You are on page 1of 53

บทที่ 3

อนุกรมฟูเรียร
3.1 บทนํา
ในบทที่ 1 และบทที่ 2 ไดกลาวถึงเรื่องสมการอนุพันธซึ่งจะนําไปประยุกตใช
ในการวิเคราะหวงจรไฟฟาเปนสวนใหญ สวนในบทนี้จะเปนการศึกษาคณิตศาสตร
เรื่องของ อนุกรมฟูเรียรและการแปลงฟูเรียร ซึ่งนําเสนอโดย Jean Baptiste Joseph
Fourier (1768-1830) นักคณิตศาสตรชาวฝรั่งเศส ซึ่งไดใชอนุกรมดังกลาวในการอธิบาย
ปรากฏการณการนําและการกระจายความรอนผานวัตถุ ซึ่งตอมานักวิทยาศาสตรและ
วิ ศ วกรได นํ า มาประยุ ก ต ใ ช ใ นเรื่ อ งต า ง ๆ มากมาย ซึ่ ง ในบทนี้ จ ะนํ า มาใช ใ นการ
วิเคราะหสัญญาณไฟฟา
สัญญาณไฟฟาสวนใหญในทางปฏิบัติเกือบทั้งหมด จะสามารถแยกออกเปน
องค ป ระกอบของสั ญ ญาณรู ป ซายน ห ลายความถี่ ในกรณี สั ญ ญาณมี ค าบ การแยก
องคประกอบของสัญญาณเราจะเรียกวา อนุกรมฟูเรียร (Fourier Series) ซึ่งเราจะกลาว
รายละเอียดในบทนี้ สวนกรณีสัญญาณไมมีคาบ การแยกองคประกอบของสัญญาณเรา
จะเรียกวา การแปลงฟูเรียร (Fourier Transform) ซึ่งเราจะกลาวรายละเอียดในบทที่ 4
ดังนั้นในชวงแรกนี้เราจะกลาวถึงนิยามของฟงกชันมีคาบวามีนิยามอยางไร

3.2 ฟงกชันมีคาบ
นิยาม ฟงกชัน(function)หรือสัญญาณ(Signal)ใดๆ เรียกวา “ฟงกชันมีคาบ(Periodic
function)” ถาสอดคลองตามสมการ
f (t ) = f (t + T ) (3.1)
สําหรับทุกคาของ x ในเมื่อ T เปนคาคงที่ที่นอยที่สุด (T > 0 ) และ เรียก T
วาเปนคาบ (Period) ของฟงกชัน f ( x)
106

รูปที่ 3.1 ฟงกชันมีคาบ


จากนิยามและรูปที่ 3.1 จะเห็นวาฟงกชันที่มีคาบครบรอบเทากับ T และซ้ํากัน
ทุก ๆ คาของ T ดังนั้นจากสมการที่ (3.1) จะสามารถเขียนไดเปน
f (t ) = f (t + nT ) (3.2)
โดยที่ n = 1, 2,3,...

ถาพิจารณาจากสมการที่ (3.2) จะเห็นวาคาของฟงกชันจะซ้ําที่ nT = 2T ,3T , 4T ,...


ตอนแรกเราจะพิจารณาฟงกชันที่มีคาบ 2π ซึ่งก็คือฟงกชันตรีโกณมิติ ไดแก
cos 0 x,sin 0 x, cos1x,sin1x, cos 2 x,sin 2 x,..., cos nx,sin nx
ถาเราจะเขียนในรูปผลบวกเชิงเสน
a0 cos 0 x + b0 sin 0 x + a1 cos1x + b1 sin1x + a2 cos 2 x + b2 sin 2 x + ... + an cos nx + bn sin nx
โดยที่ a , b , a , b ,..., a , b เปนคาคงตัวไมเจาะจงและ เปนสัมประสิทธิ์ เราจะเรียก
0 0 1 1 n n

ผลบวกเชิงเสนนี้วา อนุกรมตรีโกณมิติ(trigonometric series) และเราสามารถเขียนใหม


ไดเปน
a0 + a1 cos x + b1 sin x + a2 cos 2 x + b2 sin 2 x + ... + an cos nx + bn sin nx
โดยที่ a , b , a , b ,..., a , b เปน สัมประสิทธิ์ (coefficient) ของอนุกรม
0 0 1 1 n n

3.3 อนุกรมฟูเรียรตรีโกณมิติที่มีคาบ 2¶ (Trigonometric Fourier Series)


f ( x) = a0 + a1 cos x + a2 cos 2 x + ... + an cos nx + ...
(3.3)
+ b1 sin x + b2 sin 2 x + ... + bn sin nx + ...
จากสมการที่ (3.3) เราสามารถเขียนใหมไดเปน

f ( x) = a0 + ∑ ( an cos nx + bn sin nx ) (3.4)
n =1
107

จากสมการที่ (3.4) จะตองหาคาสัมประสิทธิ์ a , a และ b และถาฟงกชัน f ( x) เปน


0 n n

ฟงกชันที่มีคาบ 2π เราจะหาคา a โดยอินทิเกรตสมการที่ (3.4) ตลอดทั้งสมการ


0

ในชวง −π ถึง π เทียบกับตัวแปร x


T T T T

โดยที่สูตรที่ตองใช ∫ cos nxdx = 1 sin nx และ ∫ sin nxdx = − 1 cos nx


0
n n 0 0 0
π π
 ∞

∫π f ( x)dx = ∫π a + ∑ ( a
− −
0
n =1
n cos nx + bn sin nx )  dx

π
 π ∞ π

= a0 ∫ dx + ∑  an ∫ cos nxdx + bn ∫ sin nxdx 
−π n =1  −π −π 
∞  π π
 
π
1   1
= a0 ∫ dx + ∑  an  sin nx  + bn  − cos nx  
 n
n =1   −π  n  −π 
−π
π
 1  
π ∞
 an  n {sin( nπ ) − sin( − nπ )} 
= a0 ∫ dx + ∑   −π 
π 
−π n =1
 +b  − 1 {cos(nπ ) − cos(−nπ )} 
 n  n  
 −π 
π π


−π
f ( x)dx = a0 ∫ dx
−π
π
a0 [ 2π ] = ∫ f ( x)dx
−π
π
1
∴ a0 = ∫π f ( x)dx (3.5)
2π −

จากสมการที่ (3.5) แสดงใหเห็นวา การหาคาสัมประสิทธิ์ a ทําไดโดยการ 0

อินทิเกรตฟงกชัน f ( x) ตั้งแต −π ถึง π แลวหารดวย 2π


ตอไปก็คือการหาคา a โดยการคูณสมการที่ (3.4) ดวย cos mx โดยที่ m เปน
n

เลขจํานวนเต็มบวก แลวอินทิเกรต ตลอดทั้งสมการในชวง −π ถึง π เทียบกับตัวแปร


x จะได
π π
 ∞

∫π f ( x) cos mxdx = ∫−π  0 ∑
a + ( an cos nx + bn sin nx ) cos mxdx (3.6)
− n =1 
เราจะหาคาอินทิกรัลเทอมดานขวาในสมการที่ (3.6)
π ∞  π π

a0 ∫ cos mxdx + ∑  an ∫ cos nx cos mxdx + bn ∫ sin nx cos mxdx  (3.7)
−π n =1  −π −π 
108

โดยที่สูตรที่เกี่ยวของคือ
1
cos A ⋅ cos B = [cos( A + B) + cos( A − B)]
2
1
และ sin A ⋅ cos B = [sin( A + B) + sin( A − B) ]
2
พิจารณาจากสมการที่ (3.7)
π π
 − sin mx 
a0 ∫ cos mxdx = a0  
−π  m  −π
 − sin(π x) + sin(−π x) 
= a0   = 0
 m
π
นั่นแสดงวา a0 ∫ cos mxdx = 0
−π

π π π
1 1
∫ cos nx cos mxdx = ∫ cos(n + m)xdx + ∫ cos(n − m)xdx (3.8)
−π
2 −π 2 −π

π
0 ,m ≠ n
 π
∴ ∫ cos nx cos mxdx =  1
−π  2 ∫ cos(2nx)dx , m = n
 −π
ถา m = n อินทริกรัลเทอมดานขวาในสมการที่ (3.8) คือ
π
1
2 −∫π
cos(2nx)dx = π ,m = n

π π π
1 1
∫−π sin nx cos mxdx = 2 −∫π sin(n + m)xdx + 2 −∫π sin(n − m)xdx (3.9)
ถา m = n และ m ≠ n
=0

จากขางตนทั้ง 3 เทอม ถา m = n อินทริกรัลเทอมดานขวาในสมการที่ (3.8) คือ


π
1
2 −∫π
cos(2nx)dx = π ,m = n

ดังนั้นจะได
π

∫ f ( x) cos mxdx = anπ ;m = n (3.10)


−π

โดยการแทน m = n ในฟงกชัน cos mx ของสมการที่ (3.10) จะได


π
1
∴ an =
π ∫π f ( x) cos nxdx

109

การหาคา b โดยการคูณสมการที่ (3.4) ดวย sin mx โดยที่ m เปนเลขจํานวนเต็มบวก


n

แลวอินทิเกรต ทั้งสมการในชวง −π ถึง π เทียบกับตัวแปร x จะได


π π
 ∞

∫ f ( x) sin mxdx = ∫−π  0 ∑
a + ( an cos nx + bn sin nx ) sin mxdx (3.11)
−π n =1 
อินทิกรัลเทอมดานขวาในสมการที่ (3.11)
π ∞  π π

a0 ∫ sin mxdx + ∑  an ∫ cos nx sin mxdx + bn ∫ sin nx sin mxdx  (3.12)
−π n =1  −π −π 
โดยที่สูตรที่เกี่ยวของคือ
1
sin A ⋅ sin B = [cos( A − B) + cos( A + B)]
2
พิจารณาจากสมการที่ (3.7)
π
a0 ∫ sin mxdx = 0
−π

π π π
1 1
∫−π sin nx sin mxdx = 2 −∫π cos(n − m)xdx + 2 −∫π cos(n + m)xdx (3.13)
0, m ≠ n
=
π , m = n
ถา m = n อินทริกรัลเทอมดานขวาในสมการที่ (3.13) คือ
π
1
2 −∫π
cos(2nx)dx = π ,m = n

π π π
1 1
∫ cos nx sin mxdx = ∫ sin( n − m)xdx + ∫ sin( n + m)xdx (3.14)
−π
2 −π 2 −π
=0 ถา m = n และ m ≠ n
ถา m = n อินทริกรัลเทอมดานขวาในสมการที่ (3.8) คือ
π
1
2 −∫π
sin(2nx)dx = π ,m = n

ดังนั้นจะได
π

∫ f ( x) sin mxdx = bnπ ;m = n (3.15)


−π

โดยการแทน m = n ในฟงกชัน cos mx ของสมการ (3.15) จะได


110

π
1
∴ bn =
π ∫
−π
f ( x) sin nxdx

จาทั้งหมดที่กลาวมาจะสรุปไดวา อนุกรมฟูเรียรตรีโกณมิติที่มีคาบ 2π สามารถเขียน


ไดดังสมการที่ (3.16)

f ( x) = a0 + ∑ ( an cos nx + bn sin nx ) (3.16)
n =1

และหาสัมประสิทธิ์ของอนุกรมไดคือ
π
1
a0 = ∫ f ( x)dx (3.17)
2π −π
π
1
an = ∫ f ( x) cos nxdx (3.18)
π -π
π
1
bn = ∫ f ( x) sin nxdx (3.19)
π −π

1
เพื่อจัดพจนตัวหารดานหนาของสัมประสิทธิ์ a0 , an และ bn ใหมีคา เหมือนกัน
π
ดังนั้นจะได

1
f ( x) = a0 + ∑ ( an cos nx + bn sin nx ) (3.20)
2 n =1

โดยที่
π
1
a0 = ∫ f ( x)dx (3.21)
π −π
π
1
an = ∫ f ( x) cos nxdx (3.22)
π -π
π
1
bn = ∫ f ( x) sin nxdx (3.23)
π −π

ในหนังสือเลมนี้จะกลาวอนุกรมฟูเรียรตรีโกณมิติที่มีคาบ 2π จะใชสมการที่ (3.20) ถึง


สมการที่ (3.23)
ตัวอยางที่ 3.1 จงหาอนุกรมฟูเรียรของรูปคลื่นสี่เหลี่ยมจัตุรัส(square wave)
− k ; −π < x < 0
ซึ่งมีฟงกชันเปน f ( x) = 
k ;0 < x < π
111

รูปที่ 3.2 รูปคลื่นสี่เหลี่ยมจัตุรัส


วิธีทํา จากสูตรอนุกรมฟูเรียร

1
f ( x) = a0 + ∑ ( an cos nx + bn sin nx )
2 n =1
π
1
หา a โดยใชสมการที่ (3.21); a = ∫ f ( x)dx = 0 เพราะผลรวมพื้นที่ใตกราฟระหวาง
π
0 0
−π

−π ถึง π เปนศูนย หรือโดยการคํานวณโดยตรง


π π
1 
0
1
a0 = ∫ f ( x)dx =  ∫ (− k )dx + ∫ (k )dx 
π −π π  −π 0 
1 1
=  − kx −π + kx 0  = [ − kπ + kπ ] = 0
0 π

π  π
หา a โดยใชสมการที่ (3.22);
n
π
1
an =
π ∫π f ( x) cos nxdx
-
π
1 
0

∫
= ( − k ) cos nxdx + ∫ (k ) cos nxdx 
π  −π 0 
π
1 k 
0
k
∴ an =  − sin(nx) + sin(nx)  = 0
π  n −π n 0 

หา b โดยใชสมการที่ (3.23);
n
π
1
bn =
π ∫
−π
f ( x) sin nxdx

π
1 
0
= ∫ ( − k ) sin nxdx + ∫ (k ) sin nxdx 
π  −π 0 
π
1 k 
0
k
=  cos(nx) − cos(nx) 
π  n −π n 
0 

k
= [cos(0) − cos(−nπ ) − cos(nπ ) + cos 0]

112

k
= [1 − cos(nπ ) − cos(nπ ) + 1]

k
= [ 2 − 2 cos(nπ )]

2k
∴ bn = [1 − cos(nπ )]

ซึ่งเมื่อพิจารณาคาของ b ในสวนของพจน
n cos(nπ ) จะเห็นวา
 −1 ; n = 1,3,5, 7,...
cos(nπ ) = 
 1 ; n = 2, 4, 6,8,...
2 ; n = 1,3,5, 7,...
1 − cos(nπ ) = 
0 ; n = 2, 4, 6,8,...
4k 4k 4k
ทําใหได b1 = , b2 = 0, b3 = , b4 = 0, b5 = , b6 = 0,...
π 3π 5π
เมื่อแทนคา a0 , an และ bn ในสมการที่ (3.20) จะได

f ( x) = ∑b n sin nx เมื่อ n เปนเลขคี่
n =1

4k  1 1 
f ( x) =  sin x + sin 3x + sin 5 x + ...  ##
π  3 5 
รูปที่ 3.3 เปนผลบวกของอนุกรมฟูเรียร 3 พจน ถาพิจารณาดูจะเห็นวายิ่งทําการบวก
จํานวนพจนมากขึ้น ผลที่ไดก็จะเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเหมือนรูปที่ 3.2 มากขึ้ตามไปดวย

รูปที่ 3.3 ผลบวกอนุกรมฟูเรียร


113

จากผลของตัวอยางที่ 3.1 กลาวไดวาฟงกชันที่มีคาบ 2π เปนผลรวมของฟงกชันซายน


(Sinusoidal) หลายความถี่รวมกัน ซึ่งความถี่ของฟงกชันซายนแตละความถี่นี้เราเรียกวา
“องคประกอบความถี่ หรือ สเปกตรัม”
ตัวอยางที่ 3.2 จงหาอนุกรมฟูเรียรของฟงกชัน
0 ; −π ≤ t ≤ 0
f (t ) = 
sin t ;0 ≤ t ≤ π
วิธีทํา จากโจทยกําหนดใหเปนอนุกรมฟูเรียรที่มีคาบ 2π ดังนั้นใชสูตร

1
f (t ) = a0 + ∑ ( an cos nt + bn sin nt )
2 n =1
π
1
หา a0 จากสมการที่ (3.21) a0 = ∫ f (t )dt
π −π
π
1 
0
=  ∫ (0)dt + ∫ sin tdt 
π  −π 0 
1 1 2
= [ − cos t ]0 = ( − cos π + cos 0 ) =
π

π π π
π
1
หา an จากสมการที่ (3.22) a = ∫π f (t ) cos ntdt
π
n

π
1 
0
= ∫ (0) cos ntdt + ∫ sin t cos ntdt 
π  −π 0 
π
1  1  cos(1 − n)t cos(1 + n)t 
= −  + 
π  2  1− n 1 + n  0
1  cos(π − nπ ) cos(π + nπ )  1 1 
=−  + − + 
2π  1 − n 1+ n  1 − n 1 + n 
1  − cos nπ − cos nπ 2 
=− + −
2π  1 − n 1+ n 1 + n 2 
1 + cos nπ
= ,n ≠1
π (1 − n 2 )
π π
1 sin 2 t
a1 = ∫ sin t cos tdt = =0
π 0 2π 0
π
1
หา bn จากสมการที่ (3.23) bn = ∫ f (t ) sin ntdt
π −π
π
1 
0
= ∫ (0) cos ntdt + ∫ sin t sin ntdt 
π  −π 0 
114

π
1  1  sin(1 − n)t sin(1 + n)t 
=   −  = 0 ,n ≠1
π  2  1− n 1 + n  0
π π
1 1  t sin 2t  1
b1 = ∫ sin tdt = − =
2

π 
π 2 
4 0 2
0

จะไดอนุกรมฟูเรียรคือ
1 2 1 2  cos 2t cos 4t cos 6t cos8t 
f (t ) = ⋅ + 0 + sin t −  + + + + ... 
2 π 2 π 3 15 35 63 
1 sin t 2  cos 2t cos 4t cos 6t cos8t 
= + −  + + + + ...  ##
π 2 π 3 15 35 63 

ตัวอยางที่ 3.3 จงหาอนุกรมฟูเรียรของสัญญาณรูปที่ 3.4

รูปที่ 3.4 รูปคลื่นสําหรับตัวอยางที่ 3.3

วิธีทํา จากรูปโจทยกําหนดใหเปนอนุกรมฟูเรียรที่มีคาบ 2π ซึ่งสามารถทําได 2 วิธี คือ


วิธีที่ 1 พิจารณาสัญญาณในชวงคาบ −π ถึง −π และจากรูปเราจะได
x + π ; −π < x < 0
f ( x) = 
0 ;0 < x < π
π π
1 
0
1
หา a0 จาก a0 = ∫ f ( x)dx = ∫ ( x + π ) dx + ∫ 0dx 
π −π
π  −π 0 
0
1  x2  1  π2 
=  + π x  = − +π 2
π2  −π π  2 
π
=
2
π
1
หา an จาก an = ∫ f ( x) cos nxdx
π −π
0
1
=
π −
∫π ( x + π ) cos nxdx
ทําการอินทิเกรตทีละสวน(integration by pass)
115

ให u = x +π และ dv = cos nxdx


1
จะได du = dx , v = ∫ cos nxdx = sin nx
n
ดังนั้นจะได an
1   
0 0
1  1
= 
π  
( x + π )
n
sin nx  − ∫ n
sin nxdx 
−π −π 
1    1   
0

= 0 −  −  2  cos nx  
π    n   −π 
1
= 2 {1 − cos(− nπ )}
πn
1
= 2 (1 − cos nπ )
πn
−1 , n = 1,3,5,...
โดยพิจารณา cos nπ = 
 1 , n = 2, 4, 6,...
 2
 , n = 1,3,5,...
an =  π n 2
0 , n = 2, 4, 6,...

π
1
หา bn จาก bn = ∫ f ( x) sin nxdx
π −π
0
1
=
π ∫ ( x + π ) sin nxdx
−π

ทําการอินทิเกรตทีละสวน(integration by pass)
ให u = x +π และ dv = sin nxdx
1
จะได du = dx , v = ∫ sin nxdx = − cos nx
n
ดังนั้นจะได bn
1   
0 0
1  1
=   −( x + π ) cos nx  + ∫ cos nxdx 
π   n  −π −π n 
1   
0
1 1  1
=   −(0 + π ) cos n(0) + (−π + π ) cos n(π )  + ∫ 2 sin nxdx 
π   n n  −π n 
1  1  
=   −π + 0  + 0 
π  n  
1
∴ bn = −
n
116

แทนคา a0 , an และ b ในสมการที่ (3.20)


n

1 π 2 1 1   1 1 1 
f ( x) = ⋅ +  cos x + 2 cos 3x + 2 cos 5 x + ...  −  sin x + sin 2 x + cos 3 x + cos 4 x + ... 
2 2 π 3 5   2 3 4 
หรือ π 2 ∞
1 ∞
1
##
f ( x) = + ∑ cos(2k − 1) x − ∑ sin nx
4 π k =1 (2k − 1) 2
n =1 n

วิธีที่ 2 พิจารณาสัญญาณในชวงคาบ 0 ถึง 2π


0 ;0 < x < π
f ( x) = 
 x − π ; π < x < 2π
2π 2π
1 1 
หา a0 จาก a0 = ∫ f ( x)dx =  ∫ ( x − π )dx 
π 0 π π 

1  x2  1  4π 2 π 2 
=  − π x =  − − 2π 2 + π 2 
π2 π π 2 2 
π
∴ a0 =
2

1
หา an จาก an = ∫ f ( x) cos nxdx
π 0

1
=
π ∫ ( x − π ) cos nxdx
π

 2
 , n = 1,3,5,...
= π n2
0 , n = 2, 4, 6,...


1
หา bn จาก bn = ∫ f ( x) sin nxdx
π 0

1
=
π ∫ ( x + π ) sin nxdx
π
1
bn = −
n
แทนคา a0 , an และ b ในสมการที่ (3.20)
n

π 2 ∞
1 ∞
1
##
f ( x) =
4
+
π
∑ (2k − 1)
k =1
2
cos(2k − 1) x − ∑ sin nx
n =1 n
117

3.4 อนุกรมฟูเรียรตรีโกณมิติที่มีคาบใด ๆ
จากหัวขอที่ผานมาเราศึกษาอนุกรมฟูเรียรที่มีคาบเทากับ 2π โดยนิยามฟงกชัน
อยูในรูปตัวแปร x ซึ่งมีหนวยเปนเรเดียน ในหัวขอนี้เราจะศึกษาอนุกรมฟูเรียรที่มีคาบ
เทากับ T ใด ๆ หรือคาบไมเจาะจง (arbitrary period) โดยนิยามฟงกชันอยูในรูปตัวแปร
t การเปลี่ยนสเกลของตัวแปร x ไปเปนตัวแปร t ทําไดโดยเทียบ จาก

x = ωt

และ ω = 2π f =
T
x T
จากทั้ง 2 สมการขางตนดังนั้น จะได t= = ⋅ω และ
ω 2π
Tx
t= (3.24)


x= ⋅t (3.25)
T
ทั้งนี้ตองเปนไปตามเงื่อนไขที่วา x = ±π ซึ่งแปรไปตามคา t = ± T 2
ดังนั้นถา เราจะเปลี่ยนจากตัวแปร x ไปเปนตัวแปร t จากสมการที่ (3.20) จะได

 Tx  1
f (t ) = f   = a + ∑ ( an cos nx + bn sin nx ) (3.26)
 2π
0
 2 n =1

และ
π
1  Tx 
a0 = ∫π f  2π  dx (3.27)
π −
π
1  Tx 
(3.28)
π ∫π  2π 
an = f cos nxdx
-
π
1  Tx 
(3.29)
π ∫π  2π 
bn = f sin nxdx
-


จากสมการที่ (3.25) x= ⋅t
T
2π T T
หาอนุพันธจะได dx = dt โดย − ≤t ≤
T 2 2
ดังนั้นจากสมการที่ (3.26) ถึง (3.29) จะได

1
f (t ) = a0 + ∑ ( an cos nωt + bn sin nωt )
2 n =1
T 2
1 2π
a0 =
π ∫
−T 2
f (t ) ⋅
T
dt
118

T 2
1
T −T∫ 2
= f (t )dt

2π t
T /2
1
an =
π ∫ f ( t ) cos n T dt
−T / 2
T /2
2
f ( t ) cos nωtdt
T −T∫/ 2
=

2π t
T /2
1
bn =
π ∫ f ( t ) sin n T dt
−T / 2
T /2
2
f ( t ) sin nωtdt
T −T∫/ 2
=

สรุปอนุกรมฟูเรียรที่มีคาบเทากับ T ใด ๆ

1
f (t ) = a0 + ∑ ( an cos nωt + bn sin nωt ) (3.30)
2 n =1
T 2
2
(3.31)
T −T∫ 2
a0 = f (t )dt

T /2
2
f ( t ) cos nωtdt (3.32)
T −T∫/ 2
an =

T /2
2
f ( t ) sin nωtdt (3.33)
T −T∫/ 2
bn =

ตัวอยางที่ 3.4 จงหาอนุกรมฟูเรียรของสัญญาณเรียงกระแสครึ่งคลื่นดัง รูปที่ 3.5

รูปที่ 3.5 สัญญาณเรียงกระแสครึ่งคลื่น


0 ; −T 2 < t < 0
โดยมีฟงกชันเปน vo (t ) = 
Vm sin ωt ;0 < t < T 2
วิธีทํา เนื่องจากสัญญาณที่โจทยกําหนดมีคาบ T ใด ๆ ซึ่งในที่นี้ T = 2π ดังนั้นจะใช
ω
สูตรในสมการที่ (3.30) ถึง (3.33)
ω 0 
T 2 π ω
2
หา จาก
T −T∫ 2 π  −π∫ ω ∫0 m
a0 a0 = f (t ) dt =  0 dt + V sin ω tdt 

119

ωVm π ω 
=  ∫ sin ωtdt 
π  0 
π ω
ωVm  cos ωt 
= − ω 
π  0
Vm  π  
=  − cos ω   + cos 0 
π  ω  
2Vm
∴ a0 =
π
T /2
2
หา จาก f ( t ) cos nωtdt
T −T∫/ 2
an an =

π ω
ω 
= 
π  ∫ Vm sin ωt cos ωtdt 
0 
π ω
ωVm  
=  ∫ sin ωt cos ωtdt 
π  0 
1
โดยใชสูตร sin α cos β = [sin(α + β ) + sin(α − β )]
2
π ω
ωV
= m ∫ [sin(1 + n)ωt + sin(1 − n)ωt ] dt
2π 0
π ω
ωV  cos(1 + n)ωt cos(1 − n)ωt 
= m  − (1 + n)ω − (1 − n)ω 
2π  0
V  cos(1 + n)π + 1 cos(1 − n)π + 1 
= m − − 
2π  (1 + n) (1 − n) 
0 , n = 1,3,5,...

∴ an =  2Vm
 (n − 1)(n + 1)π , n = 2, 4, 6,...

T /2
2
หา จาก f ( t ) sin nωtdt
T −T∫/ 2
bn bn =

π ω
ω 
= 
π  ∫0 Vm sin ω t sin nω tdt 

1
โดยใชสูตร sin α sin β = [ cos(α − β ) − cos(α + β )]
2
π ω
ωV
= m ∫ [ cos(1 − n)ωt − cos(1 + n)ωt ] dt
2π 0
120

π ω
ωV  sin(1 − n)ωt sin(1 + n)ωt 
= m −
2π  (1 − n)ω (1 + n)ω  0
Vm  sin(1 − n)π sin(1 + n)π 
= −
2π  (1 − n) (1 + n) 
∴ bn = 0 ; n ≠ 1
เพราะวา n ≠1 ดังนั้นตองหา b1 อีกครั้งโดยการแทน n = 1 ลงในสูตรของ bn

จาก
T /2
2
f ( t ) sin(1)ωtdt
T −T∫/ 2
b1 =

T /2
2
f ( t ) sin ωtdt
T −T∫/ 2
=

ωVm π ω 2 
=  ∫ sin ωtdt 
π  0 
1
โดยใชสูตร sin 2 α = [1 + cos 2α ]
2
π /ω
ωVm  sin 2ωt 
จะได = t−
2π  2ω  0
ωV  π 
= m 
2π  ω 
Vm
∴ b1 =
2
Vm
 , n =1
∴ bn =  2
0 , n = 2,3, 4,...

จากสูตรอนุกรมฟูเรียรที่มีคาบเทากับ T ใด ๆ

1
f (t ) = a0 + ∑ ( an cos nωt + bn sin nωt )
2 n =1

ดังนั้น
1 2Vm ∞
 2Vm V 
vo (t ) = ⋅ + ∑ cos nωt + m sin nωt 
2 π n =1  ( n − 1)( n + 1)π 2 
Vm Vm ∞
 2Vm 
= + sin ωt + ∑  cos nωt 
π 2 n =1  ( n − 1)( n + 1)π 
Vm Vm 2V  1 1 
= + sin ωt + m  cos 2ωt + cos 4ωt + ...  ##
π 2 π  1× 3 3× 5 
121

ตัวอยางที่ 3.5 จงหาอนุกรมฟูเรียรของสัญญาณใน รูปที่ 3.6

รูปที่ 3.6 รูปคลื่นสําหรับตัวอยางที่ 3.5


วิธีทํา จากรูปเราจะเห็นไดวาฟงกชันมีคาคาบเทากับ 6 โดยพิจารณาไดเปน 2 แบบ
12 ; −3 < x < 0
f ( x) = 
4 x ;0 < x < 3
หรือ
4 x ;0 < x < 3
f ( x) = 
12 ;3 < x < 6
โดยทั้งสองแบบสามารถเขียนคาคาบในรูปของฟงกชันไดเปน
f ( x + 6) = f ( x)
เนื่องจากสัญญาณที่โจทยกําหนดมีคาบ T =6 ดังนั้นจะใชสูตรในสมการที่ (3.30) ถึง
สมการที่ (3.33)
T 2 T 2
2 2
หา a0 จาก a0 = ∫ f ( x)dx = ∫ f ( x)dx
T −T 2 6 −T 2
1 
0 3
=  ∫ 12dx + ∫ 4 xdx 
3  −3 0 
1
= × 54 = 18
3
T /2
2
หา จาก f ( t ) cos nωtdt
T −T∫/ 2
an an =

2π 2π π
โดยที่ ω= = =
T 6 3
nπ x
3
2
ดังนั้น an = ∫ f ( x ) cos dx
6 −3 3
1 nπ x nπ x 
0 3
=  ∫ 12 cos dx + ∫ 4 x cos dx 
3  −3 3 0
3 
122

4 3 nπ x 
0
nπ x
3

3 −3 ∫0
= 3 ⋅ sin + x cos dx 
3  nπ 3 

จากสมการพจน ∫ x cos nπ x dx ทําการอินทิเกรตทีละสวน


3

3
0

nπ x
โดยให u=x และ dv = cos dx
3
3
3 nπ x
จะได du = dx v= sin
nπ 3 0
4 3  3x nπ x  nπ x 
0 3
nπ x
3
3
แทนในสมการ = 3 ⋅ sin + sin  −∫ sin dx 
3  nπ 3 −3  nπ 3 0  0 nπ 3 
4 3 nπ x 
3

3  nπ ∫0
=  − sin dx 
3 
4 3 nπ x  
3
 3
= − − cos  
3  nπ  nπ 3 0 
12  nπ (3) nπ (0)  
= 2 
cos − cos 
(nπ )  3 3  
12
= ( cos nπ − 1)
(nπ ) 2
0 ; n = 2, 4, 6,...

∴ an =  −24
 n 2π 2 ; n = 1,3,5,...
T /2
2
หา จาก f ( t ) sin nωtdt
T −T∫/ 2
bn bn =

2π 2π π
โดยที่ ω= = =
T 6 3
nπ x
3
2
ดังนั้น bn = ∫ f ( x ) sin dx
6 −3 3
1 nπ x nπ x 
0 3
=  ∫ 12sin dx + ∫ 4 x sin dx 
3  −3 3 0
3 
4 nπ x 
0
nπ x
3
3
=  −3 ⋅ cos + ∫ x sin dx 
3  nπ 3 −3 0 3 

จากสมการพจน ∫ x sin nπ x dx ทําการอิทิเกรตทีละสวน


3

3
0

nπ x
โดยให u=x และ dv = sin dx
3
123

3
3 nπ x
จะได du = dx v= − cos
nπ 3 0
4  3x nπ x  nπ x 
0 3
nπ x
3
3 3
แทนในสมการ =  −3 ⋅ cos +− cos  +∫ cos dx 
3  nπ 3 −3  nπ 3 0  0 nπ 3 
4  −9  nπ (0) nπ (−3)   −3(3) nπ (3) −3(0) nπ (0)  nπ x 
3
3
3  ∫0 nπ
=   cos − cos +
  cos − cos  + cos dx 
3  nπ  3 3   nπ 3 nπ 3 
4  −9 nπ x 
3
−9 3 −3
=  ( − 1 cos( − nπ ) )+ cos nπ + ⋅ sin 
3  nπ nπ nπ nπ 3 0 

=
4 9
− +
9
cos(−nπ ) −
9 
cos nπ  ; ∵ cos(−nπ ) = cos nπ
3  nπ nπ nπ 
4 9 
= − 
3  nπ 
−12
∴ bn = ; n = 1, 2,3, 4,...


1
จากสมการที่ (3.30) ; f (t ) = a0 + ∑ ( an cos nωt + bn sin nωt ) แทนคา a0 , an และ bn
2 n =1

จะได
1 ∞
 24 nπ x 12 nπ x 
f ( x) = (18) + ∑  2 2 cos ; n = 1,3,5,... − sin ; n = 1, 2,3,... 
2 n =1  n π 3 π 3 
24  πx 1 1 5π x 
∴ f ( x) = 9 + 2  cos + cos π x + cos + ...
π  3 9 25 3 
##
12  π x 1 2π x 1 
−  sin + sin + sin π x + ...
π  3 2 3 3 

3.5 ฟงกชันคูและคี่ (even and odd function)


จากหั ว ข อ ที่ ผ า นมาการคํ า นวณหาค า a , a และ b จะยุ ง ยากโดยเฉพาะค า
0 n n

a , b เราสามารถลดขั้ น ตอนในการคํ า นวณได โ ดยใช คุ ณ สมบั ติ ข องฟ ง ก ชั น คู แ ละ


n n

ฟงกชันคี่

นิยาม ฟงกชัน f ( x) เรียกวา “ฟงกชันคู ” เมื่อสอดคลองตามสมการ f (− x) = f ( x) เชน


x , cos x และเรียกวา “ฟงกชันคี่ ” เมื่อสอดคลองตามสมการ f (− x) = − f ( x)
2

เชน x,sin x
พิสูจน
ฟงกชันคู ให f ( x) = cos x ทําไดโดยการแทน x ดวย − x
124

∴ f (− x) = cos(− x) และเราทราบวา cos(− x) = cos x

ดังนั้นจึงกลาวไดวา f (− x) = f ( x)

รูปที่ 3.7 กราฟฟงกชันคู


ฟงกชันคี่ ให ทําไดโดยการแทน x ดวย − x
f ( x) = sin x

∴ f (− x) = sin(− x) และเราทราบวา sin(− x) = − sin x

ดังนั้นจึงกลาวไดวา f (− x) = − f ( x)

รูปที่ 3.8 กราฟฟงกชันคี่


ขอสังเกต กราฟของฟงกชันคูจะมีลักษณะสมมาตร (symmetry) รอบแกน y (สมมาตร
รอบแกนแนวตั้ ง ) และ กราฟของฟ ง ก ชั น คี่ จะมี ลั ก ษณะเสมื อ นสมมาตร (Skew
symmetry )หรือสมมาตรรอบจุดกําเนิดของแกนพิกัด ดังแสดงในรูปที่ 3.7 และ 3.8
ตามลําดับ
ตัวอยางที่ 3.6 จงแสดงวาฟงกชันตอไปนี้ เปนฟงกชันคู หรือ ฟงกชันคี่
(ก) x cos x 2

(ข) x sin x
(ค) sin x cos x
125

วิธีทํา
(ก) ให f ( x) = x cos x 2

แทน x ดวย − x จะได f (− x) = (− x ) cos(− x) = x cos x = f ( x)


2 2

∴ จึงสรุปวา x cos x เปนฟงกชันคู


2

(ข) ให f ( x) = x sin x


แทน x ดวย − x ได f (− x) = (− x) sin(− x) = (− x)(− sin x) = f ( x)
∴ จึงสรุปวา x sin x เปนฟงกชันคู
(ค) ให f ( x) = sin x cos x
แทน x ดวย − x ได f (− x) = sin(− x) cos(− x) = (− sin x) cos( x) = − f ( x)
∴ จึงสรุปวา sin x cos x เปนฟงกชันคี่
จากตัวอยางขางตนอาจกลาวถึงคุณสมบัติของฟงกชันคี่ และฟงกชันคู
คุณสมบัติของฟงกชันคี่ และฟงกชันคู
1. ฟงกชันคู × ฟงกชันคู = ฟงกชันคู
2. ฟงกชันคี่ × ฟงกชันคี่ = ฟงกชันคู
3. ฟงกชันคู × ฟงกชันคี่ = ฟงกชันคี่
a a
4. ∫ f ( x)dx = 2∫ f ( x)dx เมื่อ f ( x) เปนฟงกชันคู
−a 0
a
5. ∫ f ( x)dx = 0 เมื่อ f ( x) เปนฟงกชันคี่
−a

โดยจะทําการพิสูจนคุณสมบัติบางขอ ดังนี้
พิสูจน คุณสมบัติขอ 4. ถาให f ( x) = cos x
a

∫ cos xdx = [sin x ]


a
−a
= sin a − sin(− a ) = 2sin a
−a
a
และ 2 ∫ cos xdx = 2 [sin x ]0 = 2 [sin a − sin(0) ] = 2sin a
a

ดังนั้นจึงสรุปไดวาคุณสมบัติขอ 4. เปนจริง
126

พิสูจน คุณสมบัติขอ 5. ถาให f ( x) = sin x


a

∫ sin xdx = [ − cos x ]


a
−a
= − cos a − [− cos(− a )] = 0
−a

ดังนั้นจึงสรุปไดวาคุณสมบัติขอ 5. เปนจริง
ตัวอยางที่ 3.7 จงหาอนุกรมฟูเรียรของฟงกชัน f ( x) = x ; − π < x < π ดังแสดงในรูปที่
3.9

รูปที่ 3.9 รูปคลื่นสําหรับตัวอยางที่ 3.7

วิธีทํา จากโจทยเปนฟงกชันในชวง 2π ดังนั้นจึงใชสูตรอนุกรมฟูเรียร



1
f ( x) = a0 + ∑ ( an cos nx + bn sin nx )
2 n =1

จากโจทย f ( x) = x เปนฟงกชันคี่ ใชคุณสมบัติขอ 5.


หา a โดยใชคุณสมบัติขอ 5.
0
π
1
∴ a0 =
π −π
∫ f ( x)dx = 0

π
1
หา an ; an = ∫π x cos nxdx
π −

เมื่อ x เปนฟงกชันคี่ และ cos nx เปนฟงกชันคู ผลคูณของฟงกชันก็จะเปน


ฟงกชันคี่
∴ an = 0
π
1
หา bn ; bn = ∫ x sin nxdx
π −π
127

เมื่อ x เปนฟงกชันคี่ และ sin nx เปนฟงกชันคี่ ผลคูณของฟงกชันก็จะเปนฟงกชันคู


π
2
ดังนั้นหาคา b = ∫ x sin nxdx โดยการอินทิเกรตทีละสวน ให
π
n
0
π
1
u = x → du = dx และ dv = sin nxdx → v = − cos nx
n 0
π
2 1 
π
1
bn =  − x cos nx − ∫ − cos nxdx 
π  n 0 0
n 
π π
2 1 1 1 
=  − x cos nx + . sin nx 
π  n 0 n n 0 

2 1 1 
=  − (π cos nπ − 0 cos n0 ) + 2 ( sin nπ − sin n0 ) 
π n n 
2 1  2 cos nπ
=  − ⋅ π cos nπ  = −
π n  n
−2(−1) n
= ; cos nπ = (−1) n
n
2(−1) n +1
∴ bn =
n
เมื่อแทนคา a0 , an และ bn ในสมการที่ (3.20) จะได

2(−1) n +1

f ( x) =
n =1
∑ bn sin nx = ∑
n =1 n
sin nx

 1 1 
f ( x) = 2  sin x + sin 2 x + sin 3 x + ...  ##
 2 3 
จากตัวอยางที่ 3.7 เมื่อเราใชคุณสมบัติของฟงกชันคูและฟงกชันคี่ชวยใหการคํานวณทํา
ใหประหยัดเวลาไปไดมาก
3.5.1 อนุกรมฟูเรียรของฟงกชันคูคาบเทากับ T ใดๆ
ถาให f (t ) เปนฟงกชันคู จากคุณสมบัติของฟงกชันคูดังกลาวขางตน จะทําให
สมการที่ (3.31) เขียนไดเปน
T 2 T 2
2 4
a0 = ∫ f (t )dt ⇒ ∫ f (t )dt (3.34)
T −T 2 T 0
T /2
2
จากสมการที่ (3.32) f ( t ) cos nωtdt
T −T∫/ 2
an =
128

เมื่อ f ( t ) และ cos nωt เปนฟงกชันคู


T /2
4
∴ an = ∫ f ( t ) cos nωtdt (3.35)
T 0
T /2
2
จากสมการที่ (3.33) f ( t ) sin nωtdt
T −T∫/ 2
bn =

เมื่อ f ( t ) เปนฟงกชันคู และ sin nωt เปนฟงกชันคี่ เขียนไดเปน


∴ bn = 0 (3.36)
ดังนั้นสมการที่ (3.30) เขียนไดเปน

1
f (t ) = a0 + ∑ ( an cos nωt ) (3.37)
2 n =1

สมการที่ (3.37) เราเรียกวา “อนุกรมฟูเรียรโคไซน(Fourier cosine series)”


จากขางตนนี้กลาวไดวาถาเราทราบวา f (t ) เปนฟงกชันคู การคํานวณก็ไมตอง
หาคา b n

3.5.2 อนุกรมฟูเรียรของฟงกชันคี่คาบเทากับ T ใดๆ


ถาให f (t ) เปนฟงกชันคี่ จากคุณสมบัติของฟงกชันคี่ดังกลาวขางตน จะทําให
สมการที่ (3.31) เขียนไดเปน
a =0 0 (3.38)
จากสมการที่ (3.32) a = 0 n (3.39)
T /2
2
จากสมการที่(3.33) f ( t ) sin nωtdt
T −T∫/ 2
bn =

เมื่อ f ( t ) เปนฟงกชันคี่ และ sin nωt เปนฟงกชันคี่ เขียนไดเปน


T /2
4
∴ bn = ∫ f ( t ) sin nωtdt (3.40)
T 0

ดังนั้นสมการที่ (3.30) เขียนไดเปน



f (t ) = ∑ (b n sin nωt ) (3.41)
n =1

สมการที่ (3.41) เราเรียกวา “อนุกรมฟูเรียรไซน(Fourier sine series)”


จากขางตนนี้กลาวไดวาถาเราทราบวา f (t ) เปนฟงกชันคี่การคํานวณก็ไมตองหา
คา a , a
0 n
129

3.5.3 อนุกรมฟูเรียรของฟงกชันคูคาบเทากับ 2π
จากสมการที่ (3.20) ถึง (3.23) ถาให f ( x) เปนฟงกชันคู จากคุณสมบัติของ
ฟงกชันคูดังกลาวขางตน จะทําใหสมการที่ (3.21) เขียนไดเปน
π
2
a0 = ∫ f ( x)dx (3.42)
π 0
π
2
และ an = ∫ f ( x) cos nxdx (3.43)
π 0

สวน b =0
n (3.44)
จะทําใหเขียนสมการอนุกรมฟูเรียรได

1
f ( x) = a0 + ∑ ( an cos nx ) (3.45)
2 n =1

3.5.4 อนุกรมฟูเรียรของฟงกชันคี่คาบเทากับ 2π
จากสมการที่ (3.20) ถึง (3.23) ถาให f ( x) เปนฟงกชันคี่ จากคุณสมบัติของ
ฟงกชันคี่ดังกลาวขางตน จะทําใหสมการที่ (3.21) เขียนไดเปน
0 a =0 (3.46)
และ n a =0 (3.47)
π
2
สวน bn = ∫ f ( x) sin nxdx (3.48)
π 0

จะทําใหเขียนสมการอนุกรมฟูเรียรได

f ( x) = ∑ (b n sin nx ) (3.49)
n =1

ตัวอยางที่ 3.8 จงหาอนุกรมฟูเรียรของฟงกชัน ดังแสดงในรูปที่ 3.10

รูปที่ 3.10 รูปคลื่นสําหรับตัวอยางที่ 3.8


130

วิธีทํา จากรูปที่ 3.10 ฟงกชันเปนฟงกชันคู และมีคาบเปน 2π เราจะใชสมการที่ (3.45)


ในการหาอนุกรมฟูเรียร

1
f ( x) = a0 + ∑ ( an cos nx )
2 n =1
π
2 2  π2 
หา a ;
π
a0 = ∫ f ( x)dx =  ∫ 1dx + ∫π 0dx 
π 0 π
0
0
2 
π
2 π 
=  ∫ 2 1dx + ∫π 0dx 
π0 2 
2 π2
= [ x ]0 = 1
π
π
2
หา a ; an = ∫ f ( x) cos nxdx
π
n
0
π 2
2
=
π ∫ 1cos nxdx
0

2 π 2
= sin nx 0

2
= [sin n(π 2) − sin(0)]


0, n = 2, 4, 6,...

 2
∴ an =  , n = 1,5,9,...
 nπ
 −2
 nπ , n = 3, 7,11,...

แทนคา a0 และ a จะได


n

1 2 2 2 2
f ( x) = (1) + cos x − cos 3 x + cos 5 x − cos 7 x + ...
2 π 3π 5π 7π
1 2 1 1 1
= (1) + (cos x − cos 3x + cos 5 x − cos 7 x + ... ##
2 π 3 5 7

ตัวอยางที่ 3.9 จงหาอนุกรมฟูเรียรสัญญาณเอาตพุตของวงจรเรียงกระแสเต็มคลื่นดัง


แสดงในรูปที่ 3.11 ซึ่งมีฟงกชันดังนี้
vo (t ) = V p sin ωt
131

รูปที่ 3.11 รูปคลื่นสําหรับตัวอยางที่ 3.9


วิธีทํา จากรูปที่ 3.11 ฟงกชันเปนฟงกชันคู และมีคาบเปน T = π ดังนั้น b = 0 เราจะใช
ω
n

สมการที่ (3.34) ถึง (3.37) ในการหาอนุกรมฟูเรียร



1
f (t ) = a0 + ∑ ( an cos nωt )
2 n =1
T 2 π 2ω
4 4ω
หา a ; a0 = ∫ f (t )dt = ∫ V p sin ωtdt
π
0
T 0 0

4ωV p  − cos ωt π 2ω
=
π  ω  0
4V  π  
= p  − cos   + cos(0) 
π  2 
4V
∴ a0 = p
π
T /2
4
หา a ;
n an = ∫ f ( t ) cos nωtdt
T 0
π / 2ω

=
π ∫
0
V p sin ωt cos nωtdt

1
จากสูตรตรีโกณ sin α cos β = [sin(α + β ) + sin(α − β )]
2
4V pω π / 2ω
=
π ∫ sin ωt cos nωtdt
0

2V pω π / 2ω
=
π ∫ [sin(1 + n)ωt + sin(1 − n)ωt ] dt
0
π / 2ω
2V  − cos(1 + n)ωt − cos(1 − n)ωt 
= p + 
π  (1 + n) (1 − n) 0
132

 π π 
2V p  − cos(1 + n) 2 − [ − cos 0] − cos(1 − n) 2 − [ − cos 0] 
=  + 
π  (1 + n) (1 − n) 
 
 π π 
2V p  − cos(1 + n) 2 + 1 − cos(1 − n) 2 + 1 
=  + 
π  (1 + n) (1 − n) 
 
0 , n = 1,3,5,...

∴ an =  4V p
 (n − 1)(n + 1)π , n = 2, 4, 6,...

แทนในสมการจะได vo (t ) = f (t ) = 1  4Vp  + ∑  4Vp 



cos nωt 
2  π  n =1  (n − 1)(n + 1)π 
2V p 4V p 4V p 4V p
vo (t ) = + cos 2ωt + cos 4ωt +
cos 6ωt + ...
π1⋅ 3π 3 ⋅ 5π 5 ⋅ 7π
2V p 4V p  1 1 1 
= +  cos 2ωt + cos 4ωt + cos 6ωt + ...  ##
π π  1 ⋅ 3π 3 ⋅ 5π 5 ⋅ 7π 
จากตัวอยางที่ 3.8 และ 3.9 เราจะเห็นวา เมื่อเราทราบวาฟงกชันที่โจทยที่กําหนดใหเปน
ฟงกชันคูหรือคี่ก็จะทําใหเราหาคา a , a และ b ไดเร็วขึ้น
0 n n

ขอสังเกต กรณีที่ฟงกชันหรือสัญญาณมีคาบ และตองการใชคุณสมบัติของ


ฟงกชันคูหรือฟงกชันคี่ในการชวยหาอนุกรมฟูเรียร แตฟงกชันหรือสัญญาณนั้นไม
สามารถบอกไดวาเปนฟงกชันคูหรือฟงกชันคี่ เราสามารถพิจารณาเปลี่ยนแปลงทําให
ฟงกชันหรือสัญญาณนั้นเปนฟงกชันคูหรือฟงกชันคี่ ดังตัวอยางตอไปนี้
ตัวอยางที่ 3.10 จงหาอนุกรมฟูเรียรของฟงกชัน ดังแสดงในรูปที่ 3.12

รูปที่ 3.12 รูปคลื่นสําหรับตัวอยางที่ 3.10


133

วิธีทํา จากรูปที่ 3.12(a) เปนฟงกชันที่มีคาบ T ซึ่งโดยความเปนจริงแลวเราสามารถหา


อนุกรมฟูเรียรไดแตอาจจะตองหาคาทั้ง a , a และ b ซึ่งอาจจะเสียเวลา แตถาเราจะ
0 n n

หาอนุกรมฟูเรียรโดยใชหลักการของฟงกชันคูหรือคี่เราอาจจะหาคาเพียง a , a หรือ 0 n

b อยางใดอยางหนึ่งเทานั้น แตจากรูปเราไมสามารถบอกไดวาเปนฟงกชันคูหรือคี่ เรา


n

จึงทําการเปลี่ยนแปลงใหฟงกชันเปนฟงกชันคี่ดังรูป 3.12(b)
จากคุณสมบัติของฟงกชันคูและคี่เราจะได a = a = 0 และจากรูปที่ 3.12(b)
0 n

ซึ่งขนาดของฟงกชันลดลงเหลือ 1
2
1
ดังนั้นจะไดวา f (t ) = + g (t )
2
และฟงกชัน g (t ) เปนฟงกชันที่มีคาบ T ใด ๆ เราจึงจะใชอนุกรมฟูเรียรในรูป

g (t ) = ∑ bn sin nωt
n =1

4 T2
เราจึงเพียงแคหาคา b ซึ่ง
n bn = ∫ g (t ) sin nωtdt
T 0
จากรูปเราจะหาฟงกชัน g (t ) ในชวง 0 < t < T ที่ผานจุด  0, 1  และ  T , − 1  โดยใช
 2  2
y − y1 y2 − y1
สูตรสมการเสนตรง =
x − x1 x2 − x1
1 1 1
g (t ) − − −
จะได 2= 2 2
t T
1 t
g (t ) = −
2 T
4 T 2 1 t 
ดังนั้น bn = ∫  −  sin nωtdt
T 0 2 T 
จะใชการอินทิเกรตทีละสวน โดยให
1 t  1
u =  −  → du = − dt
2 T  T
T 2
1
และ dv = sin nωtdt → v = − cos nωt
nω 0

4  1 t   1  T 2 1   1 
T 2

จะได bn =  − ⋅
  − cos nω t
 ∫  nω
 − − cos nω t  ⋅  − dt  
T  2 T   nω 0  0   T  

4  1 t   1  
T 2
1 1 T 2
=  − ⋅
  − cos nω t  − ⋅ sin nω t 
T  2 T   nω 0 
 n 2ω 2 T 0

134

4  1 t 
T 2
  cos nωt  sin nωt
T 2

= −  −  ⋅  − 
  nω 0  T (nω )
2
T  2 T 
 0
T 2
2π sin nωt
โดยที่ ω= และ =0
T T (nω ) 2 0

=
4 1 t 
( T 2 
 −  2 − T  ⋅ cos nωt 0 
nωT
   
)
2  1 T 2  1 0 
=−   −  ⋅ cos nπ −  −  ⋅ cos 0 
nπ  2 T  2 T  
2  1  
=    ⋅ cos 0 
nπ  2  
1
∴ bn =


1
อนุกรมฟูเรียรของฟงกชันในรูปที่ 3.12(b) คือ g (t ) = ∑ sin nωt
n =1 nπ

และอนุกรมฟูเรียรของฟงกชันในรูปที่ 3.12(b)
1 1 ∞ 1
f (t ) =+ g (t ) = + ∑ sin nωt
2 2 n =1 nπ
1 1 1 1 
= +  sin ωt + sin 2ωt + sin 3ωt + ...  ##
2 π 2 3 

3.6 การขยายครึ่งคาบ (Half-Range Expansions)


จากหัวขอที่ผานมาในกรณีของฟงกชันเปนฟงกชันคูหรือฟงกชันคี่ จะเห็นวา
การหาคาสัมประสิทธิ์ของอนุกรมฟูเรียรจะทําไดงายขึ้น กลาวคือถาฟงกชันที่ตองการหา
อนุกรมฟูเรียรเปนฟงกชันคูคาสัมประสิทธิ์ b = 0 และ ถาฟงกชันที่ตองการหาอนุกรม
n

ฟูเรียรเปนฟงกชันคี่คาสัมประสิทธิ์ a , a = 0 ดังนั้นจึงไดแนวคิดมาใชในกรณีที่
0 n

ฟงกชันไมมีคาบ (nonperiodic function) ซึ่งการหาอนุกรมฟูเรียรของฟงกชันไมมีคาบนี้


สามารถใชสูตรของฟงกชันมีคาบได โดยจะทําการขยาย(expansion)ฟงกชันไมมีคาบให
เปนฟงกชันมีคาบกอน โดยฟงกชันที่ขยายใหมนี้จะตองสมมาตรกับฟงกชันเดิมในชวง
จํากัด (finite interval ; 0 ถึง l ) ซึ่งฟงกชันที่ขยายโดยทั่วไปแลวจะขยายใหเปนฟงกชัน
คูหรือฟงกชันคี่ เพราะงายตอการหาคาสัมประสิทธิ์ เชน
135

รูปที่ 3.13 ฟงกชันที่ไมมีคาบที่มีชวงจํากัด l

จากรูปที่ 3.13 เปนฟงกชันที่ไมมีคาบและมีชวงจํากัดเทากับ l ดังนั้นเราสามารถขยาย


ฟ งกชั นนี้ใ ห เปนฟ งกชัน มีค าบและเป น ฟ งก ชัน คู ดั ง แสดงในรูป ที่ 3.13(a)โดยมีค าบ
เทากับ 2l เราจะเรียกฟงกชันในรูปที่ 3.13(a) วาฟงกชันคาบคู(even periodic function)
และเรียก f (t ) วา “การขยายคาบคู (even periodic extension)” เราจะไดอนุกรมฟูเรียร
e

จากสมการที่ (3.34) ถึง (3.37)



1
f (t ) = a0 + ∑ ( an cos nωt )
2 n =1

แทนคา ω = 2π =
2π π
=
T 2l l
1 ∞
 nπ t 
f (t ) = a0 + ∑  an cos  (3.50)
2 n =1  l 
136

T 2
4
โดยที่ a0 = ∫ f (t )dt
T 0

แทนคา T = 2l จะได
l
2
a0 = ∫ f (t )dt (3.51)
l 0
T /2
4
และจาก an = ∫ f ( t ) cos nωtdt
T 0

แทนคา T = 2l และ ω = π จะได


l
nπ t
l
2
an = ∫ f ( t ) cos dt (3.52)
l 0 l
และ b =0
n (3.53)
ในทํานองเดียวกันเราสามารถขยายฟงกชันนี้ใหเปนฟงกชันมีคาบและเปนฟงกชันคี่ดัง
แสดงในรูปที่ 3.13(b)โดยมีคาบเทากับ 2l เราจะเรียกฟงกชันในรูปที่ 3.13(b) วา ฟงกชัน
คาบคี่(odd periodic function)และเรียก f (t ) วา “การขยายคาบคี่(odd periodic
o

extension)” เราจะไดอนุกรมฟูเรียร จากสมการที่ (3.38) ถึง (3.41)



f (t ) = ∑ (b
n =1
n sin nωt )

แทนคา ω = π จะได
l

 nπ t 
f (t ) = ∑  b n sin  (3.54)
n =1 l 
โดยที่ a0 = 0 และ an = 0 (3.55)
T /2
4
และ bn = ∫ f ( t ) sin nωtdt
T 0

π
แทนคา T = 2l และ ω = จะได
l
nπ t
l
2
bn = ∫ f ( t ) sin dt (3.56)
l 0 l

ตัวอยางที่ 3.11 จงหาการขยายครึ่งชวงของฟงกชันในรูปที่ 3.13 โดยให l = 1


วิธีทํา จากรูปที่ 3.13 เปนฟงกชันที่เขียนได
f (t ) = t 2 ;0 ≤ t < 1
137

ถาตองการขยายครึ่งชวงของฟงกชันเปนฟงกชันคี่ดังแสดงในรูปที่ 3.13(b)
เราจะได a = 0 และ a = 0
0 n

nπ t
l
2
สวน bn = ∫ f ( t ) sin dt
l 0 l
nπ t
1
2
= ∫ t 2 sin dt
10 1
จะใชการอินทิเกรตทีละสวน โดยให
1
1
u = t 2 → du = 2tdt และ dv = sin nπ tdt → v = − cos nπ t
nπ 0

 1
1 1
 1  
จะได bn = 2  −t 2 ⋅ cos nπ t − ∫  − cos nπ t  ⋅ ( 2tdt ) 
 nπ 0 0
nπ  
 2 1 1
2
1

( )
nπ ∫0
= 2  −t ⋅ cos nπ t + t cos nπ t dt 
 nπ 0 
 t2 2
1

∫ t ( cos nπ t )dt 
1
= 2 − ⋅ cos nπ t 0 +
 nπ nπ 0 
พจนขวามือเราจะทําการอินทิเกรตทีละสวนอีกครั้ง โดยให
1
1
u = t → du = tdt และ dv = cos nπ tdt → v = sin nπ t
nπ 0

จะได
 t2 2  1
1
1 
sin nπ t 0 − ∫
1 1
= 2 − ⋅ cos nπ t 0 + t ⋅ sin nπ tdt 
 nπ nπ  nπ 0
nπ 
 t2 2 
1
1 
 ∫
1
= 2 − ⋅ cos nπ t 0 + − sin nπ tdt 
 nπ nπ  0 nπ 
 t2 1 2  1  
1

= 2 − ⋅ cos nπ t 0 +  cos nπ t  
 nπ (nπ ) 2  nπ 0 
1
 4 2t 2  
=  −  cos nπ t 
 (nπ ) nπ 
3
0
 4 2(1) 2   4 2(0) 2  
=  −  cos nπ (1) −  −  cos nπ (0) 
 (nπ ) nπ   (nπ ) nπ 
3 3

 4 2   4 
=  −  cos nπ −  3 
 (nπ ) nπ   (nπ )  
3
138

4 2 4
= cos nπ −
cos nπ −
(nπ ) 3
nπ (nπ )3
 2 8
−4(1 − cos nπ ) 2 cos nπ  − 3 3 ; n = 1,3,5, 7,...
∴ bn = − =  nπ n π
(nπ )3 nπ  ; n = 2, 4, 6,8,...
จากสมการที่ (3.54)

 nπ t 
f (t ) = ∑  b
n =1
n sin
l 

 2 8  −2  2 8  −2
f e (t ) =  − 3 3  sin(1)π t − sin(2)π t +  − 3 3  sin(3)π t − sin(4)π t + ...
 (1)π (1) π  (2)π  (3)π (3) π  (4)π
2 8  1  2
=  − 3  sin π t − sin(2)π t +  −
8 
3 
sin 3π t −
1
sin 4π t + ... ##
π π  π  3π 27π  2π

ตัวอยางที่ 3.12 จงหาการขยายครึ่งชวงของสัญญาณพัลสรูปสามเหลี่ยม (triangular


pulse) ในรูปที่ 3.14

รูปที่ 3.14 สัญญาณพัลสรูปสามเหลี่ยม


วิธีทํา จากรูปที่ 3.14 เราจะหาคาฟงกชันในชวง 0 < t < l 2 โดยใชสูตรสมการเสนตรง
ผานจุด (0, 0) และ (l 2, k ) จะได
f (t ) − 0 k − 0
=
t −0 l 2−0
2kt
f (t ) =
l
และเราจะหาคาฟงกชันในชวง l 2<t <l โดยใชสูตรสมการเสนตรงผานจุด (l 2, k )

และ (l , 0) จะได
f (t ) − k 0−k
=
t − (l 2) l − (l 2)

f (t ) = 2k (l − t ) l
ดังนั้นจากรูปที่ 3.14 สามารถเขียนฟงกชันไดวา
139

 2kt
 l ;0 < t < l 2
f (t ) = 
 2k (l − t ) ;l 2 < t < l
 l
เปนฟงกชันที่มีคาบเทากับ l

รูปที่ 3.15 การขยายครึ่งคาบ


(a) การขยายครึ่งคาบเปนฟงกชันคู (b) การขยายครึ่งคาบเปนฟงกชนั คี่

ถาตองการขยายครึ่งชวงของฟงกชันเปนฟงกชันคูดังแสดงในรูปที่ 3.15(a)
เราจะหาคา a และ a สวน b = 0
0 n n

หาคา a จากสมการที่ (3.51)


0

2  2kt 2k (l − t ) 
l l 2 l
2
a0 = ∫ f (t )dt =  ∫ dt + ∫ dt 
l 0 l  0 l l 2
l 
2  2k 2k (l − t ) 
l 2 l
a0 = 
l  l ∫ tdt + ∫ l dt 
0 l 2 
2  2k 
l 2 l
2k
= 
l  l ∫0 tdt +
l l∫2
(l − t ) dt 

140

2  2k t2  
l 2 l
t2 2k 
=  +  lt −  
l l 2 l  2 l 2 
 0 
2  2k l 2 2k  2 l 2  l 2 l 2   
=  +  l − −  −   
l  l 8 l  2  2 8   

∴ a0 = k
หาคา a0 จากสมการที่ (3.52)
nπ t
l
2
an = ∫ f ( t ) cos dt
l 0 l
2  2kt nπ t 
l 2
nπ t
l
2k (l − t )
= ∫ cos dt + ∫ cos dt 
l  0 l l l 2
l l 
2  2k nπ t 
l 2
nπ t
l
2k
= 
l  l ∫ t cos
0
l
dt + ∫
l l2
(l − t ) cos
l
dt 

4k  nπ t 
l 2
nπ t
l
= 2  ∫ t cos dt + ∫ (l − t ) cos dt  (3.57)
l  0 l l 2
l 
l 2

จากพจนในสมการขางบนทําการอินทิเกรตทีละสวน ∫ t cos nπ t dt
l 0
l 2
nπ t l nπ t
โดยให u = t → du = dt และ dv = cos dt → v = sin
l nπ l 0
l 2 l 2 l 2
nπ t l nπ t l nπ t
∴ ∫ t cos dt = t ⋅ sin − ∫ nπ sin dt
0
l nπ l 0 0
l
l 2 l 2
l nπ t l2 nπ t
=t⋅ sin + cos
nπ l 0 (nπ ) 2
l 0

 l 2
 nπ  l   2
nπ 
=  sin + 2 
cos − 1 (3.58)
 2nπ  2  (nπ )   2 

และทํานองเดียวกันทําการอินทิเกรตทีละสวน ∫ (l − t ) cos nπ t dt จะได


l

l l 2

nπ t  l  nπ  l 2   nπ 
l 2

∫ (l − t ) cos dt =  −  sin − 2 
cos nπ − cos  (3.59)
l 2
l  2nπ  2  (nπ )   2 

แทนสมการที่ (3.58) และ (3.59) ในสมการที่ (3.57) ได


141

 l 2  nπ  l 2   nπ  
  sin + 2 
cos − 1 
4k  2nπ  2  (nπ )   2  
an = 2  
l
 +  − l  sin nπ −  l 2  cos nπ − cos nπ  
 2
  2

  2nπ  2  (nπ )   2  
4 k  l 2   nπ   l 2   nπ  
2 
= 2 
cos − 1 −  2 
cos nπ − cos  
l  (nπ )   2   (nπ )   2 
4k  nπ 
∴ an = 2 
2 cos − cos nπ − 1
(nπ )  2 
เชน 16k
a2 = − 2 2 ,
16k
a6 = − 2 2 a10 = − 2 2 ,16k
2π 6π 10 π
จะเห็นวา a = 0 เมื่อ n ≠ 2, 6,10,14,...
n

แทน a , a ในสมการที่ (3.50) จะได


o n

1 ∞
 nπ t 
f (t ) = a0 + ∑  an cos 
2 n =1  l 
1  16k   1  2π t  1  6π t  
f e (t ) = k −  2   2 cos   + 2 cos   + ... ##
2  π 2  l  6  l  
ถาตองการขยายครึ่งชวงของฟงกชันเปนฟงกชันคี่ดังแสดงในรูปที่ 3.15(b)
เราจะหาคา b สวน a , a = 0
n 0 n

 8k
 n 2π 2 ; n = 1,5,9,13,...
 8k  nπ 
โดยเราจะได bn =  2 2  sin = 0 ; n = 2, 4, 6,8,...
n π  2 
−8k
 2 2 ; n = 3, 7,11,15,...
n π
แทน b ในสมการ (3.54) จะได
n

 nπ t 
f (t ) = ∑  b
n =1
n sin
l 

 8k   1  πt  1  3π t  1  5π t  
f o (t ) =  2   2 sin   − 2 sin   + 2 sin   − ... ##
 π  1  l  3  l  5  l  

3.7 อนุกรมฟูเรียรเชิงซอน (Complex Fourier Series)


จากที่กลาวมาในหัวขอ 3.2-3.6 เปนอนุกรมฟูเรียรตรีโกณมิติ แตในการนํา
อนุกรมฟูเรียรมาใชงานเพื่อใหงายและสะดวกในการวิเคราะห เราจะแทนอนุกรมฟูเรียร
ในรูปแบบของเอ็กซโพเนนเชียลเชิงซอน (complex exponential) e ω พิจารณาจาก ±n t

อนุกรมฟูเรียรของฟงกชัน f (t ) ที่มีคาบ T ใด ๆ
142


1
f (t ) = a0 + ∑ ( an cos nωt + bn sin nωt ) (3.60)
2 n =1

จากสมการที่ (3.60)เราจะเปลี่ ย นจากฟ ง ก ชั น ไซน แ ละโคไซน ใ ห อ ยู ใ นรู ป ของ


ฟงกชันเอ็กซโพเนนเชียลโดยใชสูตรของออยเลอร(Euler Formula)
e ± jθ = cos θ ± j sin θ ; j = −1
ถา θ = nωt ; e ± jnωt = cos(nωt ) ± j sin(nωt )
1 jnωt
หรือ cos(nωt ) =
2
(
e + e − jnωt ) และ sin(nωt ) = 21j ( e jnωt
− e − jnωt )

แทนฟงกชันไซนและโคไซนในสมการที่ (3.60) จะได


a0 ∞
 1 1 jnωt − jnωt 
f (t ) = + ∑  an ( e jnωt + e− jnωt ) + bn ( e − e )
2 n =1  2 2j 
a0 ∞
 1 1 j jnωt − jnωt 
= + ∑  an ( e jnωt + e − jnωt ) + bn × (e − e )
2 n =1  2 2j j 
a0 ∞
 1 1 j jnωt − jnωt 
= + ∑  an ( e jnωt + e − jnωt ) + bn × (e − e )
2 n =1  2 2j j 

∴ f (t ) =
a0
+ ∑ n
(
∞  a − jb
n ) jnωt
e + n
( a + jbn ) e− jnωt  (3.61)

2 n =1  2 2 
a0 an − jbn an + jbn
กําหนดให c0 = ,c n = และ c− n =
2 2 2
สมการ (3.61) เขียนใหมไดเปน

f (t ) = c0 + ∑ cn e jnωt + c− n e − jnωt 
n =1
∞ −∞
= c0 + ∑ cn e jnωt + ∑ cn e jnωt
n =1 n =−1

f (t ) = ∑ce n
jnωt
(3.62)
n =−∞

สมการที่ (3.62) ก็คือ อนุกรมฟูเรียรเชิงซอน โดย c , c และ c เปนสัมประสิทธิ์ของ 0 n −n

อนุกรมฟูเรียรหาไดจาก a และ b n n
T 2
a0 1 2
หา c ;
2 2 T −T∫ 2
0 c0 = = ⋅ f (t )dt

T 2
1
T −T∫ 2
∴ c0 = f (t )dt

an − jbn
หา c ;
n cn =
2
143

1 2 
T /2 T /2
2
=  ∫ f ( t ) cos nω tdt − j ∫ f ( t ) cos nωtdt 
2  T −T / 2 T −T / 2 
1  
T /2
=  ∫ f ( t ) [ cos nωt − j sin nωt ] dt 
T  −T / 2 
1  
T /2

 ∫ f (t ) e
− jnωt
∴ cn = dt 
T  −T / 2 
1  
T /2
หา c ;
−n ∴ c− n =  ∫ f ( t ) e dt 
jnωt

T  −T / 2 
จากการหาคา c , c และ c จะเห็นวาเราสามารถเขียนแทนทั้ง 3 ดวย
0 n −n
T /2
1
f ( t ) e − jnωt dt ; n = 0, ±1, ±2,... (3.63)
T −T∫/ 2
cn =

สมการที่ (3.63) ก็คือ สัมประสิทธิ์ของอนุกรมฟูเรียรเชิงซอน และเนื่องจาก f ( t ) e − jnωt

มีคาบเปน T เราจึงสามารถเขียนไดเปน
T
1
cn = ∫ f (t ) e
− jnωt
dt (3.64)
T 0

กําหนดให , c =c = c e θ
cn = cn e jθn −n
*
n n
−j n

* แสดงถึง สังยุคเชิงซอน(complex conjugate)

ผลที่ตามมาทําใหเราสามารถแทนอนุกรมฟูเรียรในรูป

f (t ) = c0 + ∑ An cos(nωt + θ n ) (3.65)
n =1

เมื่อ A = 2 c เมื่อ c เปนคาจริงเมื่อ f (t ) เปนจริง และเราจะไดรูปอนุกรมฟูเรียรอีก


n n 0

รูปหนึ่ง โดยการแตกฟงกชันโคซายนในสมการที่ (3.65) ไดดังนี้


cos(nωt + θ n ) = cos nωt cos θ n − sin nωt sin θ n
ดังนั้นจากสมการที่ (3.65)

f (t ) = a0 + ∑ ( an cos nωt + bn sin nωt ) (3.66)
n =1

ซึ่งก็คือสมการฟูเรียรในสมการ (3.60) นั่นเอง


ดังนั้นเราจะไดความสัมพันธของสัมประสิทธิ์ของอนุกรมทั้งสองคือ
T
1
a0 = c0 =
T ∫ f (t )dt
0
144

an = 2 cn cos θ n = 2 Re [ cn ]
T
2
T ∫0
= f (t ) cos nω dt

bn = −2 cn sin θ n = −2 Im [ cn ]
T
2
= ∫ f (t ) sin nω dt
T 0

cn = (an − jbn ) / 2
An = an2 + bn2 = 2 cn
 bn 
θ n = − tan −1  −  สําหรับทุกคา n ยกเวนที่ n = 0
 an 
θn หมายถึง มุมเฟสของ c n

จากสมการที่ (3.62) เราตองการหาความสัมพันธระหวาง c และ θ เทียบกับ


n n

n หรือ nω ซึ่งเราเรียกวา สเปคตรัมเสน (line spectra) ของฟงกชัน f (t ) โดยคา c จะ n

หมายถึง สเปคตรัมขนาด(amplitude spectra) และ θ หมายถึง สเปคตรัมเฟส(phase


n

spectra) ของสั ญ ญาณ การพล็ อ ตโดยค า n เป น ทั้ ง ค า บวกและค า ลบ การพล็ อ ตค า
ลักษณะนี้เราเรียกวา สเปคตรัมสองดาน

3.8 ตัวอยางการประยุกตใชงานในทางวิศวกรรมไฟฟา
หัวขอนี้จะเปนตัวอยางการนําอนุกรมฟูเรียรมาประยุกตใชงาน โดยจะนํามาทํา
การวิเคราะหสัญญาณเพื่อหาองคประกอบของความถี่ โดยทําการแตกสัญญาณออกเปน
สเปกตรัมวาประกอบสัญญาณซายนที่มีขนาดและความถี่อะไรบาง
ตัวอยางที่ 3.13 วงจรเรียงกระแสครึ่งคลื่นที่มีแหลงจายแรงดัน x(t ) = E sin ω0t และมี
สัญญาณเอาทพุทดังแสดงในรูปที่ 3.16

รูปที่ 3.16 สัญญาณเอาทพทุ วงจรเรียงกระแสครึ่งคลื่น


145

จงทําการวิเคราะหสัญญาณเพื่อหาสเปคตรัมขนาด และ สเปคตรัมเฟสของสัญญาณ


เอาทพุท พรอมทั้งวาดรูปสเปคตรัม
วิธีทํา จากรูปสัญญาณเอาทพุทเราสามารถแทนดวยฟงกชัน
0 ; − π ω0 < t < 0
x(t ) = 
 E sin ω0t ;0 < t < π ω0
และ x t + ( 2π ω ) = x(t ) ซึ่งเปนสัญญาณมีคาบ เราจะหาสัมประสิทธิ์ของ
อนุกรมฟูเรียร
π ω0
ω0 E
a0 =
2π ∫
0
E sin ω0tdt =
π
π ω0
ω0
an =
π ∫
0
E sin ω0t cos nω0tdt
π ω0
ω0 E
=
π ∫ [sin(1 + n)ω t + sin(1 − n)ω t ] dt
0
0 0

π ω0
ω E  cos(1 + n)ω0t cos(1 − n)ω0t 
= 0 − − 
2π  (1 + n)ω0 (1 − n)ω0  0
E  − cos(1 + n)π + 1 − cos(1 − n)π + 1 
= +
2π  (1 + n) (1 − n) 

0 ; n = 1,3,5,...

an =  2E
 (n − 1)(n + 1)π ; n = 2, 4, 6,...

และในทํานองเดียวกันจะได
E
b1 =
2
เมื่อ n = 2,3, 4,...
bn = 0

ตอนนี้เราหาสัมประสิทธิ์ของอนุกรมฟูเรียรแบบเชิงซอนไดโดย
an − jbn
cn = = cn e jθn
2
ดังนั้นจะได
E
c0 = a0 = e j0
π
 π
E j  − 2 
c1 = (− jb) 2 = e
4
146

 a  j −π
cn =  n  e ( ) ; n = 2, 4, 6,...
 2
 b 
θ n = − tan −1  − n  , tan x = 0 เมื่อ x = 0, π , −π
 an 
หรือจะหาคาสเปคตรัมขนาดจากสมการที่ (3.64)
T
1
∫ f (t ) e
− jnωt
cn = dt
T 0
π
ω0
Eω0 1
∫ 2 j e
jω0t
= − e − jω0t  e− jnω0t dt
2π 0

 E π
−j n
 e 2 ; n = 2, 4, 6,....
 π ( n − 1)( n + 1)
 E
cn = ± ; n = ±1
 4 j
0 ; n ≠ ±1 and n = 3,5, 7,...


ซึ่งทั้ง 2 วิธีสามารถนํามาเขียนสเปคตรัมขนาดและสเปคตรัมเฟสไดดังรูปที่ 3.17

รูปที่ 3.17
(a) สเปคตรัมขนาด (b) สเปคตรัมเฟส
จากรูปที่ 3.17 ที่ n = 0 เปนองคประกอบที่เปนกระแสตรง (DC) และ ที่ n = 1
เปนฮารโมนิกที่ 1 ของเอาทพุทของวงจรเรียงกระแสครึ่งคลื่น ในทางอุดมคติเอาทพุทที่
147

ไดจากการเรียงกระแส x(t ) จะมีเฉพาะองคประกอบที่เปนกระแสตรง แตจากรูปที่


3.17 จะมีองคประกอบที่เปนกระแสตรง (DC)สลับดวย และจะสะสมกันเปนสวน
กระเพื่อม (ripple) และจากรูปเมื่อ n เพิ่มขึ้นขนาดของฮารโมนิกจะลดลงอยางรวดเร็ว
ดังนั้นสวนที่ทําใหเกิดการกระเพื่อมมากคือฮารโมนิกที่ 1
ตัวอยางที่ 3.14 จากสัญญาณพัลสสี่เหลี่ยมผืนผาที่แสดงในรูปที่ 3.18 โดยในแตละ
พัลสมีความสูงเทากับ k และมีความกวาง τ วินาที จงเขียนแทนสัญญาณนี้ดวย
อนุกรมฟูเรียร

รูปที่ 3.18 สัญญาณพัลสสี่เหลี่ยมผืนผา


วิธีทํา โดยเลือก t = − T เราสามารถเขียน x(t ) ไดเปน
0
2
 T τ
 0 ; − < t < −
2 2

 τ τ
x(t ) =  k ; − < t <
 2 2
 τ T
0 ; 2 < t < 2

และจะเห็นวาฟงกชันนี้เปนฟงกชันมีคาบ x(t + T ) = x(t ) จากสมการที่ (3.64) จะได
T
2
1
∫ x(t )e
− jnωt
cn = dt
T T

2
τ
2
1
∫τ ke
− jnωt
= dt
T

2
jnπ t jnπ t
k  T − 
=  e − e T

j 2π n  
148

k nπτ
= sin
nπ T
  nπτ 
sin
kτ   T 

= 
T  nπτ 
 T 
kτ  nτ 
= sin c   (3.67)
T T 
สมการที่ (3.67) เปนฟงกชั่นที่มีความสําคัญในการวิเคราะหฟูเรียรและใน
การศึกษาระบบเชิงเสนที่ไมแปรไปตามเวลา (linear time-invariant;LTI) ในวิชาทางดาน
ไฟฟาสื่อสารเปนอยางมาก เราจะเรียกฟงกชันนี้วา “ฟงกชันซิงค(sinc function)” โดยมี
นิยามวา
sin(π x)
sin c( x) = (3.68)
(π x)
sin(π x)
จากนิยาม จะเห็นวาฟงกชันนี้อยูในรูป ซึ่งเปนพจนเดียว (ไมใช sin(π x) หาร
(π x)
ดวย π x ) และเราจะเขียนไดวา
1 ; for x = 0

sin c( x) =  sin(π x)
 (π x) ; otherwise

และเราสามารถแตกฟงกชันซิงคออกเปนอนุกรมโดยใชอนุกรมของ Maclaurin ไดคือ
1  ( π x ) (π x ) (π x ) 
3 5 7

sin c( x) = π x − + − + ... 
π x  3! 5! 7! 

(π x ) (π x ) (π x )
2 4 6

= 1− + − + ... (3.69)
3! 5! 7!
จากสมการที่ (3.69) จะเห็นไดวา sin c(0) = 1 และ sin c( x) = 0 เมื่อ x = n โดยที่ n
เปนเลขจํานวนเต็ม ดังนั้น sin c( x) จึงเปนฟงกชันคู ขณะที่ sin( x) ฟงกชันคี่
149

รูปที่ 3.19 ฟงกชันซิงค


รูปที่ 3.19 แสดงฟงกชัน sin( t ) ซึ่งจะเห็นวาฟงกชันนี้มีคาเทากับ 1 ที่ t = 0 และเทากับ
T
t
0 ที่ =n หรือที่ t = nT ; n = ±1, ±2,...
T
T
ในกรณีของตัวอยางที่ 3.14 นี้ τ= เมื่อแทนลงในสมการที่ (3.67) จะได
2
k  n  k sin π n 2
cn = sin c   =
2  2  2 πn 2
k
หาคา c0 = = a0
2
2k nπ
an = 2 Re [ cn ] = sin c เมื่อ n เปนเลขคี่
nπ 2
bn = −2 Im [ cn ] = 0
ดังนั้นอนุกรมฟูเรียรในรูปที่ 3.18 คือ
k 2k  πt 1 3π t 1 5π t 
x(t ) = + cos 2 − 3 cos 2 + 5 cos 2 − ... ##
2 π
150

รูปที่ 3.20 แสดงคา c เมื่อ (a) τ = T และ (b) τ = T


n
5 2
T T
รูปที่ 3.20 แสดงคา c
n เทียบกับความถี่ เมื่อ (a) τ = และ (b) τ = และทีน่ าสนใจ
5 2
และสามารถนําไปประยุกตใชในทางไฟฟาไดก็คือกรณีที่ τ → 0 ขบวนพัลสในรูปที่
3.18 กลายเปนขบวนของ อิมพัลส(impulse) โดยมี kτ = 1 จะไดคาของ c เทียบกับ ωn

แสดงดังรูปที่ 3.21

รูปที่ 3.21 แสดงคา c เมื่อ


n τ →0
151

ลองพิจารณากรณีให τ คงที่ แตเปลี่ยนขนาดของคาบสัญญาณ T แลวดูผลการ


เปลี่ยนแปลงตอตอสเปคตรัมความถี่ของ x(t) การเพิ่มคาบ T จะทําใหขนาดของ
ฮารโมนิกสลดลง เชนเดียวกับการลดความถี่พื้นฐาน ω ซึ่งก็คือการลดระยะหาง
0

ระหวางฮารโมนิกสลง อยางไรก็ตามรูปรางของพัลสไมไดเปลี่ยนแปลงไปตามคาคาบ
ของสัญญาณ
เราสรุปไดวา ขณะที่คาบเพิ่มขึ้น
1. ไมมีผลตอรูปรางของสเปคตรัม (รูปของสัญญาณจะเหมือนเดิม)
2. ขนาดจะเล็กลงและสเปกตรัมจะถี่มากขึ้น
ดังแสดงในรูปที่ 3.22 แสดงสเปคตรัมขนาดของ x(t) เมื่อ τ = 1 และ T = 5,10

รูปที่ 3.22 ผลการคงความกวางของพัลส τ = 1 แตเปลี่ยนแปลงคาบเวลา


นอกจากการนําความรูเรื่องอนุกรมฟูเรียรไปใชในการวิเคราะหสัญญาณแลวยัง
สามารถนํามาใชในการวิเคราะหวงจรเพื่อหากระแสและแรงดันไฟฟาไดดวย ดังแสดง
ในตัวอยางดังตอไปนี้
152

รูปที่ 3.23 วงจร RLC แบบอนุกรมที่มีแหลงจายเปนคลืน่ สี่เหลี่ยม


ตัวอยางที่ 3.15 จงหากระแสในสถานะอยูตัวที่ไหลในวงจรไฟฟาตามรูปที่ 3.23(ก)
เมื่อกําหนดใหแรงดันอินพุท v(t ) ของแหลงจายมีรูปคลื่นดังที่แสดงไวในรูปที่ 3.23(ข)
วิธีทํา จากรูปที่ 3.23(ข) แรงดัน v(t ) ของวงจรมีแอมพลิจูดเทากับ V โวลตและมี
m

คาบของสัญญาณเทากับ 0.01 วินาที ดังนั้นเราจะเริ่มโดยการหาอนุกรมฟูเรียรของ


แรงดัน v(t ) โดยจะหาอยูในรูปของอนุกรมฟูเรียรในรูปเชิงซอน เพื่อจะไดงายในการหา
คาอิมพิ-แดนซที่อยูในรูปจํานวนเชิงซอน
จากอนุกรมฟูเรียรในรูปเชิงซอนในสมการที่ (3.62)

v(t ) = ∑ cne jnωt
n =−∞
T
1
และ cn = ∫ f ( t ) e − jnωt dt
T0
2π 2π π
โดยที่ ω= = = แทนคาเพื่อหาคา cn
T 0.01 0.005
1 0.005
จะได cn = ∫ Vm e − jnπ t 0.005 dt
0.01 0
0.005
e − jnπ t 0.005
= 100Vm
− jnπ 0.005 0
153

 e − jnπ (0.005) 0.005 − e − jnπ (0) 0.005 


= 100Vm  
 − jnπ 0.005 
− jnπ
1 − e 
= Vm  
 2 jnπ 
0 ; n even , n ≠ 0

=  Vm jVm
 jnπ = − ; n odd
 nπ
1 0.005 E
และ c0 = ∫ Vm dt = 0
0.01 0 2
ดังนั้นเราจะไดอนุกรมฟูเรียรของแรงดันอินพุทเปน
∞ nπ t
j
v(t ) = ∑ cn e 0.005

n =−∞

 je −600 jπ t je−200 jπ t 1 je 200 jπ t je600 jπ t 


= Vm  ... + + − − − ...  (3.70)
 3π π 2 π 3π 
เนื่องจากอิมพีแดนซของวงจร RLC มีคาเทากับ
 1 
Z (ω ) = R + j  ω L −
 ωC 
หาอิมพีแดนซจากวงจรในรูปที่ 3.23(ก)
 106 
Z (ω ) = 250 + j  0.02ω − 
 2ω 

โดยเราจะแทน ω= = 200nπ ; n odd
0.005
 2500 
จะได Z (ω ) = Z n = 250 + j  400nπ −  (3.71)
 nπ 
v(t )
หากระแสโดย i (t ) = หรือหารสมการที่ (3.70) ดวยสมการที่ (3.71) จะได
Zn

v(t )
i (t ) = = ∑ Dn e 200 jnπ t ; n odd
Z n n=−∞
c jV 1
โดยที่ Dn = n = − m
Zn nπ 250 + j  4nπ − 2500 ( nπ ) 
iVm
=− ##
(
250nπ + j 4n 2π 2 − 2500 )
154

จากการศึกษาเรื่องอนุกรมฟูเรียรทําใหเราทราบวาฟงกชันที่มีคาบนั้นเกิดจากการ
รวมของฟ ง ก ชั น หรื อ สั ญ ญาณซายน ห ลาย ๆ ความถี่ เ ข า ด ว ยกั น ซึ่ ง เราเรี ย กการนํ า
สัญญาณซายนมาบวกกันวา อนุกรมฟูเรียรตรีโกณมิติซึ่งสามารถแยกไดตามคาบของ
ฟงกชันวามีคาบ 2π หรือคาบใด ๆ ความถี่แตละความถี่เราเรียกวา องคประกอบความถี่
หรือสเปกตรัม โดยทั่วไปแลวการคํานวณสัมประสิทธิ์ของอนุกรมฟูเรียรตรีโกณมิติจะ
ยุงยากและใชเวลา แตเราสามารถลดเวลาคํานวณลงได โดยใชคุณสมบัติของฟงกชันคู
และฟงกชันคี่ และทราบการขยายครึ่งคาบของสัญญาณใหเปนสัญญาณมีคาบได และ
อีกอยางก็คือนอกจากจะสามารถเขียนอนุกรมฟูเรียรอยูในรูปแบบของอนุกรมฟูเรียร
ตรี โ กณมิ ติ แ ล ว ยั ง สามารถเขี ย นให อ ยู ใ นรู แ บบอนุ ก รมฟู เ รี ย ร เ ชิ ง ซ อ นได ด ว ย ซึ่ ง มี
ประโยชน ม ากในการนํ า ไปวิ เ คราะห ส เปคตรั ม ของสั ญ ญาณ และรวมถึ ง เป น
แนวความคิดพื้นฐานในการนําไปสูการหาสูตรการแปลงฟูเรียรที่จะกลาวในบทตอไป
ด ว ย ส ว นในการนํ า ไปประยุ ก ต ท างวิ ศ วกรรมไฟฟ า นั้ น สามารถนํ า ไปวิ เ คราะห
สเปคตรัมของสัญญาณ และวิเคราะหวงจรได

แบบฝกหัด
1. จงหาคาบของฟงกชันตอไปนี้
cos x,sin x, cos 2 x,sin 2 x, cos π x,sin π x, cos 2π x,sin 2π x
2. จงเขียนรูปคลื่นของฟงกชันตอไปนี้
2.1) sin( x)
2.2) sin( x) + 1 sin(3x)
3
1 1
2.3) sin( x) + sin(3x) + sin(5 x)
3 5
2.4) − cos( x)
1
2.5) − cos( x) + sin(2 x)
4
1 1
2.6) − cos( x) + sin(2 x) − sin(3 x)
4 9
155

3. จงหาคาของ
π
3.1) ∫ π x cos nxdx

2

3.2) ∫ x cos nxdx


π
2
0

3.3) ∫ e sin nxdx


0
x
−x

4. จงหาคาอนุกรมฟูเรียรของฟงกชันตอไปนี้
4.1) f ( x) = 1;0 ≤ x ≤ π
4.2) f ( x) = x ; −π < x < π
π
 2 + t ; −π < t < 0
4.3) f (t ) = 
 π − t ;0 < t < π
 2
 π π
 1; − 2 < t < 2
4.4) f (t ) = 
−1; π < t < 3π
 2 2
5. จงหาคาสัมประสิทธิ์อนุกรมฟูเรียรของฟงกชันที่มีคาคาบใดๆ
1 ;0 < t < 1
5.1) f (t ) = 
0 ;1 < t < 2
 0 ; − 2 < t < −1
−1 ; − 1 < t < 0

5.2) f (t ) = 
 1 ; 0 < t <1
 0 ; 1 < t < 2

5.3) f (t ) = t ; 0 < t <1

5.4) f (t ) = e− t ;0 < t < 2


t ; −π < t < 0
5.5) f (t ) = 
0 ;0 < t < π
5.6) f (t ) = t − t ; − 1 < t < 1
3

6. จงหาอนุกรมฟูเรียรของฟงกชันคาบ ซึ่งไดจากการปอนแรงดัน
v(t ) = 2 cos(100π t ) เขาวงจรเรียงกระแสครึ่งคลื่น

7. จงแสดงใหเห็นวาฟงกชันตอไปนี้เปนฟงกชันคูหรือฟงกชันคี่ หรือ ไมเปนทั้งคู


x 3 , x cos nx, x 2 cos nx, cosh x,sinh x,sin x + cos x, x x
156

8. จงหานิพจนการขยายครึ่งคาบแบบไซนและแบบโคไซนของฟงกชันตาง ๆ
ดังตอไปนี้
1 ; 0 < t < 1
8.1) f (t ) = 
0 ;1 < t < 3
8.2) f (t ) = t ; 0 < t < p
2

8.3) f (t ) = sin t ; 0 < t < 2π


8.4) f (t ) = sin(at ) ; 0 < t < 2π ; a ไมเปนจํานวนเต็ม
9. จงอินทิเกรตการขยายครึ่งคาบแบบโคไซนของ t ในโจทยขอ 8.2) เพื่อใหไดเปน
2

นิพจนการขายครึ่งคาบแบบไซนของ t 3

10. จงหาอนุกรมฟูเรียรในรูปแบบเชิงซอนของฟงกชันคาบ ตอไปนี้


 1 ; 0 < t <1
10.1) f (t ) = 
−1 ;1 < t < 2
10.2) f (t ) = t ; − 1 < t < 1
10.3) f (t ) = sin t ; 0 < t < π
10.3) f (t ) = sinh t ; − 1 < t < 1
11. จงหานิพจนของกระแสในสถานะอยูตัวที่ไหลในวงจรตามรูปที่ 3.24(ก) กําหนดให
แรงดัน e(t ) มีรปู คลื่นดังแสดงในรูปที่ 3.24(ข)

รูปที่ 3.24 รูปแบบฝกหัดขอ 11.


157

เอกสารอางอิง

1. Wylie, C.R. , Advanced Engineering Mathematics, McGraw-Hill, NewYork,


5th ed., 1982
2. Kreyszig, E. , Advanced Engineering Mathematics, John Wiley & Sons, New
York, 6th ed., 1988
3. O’Neil, P. V., Advanced Engineering Mathematics, Thomson Learning, Inc.,
5th ed., 2003
4. มงคล เดชนครินทร , คณิตศาสตรวิศวกรรมไฟฟา , สํานักพิมพจุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย , พิมพครั้งที่ 1 , 2536
5. นิรันดร คําประเสริฐ , คณิตศาสตรวิศวกรรมไฟฟา 1 อนุกรมฟูเรียรและฟูเรียร
ทรานสฟอรม , ศูนยสื่อเสริมกรุงเทพ , พิมพครั้งที่ 1 , 2537

You might also like