (Nylon) - กลิ่นเหมือนเขาสัตว์ติดไฟ
Jai

พลาสติก พรม อวน แห เชือกเอ็น


- เหนียว ยืดหยุ่น ไม่แตก จมน้า
พลาสติกชนิดอื่น ๆ

เทอร์โม - ติดไฟยาก เปลวสีเหลือง ควันดา


กาว สีทาบ้าน
อีพอกซี (Epoxy)
เซต - กลิ่นคล้ายข้าวคั่ว สารเคลือบผิวหน้าวัสดุ
โทรศัพท์และอุปกรณ์พกพา
Polycarbonate เทอร์โม - เปลวสีสม้ ควันดา
ซีดี แว่นตา ชิ้นส่วน
(PC) พลาสติก - ทนแรงกระแทก ไม่ทนขีดข่วน
อิเล็กทรอนิกส์

หน้า 124 เคมี


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

รหัสชนิด ประเภท
ชื่อพลาสติก คุณสมบัติ ตัวอย่างผลิตภัณฑ์
พลาสติก พลาสติก
เทอร์โม - ติดไฟยาก เปลวสีเหลือง
เส้นใยผ้า
พลาสติก ควันกลิ่นฉุน, อ่อนตัว ยืดหยุ่น
Polyester (PEs) - ติดไฟยาก เปลวสีเหลือง
เทอร์โม ตัวถังรถยนต์ ตัวถังเรือ
ควันดา ควันกลิ่นฉุน
เซต วัสดุบุเครือ่ งบิน
- เปราะหรือแข็งเหนียว

PX
Polytetrafluoro- เทอร์โม - กลิ่นคล้ายผมติดไฟ สารเคลือบกระทะ
ethylene (Teflon) พลาสติก - ยืดหยุ่น ลื่น สารเคลือบหล่อลื่น สายไฟ
- ติดไฟยาก เปลวสีเหลือง

AM
เต้าเสียบไฟฟ้า
Poly Urea เทอร์โม อ่อนขอบฟ้าแกมเขียว
วัสดุเชิงวิศวกรรม (เช่น เฟือง
พลาสติกชนิดอื่น ๆ

Formaldehyde เซต - กลิ่นเหมือนแอมโมเนีย


นอต ชิ้นส่วนเครื่องจักร)
- แตกร้าว จมน้า
FEC
Acrylonitrile - เปลวสีน้าเงินขอบเหลือง หมวกกันน็อค ชิ้นส่วน
เทอร์โม
Butadiene - ควันกลิ่นฉุน รถยนต์ ตัวต่อเลโก้ คีย์บอร์ด
พลาสติก
Styrene (ABS) - ทนแรงและความร้อน เครื่องดนตรีพลาสติก
by

Polylactic Acid เทอร์โม - ติดไฟยาก ใส ไม่ทนความร้อน บรรจุภัณฑ์อาหาร ถุงขยะ


(PLA) พลาสติก - ย่อยสลายได้ในธรรมชาติ ผ้าอ้อม เส้นใยผ้า
Polyphenol - แข็งเปราะ ปัจจุบันมักใช้เป็นวัสดุเชิง
eak

เทอร์โม
Formaldehyde - ทนความร้อนที่อุณหภูมิสงู วิศวกรรม (เป็นพลาสติก
เซต
(Bakelite) - เป็นฉนวนไฟฟ้า สังเคราะห์ชนิดแรก)
เมลามีน เทอร์โม - ทนสารเคมี กันน้า ถ้วย ชาม
lbr

(Melamine Resin) เซต - กลิ่นแอมโมเนีย ผ้าใบกันน้า พื้นลามิเนต


Jai

- เส้นใย
เป็นพอลิเมอร์ที่มีโครงสร้างยาว มีการเรียงตัวที่ค่อนข้างเป็นระเบียบ และมีความเหนียว แบ่ง
ได้ 3 ประเภท
1. เส้นใยธรรมชาติ เป็นเส้นใยที่ดูดซับน้าง่ายและแห้งช้า เป็นราง่าย หดตัวได้มาก และยับง่าย เช่น
- เส้นใยเซลลูโลส ประกอบด้วยกลูโคสเป็นจานวนมาก มีโครงสร้างแบบเส้น เช่น เส้นใยฝ้าย
เส้นใยนุ่น เส้นใยจากใยมะพร้าว เส้นใยสับปะรด เส้นใยลินิน เส้นใยปอ เป็นต้น
- เส้นใยโปรตีนจากขนสัตว์ เมื่อเปียกน้า ความเหนียว และความแข็งแรงจะลดลง เมื่อถูก
แดดเป็นเวลานานจะสลายตัว เช่น ขนแกะ ขนแพะ เส้นใยไหม เป็นต้น

เคมี หน้า 125


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

- เส้นใยหิน ทาจากแร่ใยหิน ปัจจุบันไม่นิยมนามาใช้งาน เนื่องจากเป็นอันตรายต่อทางเดินหายใจ

2. เส้นใยกึ่งสังเคราะห์ เป็นเส้นใยธรรมชาติที่เติมสารเคมี หรือผ่านกระบวนการทางเคมีบางชนิด


เช่น เซลลูโลสแอซีเตต เรยอน เป็นต้น
3. เส้ นใยสั งเคราะห์ เป็ นเส้ นใยที่ มี ก ารเรียงตัวยาว และค่ อนข้ างเป็น ระเบีย บ สามารถทนต่ อ
จุลินทรีย์ เชื้อรา และแบคทีเรีย ไม่ยับง่าย แห้งเร็วและทนต่อสารเคมี เช่น พอลิเอไมด์ (ไนลอน),
พอลิเอสเทอร์ (ดาครอน), พอลิอะคริโลไนไตรต์ (โอรอน), คาร์บอนไฟเบอร์ เป็นต้น

PX
- ยาง
เป็นพอลิเมอร์ที่มีมวลโมเลกุลสูงมาก มีความยืดหยุ่นสูง เนื่องจากมีพันธะคู่ในหน่วยย่อย ยาง

AM
ที่ดีต้องมีความยืดหยุ่น เป็นฉนวน ทนน้า แต่ตามธรรมชาติแล้วยางจะอ่อนตัวเมื่อได้รับความร้อน และ
แข็งและเปราะที่อุณหภูมิต่า ยางแบ่งได้ 2 ประเภท คือ
1. ยางธรรมชาติ เกิดจากมอนอเมอร์ “ไอโซพรีน” (isoprene) โดยเมื่อไอโซพรีนมาต่อกันเป็นสาย
FEC
ยาว จะได้พอลิเมอร์ “พอลิไอโซพรีน” (polyisoprene) แบ่งได้เป็น 2 ประเภท
- ยางพารา หรือ พอลิไอโซพรีน มีความยืดหยุ่นสูง มีโครงสร้างแบบ cis
- ยางกั ตตา ยางบาราทา หรือ ยางชิ คเคิ ล มี ค วามแข็ง แต่ ไม่ ยืด หยุ่ น เท่ ายางพารา มี
โครงสร้างแบบ trans
by

2. ยางสังเคราะห์ เป็นยางที่มนุษย์สังเคราะห์ขึ้นมาจากการทาปฏิกิริยาเคมี เรียกว่า ปฏิกิริยาพอลิ-


เมอไรเซชั่น (polymerization) เช่น
eak

- พอลิบิวตะไดอีน (polybutadiene) มีมอนอเมอร์ คือ บิวตาไดอีน มีความยืดหยุ่นน้อย


กว่ายางธรรมชาติ
- พอลิ ค ลอโรพรี น (polychloroprene) หรื อ นี โ อพรี น มี โ มโนเมอร์ คื อ คลอโรพรี น
lbr

มีคุณสมบัติทนต่อความร้อนและตัวทาละลายอินทรีย์ได้ดี สลายตัวยาก ทนไฟ


- ยาง SBR หรือ ยางสไตรีน - บิวตะไดอีน (styrene-butadiene) มีมอนอเมอร์ คือ สไต
Jai

รีน และบิวตะไดอีน มีความยืดหยุ่นต่า ทนต่อการขัดถู และเกิดปฏิ กิริยากับออกซิเจนได้


ยากกว่ายางธรรมชาติ จึงนิยมนามาใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตยางรถยนต์
- ยาง IR มีม อนอเมอร์ คือ ไอโซพรีน และมี พอลิเมอร์ต่อกั นเหมือนยางกัตตา จึงเรียกว่า
“กัตตาเปอร์ชา”
กระบวนการวัลคาไนเซชัน (Vulcanization) เป็นกระบวนการปรับปรุงคุณภาพของยางโดยเติม
กามะถัน (S) โดยให้ยางและกามะถันทาปฏิกิริยากันที่อุณหภูมิสูงกว่าจุดหลอมเหลวของกามะถัน ทา
ให้ยางและกามะถันเชื่อมต่อกันเป็นโมเลกุลเดียว ยางจึงมีความยืดหยุ่นสูง มีสภาพคงตัวต่าง ๆ ทน
ความร้อนและแสงแดด ละลายในตัวทาละลายได้ยากขึ้น
หน้า 126 เคมี
โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

แนวข้อสอบ PAT3 วิชา เคมี


ข้อ 1 สารประกอบชนิดหนึ่ง 1 โมเลกุล ประกอบด้วย C 5 อะตอม, H 10 อะตอม และ O 2 อะตอม ถ้ามี
สารนี้จานวน 9.702 x 1024 โมเลกุล จะมีมวลกี่กรัม

PX
AM
ข้อ 2 (ENT 32) เมื่อนากรดแอซีติก 6 cm3 มาทาปฏิกิริยากับแอลกอฮอล์ A โดยมีกรดซัลฟิวริกเป็นตัวเร่ง
FEC
ปฏิกิริยา ได้ผลผลิตเอสเทอร์ B หนัก 12.76 กรัม และน้า 1.98 กรัม ถ้าใช้แอลกอฮอล์ A หนัก 296
กรัม จะได้ผลผลิตเอสเทอร์ B หนักกี่กรัม (กาหนด ความหนาแน่นของกรดแอซีติก = 1.10 g/cm3)
by
eak
lbr

ข้อ 3 ถ้าต้องการเตรียมสารละลายกรดซัลฟิวริกที่มีความเข้มข้น 1.74 mol/dm3 จานวน 700 cm3 จาก


Jai

ขวดที่ บ รรจุส ารละลายกรดซัล ฟิ วริก ที่ มี ความเข้ม ข้น 98% โดยมวล และมี ความหนาแน่น 1.82
g/cm3 จะต้องใช้สารละลายกรดซัลฟิวริกจากขวดดังกล่าวกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร

เคมี หน้า 127


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 4 โซเดียมคลอไรด์เข้มข้น 3 mol/dm3 จานวน 500 cm3 จะมีจานวน Na+ ในโซเดียมฟอสเฟตเข้มข้น


7 mol/dm3 จานวนกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร

PX
ข้อ 5 ถ้าท่านต้อ งการเตรียมแอลกอฮอล์ 16 mol/dm3 สาหรับฆ่าเชื้อโรค ท่านสามารถเตรียมได้โดยใช้

AM
แอลกอฮอล์ที่มีความเข้มข้น 20 และ 10 mol/dm3 ในอัตราส่วนเท่าใด ตามลาดับ
FEC
by
eak

ข้อ 6 แนฟทาลีนมีจุดเยือกแข็งปกติ 80.2 ºC เมื่อนาตัวถูกละลาย 1 โมล มาละลายในแนฟทาลีน 1,000


กรัม จะท าให้ส ารละลายมี จุดเยือ กแข็ง 73.2 ºC ถ้านาก ามะถันซึ่งมี ม วลโมเลกุ ล 240 มาละลาย
lbr

ในแนฟทาลีน 275 กรัม สารละลายที่ ได้มี จุดเยือกแข็ง 77.4 ºC จงหาว่าก ามะถัน ที่ นามาละลาย
ในแนฟทาลีนหนักกี่กรัม
Jai

หน้า 128 เคมี


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 7 ถ้ามี ส ารละลาย MgCl2 เข้ม ข้น 0.1 mol/dm3 จ านวน 100 cm3 จะต้อ งเติม สารละลาย AgNO3
เข้มข้น 0.05 mol/dm3 จานวนกี่ cm3 คลอไรด์ไอออนจึงจะตกตะกอนเป็น AgCl หมด

PX
ข้อ 8 (PAT2 มี .ค. 52) เมื่ อ เผา MgCO3 (s) จะได้ MgO (s) และ CO2 (g) จากการน าสารผสมระหว่า ง
MgCO3 (s) และ MgO (s) จ านวน 16.00 กรัม มาเผาจนเกิ ดปฏิ กิ ริ ย าสมบู ร ณ์ ปรากฏว่ าเหลื อ

AM
ของแข็งหนัก 11.60 กรัม มวลของ MgCO3 (s) ในสารผสมมีกี่กรัม
FEC
by
eak

3
ข้อ 9 ในการสังเคราะห์แสงของสาหร่ายสีเขียวพบว่าใช้ CO2 6  10 mol/hour ถ้าการสังเคราะห์แสง
ให้ผลิตภัณฑ์เป็นแป้ง (C6H10O5)n เท่านั้น จะต้องใช้เวลากี่ชั่วโมงในการสังเคราะห์แสงเพื่อให้ได้แป้ง
lbr

หนัก 1.62 กรัม


Jai

เคมี หน้า 129


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 10 (PAT2 มี.ค. 54) นักเรียนนากระป๋องน้าอัดลมมาขัดด้วยกระดาษทรายเพื่อเอาพอลิเมอร์ที่เคลือบออก


แล้วมาตัดให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ จากนั้นนาไปชั่งให้ได้น้าหนัก 0.3375 กรัม ใส่ในบีกเกอร์ เติมสารละลาย
KOH ข้ น 1.400 mol/dm3 ปริ ม าตร 25.00 cm3 ลงในบี ก เกอร์ น าไปให้ ค วามร้ อ น จะได้ ส าร
แขวนลอยสีเทาดา เมื่อนาไปกรองจะได้สารละลายใส ตั้งทิ้งไว้ให้เย็น แล้วค่อย ๆ เติมสารละลายกรด
H2SO4 ข้น 9.000 mol/dm3 ปริมาตร 10.00 cm3 จะได้สารสีขาวตกตะกอนออกมา เมื่อนาไปกรอง
แล้วล้างผลึกด้วยเอทานอลเย็น และทิ้งไว้ให้แห้ง ถ้าปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นสมบูรณ์และมีสารอื่นที่ไม่ท า
ปฏิกิริยากับ KOH เจือปนอยู่ 20% โดยมวลและผลิตภัณฑ์สุดท้ายคือ สารส้ม (KAl(SO4)2•12H2O) จะ

PX
ได้สารส้มกี่กรัม

AM
FEC
by

ข้อ 11 ข้อใดต่อไปนี้กล่าวเกี่ยวกับปัจจัยต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีได้ไม่ถูกต้อง
1. เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยา ตัวเร่งปฏิกิริยาจะมีปริมาณสารเท่าเดิม ไม่สูญหาย
2. ตัวเร่งปฏิกิริยาจะช่วยลดพลังงานกระตุ้น (Activation Energy) ของระบบ
eak

3. การเพิ่มความดันไม่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาของระบบที่เป็นแก๊ส
4. การเพิ่มพื้นที่ผิวสัมผัสของสารตั้งต้นที่มีสถานะเป็นของแข็ง จะช่วยเพิ่มอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5. ระบบที่อยู่ในสมดุลแล้ว เมื่อเติมตัวเร่งจะไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงใด ๆ
lbr
Jai

ข้อ 12 (PAT3 ธ.ค. 54) ระบบต่อไปนี้ในสภาวะสมดุล


2SO 2(g)  O 2(g) 2SO 3(g)  188kJ
จานวนโมลของ SO3 จะเพิ่มขึ้นได้ในกรณีใด
1. เพิ่มอุณหภูมิของระบบ (ปริมาตรคงที่)
2. ลดปริมาตรของระบบ (อุณหภูมิคงที่)
3. เอา O2 บางส่วนออกจากภาชนะ (ให้อุณหภูมิและปริมาตรคงที่)
4. เอา SO2 บางส่วนออกจากภาชนะ (ให้อุณหภูมิและปริมาตรคงที่)
5. ไม่มีข้อใดถูก

หน้า 130 เคมี


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 13 จากการศึกษาปฏิกิริยา AB (aq)  C (s) A 2 C (aq)  B2(g) โดยเริ่มต้นด้วยสารละลาย AB ปริมาตร


250 ลูกบาศก์เซนติเมตร และสาร C 0.5 โมล พบว่าความเข้มข้นของสารละลาย AB ในช่วงเวลา 2
วินาทีแรก มีความสัมพันธ์กับเวลาดังสมการ [AB] = 20 – 3t2 โมลต่อลิตร และจะมีค่าคงที่ตงั้ แต่
วินาทีที่ 2 เป็นต้นไป จงหาค่าคงที่สมดุล

PX
AM
ข้อ 14 (แนวข้อสอบ PAT3) จากกราฟแสดงความเข้มข้น และเวลาของปฏิกิริยาดังต่อไปนี้ ข้อใดไม่ถูกต้อง
FEC
H2 O (g)  CO (g) H2(g)  CO 2(g)

ความเข้มข้น H2O + CO
(mol/dm3)
by
eak

H2 + CO2
t0 t1 เวลา
lbr

1. เมื่อปฏิกิริยาเข้าสู่สภาวะสมดุล ณ เวลา t1 ความเข้มข้นของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ไม่


Jai

เปลี่ยนแปลง
2. เมื่อเวลามากกว่า t1 สารต่าง ๆ ในระบบยังคงมีการเปลี่ยนแปลงทั้งไปข้างหน้าและย้อนกลับ
ด้วยอัตราเร็วที่เท่ากัน
3. การเกิดสมดุลในปฏิกิริยาเคมีต้องเป็นปฏิกิริยาที่ผันกลับได้
[H O][CO]
4. ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาไปข้างหน้า คือ K  2
[H2 ][CO 2 ]
5. ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาไปข้างหน้า K > 1

เคมี หน้า 131


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 15 ท าการไทเทรตน้ าส้มสายชูตัวอย่าง 50 ml กั บสารละลายมาตรฐาน NaOH 1.5 x 10-2 M พบว่าใช้


สารละลาย NaOH 10 ml จงหาค่า pH ของน้าส้มสายชูตัวอย่าง (กาหนดให้ log 3 = 0.48)

PX
AM
ข้อ 16 จากข้ อ 15 น้ าส้ ม สายชูตั วอย่ างมี ความเข้ม ข้น ของ CH3COOH กี่ เปอร์ เซ็ นต์ โ ดยมวลต่ อปริม าตร
(กาหนดให้ Ka ของ CH3COOH = 1.8 x 10-5) FEC
by
eak

ข้อ 17 อานิลีน (Aniline, C6H5NH2) เป็นเอมีนที่มี ฤทธิ์เป็นเบสอ่อน ใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตพอลิยูรีเทน


และสารเคมีหลายชนิด หากสารละลายอานิลีนขวดหนึ่งมีค่า pH = 9.0 จงหาความเข้มข้นของสารละลาย
ดังกล่าวในหน่วย g/L (กาหนดให้ Ka ของอานิลีน = 2.5 x 10-5)
lbr
Jai

หน้า 132 เคมี


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 18 พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. น้้ามีฤทธิ์เป็นกลางเนื่องจาก [H ]  [OH ]
ข. ปฏิกิริยาสะเทินเป็นปฏิกิริยาระหว่างกรดและเบส ท้าให้ได้เกลือและน้้าเป็นผลิตภัณฑ์
ค. กรดแร่ทุกชนิดเป็นกรดแก่และกรดอินทรีย์ทุกชนิดเป็นกรดอ่อน
ง. กรดทุกชนิดมีคู่เบสและเบสทุกชนิดก็มีคู่กรดเช่นเดียวกัน
จ. H2PO 4  เป็นคู่เบสของ HPO 4 2
มีข้อความใดบ้างที่กล่าวถูกต้อง

PX
1. ก, ขและ ง 2. ก, ค และ ง 3. ก, ข และ จ
4. ข, ค และ ง 5. ก, ข, ง และ จ

AM
ข้อ 19 (ENT ต.ค. 41) กรดซัลฟิวริกท้าปฏิกิริยากับกรดไพโรซัลฟิวริก ดังสมการ
H2 SO 4(aq)  H2 S2 O 7(aq) H3 SO 4  (aq)  HS2 O 7  (aq)
FEC
โมเลกุลและไอออนคู่ใดในปฏิกิริยาที่ท้าหน้าที่เป็นกรด
1. H2 SO 4 และ H3 SO 4  2. H2 SO 4 และ H2 S2 O 7
3. H2 S2 O 7 และ HS2 O 7  4. H2 S2 O 7 และ H3 SO 4 
by

ข้อ 20 (PAT3 มี.ค. 52) ในการท้ากรดไฮโดรคลอริกเข้มข้นให้เจือจางนั้นควรท้าอย่างไร


1. เทกรดและน้้าสลับกันทีละน้อยพร้อมทั้งใช้แท่งแก้วคน
2. ค่อยๆ รินกรดลงในน้้าพร้อมทั้งใช้แท่งแก้วคน
eak

3. เทน้้าลงในกรดทีละน้อยแล้วเขย่าให้เข้ากัน
4. เอาทั้งกรดและน้้าค่อยๆ เทใส่ในภาชนะพร้อมๆ กัน
lbr

ข้อ 21 (PAT2 ก.ค. 52) สารละลายกรดอ่อน HA เข้มข้น 0.1 โมลาร์ มี pH 3.0 ถ้าน้าสารละลายกรดอ่อน
ดังกล่าว 100 มิลลิลิตร เติมน้้า 900 มิลลิลิตร จะได้สารละลายเจือจางที่มี pH เท่าใด
Jai

1. 2.5 2. 3.5
3. 4.0 4. 4.5

เคมี หน้า 133


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 22 (PAT3 ก.ค. 52) วิศวกรควบคุมกระบวนการผลิตต้องการรู้ความเป็นกรดของสารประกอบต่อไปนี้ เพื่อใช้


เป็นข้อมูลในการเลือกวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิต ข้อใดเรียงล้าดับความเป็นกรดจาก
มากไปหาน้อยได้ถูกต้อง

(A) (B) (C) (D)


1. A > B > C> D 2. B > A > C > D

PX
3. C > A > B > D 4. C > B > A > D

AM
ข้อ 23 (PAT3 ต.ค. 52) วิศวกรควบคุมกระบวนการผลิตต้องการรู้ความเป็นกรดของสารประกอบฟีนอลต่อไปนี้
FEC
เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการเลือกวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิต ข้อใดเรียงล้าดับความเป็นกรด
จากมากไปหาน้อยได้ถูกต้อง
by
eak

(A) (B) (C)


1. A > B > C 2. B > C > A
3. A > C > B 4. B > A > C
lbr
Jai

ข้อ 24 (PAT3 ก.ค. 53) จงค้านวณหาค่าความเป็นกรด - ด่าง (pH) ของสารละลายที่มีความเข้มข้นของ OH-


เท่ากับ 2.5 x 10-10 โมล/ลิตร (ก้าหนดให้ log 2 = 0.3)
1. 6.6 2. 5.6 3. 5.0
4. 4.6 5. 4.4

หน้า 134 เคมี


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 25 ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานทางด้านกรด - ด่าง


1. กรดอินทรีย์หรือกรดแร่เป็นกรดที่ได้จากแร่ธาตุ
2. กรดอนินทรีย์เป็นกรดที่มีหมู่คาร์บอกซิลในโมเลกุลกรด
3. กรดสเตียริกเป็นกรดอินทรีย์ที่พบในไขมันพืชและสัตว์
4. กรดอินทรีย์แบ่งตามชนิดของธาตุที่เป็นองค์ประกอบ คือ กรดไฮโดรและกรดออกซี
5. กรดมดเป็นกรดที่ได้จากการหมักแป้งและน้าตาลเท่านั้น

PX
AM
ข้อ 26 ปฏิกิริยาใดเป็นปฏิกิริยาสะเทิน
1. Zn(s)  2HCl (aq)  ZnCl 2(aq)  H2(g)
FEC
2. RCOOH(s)  NaOH(aq)  RCOONa(aq)  H2 O (l )  พลังงาน
3. CaO (s)  H2 O (l )  Ca(OH) 2(aq)
4. Na2 O (s)  H2 O (l )  2NaOH(aq)
by

5. ไม่มีข้อใดเป็นปฏิกิริยาสะเทิน
eak

ข้อ 27 ถ้านาสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ (KOH) 0.4 โมลต่อลิตร ปริมาตร 25 ลูกบาศก์เซนติเมตร มา


เติมน้าจนมีปริมาตรเป็น 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะได้สารละลายที่มีความเป็นกรด - ด่าง (pH) เท่าไร
1. 0.1 2. 1 3. 3
lbr

4. 11 5. 13
Jai

เคมี หน้า 135


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 28 (PAT3 มี.ค. 53) ในการกลั่นน้ามันดิบ นิยมวิธีการกลั่นลาดับส่วนโดยอาศัยหลักการที่ส ารประกอบ


ไฮโดรคาร์บอนชนิดต่าง ๆ ในน้ามันดิบมีจุดเดือดต่างกัน ซึ่งมีผลิตภัณฑ์ที่ได้ดังนี้
ก. น้ามันหล่อลื่น ข. น้ามันเบนซิน ค. น้ามันดีเซล
ง. แก๊สหุงต้ม จ. น้ามันเชื้อเพลิงเครื่องบินไอพ่น
จงเรียงลาดับจุดเดือดของผลิตภัณฑ์จากการกลั่นน้ามันดิบจากสูงไปหาต่า
1. ก. จ. ค. ง. ข.
2. ก. ค. จ. ข. ง.

PX
3. ค. จ. ก. ข. ง.
4. ก. ข. ค. ง. จ.
5. ก. ค. ข. จ. ง.

AM
FEC
ข้อ 29 น้ามันดีเซลที่มีเลขซีเทนเท่ากับ 90 หมายความว่าอย่างไร
1. น้ามันที่ประกอบด้วยซีเทน 90% และเบนซิน 10% โดยปริมาตร
2. น้ามันดีเซลที่เติม MTBE ลงไป 10%
by

3. น้ามันที่มีสมบัติในการเผาไหม้เหมือนกับมีแอลฟาเมทิลแนฟทาลีน 90% โดยมวล


4. น้ามันที่มีสมบัติในการเผาไหม้เหมือนกับน้ามันดีเซลที่มี CH3(CH2)14CH3 90% โดยมวล
5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
eak
lbr

ข้อ 30 (PAT3 มี.ค. 53) ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับคุณสมบัติของแก๊ส NGV และแก๊ส LPG


ก. แก๊ส NGV มีความหนาแน่นน้อยกว่าแก๊ส LPG
Jai

ข. แก๊ส LPG มีอุณหภูมิติดไฟสูงกว่าแก๊ส NGV


ค. แก๊ส LPG มีขีดจากัดการติดไฟสูงกว่าแก๊ส NGV
ง. แก๊ส LPG มักถูกเก็บอยู่ในรูปของเหลว
1. ก และ ข 2. ข และ ง 3. ก และ ค
4. ก และ ง 5. ค และ ง

หน้า 136 เคมี


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 31 ข้อใดอธิบายเกี่ยวกับน้ามัน B-5 ได้ถูกต้อง


1. น้ามันที่มีส่วนผสมของน้ามันเบนซิน 95% และแอลกอฮอล์ 5%
2. น้ามันที่มีส่วนผสมของน้ามันเบนซิน 5% และแอลกอฮอล์ 95%
3. น้ามันที่มีส่วนผสมของน้ามันดีเซล 95% และเมทิลเอสเทอร์ 5%
4. น้ามันที่มีส่วนผสมของน้ามันดีเซล 5% และเมทิลเอสเทอร์ 95%
5. น้ามันที่มีส่วนผสมของน้ามันดีเซล 95% และน้ามันปาล์ม 5%

PX
ข้อ 32 น้ามันเบนซินชนิดหนึ่ง มีสมบัติการเผาไหม้เหมือนกับน้ามันเบนซินที่ประกอบด้วยไอโซออกเทน 21
ส่วน และเฮปเทน 4 ส่วน จะมีเลขออกเทนเท่าใด

AM
1. 84 2. 87
3. 90 FEC 4. 92

ข้อ 33 ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
ก. เอทานอลสามารถผลิตได้จากปฏิกิริยาเคมีระหว่างน้าและอีทีน (Ethene) หรือจากกระบวนการ
by

ทางชีวภาพจากการหมักน้าตาลกับยีสต์
ข. ถ่านหินใช้เป็นเชื้อเพลิงสาหรับให้พลังงานความร้อนอย่างแพร่หลาย โดยที่มวลเท่ากัน ถ่านหิน
ชนิดบิทูมินัส (Bituminous) มีปริมาณคาร์บอนและให้พลังงานความร้อนสูงกว่าถ่านหินลิกไนต์
eak

(Lignite)
ค. แก๊สธรรมชาติมีองค์ประกอบหลักเป็นสารไฮโดรคาร์บอนที่มีจานวนอะตอมคาร์บอนในโมเลกุล
1 - 5 อะตอม แก๊สไนโตรเจน และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
lbr

ง. การป้องกันการกัดกร่อนของโลหะด้วยวิธีอะโนไดซ์ เป็นวิธีการทาให้พื้นผิวของโลหะเกิดออกไซด์
อย่างสม่าเสมอและจับผิวแน่น ทาให้ผิวด้านในของโลหะไม่สัมผัสกับน้าและแก๊สออกซิเจน
Jai

1. ข้อ ก และ ข
2. ข้อ ก และ ค
3. ข้อ ข และ ง
4. ข้อ ก, ข และ ค
5. ข้อ ข, ค และ ง

เคมี หน้า 137


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 34 (PAT3 ก.ค. 53) ข้อใดต่อไปนี้เป็นองค์ประกอบของฝนกรด (Acid rain)


ก. กรดไนตริก ข. กรดอะมิโน ค. กรดอะซิติก
ง. กรดซัลฟิวริก จ. กรดซิตริก
1. ก และ ข 2. ข และ ค 3. ค และ จ
4. ก และ ง 5. ง และ จ

PX
ข้อ 35 ถ้าท่านพบแหล่งน้าที่มีสีดาและส่งกลิ่นเหม็น ข้อสันนิษฐานข้อใดต่อไปนี้เป็นไปได้มากที่สุด
1. แหล่งน้านั้นขาดออกซิเจน เนื่องจากกระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์โดยแบคทีเรียแอโรบิค

AM
2. แหล่งน้านั้นขาดออกซิเจน เนื่องจากกระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์โดยแบคทีเรียแอนแอโรบิค
3. แหล่งน้านั้นขาดออกซิเจน และมีค่า BOD ต่า
4. แหล่งน้านั้นขาดออกซิเจน และมีค่า COD ต่า
FEC
ข้อ 36 (PAT3 ก.ค. 53) ปัญหามลพิษทางอากาศ โดยส่วนมากประกอบด้วยแก๊สอะไรมากที่สุด
1. CO 2 , CO, NO 2 2. CO, CO 2 , SO 2 3. CO 2 , NO 2 , SO 2
4. CO, NO 2 , SO 2 5. HCl, NO 2 , SO 2
by
eak

ข้อ 37 ข้อใดถูกต้อง
ก. องค์ประกอบหลักในน้ามันเบนซิน คือ C6H6
lbr

ข. น้ามันเบนซินที่มีเลขออกเทนเป็น 0 ไม่มีสมบัติในการเผาไหม้
ค. น้ามันดีเซลที่มีเลขซีเทนเป็น 0 มีสมบัติในการเผาไหม้เช่นเดียวกับแอลฟาเมทิลแนฟทาลีน
ง. ไบโอดีเซล ผลิตได้จากน้ามันพืชหรือสัตว์โดยกระบวนการรีฟอร์มมิ่ง
Jai

จ. การใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิง ทาให้ได้แก๊สที่เป็นมลพิษทาให้เกิดฝนกรด คือ แก๊ส NO2 และ SO2


1. ก, ง และ จ เท่านั้น
2. ข, ค และ ง เท่านั้น
3. ก และ จ เท่านั้น
4. ข และ ง เท่านั้น
5. ค และ จ เท่านั้น

หน้า 138 เคมี


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 38 ในแก๊สธรรมชาตินั้น นอกจากจะพบสารประกอบไฮโดรคาร์บอนแล้วยังพบสารอื่นอีกด้วย อาทิเช่น


H2S, CO2 , โลหะหนัก และ H2O ซึ่งสิ่งเหล่านี้จาเป็นต้องถูกแยกออกจากแก๊สธรรมชาติก่อนจะถูกส่ง
เข้ากระบวนการต่อไป ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับการนาสารเหล่านี้ออกมา
1. การแยกโลหะหนักออกมา เป็นการป้องกันไอที่มีอุณหภูมิสูงของโลหะหนักไปทาลายอุปกรณ์
2. การแยกแก๊ส CO2 ออกมา เป็นการป้องกันการอุดตันของท่อส่งแก๊สธรรมชาติ
3. การแยกแก๊ส H2O ออกมา ทาได้โดยการใช้สารดูดซับที่มีรูพรุนสูง เช่น ซิลิกาเจล
4. การแยกแก๊ส H2S ออกมา เพื่อป้องกันแก๊ส H2S ปนเปื้อนในปิโตรเลียม ทาให้ได้ปิโตรเลียมที่ มี

PX
คุณภาพไม่ดี

AM
ข้อ 39 ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. ยางพาราเป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติ ประกอบด้วยมอนอเมอร์ไอโซพรีนที่เชื่อมต่อกันอยู่ เป็นสารที่มี
ความยืดหยุ่นสูง แต่เป็นฉนวนที่ไม่ดี แข็ง และเปราะที่อุณหภูมิต่ากว่าอุณหภูมิห้อง
FEC
ข. ไบโอดีเซล (Biodiesel) เป็นสารประเภทเอสเทอร์ (Ester) ผลิตจากกระบวนการเอสเทอริฟิเคชัน
ของน้ามันพืชหรือสัตว์ กับแอลกอฮอล์
ค. ปูนซีเมนต์ได้จากการบดยิปซัม ปูนเม็ด และสารเติมแต่งอื่น ๆ เข้าด้วยกัน โดยปูนเม็ดได้จากการ
by

เผาส่วนผสมต่าง ๆ ของแร่แคลไซต์ (CaCO3), silica (SiO2), อะลูมินา (Al2O3) และออกไซด์ของ


เหล็กในสัดส่วนที่เหมาะสม
ง. เซรามิกสามารถใช้เป็นวัสดุทนไฟ และวัสดุพื้นฐานของเตาถลุงหรือเตาหลอมโลหะ
eak

จ. การป้องกันการสึกกร่อนของโลหะโดยวิธีแคโทดิก ทาได้โดยนาโลหะที่ค่าต่างศักย์ไฟฟ้า (E0) สูง


กว่าวัสดุที่ต้องการป้องกัน ไปฝังไว้บริเวณใกล้เคียงหรือพันติดกัน
lbr

1. ข้อ ก, ข และ ค 2. ข้อ ก, ค และ ง 3. ข้อ ก, ง และ จ


4. ข้อ ข, ค และ ง 5. ข้อ ค, ง และ จ
Jai

ข้อ 40 ข้อใดต่อไปนี้สรุปผิด
1. แก๊สชีวภาพมีคุณสมบัติทางเชื้อเพลิงใกล้เคียงกับแก๊สธรรมชาติ
2. แก๊สธรรมชาติมีจุดเดือดต่ากว่าแก๊สหุงต้ม
3. แก๊สธรรมชาติไม่ใช่พลังงานหมุนเวียน
4. แก๊สชีวภาพผลิตจากน้ามันพืชโดยผ่านกระบวนการทรานส์เอสเทอริฟิเคชัน
5. เมทิลเอสเทอร์มีคุณสมบัติใกล้เคียงน้ามันดีเซล

เคมี หน้า 139


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 41 ในกระบวนการผลิตแก๊ สธรรมชาติ จะต้องกาจัดสารที่ไม่ใช่สารประกอบไฮโดรคาร์บอนออก ข้อใด


จับคู่สาเหตุของการแยกสารกับชื่อสารที่ต้องกาจัดออกได้ถูกต้อง
1. ไฮโดรเจนซัลไฟด์ – อุดตันท่อ
2. ปรอท – ทาให้ท่อผุกร่อน
3. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ – ลดอัตราการขยายตัวของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
4. คาร์บอนไดออกไซด์ – ทาให้สารประกอบไฮโดรคาร์บอนจับตัวกัน
5. ไอน้า – ทาปฏิกิริยากับสารประกอบไฮโดรคาร์บอน

PX
ข้อ 42 พิจารณาข้อความต่อไปนี้

AM
ก. หากขวดผลิตจาก PETE และผ่านการรีไซเคิลมาแล้ว 1 ครั้ง สามารถใช้สัญลักษณ์นี้แสดง
ข. เซลลูโลสถือเป็นพอลิเมอร์ชนิดหนึ่ง
ค. ในกระบวนการวัลคาไนเซชัน (vulcanization) ยางจะถูกเติมคาร์บอนเพื่อเพิ่มความทนทาน
FEC
ง. ยาง SBR (styrene-butadiene rubber) เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่ง มักใช้ทายางรถยนต์
จ. เส้นใยหิน (asbestos) เป็นเส้นใยที่ผลิตจากแร่ใยหิน ปัจจุบันถูกห้ามใช้ เนื่องจากเป็นพิษ
มีข้อใดบ้างที่กล่าว ถูกต้อง
by

1. ก และ ค 2. ข และ ง 3. ข และ จ


4. ก, ค และ จ 5. ข, ง และ จ
eak

ข้อ 43 หากนักเรียนเป็นวิศวกรสอบสวนกรณีไฟไหม้โกดังโรงงานแห่งหนึ่ง ซึ่งมีพลาสติกชนิดเดียวเก็บอยู่ จาก


การสอบสวนพบว่า ขณะเกิดเหตุมีเปลวไฟสีเหลืองขอบเขียวไหม้บนพลาสติก ควันขาว และนักเรียนได้
lbr

กลิ่นคล้ายกรดเกลือ นักเรียนคิดว่าโกดังนี้น่าจะเก็บพลาสติกชนิดใด
1. ไนลอน 2. เมลามีน 3. พอลิเอทิลีน
Jai

4. พอลิสไตรีน 5. พอลิไวนิลคลอไรด์

ข้อ 44 จากข้อ 43 หากโรงงานดังกล่าวไม่เก็บพลาสติกชนิดอื่นเลย นักเรียนคิดว่าโรงงานนี้น่าจะผลิตอะไร


1. ถุงพลาสติกในร้านค้า 2. จานชามพลาสติก 3. โฟมใส่อาหาร
4. ท่อน้าพลาสติก 5. แหจับปลา

หน้า 140 เคมี


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 45 นักเรียนได้ตรวจสอบตัวอย่างพลาสติก ซึ่งมีคุณสมบัติดังนี้


ก. พลาสติกตัวอย่างละลายในคาร์บอนเตตระฟลูออไรด์และโทลูอีน
ข. ไวไฟ โดยเมื่อเผาไฟแล้ว เปลวมีไฟสีเหลืองและมีเขม่ามาก
ค. มีกลิ่นเหมือนแก๊สจุดตะเกียง
ง. ใช้เวลาในการย่อยสลายนานมาก
นักเรียนคิดว่าพลาสติกนี้คือพลาสติกใด
1. พอลิเอทีลีน 2. กรดพอลิแลคติก 3. พอลิคาร์บอเนต

PX
4. พอลิสไตรีน 5. พอลิไวนิลคลอไรด์

AM
ข้อ 46 จากข้อ 45 พลาสติกดังกล่าวน่าจะใช้ผลิตอะไร
1. โฟมบรรจุภัณฑ์อาหาร 2. เต้าเสียบไฟฟ้า 3. ถุงน่องสตรี
4. สีทาบ้าน 5. แผ่นซีดี
FEC
ข้อ 47 (ENT 39) ข้อใดที่มีข้อมูลสอดคล้องตามลาดับหัวข้อต่อไปนี้
by

เส้นใยธรรมชาติ – เส้นใยสังเคราะห์ – ยางพารา – เทอร์โมพลาสติก


1. ขนแกะ – พอลิเอไมด์ – ยางพอลิบิวตะไดอีน – พอลิยูรีเทน
eak

2. ปอ – พอลิเอสเทอร์ – ยางพอลิไอโซพรีน – พอลิเอทีลีน


3. ใยใบสับปะรด – ไนลอน – ยางพอลิคลอโรพรีน – เมลามีน
4. เส้นใยไหม – เรยอน – ฟีนอลฟอร์มาดีไฮด์ – พอลิสไตรีน
lbr

ข้อ 48 (ENT 40) พอลิเมอร์ในข้อใด ที่ สองชนิดแรกเป็นเทอร์โมพลาสติก ใช้ทาอวัยวะเทียมในร่างกายได้


Jai

ส่วนพอลิเมอร์ชนิดที่ 3 เป็นเทอร์โมเซตพลาสติกที่ใช้ทั่วไป
1. พอลิไวนิลคลอไรด์ พอลิสไตรีน พอลิยูรีเทน
2. พอลิสไตรีน พอลิโพรพิลีน เมลามีน
3. พอลิยูรีเทน เมลามีน พอลิเอทีลีน
4. พอลิเอทีลีน พอลิโพรพิลีน ฟีนอลฟอร์มาดีไฮด์

เคมี หน้า 141


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 49 (ENT มี.ค. 44) ข้อความใดต่อไปนี้ ผิด


ก. พอลิเอทีลีนเป็นเทอร์โมเซตที่มีโมเลกุลเชื่อมโยงเป็นร่างแห ไม่สามารถนามาหลอมใหม่ได้
ข. ภาชนะเมลามีนสามารถนามารีไซเคิลหรือหลอมใช้ใหม่ได้ เพื่อลดมลภาวะ
ค. พลาสติก ที่ มี โ ครงสร้างโมเลกุ ล เป็ นโซ่ต รง จะอ่อ นตัวเมื่ อได้รับ ความร้อน และแข็ง ตัวเมื่ อลด
อุณหภูมิลง เรียกว่า เทอร์โมพลาสติก
ง. เทฟลอนที่ใช้เคลือบภาชนะหุงต้มเป็นเทอร์โมเซต เนื่องจากทนความร้อนดีมากและไม่หลอมเหลว
1. ก และ ข 2. ก, ข และ ง

PX
3. ก, ค และ ง 4. ก, ข, ค และ ง

AM
ข้อ 50 (O-NET 49) พลาสติกที่ ใช้ท ากล่องโฟมใส่อาหารและยางยืดรัดของจะมีส มบัติคล้ายกับพอลิ เมอร์
ชนิดใดตามลาดับ
FEC
พอลิเมอร์ ลักษณะทางกายภาพ สภาพการไหม้ไฟ การนามารีไซเคิล
A โปร่งใส เปราะ เขม่ามาก ควันมีกลิ่นคล้ายแก๊สจุดตะเกียง ได้
B ยืดหยุน่ เหนียว ควันขาว กลิ่นกรด ได้
by

C ยืดหยุน่ เหนียว เขม่ามาก ควันดา ไม่ได้


ติดไฟยาก ไม่หลอมเหลว แต่ไหม้เป็นเถ้า
D ทึบแสง แข็ง ไม่ได้
ทั้งหมด
eak

1. A และ C 2. B และ C
3. C และ B 4. D และ B
lbr

ข้อ 51 (O-NET 49) ข้อใดเป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติทั้งหมด


Jai

1. แป้ง เซลลูโลส พอลิสไตรีน


2. โปรตีน พอลิไอโซพรีน กรดนิวคลิอิก
3. ยางพารา พอลิเอทิลีน เทฟลอน
4. ไกลโคเจน ไขมัน ซิลิโคน

หน้า 142 เคมี


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 52 (O-NET 50) พลาสติกชนิดหนึ่งมีสมบัติดังนี้


ก. ประกอบด้วยมอนอเมอร์เพียงชนิดเดียว ข. เป็นเทอร์โมพลาสติก
ค. เมื่อไหม้ไฟจะเกิดควันสีขาว กลิ่นคล้ายกรดเกลือ ง. ใช้ทารองเท้า กระดาษติดผนัง
พลาสติกชนิดใดมีคุณสมบัติดังกล่าว
1. พอลิยูเรียฟอร์มาดีไฮด์ 2. พอลิสไตรีน
3. พอลิโพรพิลีน 4. พอลิไวนิลคลอไรด์

PX
ข้อ 53 (PAT3 ก.ค. 53) ตัวถังของรถยนต์ที่ทามาจากพลาสติกนั้น เป็นพลาสติกชนิดใด
1. พอลิเอสเทอร์ 2. พอลิเอทิลีน 3. พอลิโพรพิลีน
4. พอลิไวนิลคลอไรด์ 5. พอลิเอไมด์

AM
ข้อ 54 (PAT3 ต.ค. 53) ขยะจากพลาสติกเป็นปัญหาใหญ่ที่อาจก่อให้เกิดมลพิษของดินและน้าได้ หากมีการ
จัดการไม่ถูกวิธี นัก วิท ยาศาสตร์จึง คิดค้น วิธีการกาจัด พลาสติก ที่ใช้แล้วซึ่งมี หลายวิธี วิธีใดที่ ไม่ ใช่
FEC
วิธีการกาจัดพลาสติกที่ใช้แล้ว
1. การใช้แสงแดด 2. การใช้ความร้อน 3. การเปลี่ยนพลาสติกให้เป็นปุ๋ย
4. การนากลับมาใช้ใหม่ 5. การใช้ปฏิกิริยาเคมี
by

ข้อ 55 (PAT3 ต.ค. 53) ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติที่โดดเด่นของเส้นใยสังเคราะห์ (Synthetic Fiber)


ก. ไม่ยับง่าย
eak

ข. ทนต่อจุลินทรีย์ เชื้อรา และแบคทีเรีย


ค. เส้นใยทนแรงดึงได้มาก
ง. ไม่ดูดน้า น้าหนักเบา
lbr

จ. เป็นฉนวนที่ดีเช่นเดียวกับยางสังเคราะห์
1. ก และ ค 2. ข และ ง 3. ค และ จ
Jai

4. ง และ จ 5. ข และ ค

ข้อ 56 (PAT3 มี.ค. 54) พลาสติกชนิดใดต่อไปนี้ หากนาไปเผาแล้วจะทาให้สภาพแวดล้อมเป็นพิษมากที่สุด


1. พอลิเอทิลีน (PE) 2. พอลิโพรพิลีน (PP) 3. พอลิสไตรีน (PS)
4. พอลิไวนิลคลอไรด์ (PVC) 5. พอลิเอสเทอร์

เคมี หน้า 143


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 57 ระบบกาจัดมูลฝอยชุมชนส่วนใหญ่ นิยมใช้ระบบฝังกลบมูลฝอยแบบถูกหลักสุขาภิบาล ซึ่งจาเป็นต้อง


มีการปูพลาสติกรองพื้นเพื่อป้องกันไม่ให้น้าชะมูลฝอยไหลซึมลงสู่แหล่งน้าใต้ดิน ซึ่งพลาสติกดังกล่าว
มีความหนาแน่นสูง ค่อนข้างนิ่ม และมีความเหนียว ไม่แตกง่าย อยากทราบว่าควรใช้พลาสติกชนิดใด
1. PP 2. PET 3. LDPE
4. PS 5. HDPE

ข้อ 58 วัสดุที่มีโครงสร้างอะตอมคาร์บอนแบบทรงกลม เรียกว่า

PX
1. Nanorod 2. Filler Rod 3. Nanosheet
4. Buckyball 5. Nanoplate

AM
FEC
by
eak
lbr
Jai

หน้า 144 เคมี


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

โจทย์เสริมประสบการณ์ วิชา เคมี


ข้อ 1 (PAT3 มี.ค. 53) ในการเตรียมโซดาไฟ (NaOH) ในอุตสาหกรรมจะเตรียมโดยการทาปฏิกิริยาระหว่าง
ปูนขาว ( Ca(OH) 2 ) กั บ โซดาแอช ( Na2 CO 3 ) และนอกจากจะได้ โซดาไฟแล้ว ยัง จะได้ แคลเซีย ม
คาร์บอเนตเป็นผลพลอยได้ โดยมีสมการเคมีที่ยังไม่ได้ดุลสมการดังนี้
Na2 CO3  Ca(OH) 2  NaOH  CaCO3
กาหนดให้ น้าหนักของอะตอม Na = 23, C = 12, O = 16, Ca = 40, H = 1 จงหาว่าในการเตรียม

PX
โซดาไฟ ถ้าใช้โซดาแอช 26.5 กิโลกรัม จะได้โซดาไฟปริมาณกี่กิโลกรัม

AM
FEC
by

ข้อ 2 สารละลายชนิดหนึ่งประกอบด้วย C2H5OH 92 กรัม และน้า 144 กรัม จงคานวณหาความเข้มข้นใน


หน่วยต่อไปนี้ (C2H5OH มีความหนาแน่น 0.79 g/cm3 และน้ามีความหนาแน่น 1 g/cm3)
2.1) ร้อยละโดยมวล
eak
lbr

2.2) โมลาริตี
Jai

2.3) โมแลลลิตี

เคมี หน้า 145


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 3 ฟอสจีไนท์ (Phosgenite) เป็นสารประกอบของตะกั่วมีสูตรเป็น Pb2Cl2CO3 เป็นสารที่พบในเครื่อง


สาอางของชาวอียิปต์ เตรียมจากปฏิกิริยา
PbO  NaCl  H2 O  CO 2  Pb 2 Cl 2 CO 3  NaOH (ปฏิกิริยานี้มรี ้อยละผลที่ได้เป็น 80)
ในการเตรียม Pb2Cl2CO3 หนัก 21.8 กรัม ใช้ PbO 25 กรัม สารละลาย NaCl 0.2 M หาความดัน
ของแก๊ ส CO2 ที่ ใช้ (หน่วย atm) ถ้าใช้แก๊ สนี้ป ริม าตร 300 cm3 ที่ อุณหภูมิ 27 C และแก๊ส CO2
เป็นสารก าหนดปริม าณ (มวลอะตอมของ H = 1, C = 12, O = 16, Na = 23, Cl = 35.5, Pb =
207 และ R = 0.082 L  atm  mol-1  K-1 )

PX
1. 1.64
2. 3.28

AM
3. 4.10
4. 8.20 FEC
by

ข้อ 4 (PAT3 มี . ค. 52) การบ าบั ด น้ าเสี ย ที่ มี Ca(HCO3)2 1,620 ppm และ Mg(HCO3)2 1,460 ppm
ปริมาตร 100 ลิตร ควรใช้ปูนขาวกี่กรัม (Ca = 40, H = 1, C = 12, O = 16, Mg = 24)
eak

สาหรับ Carbonate hardness ใช้ปูนขาว (Lime, Ca(OH)2) ดังสมการ 1-2


Ca(HCO 3 ) 2  Ca(OH) 2  2CaCO 3  2H2 O …(1)
Mg(HCO 3 ) 2  Ca(OH) 2  MgCO 3  CaCO 3  2H2 O …(2)
lbr

MgCO3 ไม่ตกตะกอนจะเกิดปฏิกิริยากับปูนขาวต่อไป ดังสมการ 3


MgCO 3  Ca(OH) 2  CaCO 3  Mg(OH) 2 …(3)
Jai

1. ใช้ปูนขาว 74 กรัม
2. ใช้ปูนขาว 148 กรัม
3. ใช้ปูนขาว 222 กรัม
4. ใช้ปูนขาว 296 กรัม

หน้า 146 เคมี


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 5 (PAT3 ก.ค. 53) ในการเตรียมกรดเกลือ (HCl) 1 โมล ปริมาตร 0.5 ลิตร ในห้องปฏิบัติการ โดยการ
ทาปฏิกิริยาระหว่างกรดซัลฟูริก (H2SO4) และโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) นั้น ถ้าความหนาแน่นของกรด
เกลือมีค่า 1.20 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร
กาหนดให้ H2 SO 4  NaCl  HCl  Na2 SO 4
(น้าหนักอะตอม H = 1, O = 16, Na = 23, S = 32, Cl = 35.5)

5.1) จงหาปริมาณโดยน้าหนักของกรดซัลฟูริก (กรัม) ที่ใช้ในการเตรียมกรดเกลือ


5.2) จงหาปริมาณโดยน้าหนักของโซเดียมคลอไรด์ (กรัม) ที่ใช้ในการเตรียมกรดเกลือ

PX
AM
FEC
by
eak

ข้อ 6 นาหินอ่อ นก้ อ นหนึ่งมวล 30 กรัม มาท าปฏิกิ ริยากับ สารละลาย HCl 5 M (โมลาร์) ปริม าตร 100
ลูกบาศก์เซนติเมตร จน CaCO3 ในหินอ่อนหมดพอดี จงหาว่าหินอ่อนก้ อนนี้มี CaCO3 อยู่ร้อยละ
lbr

เท่าใดโดยมวล (กาหนดให้ มวลอะตอมของ Ca = 40, C = 12, O = 16)


1. 5 2. 25 3. 33.33
Jai

4. 50 5. 83.33

เคมี หน้า 147


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 7 (แนวข้อสอบ PAT3) สารละลาย A ปริมาตร 40 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีความเข้มข้น 98% โดยมวล มี


ความหนาแน่น 0.2 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร และสาร A มีมวลโมเลกุล 98 กรัมต่อโมล หากต้อง
เตรียมสารละลาย A ที่มีความเข้มข้น 0.16 โมลต่อลิตร จะต้องเติมน้ากลั่นจนสารละลายมีปริมาตร
รวมกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร

PX
AM
ข้อ 8 สารละลายกรดฟอสฟอริก (H3PO4) ปริมาตร 35 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีความเข้มข้นร้อยละ 40 โดย
มวล มีความหนาแน่น 0.21 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร หากเติมน้ากลั่นจนสารละลายกรดฟอสฟอริก
FEC
มีปริมาตรเป็น 525 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะได้สารละลายกรดมีความเข้มข้นกี่โมลต่อลิตร (กาหนด
มวลอะตอม H = 1, P = 31 และ O = 16)
by
eak
lbr

ข้อ 9 สารตัวอย่างมี BaCl2 • 2H2O และ KCl เป็นองค์ป ระกอบ เมื่ อเผาสารตัวอย่างนี้มวล 5.00 กรัม ที่
160 C เป็นเวลา 1 ชั่วโมง จะเกิดการสูญเสียน้าอย่างสมบูรณ์ และพบว่ามีมวลคงเหลือ 4.64 กรัม
Jai

สารตัวอย่างนี้มี KCl ร้อยละโดยมวลเป็นเท่าใด (มวลอะตอม K = 39, Ba = 137, Cl = 35.5)


1. 9.6
2. 24.5
3. 48.8
4. 51.2
5. 58.4

หน้า 148 เคมี


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 10 เมื่ อ น า NaOH 0.1 mol/dm3 จ านวน 500 cm3 และสารละลาย NaOH 0.2 mol/dm3 จ านวน
750 cm3 มาผสมกัน แล้วเติมน้าอีก 350 cm3 แบ่งสารละลายใหม่ออกมา 25 cm3 แล้วระเหยให้น้า
ออกไปจนหมด จะเหลือ NaOH อยู่กี่กรัม (Na = 23, O = 16, H = 1)

PX
AM
ข้อ 11 นาเกลือ ZSO4 • nH2O หนัก 5 กรัม (ZSO4 = 165.25 g/mol) มาละลายน้าจนหมด จากนั้นเติม
FEC
BaCl2 ลงไปมากเกินพอ จะเกิดตะกอน BaSO4 หนัก 4 กรัม ค่า n มีค่าเท่าใด
(Ba = 137, S = 32, O = 16, H = 1, Cl = 35.5)
by
eak
lbr

ข้อ 12 (PAT2 ต.ค. 52) ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย Zn2+ เข้มข้น 0.4 โมลาร์ โดยเตรียมจากการละลาย
โลหะสังกะสี 13 กรัม ด้วยสารละลายกรด HCl ต้องใช้โลหะสังกะสีละลาย HCl ที่มีความเข้มข้นและ
Jai

ปริมาตรตามข้อใด
1. 0.4 โมลาร์ และ 500 มิลลิลิตร
2. 0.8 โมลาร์ และ 1,000 มิลลิลิตร
3. 1.2 โมลาร์ และ 500 มิลลิลิตร
4. ไม่มีข้อถูก

เคมี หน้า 149


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 13 ในปฏิกิริยาการเผาไหม้ของไพไรต์ (FeS2) จะทาให้เกิดแก๊ส SO2 และ Iron (III) oxide ถ้าโรงงานแห่ง
หนึ่งเผาถ่านหินหนัก 1.5 กิ โลกรัม เมื่อถ่านหินสลายตัวหมดจะได้แก๊ส SO2 ปริมาตร 112 dm3 ที่
STP ถ่านหินนี้มีไพไรต์อยู่ร้อยละเท่าใดโดยมวล (Fe = 56, S = 32, O = 16)

PX
ข้อ 14 น าทองเหลื อ งซึ่ง เป็ น สารประกอบระหว่า ง Cu กั บ Zn 15 กรัม มาท าปฏิ กิ ริ ย ากั บ HNO3 3.0

AM
mol/dm3 ถ้าต้องใช้ HNO3 303 cm3 จงหาร้อยละโดยมวลของ Cu และ Zn ในทองเหลือง
(Cu = 63.5, Zn = 65) FEC
by

ข้อ 15 (PAT2 มี.ค. 54) พิจารณาปฏิกิริยาระหว่าง ฟอสฟอรัสกับแก๊สคลอรีน


eak

P4  Cl 2(g)  D (g)  E(g)


สารผลิตภัณฑ์ทั้ง 2 ชนิดอยู่ในสถานะแก๊สที่ภาวะของการทาปฏิกิริยา หลังจากเกิดปฏิกิริยาสมบูรณ์
ทาการค่อย ๆ ลดอุณหภูมิลง พบว่าผลิตภัณฑ์ E ควบแน่นออกมาก่อน มีน้าหนัก 4.17 กรัม หลังจาก
lbr

นั้นผลิตภัณฑ์ D ควบแน่นออกมามีน้าหนัก 8.25 กรัม ผู้ทาการทดลองลดอุณหภูมิจนถึง 100 C


พบว่าได้ของเหลวอีกชนิดหนึ่งมีน้าหนัก 6.00 มิลลิกรัม ในการทาปฏิกิริยานี้ใช้ P4 กี่กรัม
Jai

หน้า 150 เคมี


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 16 พิจารณาปฏิกิริยา A  2B  3C จากการทดลองเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสาร A และ B เพื่อ


หาค่าอัตราการเกิดปฏิกิริยา พบว่าได้ข้อมูลดังตาราง จงหาอันดับรวมของปฏิกิริยา
[A] (mol/dm3) [B] (mol/dm3) Rate (mol min/dm3)
1.00 x 10-4 2.00 x 10-4 2.00 x 10-7
3.00 x 10-4 2.00 x 10-4 1.80 x 10-6
5.00 x 10-4 2.00 x 10-4 5.00 x 10-6
1.00 x 10-4 4.00 x 10-4 4.00 x 10-7

PX
1.00 x 10-4 6.00 x 10-4 6.00 x 10-7

AM
FEC
by

ข้อ 17 ถ้าท่านเป็นวิศวกรควบคุมกระบวนการผลิตกรดซัลฟิวริกในแผนกวิจัยพัฒนา ท่านมีวิธีการใดในการ


eak

เพิ่มผลผลิตในการผลิตกรดซัลฟิวริกโดยเสียเวลาน้อยที่สุด กาหนดให้ใช้วัตถุดิบเท่าเดิม
ปฏิกิริยาข้างล่างนี้เป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตกรดซัลฟิวริก
S  O 2(g)  SO 2(g) H  298.3 kJ (1) เกิดที่เตาเผา
lbr

1
SO 2(g)  O 2(g) SO 3(g) H  98.3 kJ (2) เกิดที่คอนเวอร์เตอร์
2
SO 3(g)  H2 O (l )  H2 SO 4(l ) H  130.4 kJ
Jai

(3) เกิดที่หอดูดซึม

1. ใช้กรดซัลฟิวริกดูดความชื้นออกจากอากาศเพื่อให้เกิดซัลเฟอร์ไดออกไซด์ที่เตาเผาอย่างสมบูรณ์
2. ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาในการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันของซัลเฟอร์ไดออกไซด์
3. นาของผสมที่ได้ระหว่างการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันของซัลเฟอร์ไดออกไซด์ไปลดอุณหภูมิ
4. เพิ่มหอดูดซึมซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ให้มากขึ้น

เคมี หน้า 151


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 18 กาหนดปฏิกิริยา A  2B  2C
การทดลองที่ [A] (mol/dm3) [B] (mol/dm3) Rate (mol min/dm3)
1 0.10 0.10 2.0 x 10-3
2 0.15 0.30 2.7 x 10-2
3 0.10 0.20 8.0 x 10-3

จากตาราง จงหากฎอัตราเร็ว

PX
AM
FEC
ข้อ 19 การศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2A (aq)  B (aq) พบว่าการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสาร A
เป็นฟังก์ชันของเวลา (t) ในหน่วยวินาที ดังสมการ [A]  4  t อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ วินาที
ที่ 4 มีค่าเท่าใด
by
eak
lbr

ข้อ 20 จงพิจารณาปฏิกริ ิยาต่อไปนี้


ก. CO(g) + 3H2(g) CH4(g) + H2O(g) (เพิ่ม CH4)
ข. N2(g) + 3H2(g) 2NH3(g) (ดึง NH3 ออก)
Jai

ค. H2(g) + F2(g) 2HF(g) (เพิ่ม F2)


ง. N2(g) + 2O2(g) 2NO2(g) (ดึง O2)
จ. BaO(s) + SO3(g) BaSO4(s) (เพิ่ม BaO)
การเพิม่ ปัจจัยตามที่กาหนดให้ ปฏิกริ ิยาใดดาเนินไปทางขวา
1. ก, ข และ จ 2. ก และ ง 3. ค และ ง
4. ข, ค และ จ 5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง

หน้า 152 เคมี


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 21 (PAT3 มี.ค. 53) สารเพิ่มค่าออกเทนและช่วยลดมลภาวะทางอากาศในน้ามันเบนซินชนิดไร้สารตะกั่ว


ชนิดออกเทน 95 ที่ขายตามท้องตลาดคือสารใด
1.  - Methyl Napthalene
2. Methyl Tertiary Butyl Ether
3. 3 – Methylcyclopentane
4. Polyethylene
5. Polybutadiene

PX
ข้อ 22 การใช้เชื้อเพลิงในข้อใด มีการปล่อยมลภาวะสู่สิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด
1. ถ่านหินลิกไนต์

AM
2. น้ามันดีเซลบริสุทธิ์
3. ไบโอดีเซล B-100
4. แก๊สโซฮอล์
FEC
5. ดีโซฮอล์

ข้อ 23 ข้อใดต่อไปนี้เป็นสารอันตรายที่สาคัญที่สามารถเกิดจากกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้า
by

แม่เมาะ ซึ่งเป็นโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนที่ใช้ถ่านลิกไนต์เป็นเชื้อเพลิง
1. แก๊สแอมโมเนีย
2. แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์
eak

3. แก๊สมีเทน
4. แก๊สไฮโดรเจนไซยาไนด์
5. แก๊สคลอรีน
lbr
Jai

เคมี หน้า 153


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

PX
AM
FEC

คณิตศาสตร์
by
eak
lbr
Jai

หน้า 154 คณิตศาสตร์


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

คณิตศาสตร์
แคลคูลัส
d n d
- อนุพันธ์: สูตรอนุพันธ์พื้นฐาน x  n  x n1 c  0 เมื่อ c เป็นค่าคงตัว
dx dx
สูตรอนุพันธ์ของฟังก์ชันอดิศัย
d d
sin  x   cos  x  cos  x    sin  x 

PX
dx dx
d 1 d x x
ln  x   e e
dx x dx
dy dy du
 f  g  x     f  g  x    g x 

AM
กฎลูกโซ่  
dx du dx
- ความชันของเส้นสัมผัส: ความชันเส้นสัมผัสกราฟของฟังก์ชัน f ที่จุด x  a มีค่าเท่ากับ f   a 
FEC
x n1
- อินทิกรัล: สูตรอินทิกรัลพื้นฐาน  x dx 
n
 C เมื่อ n  1
n 1
สูตรอินทิกรัลของฟังก์ชันอดิศัย
 sin x  dx   cos  x   C  cos  x  dx  sin x   C
by

1
การเปลี่ยนตัวแปร (อาศัยกฎลูกโซ่)  f  x  dx   f  x   du du
eak

dx
พื้นที่ปิดล้อมระหว่างเส้นโค้ง f และ g ในช่วง  a,b  เมื่อ f  x   g  x 
b

มีค่าเท่ากับ   f  x   g  x  dx
lbr

ลอการิทึม
Jai

- คุณสมบัติของลอการิทึม: x  ay 
 y  loga x เมื่อ a   0,1  1,  
m
logbn am   logb a
n
loga  xy   loga  x   loga  y 
x
loga    loga  x   log a  y 
y
log a
logb a  c alogc b  blogc a
log c b

คณิตศาสตร์ หน้า 155


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

เวกเตอร์
- เวกเตอร์แบบเชิงขั้ว: a   acos   ˆi   asin   ˆj เมื่อ a  0

กราฟพาราโบลา
สมการ y  a  x  h   k เมื่อ a  0 มีจุดยอดอยู่ที่  h,k 
2
- จุดยอดของพาราโบลา:
ถ้า a  0 จะได้กราฟพาราโบลาหงาย จุดยอด คือ จุดต่่าสุด
a  0 จะได้กราฟพาราโบลาคว่่า จุดยอด คือ จุดสูงสุด

PX
ลาดับและอนุกรม
- ผลบวก n พจน์แรก: Sn  a1  a2  a3   an Sn  Sn1  an

AM
n n
n n
- สูตรของ  : i 1
i   n  1
2
i 1
i2   n  1 2n  1
6
n 2
 n 
 i   n  1
FEC
3

i 1
 2 
- ลาดับและอนุกรมเลขคณิต: d  an  an1 an  a1   n  1 d
n n
Sn   a1  an    2a1   n  1 d 
by

2 2
- ลาดับและอนุกรมเรขาคณิต: r  an / an1 an  a1  r n1
a1  r n  1
Sn 
eak

r 1
a
- อนุกรมเรขาคณิตอนันต์: S  lim Sn  1 เมื่อ r  1
n 1r
lbr

ความน่าจะเป็น
nE n n!
Jai

- ความน่าจะเป็น: PE  , P  E   1  P  E  ,   
n S   r  r!  n  r  !
สถิติ
- ค่าทางสถิติพื้นฐาน: ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Mean: x ) 
x i

N
ฐานนิยม (Mode)  ข้อมูลที่มีความถี่สูงสุด
มัธยฐาน (Median)  x  N1/2 ส่าหรับข้อมูลที่ไม่เป็นอันตรภาคชั้น
 x N/2 ส่าหรับข้อมูลที่เป็นอันตรภาคชั้น

หน้า 156 คณิตศาสตร์


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

 xi  x 
2
 x i2
- การวัดการกระจายของข้อมูล: S.D.   x2
N N
xi  x
ความแปรปรวน   S.D. 2 ค่ามาตรฐาน Z 
S.D.

แนวข้อสอบ PAT3 วิชา คณิตศาสตร์

PX
x2 x3 x4
ข้อ 1 ถ้า f '  x   e  1  x     ... จงหาค่าของ f  x 
x

2! 3! 4!
1. f  x   e x
2. f  x   e x  1 3. f  x   e x  1

AM
x2 x3 x4
4. f  x   1  x     ... 5. ไม่มีข้อใดถูก
2! 3! 4!
FEC
by

ข้อ 2 ก่าหนดให้ y  x 2  x จงหาอนุพันธ์ของ y 2 เทียบ x ที่จุด x  2


2
eak

1. 0 2. 1 3. 2
4. 3 5. 4
lbr
Jai

คณิตศาสตร์ หน้า 157


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 3 ก่าหนดให้ m1 และ m2 เป็นความชันของกราฟสมการ 2x 2  5xy  3y 2  0 ณ จุด P 1,2 


และ Q  3, 1 ตามล่าดับ แล้ว 3  m1  m2  มีค่าเท่าไร
1. 5 2. 4 3. 3
4. 2 5. 1

PX
AM
b x 1
 dx  4 จงหาค่าของ 1  b  b
2
ข้อ 4 ก่าหนดให้ b  1 และ
1 x x
FEC
by
eak
lbr

1 
ข้อ 5 ก่าหนดให้ f  x   3x  x   f  x  dx   4 จงหาค่า f  0   f '  0 
2

0 
Jai

หน้า 158 คณิตศาสตร์


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 6 (PAT3 ต.ค. 53) เสียงระฆังที่ หอนาฬิก าจะตีบ อกเวลาทุก ๆ ชั่วโมง เมื่อเวลา 9 โมงเช้า (ระฆังตี 9
ครั้ง) หากจับเวลาหลังจากได้ยินเสียงระฆังครั้งแรกจนกระทั่งสิน้ เสียงระฆังครั้งสุดท้ายได้เวลา 9 วินาที
อยากทราบว่าที่เวลา 5 โมงเย็น (ระฆังตี 17 ครั้ง) ระยะเวลาตั้งแต่ได้ยินเสียงระฆังครั้งแรก จนกระทั่ง
สิ้นเสียงระฆังครั้งสุดท้าย คิดเป็นเวลากี่วินาที

PX
AM
ข้อ 7 การจัดวางไพ่ ให้เป็นรูปพี ร ะมิ ดหนึ่งชั้นท่ าได้โดยการอิงไพ่ส องแผ่นเข้าด้วยกั น ส่าหรับ การวางไพ่
FEC
พีระมิดให้สูงกว่าหนึ่งชั้นขึ้นไปจ่าเป็นต้องมี ไพ่วางราบเป็นฐานเชื่อมยอดของพีร ะมิ ดชั้นล่างก่ อน
จากนั้นจึงสามารถวางไพ่ให้สูงขึ้นไปได้ ยกตัวอย่างเช่น พีระมิดสองชั้นใช้ไ พ่ 7 ใบ ในการจัดวางและ
พีระมิดสามชั้นใช้ไพ่ 15 ใบ ในการจัดวาง ดังรูป
by
eak

จงหาว่าไพ่ 4 ส่ารับ (204 ใบ) จะสามารถวางซ้อนให้เป็นพีระมิดไพ่ได้สูงสุดกี่ชั้น


lbr
Jai

คณิตศาสตร์ หน้า 159


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 8 พื้นที่ผิวของปริซึมทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากรูปหนึ่งมีค่าเป็น 64 ตารางหน่วย และผลบวกของความกว้าง


ความยาว และความสูงของปริซึมนี้เป็น 10 หน่วย จงหาความยาวของเส้นทแยงมุ มที่ยาวที่สุดของ
ปริซึมนี้
1. 5 2. 6 3. 7
4. 8 5. 9

PX
AM
FEC
by

ข้อ 9 จงหาปริมาตรของพีระมิดฐาน 6 เหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า ที่มีสันยาว 25 หน่วย สูง 24 หน่วย


eak
lbr
Jai

หน้า 160 คณิตศาสตร์


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 10 จงหาค่าของ 2.3456 ในรูปเศษส่วน


23,433
1.
9,900
23,433
2.
9,990
23,433
3.
9,999

PX
23,226
4.
9,900
23,226
5.

AM
9,990

ข้อ 11 (PAT3 มี . ค. 54) ถ้ า ผลรวมของ 1  2  3  ...  n มี ค่ า เท่ า กั บ K 2 โดยที่ จ่ า นวนเต็ ม


3 3 3 3
FEC
10  K  16 แล้ว จงค่านวณหาผลรวมของค่า K ทั้งหมดที่เป็นไปได้
by
eak

ข้อ 12 นิสิตคนหนึ่งต้องการเก็บเงินไว้ในกระปุกออมสิน โดยเดือนแรกเก็บเงิน 200 บาท เดือนต่อ ๆ ไปเก็บ


เพิ่มอีก 10 บาท, 10 + 20 บาท, 10 + 20 + 30 บาท, … ไปเรื่อย ๆ กล่าวคือ เดือนที่สองเก็บเงินอีก
lbr

210 บาท เดือนที่สามเก็บเงินอีก 230 บาท เดือนที่สี่เก็บเงินอีก 260 บาท เป็นต้น เมื่อครบ 20 เดือน
นิสิตดังกล่าวจะมีเงินเก็บเท่าไร
Jai

คณิตศาสตร์ หน้า 161


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 13 ถ้า  a  4  ,  a  1 , b, 5a เป็นเลข 4 จ่านวน ซึ่ง 3 จ่านวนแรกเรียงกันเป็นล่าดับเลขคณิต และ


3 จ่านวนหลังเรียงกันเป็นล่าดับเรขาคณิต ค่า a และ b คือเท่าไร
1. a  4 และ b  10
2. a  2.5 และ b  8.5
3. a  2.25 และ b  3.75
4. ข้อ 1 และ 3 ถูก
5. ไม่มีข้อใดถูก

PX
AM
ข้อ 14 ก่าหนดให้ x1 , x 2 , ..., x10 มี ค่าเป็น 5, 6, a, 7, 10, 15, 5, 10, 10, 9 ตามล่าดับ โดยที่ a  15 ถ้า
FEC
10

 x  b 
2
พิสัยของข้อมูลชุดนี้เป็น 12, b เป็นจ่านวนจริงที่ท่าให้ i มีค่าน้อยที่สุดและ c เป็น
i 1
10

 x  c มีค่าน้อยที่สุด จงหาค่าของ a + b + c
by

จ่านวนจริงที่ท่าให้ i
i 1
1. 19 2. 20 3. 21
4. 22 5. 23
eak
lbr
Jai

หน้า 162 คณิตศาสตร์


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 15 ในการสอบครั้งหนึ่ง มี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ ากั บ 3.5 มี ผลรวมค่าทุ ก ค่าในข้อมู ลเท่ ากั บ 450
คะแนน และมีผลรวมของก่าลังสองของค่ามาตรฐานของข้อมูลทุกค่าเท่ากับ 15 ถ้านาย A สอบได้ 37
คะแนน จงหาค่ามาตรฐานของนาย A

PX
AM
1
ข้อ 16 ก่าหนดให้ 2f  x   3f    x 2 เมื่อ x  0 จงหาค่าของ 4f  2 
x FEC
1. -3 2. -5 3. -7
4. -9 5. -11
by
eak
lbr

x
ข้อ 17 ถ้า f 1  x   และ  fog   x  2   3x  6 แล้ว g  2  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
x 2
Jai

1. 1 2. 1.5 3. 2
4. 2.5 5. 3

คณิตศาสตร์ หน้า 163


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559


ข้อ 18 ก่าหนดให้ A   x, y   R  R | y  2016  x 2  และ
 
B   x,y   R  R  | x  y  2559 จงหาโดเมนของ A และเรนจ์ของ B

PX
AM
ข้อ 19 นักพยาธิวิทยาท่าการเพาะเซลล์ชนิดหนึ่ง เริ่มต้นมีเซลล์ทั้งหมด 4,000,000 เซลล์ พบว่าทุก ๆ 3 นาที
FEC
เซลล์จะตายไปร้อยละ 50 ของจ่านวนที่มีอยู่ จงหาว่าที่เวลาในข้อใดที่จะมีจ่านวนเซลล์ต่ากว่า 4,000
เซลล์ เป็นครั้งแรก (ก่าหนดให้ log2  0.301 และ log3  0.477 )
1. 10 นาที
2. 15 นาที
by

3. 20 นาที
4. 25 นาที
eak

5. 30 นาที
lbr

2x 1
ข้อ 20 หาผลบวกของค่าตอบของสมการ 8  3  2  5  2  12  0
x x

1. log2 3
Jai

2. log2 4
3. log2 6
4. log2 8
5. log2 12

หน้า 164 คณิตศาสตร์


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 21 (PAT3 มี .ค. 54) คณะวิศวกรรมศาสตร์จัดงานเลี้ยงต้อนรับ ทีม นักศึกษาจากประเทศฝรั่งเศส การ


ทักทายกันในงานเลี้ยงคือการ ‘ลาบิส’ (La bise) ตามวัฒนธรรมฝรั่งเศส ซึ่งคือการน่าแก้มมาแนบกัน
โดยในการท่าลาบิสแต่ละครั้งจะน่าแก้มมาแนบกัน 3 ครั้ง เช่น ซ้าย – ขวา – ซ้าย ก่าหนดให้แขกแต่
ละคู่จะท่าลาบิสกันเพียง 1 ครั้งเท่านั้น และแขกแต่ล ะคนต้องท่าลาบิสกับ แขกคนอื่นในงานทุกคน
หากนับจ่านวนการแนบแก้มกันในงานเลี้ยงครั้งนี้ได้ 108 ครั้ง จงหาว่ามีแขกในงานเลี้ยงกี่คน
1. 9 2. 10 3. 12
4. 15 5. 18

PX
AM
FEC
by

ข้อ 22 (PAT3 ธ.ค. 54) นักกีฬาบาสเกตบอลคนหนึ่งโยนลูกโทษแต่ละครั้งมีโอกาสที่ลูกบาสเกตบอลจะลง


eak

ห่วงเป็น 0.6 ถ้านักกีฬาได้โยนลูกโทษ 3 ครั้ง โอกาสที่ลูกบาสเกตบอลจะลงห่วงอย่างน้อย 2 ครั้ง คิด


เป็นกี่เปอร์เซ็นต์
lbr
Jai

คณิตศาสตร์ หน้า 165


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 23 (PAT3 มี.ค. 54) บริษัทแห่งหนึ่งมีพนักงานทั้งหมด 35 คน โดยเป็นหัวหน้าแผนกทั้งหมด 5 คน บริษัท


ต้องการจัดงานเลี้ยงพนักงานโดยการเชิญคนในบริษัทมาร่วมงานเลี้ยงจ่านวน 10 คน ถามว่าโอกาสที่
หัวหน้าแผนกจะถูกเชิญมาครบทั้งห้าคนเป็นเท่าไร
5!35! 10!30! 5!
1. 2. 3.
10!30! 5!35! 30!
5! 30!
4. 5.
10! 5!

PX
AM
FEC
by

ข้อ 24 ก่าหนดให้ A เป็นเมตริกซ์มิติ 3  3


eak

โดยที่ det  A   0 และ det  Aadj  A    2  det  A    3  det  A    0


2

จงหาค่าของ det  adj  A  


lbr
Jai

หน้า 166 คณิตศาสตร์


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 25 ให้ A, B, C เป็นเวกเตอร์ซึ่ง A  3, B  2, C  1 และ ถ้า A  B  4C  0

จงหาค่าของ A  B  B  C  C  A

PX
AM
FEC
by

ข้อ 26 จงหาค่าของ 5cis  80   2cis  20 


2

1. 38 2. 39 3. 40
eak

4. 41 5. 42
lbr
Jai

คณิตศาสตร์ หน้า 167


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

โจทย์เสริมประสบการณ์ วิชา คณิตศาสตร์


x2  1
4

ข้อ 1 จงหาค่าของ 3  dx
1
x x  x
1. 4 2. 8 3. 12
4. 16 5. 20

PX
AM
FEC
ข้อ 2 จงหาพื้นที่ของอาณาบริเวณที่อยู่ระหว่างเส้นโค้ง y  x 3  4x และแกน x
เมื่อ x อยู่ในช่วง  2,1
1. 4.75 2. 5.75 3. 6.75
by

4. 7.75 5. 8.75
eak
lbr

ข้อ 3 ลูกบอลทรงกลมสูบลมเข้าไปด้วยอัตรา 16 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อวินาที เมื่อลูกบอลมีขนาดรัศมี


เป็น 4 เซนติเมตร จะมีอัตราการเพิ่มขึ้นของรัศมีเป็นกี่เซนติเมตรต่อวินาที
Jai

1. 0.75 2. 0.5 3. 0.375


4. 0.25 5. 0.125

หน้า 168 คณิตศาสตร์


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 4 จงหาค่าสูงสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน f  x   x 3  3x 2  9x  1 บนช่วง  1,2 


1. 6 2. 8 3. 10
4. 12 5. 14

PX
AM
ข้อ 5 ก่าหนดให้ f  x    3x 2  5x  g  x  ถ้า g เป็นฟังก์ชันพหุนาม ซึ่งมีค่าสูงสุดสัมพัทธ์เป็น 5 ที่จุด
FEC
x  1 แล้วจงหาค่า f ' 1
by
eak
lbr

ข้อ 6 กบตัวหนึ่งตกลงไปในหน้าผาซึ่งสูง 10 เมตร แต่ละวัน ในตอนกลางวันกบตัวนี้จะกระโดดไต่หน้าผา


Jai

ขึ้นมาได้ 4 เมตร และในตอนกลางคืนมันจะไถลลงหน้าผาไป 3 เมตร ถ้านับวันที่กบเริ่มไต่หน้าผาเป็น


วันแรก กบตัวนี้ปีนขึ้นมาพ้นหน้าผาในวันที่เท่าไร

คณิตศาสตร์ หน้า 169


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 7 น่าไม้ขีดไฟมาเรียงกันเป็นตารางสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 2 x 2 ตารางหน่วย ต้องใช้ไม้ขีดไฟจ่านวน 12


ก้าน ดังรูป

PX
หากต้องการเรียงไม้ขีดไฟให้เป็นตารางสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 15 x 15 ตารางหน่วย ต้องใช้ไม้ขีดไฟกี่

AM
ก้าน
FEC
by
eak

ข้อ 8 (PAT3 มี.ค. 54) เวลาที่เครื่องจักรแต่ละเครื่องผลิตชิ้นงานจ่านวน 120 ชิ้น เป็นดังนี้


เครื่องจักรเอใช้เวลาผลิต 12 ชั่วโมง
lbr

เครื่องจักรบีใช้เวลาผลิต 4 ชั่วโมง
เครื่องจักรซีใช้เวลาผลิต 6 ชั่วโมง
จงหาจ่านวนชั่วโมงในการผลิตด้วยเครื่องจักรสามเครื่องพร้อมกันเพื่อผลิตชิ้นงานทั้งหมด 240 ชิ้น
Jai

1. 1 ชั่วโมง 2. 2 ชั่วโมง 3. 4 ชั่วโมง


4. 6 ชั่วโมง 5. 8 ชั่วโมง

หน้า 170 คณิตศาสตร์


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 9 (PAT3 ต.ค. 53) สวนสัตว์เลี้ยงลิงประหลาดชนิดหนึ่ง ซึ่งเปลี่ยนสีเมื่อโดนจับหาง โดยล่าดับของสีที่


เปลี่ยนไปเรียงล่าดับจาก สีด่า – สีน้่าตาล – สีเทา – สีด่า (เช่น ลิงที่มีสีด่า ถ้าโดนจับหาง 1 ครั้งจะ
เปลี่ยนเป็นสีน้่าตาล และถ้าลิงตัวเดิมโดนจับหางอีกครั้งจะเปลี่ยนเป็นสีเทา) นอกจากนี้ลิงแต่ละสีกิน
อาหารแตกต่างกันด้วย คือ
ลิงสีด่ากินกล้วย 1 หวีต่อมื้อ
ลิงสีน้่าตาลกินส้ม 1 ผลต่อมื้อ
ลิงสีเทากินมะละกอ 1 ผลต่อมื้อ

PX
ถ้าวันนี้สวนสัตว์เตรียมอาหารมื้อเที่ยงส่าหรับลิงทั้ง 30 ตัว เป็นกล้วย 7 หวี, ส้ม 10 ผล และมะละกอ
13 ผล แต่ขณะที่ ก่ าลังจะให้อ าหารพบว่า มี ลิงสีด่า 13 ตัว, ลิงสีเทา 9 ตัว และลิงสีน้่าตาล 8 ตัว
อยากทราบว่าถ้าสวนสัตว์ต้องการให้ลิงทั้งหมดกินอาหารตามที่ได้จัดเตรียมไว้ ผู้ดูแลจะต้องจับหางลิง

AM
ทั้งหมดรวมกันอย่างน้อยที่สุดกี่ครั้ง (ลิงแต่ละตัวจะโดนจับหางได้ไม่เกิน 3 ครั้ง)
1. 6 2. 8 3. 10
4. 11 5. 12
FEC
by
eak
lbr
Jai

ข้อ 10 มีขวดใบหนึ่งและเชื้อแบคทีเรียที่สามารถเพิ่มจ่านวนเป็นสองเท่าในทุก ๆ 1 นาที ถ้าแบคทีเรียจ่านวน


1 ตัว สามารถเพิ่ มจ่านวนให้เต็มขวดใบนี้ได้ภายในเวลา 500 นาที ถ้าต้องการแบคที เรียจ่านวน 2
ขวด โดยในตอนเริ่มต้นมีแบคทีเรียอยู่ 1 ตัว จะต้องใช้เวลากี่นาที

คณิตศาสตร์ หน้า 171


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 11 (PAT3 ต.ค. 53) บริษัทแห่งหนึ่งมีพนักงานจ่านวน 8 คน ซึ่งมีรายละเอียดของเพศดังนี้


A มีเพศเดียวกับ E และ F
C มีเพศเดียวกับ D และ G
B มีเพศตรงข้ามกับ D และ H
F มีเพศตรงข้ามกับ G
และมีรายละเอียดหน้าที่การท่างานดังนี้
C เป็นผู้จัดการ

PX
A, B, E, F, G เป็นวิศวกร
D เป็นประชาสัมพันธ์ และ H เป็นแม่บ้าน
ข้อใดเป็นจริง

AM
1. ผู้จัดการบริษัทเป็นเพศชาย
2. บริษัทมีวิศวกรเพศชาย 3 คน
3. วิศวกรทั้งหมดเป็นเพศชาย
FEC
4. ประชาสัมพันธ์เป็นเพศชาย
5. พนักงานที่มีเพศชายมีจ่านวนเท่ากับพนักงานที่มีเพศหญิง
by

ข้อ 12 พื้นที่รูปหกเหลี่ยมด้านเท่าที่มีความยาวด้านเท่ากับ 4 เซนติเมตร มีค่าเท่ากับกี่ตารางเซนติเมตร


eak

1. 18 3
lbr

2. 24 3
3. 60
Jai

4. 30 3
5. 36 3

หน้า 172 คณิตศาสตร์


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 13 ก่าหนดให้รูปหกเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่าแนบในวงกลมรัศมี 1 หน่วย จงหาผลบวกก่าลังสองของความ


ยาวของเส้นทแยงมุมทั้งหมดที่ไม่ผ่านศูนย์กลางของวงกลม
1. 12 2. 18 3. 20
4. 36 5. ไม่มีข้อถูก

PX
AM
ข้อ 14 ชาวนามีลวดยาว 400 เมตร ต้องการกั้นรั้วล้อมรอบที่ดินรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า โดยมีด้านหนึ่งติดแม่น้่าจึง
FEC
ไม่ต้องท่ารั้วกั้น ชาวนาจะสามารถกั้นรั้วล้อมที่ดินได้พื้นที่มากที่สุดเท่าใด
1. 20,000 ตารางเมตร
2. 30,000 ตารางเมตร
by

3. 40,000 ตารางเมตร
4. 60,000 ตารางเมตร
eak

5. 80,000 ตารางเมตร
lbr

ข้อ 15 จงหาว่าจ่านวนในล่าดับถัดไปของล่าดับ 1, 27, 125, 343, … คือค่าใด


Jai

1. 729 2. 512 3. 673


4. 952 5. 575

คณิตศาสตร์ หน้า 173


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 16 (PAT 3 เม.ย. 57) นักเรียนเตรียมท่องศัพท์ภาษาอังกฤษ โดยตั้งเป้าหมายไว้ว่าจะท่องศัพท์ให้ได้ถึง


2,000 ค่า ก่อนถึงวันสอบ นักเรียนเริ่มต้นด้วยการท่องศัพท์วันแรกจ่านวน 10 ค่า และจะเพิ่มจ่านวน
ค่าศัพท์ที่ท่องวันต่อไปทุกวัน วันละอีก 3 ค่า กล่าวคือ
วันที่หนึ่ง ท่องศัพท์ 10 ค่า
วันที่สอง ท่องศัพท์ 10 + 3 = 13 ค่า
วันที่สาม ท่องศัพท์ 13 + 3 = 16 ค่า
ไปเช่นนี้เรื่อย ๆ จนถึงวันสอบ ถามว่านักเรียนจะต้องเริ่มท่องศัพท์ก่อนถึงวันสอบกี่วัน

PX
1. 30 วัน 2. 31 วัน 3. 32 วัน
4. 33 วัน 5. 34 วัน

AM
FEC
ข้อ 17 ลูกบอลถูกปล่อยลงสู่พื้นจากความสูง 1 เมตร ส่งผลให้ลูกบอลกระดอนขึ้นลง ถ้าทุกครั้งที่ลูกบอลตก
กระทบพื้นจะกระดอนกลับด้วยระยะทางเป็นครึ่งหนึ่งของความสูงที่ตกลงมาเสมอ จงหาค่าระยะทาง
by

ทั้งหมดที่ลูกบอลเคลื่อนที่ ณ จังหวะที่ลูกบอลกระทบพื้นครั้งที่ 10 จากความสูงตั้งต้น


1. 3.000 เมตร 2. 2.996 เมตร 3. 2.000 เมตร
4. 1.996 เมตร 5. 1.500 เมตร
eak
lbr

1  3  5  ...   2n  1 52
ข้อ 18 (PAT3 ต.ค. 53) ก่าหนดให้  จงค่านวณหาค่า n ที่สอดคล้องกับ
Jai

3  6  9  ...  3n 81
สมการ
1. 5 2. 12 3. 17
4. 26 5. 31

หน้า 174 คณิตศาสตร์


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

1 1 1 1 1 1 1 1
ข้อ 19 (PAT3 มี.ค. 54) จงค่านวณหาค่า 1          ...
3 5 7 15 20 49 75 80
1. 35/180 2. 103/180 3. 173/180
4. 237/180 5. 289/180

PX
AM
ข้อ 20 ผลบวกของสามพจน์แรกในล่าดับเรขาคณิต มีค่าเป็น –3 และผลคูณของสามพจน์นั้นมีค่าเท่ากับ 8
จงหาผลรวมของอัตราส่วนร่วมของเลขชุดนี้ที่เป็นไปได้ทั้งหมด
FEC
by

ข้อ 21 นักเรียนห้องหนึ่งสอบวิชาคณิตศาสตร์ได้คะแนนซึ่งมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเป็น 40 คะแนน ถ้านักเรียน


eak

ชายสอบได้คะแนนเฉลี่ยเลขคณิตเป็น 35 คะแนน และนักเรียนหญิงสอบได้คะแนนเฉลี่ยเลขคณิตเป็น


50 คะแนน จงหาอัตราส่วนของนักเรียนชายต่อนักเรียนหญิง
lbr
Jai

ข้อ 22 ถ้า 2, 5, 8, 10, 12, 15, 18 เป็นข้อมูลของกลุ่มตัวอย่าง จงหาความแปรปรวนของข้อมูล

คณิตศาสตร์ หน้า 175


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 23 คะแนนสอบของนัก เรียน 500 คนกลุ่ม หนึ่ง มี ก ารแจกแจงปกติ โดยมี ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตและส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐานคือ 60 และ 6 คะแนนตามล่าดับ จงหาจ่านวนนักเรียนที่ได้มากกว่า 51 คะแนนแต่
น้อยกว่า 66 คะแนน
z 0.5 1 1.5 2.0
A 0.191 0.341 0.433 0.477

PX
AM
ข้อ 24 ให้ x และ y เป็นจ่านวนจริงที่สอดคล้องกับสมการ
3  2 2  x  x   10  4 6  y  y   0 จงหาผลต่างของ x และ y
FEC
1. 1 2. 3 3. 5
4. 7 5. 9
by
eak
lbr

ข้อ 25 ก่าหนดให้ f  x   3x  5 และ g  x   2x  1


ถ้า a เป็นจ่านวนจริงที่ท่าให้ g 1  f 1  a    4 จงหาค่า a
Jai

1. 20 2. 21 3. 22
4. 23 5. 24

หน้า 176 คณิตศาสตร์


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

1
ข้อ 26 ก่าหนดให้ f  x    x  3  2  x  และ g  x   ถ้า Z  x   f  x  g  x 
3x
จงหาโดเมนของ Z
1.  3,2  2.  3,2  3.  ,2 
4.  ,2  5. 

PX
( 2x ) 2
ข้อ 27 จงพิจารณาว่า ฟังก์ชัน y  1  e ตัวเลือกใดถูกต้องมากที่สุด

AM
ก. กราฟสมมาตรกับแกน x ข. กราฟสมมาตรกับแกน y ค. y  0
ง. y  0 จ. ตัดกับเส้นตรง y  0
FEC
1. ก. และ ข.
2. ก. และ ค.
by

3. ก. และ จ.
4. ข. และ ง.
eak

5. ข. และ จ.
lbr

ข้อ 28 ถ้าอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจ่าปีร้อยละ 2 ต่อปีคงที่ และมีเงินฝากเริ่มต้น 2 ล้านบาท จะต้องใช้


เวลานานกี่ปี จึงจะมีเงินฝากสะสมถึง 4 ล้านบาท โดยให้คิดแบบดอกเบี้ยทบเงินต้น
Jai

(ก่าหนดให้ log2  0.301 , log102  2.009 )

คณิตศาสตร์ หน้า 177


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 29 การคัดเลือกคณะกรรมการชมรมดนตรีไทยของโรงเรียนแห่งหนึ่ง ต้องการประธานฝ่ายหญิง 1 คน


ประธานฝ่ายชาย 1 คน รองประธานฝ่ายหญิง 1 คน และรองประธานฝ่ายชาย 1 คน จากผู้สมัครชาย
3 คน และหญิง 6 คน จะมีวิธีการเลือกคณะกรรมการได้กี่วิธี
1. 726 2. 180 3. 24
4. 18 5. 9

PX
ข้อ 30 โรงงานผลิตเครื่องคิดเลขแห่งหนึ่ง ท่าการส่ารวจสินค้าเครื่องคิดเลขจ่านวน 500 เครื่อง พบว่า

AM
หน้าจอแสดงผลช่ารุด 50 เครื่อง
ปุ่มกดช่ารุด 40 เครื่อง
ตัวเครื่องมีรอยแตกร้าวอย่างเดียว 25 เครื่อง
FEC
ปุ่มกดช่ารุดอย่างเดียว 20 เครื่อง
ปุ่มกดและหน้าจอแสดงผลช่ารุด 3 เครื่อง
ตัวเครื่องมีรอยแตกร้าวและหน้าจอแสดงผลช่ารุด 2 เครื่อง
by

ปุ่มกด หน้าจอแสดงผลและตัวเครื่องมีรอยแตกร้าว 1 เครื่อง


จงหาความน่าจะเป็นที่โรงงานนี้จะผลิตเครื่องคิดเลขที่มีคุณภาพไม่มีรอยต่าหนิพร้อมใช้งานได้
1. 0.576 2. 0.677 3. 0.776
eak

4. 0.876 5. 0.877
lbr
Jai

ข้อ 31 (PAT3 ต.ค. 53) หนังสือเรื่องสามก๊กมี 4,000 หน้า สมชายอ่านหนังสือตั้งแต่หน้า 2 – 98 และ 103 –
299 และ 705 – 781 และ 2,099 – 3,022 ถามว่า สมชายอ่านไปทั้งหมดกี่หน้า

หน้า 178 คณิตศาสตร์


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 32 กระป๋องใบหนึ่งมีเหรียญอยู่ 3 แบบ แบบที่ 1 มี 4 เหรียญ เป็นหัวทั้ง 2 ด้าน แบบที่ 2 มี 5 เหรียญ


เป็นก้อยทั้ง 2 ด้าน และแบบที่ 3 มี 3 เหรียญ เป็นเหรียญปกติมีหน้าหัวและหน้าก้อยอย่างละด้าน
และโอกาสขึ้นหน้าหัวและหน้าก้อยเท่ากัน ถ้าสุ่มหยิบ เหรียญจากกระป๋องใบนี้ 1 เหรียญ แล้วโยน
เหรียญนั้น จงหาความน่าจะเป็นที่ออกหน้าก้อย
3 1 5
1. 2. 3.
12 12 12
13 23
4. 5.

PX
24 24

AM
FEC
ข้อ 33 ความน่าจะเป็นของการยังคงมีชีวิตอยู่ในอีก 20 ปีข้างหน้า ของคน 3 คน ซึ่งไม่ขึ้นต่อกัน คือ 0.4, 0.3
และ 0.2 ตามล่าดับ จงหาความน่าจะเป็นที่ในอีก 20 ปีข้างหน้า มีอย่างน้อยหนึ่งคนจากสามคนนี้ยังมี
by

ชีวิตอยู่ (ให้ตอบเป็นเปอร์เซ็นต์)
eak
lbr

2 1 x 5


ข้อ 34 ให้ A  
Jai

3 
, B  y , C  7  และ AB  C จงหา x  y
1    

คณิตศาสตร์ หน้า 179


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

1 2 1
ข้อ 35 จงหาค่า x ที่ท่าให้ A   2 x 2  เป็นเมตริกซ์เอกฐาน
 
 1 2 1 
1. 4 2. 2 3. 1
4. 0 5. ไม่มีค่า x ที่สอดคล้องกับโจทย์

PX
AM
ข้อ 36 ให้ x, y, z เป็นค่าตอบของระบบสมการ FEC
a11 x  a12 y  a13 z  2
a21 x  a22 y  a23 z  1
a31 x  a32 y  a33 z  0
by

 a11 a12 a13 1 0 0  1 0 0 1 1 1 


   

eak

ถ้า a21 a22 a23 0 1 0   0 1 0 0 2 1 


a31 a32 a33 0 0 1  0 0 1 2 3 0 

จงหาค่า x  y  z
lbr
Jai

หน้า 180 คณิตศาสตร์


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 37 ให้ A เป็นเมทริกซ์มิติ 3  3 ซึ่ง det  A   2 จงหาค่า 2det  A 1  adj  A  

1. 3 2. 9 3. 27
4. 81 5. 243

PX
AM
ข้อ 38 ชายผู้หนึ่งอยู่บ นถนน มองเห็นยอดตึกเป็นมุม เงย 30 องศา แต่เมื่ อเขาเดินตรงเข้าไปหาตึกอีก 30
FEC
เมตร เขาจะเห็นยอดตึกเป็นมุมเงย 45 องศา จงหาความสูงของตึก
by
eak

ข้อ 39 ก่าหนดให้ u  2 i  j  k และ v  i  j  2k ถ้า 6   u  v   a u  v จงหาค่า a


lbr

8 8
1. 2. 3. 11
11 11
4. 1 5. ไม่มีข้อใดถูก
Jai

คณิตศาสตร์ หน้า 181


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 40 ถ้า  u  v    u  v   2i  4j  5k แล้วจงหาค่าของ 3u  3v


15 15 25
1. 2. 3.
4 2 3
35 45
4. 5.
4 2

PX
AM
FEC
ข้อ 41 ถ้า u  v  5 2 และ u  v  26 จงหาค่าของ u  v
by
eak
lbr
Jai

หน้า 182 คณิตศาสตร์


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

PX
ความถนัด FEC
AM
by

ทางวิศวกรรม
eak
lbr
Jai

ความถนัดทางวิศวกรรม หน้า 183


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

แนวข้อสอบ PAT3 วิชา ความถนัดทางวิศวกรรม


ข้อ 1 ภาพฉายต่อไปนี้คือภาพฉายของวัตถุใด

1. 2.

PX
AM
FEC 3. 4.

ข้อ 2 ภาพฉายต่อไปนี้คือภาพฉายของวัตถุใด
by

1. 2.
eak
lbr

3. 4.
Jai

หน้า 184 ความถนัดทางวิศวกรรม


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 3 ภาพฉายต่อไปนี้คือภาพฉายของวัตถุใด

PX
1. 2.

AM
FEC
3. 4. 5.

ข้อ 4 รูปวัตถุใด ไม่สอดคล้องกับภาพฉายทีก่ าหนด


by
eak
lbr

1. 2. 3.
Jai

4. 5.

ความถนัดทางวิศวกรรม หน้า 185


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 5 รูปวัตถุใดสามารถสวมรูปวัตถุนี้ได้พอดี

PX
1. 2.

AM
FEC
3. 4. 5.
by

ข้อ 6 รูปวัตถุใดสามารถสวมรูปวัตถุนี้ได้พอดี
eak
lbr

1. 2.
Jai

3. 4. 5.

หน้า 186 ความถนัดทางวิศวกรรม


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 7 จากภาพฉายของวัตถุหนึ่งที่กาหนดให้ ข้อใดคือภาพฉายด้านบน

1. 2. 3.

PX
AM
4. 5.
FEC
ข้อ 8 จากรูป ถ้าวัตถุถูกตัดตามแนวเส้น AA จะเห็นภาพด้านหน้าเป็นไปตามข้อใด
(กาหนดให้ส่วนที่ถูกแรเงาคือส่วนที่ถูกตัด)
by
eak
lbr

1. 2.
Jai

A A

3. 4.

ความถนัดทางวิศวกรรม หน้า 187


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 9 (PAT3 ก.ค. 53) จากการมองวัตถุทรงลูกบาศก์ โดยมี ทิ ศการมองตามลูกศร ถ้าเห็นด้านหน้าและ


ด้านบนดังรูป ภาพด้านข้างจะเป็นไปตามข้อใด
ด้านบน

ด้านหน้า

PX
AM
ด้านข้าง ด้านหน้า
FEC ด้านบน
by

1. 2. 3. 4.
eak

ข้อ 10 ถ้าต้องการเขียนแบบวัตถุซึ่งมีรปู ร่างเป็นแผ่นแบน ยาว 300 มม. หนา 5 มม. โดยใช้สเกลย่อ4เท่า


เลขบอกขนาดที่ปรากฏในแบบและข้อความทีบ่ อกสเกลข้อใดถูกต้อง
lbr

1.
Jai

2.

3
.

4.

หน้า 188 ความถนัดทางวิศวกรรม


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 11 ข้อใดคือผลงานที่ได้รับรางวัล Nobel 2015 ในสาขาฟิสิกส์ ที่จัดขึ้นช่วงเดือนตุลาคม ปี 2558


1. การค้นพบว่า “นิวตริโน” เป็นอนุภาคที่มีมวล
2. นวัตกรรมไดโอดเปล่งแสงสีน้าเงิน
3. เทคโนโลยีจอ OLED ที่สามารถโค้งงอได้
4. ทฤษฎี “กลไกการให้มวลของฮิกซ์”
5. แนวคิด “เอกภพพองตัวตลอดกาล”

PX
ข้อ 12 มีคนอยู่สองคน คือ นาย A และนาย B โดยในสองคนนี้ คนหนึ่งพูดความจริงเสมอ อีกคนหนึ่งจะพูด
โกหกเสมอ และมีคนที่เป็นบ้าอยู่ 1 คน โดยคนบ้าจะพูดในสิ่งที่ไม่ตรงกับความจริง

AM
นาย A พูดว่า “ผมเป็นคนพูดโกหกเสมอ”
นาย B พูดว่า “ผมเป็นคนพูดความจริงเสมอ”
นาย A ชี้ไปที่นาย B แล้วบอกว่า “เขาเป็นคนบ้า”
FEC
นาย B ชี้ไปที่นาย A แล้วบอกว่า “เขาเป็นคนพูดโกหกเสมอ”
ข้อใดถูกต้อง
1. นาย A พูดความจริงเสมอและเป็นบ้า นาย B พูดโกหกเสมอและไม่เป็นบ้า
by

2. นาย A พูดโกหกเสมอและเป็นบ้า นาย B ความจริงเสมอและไม่เป็นบ้า


3. นาย A พูดความจริงเสมอและไม่เป็นบ้า นาย B พูดโกหกเสมอและเป็นบ้า
4. นาย A พูดโกหกเสมอและไม่เป็นบ้า นาย B ความจริงเสมอและเป็นบ้า
eak

5. มีข้อที่ถูกต้องมากกว่า 1 ข้อ
lbr

ข้อ 13 ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับใบ กว.


ก. ย่อมาจาก “ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมในประเทศไทย”
Jai

ข. วิศวกรรมคอมพิวเตอร์และวิศวกรรมอุตสาหการไม่จาเป็นต้องใช้ใบ กว.
1. ถูกต้องทั้งสองข้อ
2. ข้อ ก. ถูกต้อง ข้อ ข. ผิด
3. ข้อ ก. ผิด ข้อ ข. ถูกต้อง
4. ผิดทั้งสองข้อ

ความถนัดทางวิศวกรรม หน้า 189


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 14 ข้อใดแสดงผลได้ถูกต้องตามค่าที่ป้อนเข้าไปในโปรแกรม โดยเรียงลาดับเริ่มจากค่าที่ป้อน 3 ค่า ตาม


ด้วยค่าที่โปรแกรมแสดงผลออกมา (โปรแกรมจะทาเรียงทีละคาสั่งจากบนลงล่าง)

คาอธิบาย
: การรับข้ อมูล

: การเลือก/ตัดสินใจ
: การทางาน

PX
: การแสดงผล

AM
FEC
by
eak
lbr
Jai

1. A = 5, B = 3, C = 2 ผลลัพธ์ที่ได้ 9
2. A = 1, B = 4, C = 6 ผลลัพธ์ที่ได้ 26
3. A = 7, B = 8, C = 4 ผลลัพธ์ที่ได้ 20
4. A = 3, B = 1, C = 2 ผลลัพธ์ที่ได้ 11
5. A = 1, B = 2, C = 3 ผลลัพธ์ที่ได้ 27

หน้า 190 ความถนัดทางวิศวกรรม


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 15 ข้อใดจับคู่น้ามันกับสีของน้ามันได้ไม่ถูกต้อง
1. E-20 - สีส้ม
2. E-10 ออกเทน 91 - เขียว
3. E-10 ออกเทน 95 - ส้ม
4. E-85 - สีน้าเงิน
5. ดีเซล B-5 - สีแดง

PX
ข้อ 16 จากรูปด้านล่าง เลขทีห่ ายไปคือเลขในข้อใด

AM
1 3 2 4 6 9 5 8
6 8 6 4 FEC 7 3 7 ?

1. 4 2. 5 3. 6
4. 8 5. 9
by

ข้อ 17 ในงานช่างทั่วไป ประแจมิล เบอร์ 16 มีความหมายตรงกับข้อใด


1. เป็นประแจขันน็อต ที่หัวน็อตมีรัศมี 16 มิลลิเมตร
eak

2. เป็นประแจขันน็อต ที่หัวน็อตมีความกว้าง 16 มิลลิเมตร


3. เป็นประแจขันน็อต ที่เกลียวน็อตมีรัศมี 16 มิลลิเมตร
4. เป็นประแจขันน็อต ที่เกลียวน็อตมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 16 มิลลิเมตร
lbr

5. เป็นประแจขันน็อต ที่หัวน็อตสูง 16 มิลลิเมตร

ข้อ 18 มีเชือกยาว 500 เมตร ต้องการตัดแบ่งครึ่งจนได้เชือกเป็นจานวนมากที่สุด แต่มีข้อแม้ว่าเชือกทุกเส้น


Jai

ต้องมีความยาวมากกว่า 1 เมตร โดยสามารถตัดได้ทีละหนึ่งเส้น จะต้องตัดเชือกทั้งหมดกี่ครั้ง


1. 128 ครั้ง
2. 255 ครั้ง
3. 256 ครั้ง
4. 511 ครั้ง
5. 512 ครั้ง

ความถนัดทางวิศวกรรม หน้า 191


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 19 ข้อใดต่อไปนี้ที่ไม่ใช่การลดมลพิษจากขยะด้วยหลัก 5R
1. วัน ลดการใช้แก้วน้าพลาสติก โดยการใช้กระติกน้าส่วนตัว
2. วินเทอร์ นากระดาษที่ใช้แล้ว 1 หน้า มาใช้หน้าหลังเป็นกระดาษทดเลข
3. สไมล์ เข้าร่วมโครงการปลูกป่าลดมลพิษ
4. งาม ปฏิเสธการใช้กล่องโฟมใส่อาหาร
5. เกม เย็บถุงผ้าที่ขาดแล้ว แทนที่จะไปซื้อถุงผ้าใบใหม่

PX
ข้อ 20 มอก. หรือ มาตรฐานผลิตภัณ ฑ์ อุ ตสาหกรรม เป็นข้อ ก าหนดทางวิชาการที่ ส านัก งานมาตรฐาน

AM
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมได้กาหนดขึ้นเพื่อเป็นแนวทางแก่ผู้ผลิตในการผลิตสินค้าให้มีคุณภาพในระดับ
ที่เหมาะสมกับการใช้งานมากที่สุด โดยจะแบ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นมาตรฐานไม่บังคับและผลิตภัณฑ์ที่
มีกฎหมายกาหนดให้ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน ข้อใดไม่เป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นมาตรฐาน
FEC
1. กระเบื้องซีเมนต์ใยหินแผ่นลอน
2. หลอดไฟฟ้า
3. ปูนยิปซัมสาหรับการก่อสร้าง
by

4. ลวดตาข่ายเคลือบสังกะสี
5. อะลูมิเนียมแผ่นหนาและแผ่นบาง
eak

ข้อ 21 หากระบบปรับ อากาศในอาคารไม่ ค่อยเย็น และทางผู้บริห ารมี โครงการจะขยายพื้นที่ป รับ อากาศ


lbr

เพิ่มเติม จึงจาเป็นต้องมี การวิเคราะห์และออกแบบระบบ ในกรณีนี้ควรเลือกใช้บริการจากวิศ วกร


สาขาใดจึงจะตรงกับความสามารถมากที่สุด
Jai

1. วิศวกรโยธา
2. วิศวกรเครื่องกล
3. วิศวกรไฟฟ้า
4. วิศวกรสิ่งแวดล้อม
5. วิศวกรพลังงาน

หน้า 192 ความถนัดทางวิศวกรรม


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 22 ในปัจจุบันเทคโนโลยีมี ความก้าวหน้าขึ้นอย่างมาก โดยมีก ารให้บริการ “Cloud” ซึ่งมีความหมาย


ในทางเทคโนโลยีตรงกับข้อใด
1. การส่งข้อมูลอย่างรวดเร็ว
2. การติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์ก
3. การที่สามารถดูแผนที่โลกได้คล้ายกับมองจากบนฟ้า
4. การที่อุปกรณ์เทคโนโลยีต่าง ๆ มีน้าหนักเบา
5. การฝากข้อมูลไว้กับผู้บริการบนอินเทอร์เน็ต

PX
ข้อ 23 ข้อใดต่อไปนี้กล่าวผิด
1. หน้าจอแบบ OLED จะแสดงผลความต่างของสีได้ชัดกว่าหน้าจอแบบ LED

AM
2. หลอดไดโอดนอกจากจะมีสเี ขียว เหลือง แดง แล้วยังมีสอี ื่น เช่น สีฟ้า อีกด้วย
3. FOLED คือ เทคโนโลยีของหน้าจอ OLED ที่สามารถโค้งงอได้
4. จอ LCD มีของเหลวหลายชั้นอยู่ภายในจอ โดยเป็นตัวกรองแสงสีต่าง ๆ
FEC
5. จอ 3 มิติในสมัยอดีตใช้สีน้าเงินและสีแดงในการแยกการมองเห็นของเลนส์แว่นในแต่ละตา

ข้อ 24 หากบริเวณโรงงานหนึ่ง มีฝุ่นจากการผลิตเกินค่ามาตรฐาน วิธีใดที่ไม่สามารถลดความเข้มข้นของฝุ่น


by

หรือป้องกันอันตรายที่เกิดจากฝุ่นได้
1. ให้คนงานสวมหน้ากากเพื่อป้องกันฝุ่น
2. ติดตั้งระบบกาจัดฝุ่น
eak

3. ปิดล้อมบริเวณทีเ่ กิดฝุ่นจากการผลิต
4. ใช้น้าพ่นเป็นฝอยในอากาศเพือ่ ดักจับฝุ่น
5. ปรับกระบวนการทาความสะอาดชิ้นงานโดยใช้ลมเป่าแทนการใช้น้า
lbr

ข้อ 25 มอเตอร์อุตสาหกรรมตัวหนึ่ง หากท างานตามข้อสันนิษฐานต่าง ๆ ต่อไปนี้ ข้อใดน่าจะถูกต้องและ


Jai

สอดคล้องกับหลักความปลอดภัยมากที่สุด
1. หากมอเตอร์ยังไม่ไหม้ เซอร์กิตเบรกเกอร์ไม่ตัด น่าจะถือว่าทางานปกติ
2. หากตรวจสอบมอเตอร์แล้วไม่มีปัญหาใด สามารถใช้ได้จนถึงอายุการใช้งาน
3. หากมอเตอร์ยังไม่ไหม้ ผิวสายไฟอุณหภูมิสูงผิดปกติ ควรทาให้สายไฟเย็นลงด้วยน้า
4. หากมอเตอร์ยังไม่ไหม้ ควรตรวจสอบว่ามีก ลิ่นไหม้ห รือไม่ หากไม่ มีก ลิ่นไหม้ถือว่ายัง สามารถ
เพิ่มกาลังขับได้อีก
5. หากมอเตอร์และสายไฟยังไม่ไหม้ น่าจะถือว่าเบรกเกอร์ยังไม่ตัด แสดงว่ามอเตอร์ทางานเป็นปกติ

ความถนัดทางวิศวกรรม หน้า 193


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

เฉลยคำตอบ แนวข้อสอบ PAT3 วิชำกลศำสตร์


การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
ข้อ 1 72 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ข้อ 6 60 เมตร ข้อ 11 1.
ข้อ 2 3. ข้อ 7 5 เมตร ข้อ 12 3.
ข้อ 3 25 เมตรต่อวินาที ข้อ 8 2.21 เมตร ข้อ 13 4.
ข้อ 4 18 เมตรต่อวินาที ข้อ 9 4. ข้อ 14 4 เท่าของมวลเดิม

PX
ข้อ 5 34.29 เมตร ข้อ 10 2.

กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน

AM
ข้อ 1 4. ข้อ 5 83.33 นิวตัน ข้อ 9 1.
ข้อ 2 20 เมตรต่อวินาที ข้อ 6 2,400 นิวตัน ข้อ 10.16 m/s2
ข้อ 3 1. ข้อ 7 1. ข้อ 10.218.75 m/s2
FEC
ข้อ 4 1. ข้อ 8 4.

สมดุลกล
by

ข้อ 1 8 3 นิวตัน ข้อ 2 3. ข้อ 3 1.

งานและพลังงาน
eak

ข้อ 1 2. ข้อ 5 3. ข้อ 9 1.


ข้อ 2 1. ข้อ 6 1. ข้อ 10 1.
lbr

ข้อ 3 2. ข้อ 7 9 เท่า ข้อ 11 3.

ข้อ 4 ข้อ 8 4.
Jai

โมเมนตัม
ข้อ 1 เมตรต่อวินาที ข้อ 4 12.5 วินาที ข้อ 7 vA=8m/s,vB=6 m/s
ข้อ 2 3. ข้อ 5 3mv2 ข้อ 8 4.
ข้อ 3 arctan 1.5  ข้อ 6 1.

หน้า 194 เฉลยคาตอบ


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

เฉลยคำตอบโจทย์เสริมประสบกำรณ์ วิชำ กลศำสตร์


ข้อ 1 4.8 เมตร ข้อ 12 6 เมตรต่อวินาที2 ข้อ 22.2 8.49 นิวตัน
ข้อ 2 4 นิวตัน ข้อ 13 5 กิโลกรัม ข้อ 22.3 13.42 นิวตัน
M  md g
ข้อ 3 ข้อ 14 2. ข้อ 23 mg( μl+h )
m 2h

ข้อ 4 0.5 ข้อ 15 4. ข้อ 24

PX
ข้อ 5 3. ข้อ 16 ไม่มีคาตอบ (14.5 N) ข้อ 25

AM
ข้อ 6 4. ข้อ 17 4. ข้อ 26 1.4 m/s
4gh
ข้อ 7 ข้อ 18 6,270 N, 7,970 N ข้อ 27
3
FEC
ข้อ 8 4. ข้อ 19 308.30 นิวตัน ข้อ 28 16 เมตร
ข้อ 9 7.5 กิโลกรัม ข้อ 20 4. ข้อ 29 1600 N/m
 1 1 
ข้อ 21 arctan     '  
by

ข้อ 10 4,875 วัตต์


 2  
ข้อ 11 7.5 เมตรต่อวินาที2 ข้อ 22.1 6 นิวตัน ข้อ 30 3 : 4
eak

เฉลยคำตอบ แนวข้อสอบ PAT3 วิชำไฟฟ้ำ


ไฟฟ้าสถิต
lbr

ข้อ 1 2. ข้อ 3 200 นิวตัน ข้อ 5 0.84 นิวตัน


E มีทิศไปทางขวา
Jai

ข้อ 2 1. 2. 3. ข้อ 4 8.75 จูล ข้อ 6 5 โวลต์

ไฟฟ้ากระแสตรง
ข้อ 1 8 โอห์ม ข้อ 4 4 แอมแปร์, 0 แอมแปร์, 2 แอมแปร์
ข้อ 2 4 โวลต์ ข้อ 5 10 โวลต์
ข้อ 3 2 แอมแปร์ ข้อ 6 3 แอมแปร์, 15 โวลต์

เฉลยคาตอบ หน้า 195


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ไฟฟ้ากระแสสลับ
ข้อ 1 4. ข้อ 3 5. ข้อ 5 5.
ข้อ 2 2. ข้อ 4 1. ข้อ 6 58.4 Hz

แม่เหล็กไฟฟ้า
ข้อ 1 4. ข้อ 6 4. ข้อ 11 3.
ข้อ 2 3. ข้อ 7 1. ข้อ 12 3.

PX
ข้อ 3 1. ข้อ 8 5. ข้อ 13 2.
ข้อ 4 4. ข้อ 9 3.
ข้อ 5 1. ข้อ 10 4.

AM
เฉลยคำตอบ โจทย์เสริมประสบกำรณ์ วิชำ ไฟฟ้ำ
FEC
ไฟฟ้าสถิต
ข้อ 1 4. ข้อ 5 4. ข้อ 9 2.
ข้อ 2 1. ข้อ 6 4. ข้อ 10 0.5, 2, 3, 1.5 F
by

ข้อ 3 2. ข้อ 7 3. ข้อ 11 2 มิลลิจลู


ข้อ 4 1. ข้อ 8 2.
eak

ไฟฟ้ากระแสตรง
ข้อ 1 1. ข้อ 4 2. ข้อ 7 2.
ข้อ 2 3. ข้อ 5 3. ข้อ 8 2.
lbr

ข้อ 3 1  3 โอห์ม ข้อ 6 5.


Jai

ไฟฟ้ากระแสสลับ
ข้อ 1 1. ข้อ 3 3.15 มิลลิแอมแปร์ ข้อ 5 5.
ข้อ 2 2. ข้อ 4 3.

แม่เหล็กไฟฟ้า
ข้อ 1 2. ข้อ 3 1.2 ms ข้อ 5 2.
ข้อ2 2. ข้อ 4 1. ข้อ 6 0 Volt

หน้า 196 เฉลยคาตอบ


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 7 125 Watt,2.5 A ข้อ 11 1. ข้อ 15 4.


ข้อ 8 4. ข้อ 12 1. ข้อ 16 4.
ข้อ 9 25 Watt ข้อ 13 5. ข้อ 17 1.
ข้อ 10 ไม่มีคาตอบ (36.36 V) ข้อ 14 4. ข้อ 18 1.

เฉลยคำตอบ แนวข้อสอบ PAT3 วิชำสมบัตสิ ำร


4 x 10-7 m2

PX
ข้อ 1 ข้อ 10 1. ข้อ 19 1.4 kg/s
ข้อ2 4. ข้อ 11 2. ข้อ 20 2.
ข้อ 3 2. ข้อ 12 4. ข้อ 21 1.

AM
ข้อ 4 1. ข้อ 13 3.2 cm ข้อ 22 4.
ข้อ 5 3. ข้อ 14 3. ข้อ 23 18 MPa
ข้อ 6 8.9 m ข้อ 15 4. ข้อ 24 4.
FEC
ข้อ 7 1. ข้อ 16 40 C ข้อ 25 250 mol
ข้อ 8 4. ข้อ 17 5. ข้อ 26 1.
ข้อ 9 5. ข้อ 18 2. ข้อ 27 -206.25 kJ
by

เฉลยคำตอบ โจทย์เสริมประสบกำรณ์ วิชำ สมบัตสิ ำร


eak

ข้อ 1 0.42 ข้อ 12 1. ข้อ 23 308 K


ข้อ 2 0.35 N ข้อ 13 0.11 ข้อ 24 1.
ข้อ 3 4. ข้อ 14 1. ข้อ 25 3.
lbr

ข้อ 4 3. ข้อ 15 4. ข้อ 26 3.


ข้อ 5 4. ข้อ 16 3. ข้อ 27 2.
ข้อ 6 4. ข้อ 17 500 คน ข้อ 28 3.
Jai

ข้อ 7 0.16 m ข้อ 18 4. ข้อ 29 3.


ข้อ 8 2. ข้อ 19 5. ข้อ 30 3.
ข้อ 9 3. ข้อ 20 0g ข้อ 31 2.
ข้อ 10 20 m3 ข้อ 21 168 W
ข้อ 11 1. ข้อ 22 69.4 C

เฉลยคาตอบ หน้า 197


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

เฉลยคำตอบ แนวข้อสอบ PAT3 วิชำเคมี


ข้อ 1 1,643.86 กรัม ข้อ 21 2. ข้อ 41 2.
ข้อ 2 464 กรัม ข้อ 22 1. ข้อ 42 5.
ข้อ 3 66.9 cm3 ข้อ 23 4. ข้อ 43 5.
ข้อ 4 71.43 cm3 ข้อ 24 5. ข้อ 44 4.
3
ข้อ 5 ข้อ 25 3. ข้อ 45 4.

PX
2
ข้อ 6 26.4 กรัม ข้อ 26 2. ข้อ 46 1.
ข้อ 7 400 cm3 ข้อ 27 5. ข้อ 47 2.

AM
ข้อ 8 8.4 กรัม ข้อ 28 2. ข้อ 48 4.
ข้อ 9 10 ชั่วโมง ข้อ 29 4. ข้อ 49 2.
ข้อ 10 4.740 กรัม ข้อ 30 4. ข้อ 50 1.
FEC
ข้อ 11 3. ข้อ 31 3. ข้อ 51 2.
ข้อ 12 2. ข้อ 32 1. ข้อ 52 4.
ข้อ 13 0.5625 ข้อ 33 3. ข้อ 53 1.
ข้อ 14 4. ข้อ 34 4. ข้อ 54 3.
by

ข้อ 15 2.52 ข้อ 35 2. ข้อ 55 3.


ข้อ 16 3% โดยมวลต่อปริมาตร ข้อ 36 2. ข้อ 56 4.
eak

ข้อ 17 23.25 g/L ข้อ 37 5. ข้อ 57 5.


ข้อ 18 1. ข้อ 38 1. ข้อ 58 4.
ข้อ 19 4. ข้อ 39 4.
lbr

ข้อ 20 2. ข้อ 40 4.

เฉลยคำตอบ โจทย์เสริมประสบกำรณ์ วิชำ เคมี


Jai

ข้อ 1 20กิโลกรัม ข้อ 5.2 58.5 กรัม ข้อ 12 3.


ข้อ 2.1 ร้อยละ 38.98 โดยมวล ข้อ 6 5. ข้อ 13 ร้อยละ 20 โดยมวล
ข้อ 2.2 7.68 M ข้อ 7 500 cm3 ข้อ 14 Cu 90.25%, Zn 9.75%
ข้อ 2.3 13.88 m ข้อ 8 0.06 M ข้อ 15 2.48 กรัม
ข้อ 3 3. ข้อ 9 4. ข้อ 16 3
ข้อ 4 3. ข้อ 10 0.125 กรัม ข้อ 17 4.
ข้อ 5.1 49 กรัม ข้อ 11 n  7 ข้อ 18 Rate  k[A][B]2

หน้า 198 เฉลยคาตอบ


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

ข้อ 19 0.25 M/s ข้อ 21 2. ข้อ 23 2.


ข้อ 20 4. ข้อ 22 3.

เฉลยคำตอบ แนวข้อสอบ PAT3 วิชำคณิตศำสตร์


ข้อ 1 5. ข้อ 10 2. ข้อ 19 5.
ข้อ 2 4. ข้อ 11 25 ข้อ 20 5.

PX
ข้อ 3 1. ข้อ 12 17,300 บาท ข้อ 21 1.
ข้อ 4 91 ข้อ 13 4. ข้อ 22 64.8 เปอร์เซ็นต์
ข้อ 5 -10 ข้อ 14 1. ข้อ 23 2.

AM
ข้อ 6 18 วินาที ข้อ 15 2 ข้อ 24 9
ข้อ 7 11 ชั้น ข้อ 16 3. ข้อ 25 -2.5
ข้อ 8 2. ข้อ 17 2. ข้อ 26 2.
FEC
ข้อ 9 588 3 ลูกบาศก์หน่วย ข้อ 18 D a   2016, 2016  และ RB   0,2559

เฉลยคำตอบ โจทย์เสริมประสบกำรณ์ วิชำ คณิตศำสตร์


by

ข้อ 1 2. ข้อ 15 1. ข้อ 29 2.


ข้อ 2 2. ข้อ 16 5. ข้อ 30 3.
eak

ข้อ 3 4. ข้อ 17 2. ข้อ 31 1,295 หน้า


ข้อ 4 4. ข้อ 18 4. ข้อ 32 4.
ข้อ 5 55 ข้อ 19 4. ข้อ 33 66.4 เปอร์เซ็นต์
lbr

31
ข้อ 6 7 วัน ข้อ 20 -2.5 ข้อ 34
7
ข้อ 7 360 ก้าน ข้อ 21 2 ข้อ 35 1.
Jai

ข้อ 8 3. ข้อ 22 31 ข้อ 36 6


ข้อ 9 3. ข้อ 23 387 คน ข้อ 37 3.
ข้อ 10 501 วินาที ข้อ 24 1. ข้อ 38 15  3  1 เมตร
ข้อ 11 5. ข้อ 25 3. ข้อ 39 3.
ข้อ 12 2. ข้อ 26 1. ข้อ 40 5.
ข้อ 13 2. ข้อ 27 5. ข้อ 41 6
ข้อ 14 1. ข้อ 28 34 ปี

เฉลยคาตอบ หน้า 199


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

เฉลยคำตอบ แนวข้อสอบ PAT3 วิชำควำมถนัดทำงวิศวกรรม


ข้อ 1 1. ข้อ 10 4. ข้อ 19 3.
ข้อ 2 2. ข้อ 11 1. ข้อ 20 2.
ข้อ 3 5. ข้อ 12 1. ข้อ 21 2.
ข้อ 4 4. ข้อ 13 4. ข้อ 22 5.
ข้อ 5 2. ข้อ 14 3. ข้อ 23 4.

PX
ข้อ 6 1. ข้อ 15 4. ข้อ 24 5.
ข้อ 7 3. ข้อ 16 3. ข้อ 25 2.
ข้อ 8 2. ข้อ 17 2.

AM
ข้อ 9 2. ข้อ 18 2.
FEC
by
eak
lbr
Jai

หน้า 200 เฉลยคาตอบ


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

บรรณานุกรม
I.E. Irodov. Problems in General Physics, CBS Publishers, 1993
Serway, Raymond A., and John W. Jewett, Physics for Scientists and Engineers
with Modern Physics, Thomson Brooks/Cole, California, 9th Edition, 2010.
Staporn Suprichakorn, The fundamental of engineering drawing, E-book, 2014.
Young, Hugh D., and Freedman, Roger A. University Physics with Modern Physics,

PX
Pearson Addison – Wesley, Massachusetts, 13th Edition, 2015.
ชมรม FECAMP คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เอกสารประกอบการเรียน

AM
โครงการแนะแนวความถนัดทางวิศวกรรม ครั้งที่ 8. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557.
ดารงค์ ทิพยโยธา และคณะ. แคลคูลัส ๑. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
FEC
มหาวิทยาลัย, 2556.
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). ข้อสอบรหัสวิชา 73 ความถนัดทาง
วิศวกรรมศาสตร์ (PAT3). สืบค้นเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2559, สถาบันทดสอบทางการ
by

ศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) เว็บไซต์: onetresult.niets.or.th/ExamGATPAT/


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์ เล่ม ๑
eak

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖. พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2554.


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์ เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2554.
lbr

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์ เล่ม ๔


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2554.
Jai

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์ เล่ม ๕


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2554.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖. พิมพ์ครั้งที่ 5 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2556.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม ๓
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖. พิมพ์ครั้งที่ 4 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2556.

บรรณานุกรม หน้า 201


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม ๕


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖. พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2556.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์
เล่ม ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2554.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์
เล่ม ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2554.

PX
สานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. ข้อสอบรหัสวิชา 16 พื้นฐานทางวิศวกรรม. สืบค้นเมื่อ
วันที่ 15 กรกฎาคม 2559, วิชาการ.คอม เว็บไซต์: vcharkarn.com/exam/category/106

AM
FEC
by
eak
lbr
Jai

หน้า 202 บรรณานุกรม


โครงการ Jailbreak โดย FECamp X (www.fecampchula.net)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 9, 15 – 16 ตุลาคม 2559

คณะผู จ้ ดั ทำหนังสือ โครงกำร Jailbreak by FECamp X


วิชากลศาสตร์
ธนาดุลย์ ก่อเกิดสันติสุข รวิชญ์ พิชญาเวทย์
รัชพล งามนิธิพร วรพรต อ่วมแย้ม
อาทิมา ดรไชย

วิชาไฟฟ้า

PX
ณัฏฐชัย กุลธรรมนิตย์ ทักษพร อิ่มแสงสุข
ธันยพร พินธุพันธ์ บุรินทร์ อมรไพศาลนนท์

AM
พนมวัฒน์ วรัทเศรษฐ์

วิชาสมบัติสาร
ณัฐวัฒน์ ลิ้มสุขนิรันดร์
FEC นนทสิทธิ์ วงษ์ศิริเลิศ
นพวิชญ์ นิ้มวัฒนากุล วิศรุต บุญมาสุวราญ

วิชาเคมี
by

ณัฐดนัย ศรไชย พัฒน์นรี พรพิเชษฐ์


รณกฤต เลาหะมณฑลกุล ฤทธานุภาพ ถาวร
eak

วิชาคณิตศาสตร์
พงศธรณ สันติไชยกุล พล สุรกิจโกศล
ศิวัช อัศวกิจพานิช
lbr

วิชาความถนัดทางวิศวกรรม
กิตติศักดิ์ บุญทองเนียม ณัฐภพ พละการ
Jai

คณะผู้จดั ทา หน้า 203

You might also like