You are on page 1of 94

สท


งวน
สภาวิศวกร | Council of engineers


ขอ
สาขา : โยธา

กร
วิชา : Soil Mechanics

เนื อ
ิ ว
วศ
้ หาวิชา : 545 : Formation of soil, soil classification, soil exploration

สภ

ขอที่ 1 :

1 : CH
2 : CL
3 : SP
4 : MH

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 2 :
ตัวอยางดินเม็ดละเอียดชนิ ดหนึ่ งมีคณ
ุ สมบติดงั ตอไปนี ้ คาพิกด
ั เหลว (Liquid limit) LL = 48% คาพิกด
ั พลาสติก (Plastic limit) PL = 26% ปริมาณดินเหนี ยว (Clay content) = 25% ปริมาณทรายแปง
(Silt content) = 36% ปริมาณทราย (Sand content) = 39% คาปริมาณนํ ้าในดิน(Moisture content) w = 29% จงหาคา ดัชนี ความเหลว (Liquidity index, LI)
1 : 0.14
2 : 0.27
3 : 22%
4 : 19%

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 3 :
การทดสอบหาคาพิกด ั เหลว (Liquid limit, LL) ของดินเหนี ยวชนิ ดหนึ่ ง ในหองปฏิบต
ั ก ้ ในดินมีคาเทากับ 38% จงหาคาอัตราสวนชองวาง (void ratio, e) ของดินทีพ
ิ ารพบวาปริมาณความชืน ่ ิกด
ั เหลว ถา
คาความถวงจําเพาะ (Specific gravity, Gs) มีคาเทากับ 2.7 กําหนดให Degree of Saturation = 100%
1 : 0.38
2 : 1.03
3 : 0.14
4 : 0.27

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 4 :
จงพิจารณาขอความตอไปนี ้
ธิ ์
สท

วน
สง
สท

งวน
1 : ถูกเฉพาะ ขอความ a)
2 : ถูกเฉพาะ ขอความ b)
3 : ถูกเฉพาะ ขอความ c)


4 : ไมมีขอความใดถูก

ขอ
คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

กร
ขอที่ 5 :

ิ ว
การทดสอบหาคาพิกดั เหลว (Liquid limit, LL) ของดินเหนี ยวชนิ ดหนึ่ ง ในหองปฏิบต
ั ก
ิ ารโดยอุปกรณถวยของคาซาเกนดี ้ (Casagrande cup) ดังภาพ ไดผลดังนี ้
า วศ
จงประมาณคาพิกด
ั เหลว
สภ

1 : 55
2 : 42
3 : 38
4 : 32

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 6 :
ดินประเภท loess ทีพ
่ บมากในภาคอีสาน จัดเป็ นดินทีผ
่ านขบวนการเคลือ
่ นยายดวยตัวกลางใด
1 : แมนํ ้า
2 : ลม
3 : แรงโนมถวง
4 : ทะเล

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 7 :
ดินในขอใดตอไปนี ท
้ ม
ี่ ีคณ
ุ สมบัตใิ กลเคียงดินชนิ ด SP-SM มากทีส
่ ด

1 : %Fines (Fraction smaller than 0.075 mm) = 4%, Cu = 2.5
2 : %Fines = 6%, Cu = 4.5
3 : %Fines = 8%, Cu = 6.5
4 : %Fines = 10%, Cu = 8.5

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 8 :
กําหนดใหคา SPT-N value จากการทดสอบดวยเครือ
่ งมือของบริษัทหนึ่ งมีคาเทากับ 40 ถาทราบวาการสงผานพลังงานของเครือ
่ งมือไปยังกระบอกเก็บตัวอยาง มีคาเทากับ 60% (N60 = 40) จงปรับแก
คาดังกลาวไปเป็ น N80
1 : N80 = 30
2 : N80 = 35
3 : N80 = 40
4 : N80 = 53

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 9 :
ดินทีอ
่ ยูตามธรรมชาติเกิดจาก
1 : สารอินทรีย
2 : การสลายตัวของหิน
3 : การตกตะกอน
4 : ถูกทุกขอ

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 10 :
สวนประกอบของดินอิม
่ ตัว(Saturated soil) คือ
1 : สวนทีเ่ ป็ นเม็ดดิน (Solid)
2 : สวนทีเ่ ป็ นเม็ดดิน (Solid) และนํ ้า (Water)
3 : สวนทีเ่ ป็ นเม็ดดิน (Solid) และอากาศ (Air)
4 : สวนทีเ่ ป็ นเม็ดดิน (Solid) นํ ้า (Water) และอากาศ (Air)
ธิ ์

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2
สท

วน
สง
สท

งวน
ขอที่ 11 :
ดินตัวอยางมีปริมาตร (V) = 1,000 c.c. หนั ก (W) = 1,750 gm. มีปริมาตรนํ ้า (Vw) 250 c.c. ความถวงจําเพาะ (Gs) = 2.60 จงหาคาอัตราสวนชองวาง (e)


ขอ
กร
 
 

ิ ว
1 : 0.16
2 : 0.25
3 : 0.69
วศ
4 : 0.73

สภ

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 12 :
แรประกอบดินชนิ ดใดทีท
่ าํ ใหดินมีความบวมตัวสูง
1 : Illite
2 : Montmorillonite
3 : Quartz
4 : Kaolinite

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 13 :
เราไมควรนํ าตัวอยางดินทีไ่ ดรับการกระทบกระเทือน (Disturbed Sample) มาทําการทดสอบประเภทใด
1 : การทดสอบหาพิกด
ั อัตเทอรเบอรก
2 : การทดสอบการบดอัด
3 : การทดสอบหาความถวงจําเพาะ
4 : การทดสอบการอัดตัวคายนํ ้า

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 14 :
้ บดอัดเหมาะสม (Optimum Moisture Content) จะเปลีย
ถาเราเพิ่มพลังงานในการบดอัด คาความหนาแนนแหงสูงสุด (Maximum Dry Density) และคาความชืน ่ นแปลงอยางไร
1 : คาความหนาแนนแหงสูงสุดเพิ่มขึน
้ และคาความชืน ้ บดอัดเหมาะสมเพิ่มขึน

2 : คาความหนาแนนแหงสูงสุดเพิ่มขึน้ และคาความชืน ้ บดอัดเหมาะสมลดลง
3 : คาความหนาแนนแหงสูงสุดลดลง และคาความชืน ้ บดอัดเหมาะสมลดลง
4 : คาความหนาแนนแหงสูงสุดลดลง และคาความชืน ้ บดอัดเหมาะสมเพิ่มขึน

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 15 :
่ ใดตอไปนี ส
ดินชือ ้ ามารถจัดสัญลักษณกลุมไดเป็ น CL
1 : Sandy lean clay
2 : High plasticity clay
3 : Organic clay with sand
4 : Sandy fat clay

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 16 :
วิธก
ี ารทดสอบในสนามขอใดตอไปนี ส
้ ามารถใชรวมกับกระบอกเก็บตัวอยางแบบผาซีก (Split Spoon Sampler) ได
1 : Standard penetration test
2 : Cone penetration test
3 : Vane shear test
4 : Down hole test

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 17 :
ตัวอยางดินอิม
่ ตัวดวยนํ ้า มีคา Water content 65.1% และคา Total unit weight 1.57 t/m3 จงหาคา Specific gravity ของดิน

 
 
1 : 2.45
2 : 2.50
3 : 2.55
4 : 2.60

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 18 :
ตัวอยางดินมีคา Liquid limit 74% Plastic limit 27% Water content 65% จงหาคา Liquidity index และ Plastic index
1 : 0.88,45%
ธิ ์

2 : 0.85,45%
3 : 0.83,47%
สท

4 : 0.81,47%

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4
วน
สง
สท

สงวน
ขอที่ 19 :

ขอ
ตัวอยางดินกอนอบใหแหงมีนํ้าหนั กเทากับ 168 gms ปริมาตรเทากับ 102 cm3 Specific gravity 2.65 ตัวอยางดินหลังอบใหแหงมีนํ้าหนั กเทากับ 112 gms จงหาคา Void ratio และ Degree of
saturation
1 : 1.55,98.74%

กร
2 : 1.51,98.74%
3 : 1.41,95.74%

ิ ว
4 : 1.41,93.74%

คําตอบทีถ
า วศ
่ ก
ู ตอง : 4
สภ

ขอที่ 20 :
โครงสรางดินเหนี ยวทีต
่ กตะกอนในนํ ้าจืดเป็ นโครงสรางดินแบบใด
1 : Single grained structure
2 : Double grained structure
3 : Honeycomb structure
4 : Dispersed structure

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 21 :
โครงสรางดินเหนี ยวทีต
่ กตะกอนในทะเลเป็ นโครงสรางดินแบบใด
1 : Single grained structure
2 : Flocculated structure
3 : Honeycomb
4 : Dispersed structure

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 22 :
ในงานถนนนิ ยมใชการจําแนกดินแบบใด
1 : AASHTO
2 : FAA
3 : Unified
4 : ASTM
5 : DIN

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 23 :
ในงานวิศวกรรมทัว่ ไปนิ ยมใชการจําแนกดินแบบใด
1 : AASHTO
2 : FAA
3 : Unified
4 : ASTM

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 24 :
วิธก
ี ารใดใชหาเสนโคงการกระจายขนาดของเม็ดดินละเอียดทีม
่ ีขนาดเล็กกวา 0.075 มม.
1 : Hydrometer Analysis
2 : Hygrometer Analysis
3 : Sieve Analysis
4 : Spectrum Analysis

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 25 :
สถานะของดิน ณ สถานะใดทีด
่ น
ิ เปลีย
่ นจากของแข็งเป็ นกึง่ ของแข็ง
1 : Shrinkage limit
2 : Plastic limit
3 : Liquid limit
4 : Plastic index

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 26 :
สถานะของดิน ณ สถานะใดทีด
่ น
ิ เปลีย
่ นจากกึง่ ของแข็งเป็ นพลาสติก
1 : Shrinkage limit
2 : Plastic limit
3 : Liquid limit
4 : Plastic index

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 27 :
ธิ ์

สถานะของดิน ณ สถานะใดทีด
่ น
ิ เปลีย
่ นจากพลาสติกเป็ นของเหลว
สท

1 : Shrinkage limit
2 : Plastic limit

3 : Liquid limit
วน
สง
สท

งวน
4 : Plastic index

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3


ขอ
ขอที่ 28 :

กร
ดัชนี ความเหนี ยว (Plasticity index) เป็ นผลตางของคาใด
1 : LL-PL

ิ ว
2 : LL-SL
3 : LL-PI
4 : PL-LL
า วศ
คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1
สภ

ขอที่ 29 :
ดินชนิ ดหนึ่ ง เมื่อนํ าไปรอนผานตะแกรงมาตราฐานเบอรตาง ๆ ไดขอมูลดังนี ้
มี % ผานตะแกรงมาตราฐานเบอร 4 = 75 %
มี% ผานตะแกรงมาตราฐานเบอร 200 = 45 %
ดินชนิ ดนี ค
้ วรมีสญ ั ลักษณตัวแรกตามระบบจําแนกดิน Unified เป็ น
1:G
2:S
3:C
4 : ขอมูลไมเพียงพอทีจ
่ ะตัดสิน

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 30 :
ปริมาณนํ ้าทีจ
่ ด
ุ ใดเป็ นปริมาณนํ ้าทีน
่ อยทีส
่ ด
ุ ทีแ
่ มวาจะมีการสูญเสียนํ ้าในดินก็ไมทําใหดินหดตัวหรือมีปริมาตรลดลง
1 : Shrinkage limit
2 : Plastic limit
3 : Liquid limit
4 : Plastic index

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 31 :
ดินชนิ ดหนึ่ ง เมื่อนํ าไปรอนผานตะแกรงมาตราฐานเบอรตาง ๆ ไดขอมูลดังนี ้
มี % ผานตะแกรงมาตราฐานเบอร 4 = 70 %
มี % ผานตะแกรงมาตราฐานเบอร 200 = 45 %
ดินชนิ ดนี ค
้ วรมีสญ ั ลักษณตัวแรกตามระบบจําแนกดินแบบ Unified เป็ น
1:C
2 : ขอมูลไมเพียงพอทีจ
่ ะตัดสิน
3:G
4:S

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 32 :
การจําแนกดินแบบใดทีแ
่ บงดินออกเป็ นกลุมจาก A-1ถึง A-7
1 : ASTM
2 : DIN
3 : Unified
4 : AASHTO

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 33 :
ในการกอสรางชนิ ดใดทีส
่ มควรใชการบดอัดแบบ Modified Proctor มากทีส
่ ด

1 : ถนนทัว่ ไป
2 : สนามบิน
3 : สนามกีฬา
4 : งานอาคาร
5 : โรงงาน

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 34 :
ในการบดอัดดินเหนี ยวใหแนนเครือ
่ งจักรแบบใดทีเ่ หมาะสมทีส
่ ด

่ สะเทือน
1 : รถบดสัน
2 : รถบดลอยาง
3 : รถบดลอเหล็ก
4 : รถบดตีนแกะ

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 35 :

การทดสอบ Triaxial Test แบบใดทีใ่ ชในการวิเคราะหหนวยแรงรวมและใชในการหาคากําลังตานทานแรงเฉื อนของดินในระยะสัน
1 : UU Test
2 : DCTest
ธิ ์

3 : CD Test
4 : ไดทุกวิธี
สท

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

วน
สง
สท

งวน
ขอที่ 36 :


การทดสอบ Triaxial Test แบบใดทีใ่ ชในการวิเคราะหหนวยแรงประสิทธิผลและใชในการหาคากําลังตานทานแรงเฉื อนของดินในระยะยาว

ขอ
1 : UU Test
2 : CU Test
3 : CD Test

กร
4 : DC Test

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3
า ิ ว
วศ
ขอที่ 37 :
สภ

การทดสอบดินแบบใดทีห
่ นวยแรงยึดเหนี่ ยว มีคาประมาณครึง่ หนึ่ งของหนวยแรงอัด
1 : Unconfine Compression Test
2 : Triaxial Test แบบ UU
3 : Triaxial Test แบบ CU
4 : Triaxial Test แบบ CD

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 38 :
ดินชนิ ดหนึ่ งมีอต
ั ราสวนชองวางเทากับ 0.60 จะมีความพรุนเทาไร
1 : 0.375
2 : 0.450
3 : 0.550
4 : 0.675

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 39 :
การทดสอบใดทีใ่ ชทดสอบหาหนวยแรงเฉื อนในสนาม
1 : Unconfine Compression Test
2 : Triaxial Test
3 : Vane Shear Test
4 : Plate Load Test

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 40 :
้ หนั ก 20 กิโลกรัม นํ ามาอบแหงเป็ นเวลา 24 ชัว่ โมง นํ ้าหนั กดินเหลือ 15 กิโลกรัม จงหาวาตัวอยางดินชืน
ตัวอยางดินชืน ้ มีความชืน
้ (Water Content) กีเ่ ปอรเซนต
1 : 15.0%
2 : 25.0%
3 : 33.3%
4 : 66.7%

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 41 :
ตัวอยางดินชนิ ดหนึ่ ง เมื่อนํ าไปรอนผานตะแกรงพบวาผานตะแกรงเบอร 4 90% และผานตะแกรงเบอร 200 20% อยากทราบวาดินชนิ ดนี เ้ ป็ นดินประเภทใด ถาเราใชระบบการจําแนกดินของ Unified
Soil Classification System
1 : Gravel
2 : Sand
3 : Silt
4 : Clay

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 42 :
ถวย Casagrande ใชในการทดสอบใด
1 : Liquid Limit
2 : Plastic Limit
3 : Shrinkage Limit
4 : Plastic Index

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 43 :
ดินชนิ ดหนึ่ ง เมื่อนํ าไปรอนผานตะแกรงมาตราฐานเบอรตาง ๆ ไดขอมูลดังนี ้
มี % ผานตะแกรงมาตราฐานเบอร 4 = 80 %
มี % ผานตะแกรงมาตราฐานเบอร 200 = 55 %
ดินชนิ ดนี ค
้ วรมีสญ ั ลักษณตัวแรกตามระบบจําแนกดิน Unified เป็ น
1:S
2:M
3:C
4 : ขอมูลไมเพียงพอทีจ
่ ะตัดสิน

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4
ธิ ์

ขอที่ 44 :
ดินชนิ ดใดมีความเป็ นพลาสติกสูง
สท

1 : CH

2 : GL
วน
สง
สท

งวน
3 : GH
4 : CL


คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอ
กร
ขอที่ 45 :
ตัวอยางดินคงสภาพมีปริมาตร 0.25 ลูกบาศกเมตร ชัง่ ไดหนั ก 4.20 กิโลนิ วตัน ถาตัวอยางดินคงสภาพนี ม ้ 22.0 % ดินกอนนี จ
้ ีปริมาณความชืน ้ ะมีนํ้าหนั กดินแหงเทากับหรือใกลเคียงกับคาใด

ิ ว
1 : 3.16 kN
2 : 3.45 kN
3 : 4.03 kN
วศ
4 : 4.18 kN

สภ

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 46 :
ตัวอยางดินคงสภาพมีปริมาตร 0.4 ลูกบาศกเมตร ชัง่ ไดหนั ก 6.6 กิโลนิ วตัน ถาตัวอยางดินคงสภาพนี ม ้ 20.0 % จะมีความหนาแนนแหงเทากับหรือใกลเคียงกับคาใด
้ ีปริมาณความชืน
1 : 0.31 กิโลนิ วตันตอลูกบาศกเมตร
2 : 5.50 กิโลนิ วตันตอลูกบาศกเมตร
3 : 13.75 กิโลนิ วตันตอลูกบาศกเมตร
4 : 16.50 กิโลนิ วตันตอลูกบาศกเมตร

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 47 :
้ 24 % ดินนี จ
ถาตัวอยางดินชนิ ดหนึ่ งมีคาความถวงจําเพาะ 2.65 มีความพรุน (Porosity) 42 % และมีปริมาณความชืน ้ ะมีระดับความอิม
่ ตัวดวยนํ ้า (Degree of saturation) เทากับหรือใกลเคียงกับคาใด
1 : 61.4 %
2 : 70.7 %
3 : 87.8 %
4 : 95.6 %

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 48 :
้ มีความถวงจําเพาะ, (Gs) = 2.70 ความพรุน, (n) = 0.35 จงหาความหนาแนนของดินแหง
ดินชืน
1 : 1,350 kg/m3
2 : 1,755 kg/m3
3 : 2,075 kg/m3
4 : 2,700 kg/m3

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 49 :
้ มีความหนาแนน 2.0 gm/c.c. องศาของความอิม
ดินชืน ่ ตัว 59.4% เมื่อทําใหแหงมีความหนาแนน 1.8 gm/c.c. จงหาคาของความถวงจําเพาะของดิน
1 : 2.55
2 : 2.68
3 : 2.71
4 : 2.82

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 50 :
การจําแนกดินดวยระบบเอกภาพ (Unified soil classification system) จะตองทราบคุณสมบัตพ
ิ ืน
้ ฐานของดิน คือ
1 : Sieve analysis , LL, PL
2 : Sieve analysis , Group Index.
3 : Consistency limit , % Passing sieve no. 200
4 : Consistency limit , Group Index. , Cu , Cc

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 51 :
การจําแนกดินดวยระบบเอกภาพ ไดชนิ ดของดินคือ SM หมายถึง
1 : Clayey silt
2 : Inorganic silt
3 : Clayey sand, Sand - clay mixture
4 : Silty sand, Sand - silt mixture

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 52 :
จากขอมูลการทดสอบดิน จงเลือกขอทีถ
่ ก
ู ตองทีส
่ ด
ุ % Passing sieve no. 200 = 40% Cu = 6.4 Cc = 2.5
1 : GW or SW
2 : GM , GC , SM , SC
3 : Fine grained soil
4 : ไมมีคาํ ตอบทีถ
่ ก
ู ตอง

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2
ธิ ์

ขอที่ 53 :
สท

การจําแนกดินดวยระบบ AASHTO Granular materials หมายถึง


1 : ดิน A-4 , A-5 , A-6 และ A-7


วน

2 : ดินทีม
่ ีคา Group Index. > 16
สง
สท

งวน
2 : ดินทีม
่ ีคา Group Index. > 16
3 : ดินทีม่ ี % Passing sieve no. 200 < 35%
4 : ดินทีม ่ ี % Passing sieve no. 200 < 50%


คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอ
กร
ขอที่ 54 :
ดินชนิ ดหนึ่ งไดขอมูลจากการทดสอบ คือ % Passing sieve no. 200 45% ถาจําแนกดินดวยระบบ AASHTO จงเลือกขอทีถ
่ ก
ู ตองทีส
่ ด

ิ ว
วศ
1 : A-1 , A-2 หรือ A-3
2 : A-4 , A-5 , A-6 หรือ A-7
3 : Clayey sand

4 : Silty gravel
สภ

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 55 :
Liquid limit คือ
1 : ปริมาณความชืน้ ของดินตามธรรมชาติ
2 : เมื่อลดปริมาณนํ ้าในดินลง ปริมาตรรวมของดินจะคงที่
3 : ปริมาณความชืน ้ ของดิน เมื่อดินเปลีย่ นสภาพจากของแข็งเป็ นของเหลว
4 : ปริมาณความชืน ้ ของดิน เมื่อดินเปลีย่ นสภาพจากปลาสติกเป็ นของเหลว

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 56 :
Plasticity index คือ
1 : LL - SL
2 : ผลตางของปริมาณความชืน ้ ระหวางขีดแหลวและขีดปลาสติก
่ วี ้ าดินทีอ
3 : เป็ นคาทีช ่ ยูตามธรรมชาติอยูในสภาพปลาสติก
4 : เป็ นคาทีช่ สี ้ ภาพของดินตามธรรมชาติวาอยูในสภาพ ของแข็ง กึง่ ของแข็ง ปลาสติก หรือของเหลว

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 57 :
ในการเจาะสํารวจดิน การกําหนดความลึกของหลุมเจาะจะขึน
้ อยูกับ
1 : ตองลึกกวา 20 เมตร
2 : งบประมาณของเจาของโครงการ
3 : ความสามารถของเครือ ่ งมือการเจาะสํารวจ
4 : สภาพของชัน้ ดิน และนํ ้าหนั กของโครงสรางสวนเหนื อดิน

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 58 :
ถาบริเวณทีเ่ ก็บตัวอยางดินคงสภาพอยูใตระดับนํ ้าใตดิน เมื่อเก็บตัวอยางดินดังกลาวขึน ้ ได 30 % และคาความถวงจําเพาะเทากับ 2.67 คาอัตราสวนชองวาง (Void ratio)
้ มาแลว หาคาปริมาณความชืน
จะมีคาเทาหรือใกลเคียงกับคาใด
1 : 0.30
2 : 0.62
3 : 0.80
4 : 1.0

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 59 :
สัญลักษณกลุมในขอใด ทีใ่ ชสําหรับดินประเภทตะกอนทราย (Silt)
1 : SP
2 : GW
3 : MH
4 : CL

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 60 :
วิธก
ี ารทดสอบตอไปนี ข
้ อใดทีไ่ มเกีย
่ วของโดยตรงตอกระบวนการจําแนกประเภทของดิน
1 : Sieve analysis
2 : Hydrometer analysis
3 : Consistency test
4 : Compaction test

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 61 :
ธิ ์
สท

วน

เครือ
่ งมือทดสอบทีไ่ ดแสดงไวนี เ้ ป็ นเครือ
่ งมือสําหรับการทดสอบใด
สง
สท

งวน
เครือ
่ งมือทดสอบทีไ่ ดแสดงไวนี เ้ ป็ นเครือ
่ งมือสําหรับการทดสอบใด


ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : Field vane test


2 : Cone penetration test
3 : Standard penetration test
4 : Field density test

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 62 :
ดินประเภท SW เป็ นดินทีม
่ ีคณ
ุ สมบัตใิ ดตอไปนี ้
1 : ดินเหนี ยวทีม ่ ีพลาสติกซิตส
ิ ้ งู
2 : กรวดทีม ่ ีดน ิ เหนี ยวปนอยูเล็กนอย
3 : ทรายทีม ่ ีคาสัมประสิทธิ ์ความโคงเทากับ 0.8
4 : ทรายทีม ่ ีคาสัมประสิทธิ ์ความสมํ่าเสมอเทากับ 8

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 63 :
ดิน A ทีแ
่ สดงไวในรูปจัดเป็ นดินชนิ ดใด

1 : SP
2 : GW
3 : SW
4 : SC

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 64 :
ดินชนิ ดหนึ่ งถูกนํ ามาทดสอบในหองปฏิบต ั ก
ิ ารไดผลการทดสอบดังนี ้
ผานตะแกรงมาตราฐานเบอร 200 = 42 %
Liquid limit = 38 %
Plastic limit = 26 %
ดินชนิ ดนี จ
้ ะมีคา Group index (GI) ของระบบจําแนกดิน AASHTO เทากับหรือใกลเคียงกับคาใด กําหนดสูตร GI = (F-35)[0.2+0.005(u-40)]+0.01(F-15)(PI-10)
ธิ ์

1 : -3
2:0
สท

3:2

4:5
วน

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3
สง
สท

งวน
คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3


ขอ
ขอที่ 65 :
ดินชนิ ดหนึ่ งถูกนํ ามาทดสอบในหองปฏิบต ั ก
ิ ารไดผลการทดสอบดังนี ้
ผานตะแกรงมาตราฐานเบอร 200 = 33 %

กร
Liquid limit = 30 %
Plastic limit = 24 %
ดินชนิ ดนี จ
้ ะมีคา Group index (GI) ของระบบจําแนกดิน AASHTO เทากับหรือใกลเคียงกับคาใด กําหนดสูตร GI = (F-35)[0.2+0.005(u-40)]+0.01(F-15)(PI-10)
1:4
2:7
3 : -1
า ิ ว
วศ
4:0
สภ

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 66 :
จงจําแนกประเภทดินทีไ่ ดใหไวตามระบบของ AASHTO

1 : A-1-a
2 : A-1-b
3 : A-3
4 : A-2-4

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 67 :
จงจําแนกตัวอยางดินทีไ่ ดใหไวตามระบบ AASHTO

1 : A-5
2 : A-6
3 : A-7-5
4 : A-7-6

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 68 :
เมื่อตองการเก็บตัวอยางดินคุณภาพสูง (Undisturbed sample) ควรจะใชอุปกรณเก็บตัวอยางดินแบบใด
1 : Hand auger
2 : Split spoon sampler
3 : Shelby tube sampler
4 : Thickwall sampler

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3
ธิ ์
สท

ขอที่ 69 :
วน

รูปทีไ่ ดแสดงไวเป็ นผลการทดสอบทีไ่ ดจากวิธก


ี ารใด
สง
สท

งวน
รูปทีไ่ ดแสดงไวเป็ นผลการทดสอบทีไ่ ดจากวิธก
ี ารใด


ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : Standard penetration test


2 : Cone penetration test
3 : Field vane test
4 : Down hole test

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 70 :
จงหาคา Percent finer ของตะแกรงเบอร 40 ของตัวอยางดินทีม
่ ีผลการทดสอบดังตาราง

1 : 43.00

2 : 13.96
3 : 75.04
4 : 57.00

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 71 :
จงหาคา Percent finer ของตะแกรงเบอร 60 ของตัวอยางดินทีม
่ ีผลการทดสอบดังตาราง

1 : 97.92
2 : 86.04
3 : 64.28
4 : 35.72

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4
ธิ ์

ขอที่ 72 :
สท

ถาในการบดอัดตัวอยางดินลงในกระบอกตัวอยางทีม ้ ละ 30 ครัง้ จํานวน 4 ชัน


่ ีปริมาตร 0.05 ลูกบาศกฟุต โดยใชลูกตุมหนั ก12 ปอนด ยกใหสูง 15 นิ ว้ แลวปลอยใหตกกระแทกดินในกระบอกตัวอยางชัน ้

เต็มกระบอกตัวอยางพอดี จงหาวาพลังงานทีใ่ ชบดอัดดินในกระบอกตัวอยางมีคาเทาไร


วน
สง
สท

งวน
1 : 12,000 ฟุตปอนด/ลบ.ฟุต
2 : 24,000 ฟุตปอนด/ลบ.ฟุต
3 : 36,000 ฟุตปอนด/ลบ.ฟุต


4 : 42,000 ฟุตปอนด/ลบ.ฟุต

ขอ
คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

กร
ิ ว
ขอที่ 73 :
ถาในการบดอัดตัวอยางดินลงในกระบอกตัวอยางทีม ้ ละ 30 ครัง้ จํานวน 6
่ ีปริมาตร 0.08 ลูกบาศกฟุต โดยใชลูกตุมหนั ก 20 ปอนด ยกใหสูง 18 นิ ว้ แลวปลอยใหตกกระแทกดินในกระบอกตัวอยางชัน
ชัน
า วศ
้ เต็มกระบอกตัวอยางพอดี จงหาวาพลังงานทีใ่ ชบดอัดดินในกระบอกตัวอยางมีคาเทาไร
1 : 67,500 ฟุตปอนด/ลบ.ฟุต
2 : 56,250 ฟุตปอนด/ลบ.ฟุต
สภ

3 : 36,000 ฟุตปอนด/ลบ.ฟุต
4 : 12,375 ฟุตปอนด/ลบ.ฟุต

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 74 :
้ พอประมาณ จากนั น
นํ าตัวอยางดินแหงมาใสนํ ้าใหมีความชืน ้ นํ าดินดังกลาวมาบดอัดดวยวิธี Standard Proctor test โดยใชกระบอกตัวอยางมีปริมาตร 1/30 ลูบ.ฟุต เมื่อบดอัดจนเต็มแลว นํ าดินออกจาก
กระบอกตัวอยางแลวนํ าไปชัง่ ไดหนั ก 4.13 ปอนด นํ าเศษดินไปหาปริมาณความชืน ้ ไดขอมูลดังนี ้
นน.ดินเปี ยก+กระปอง = 165.3 กรัม
นน.ดินแหง+กระปอง = 148.6 กรัม
นน.กระปอง= 40.5 กรัม
จงหาคาความหนาแนนแหงของดิน
1 : 7.55 ปอนด/ลบ.ฟุต
2 : 87.6 ปอนด/ลบ.ฟุต
3 : 107.4 ปอนด/ลบ.ฟุต
4 : 123.9 ปอนด/ลบ.ฟุต

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 75 :
ดินชนิ ดหนึ่ งมีคาความพรุน (porosity) เทากับ 40% และมีคาความถวงจําเพาะของเม็ดดิน (Specific gravity of solids) เทากับ 2.7 จงคํานวณคาหนวยนํ ้าหนั กของดิน ในกรณี ทด
ี่ น
ิ มีดก
ี รีความอิม
่ ตัวดวย
นํ ้าเทากับ 50%
1 : 15.9 kN/m3
2 : 18.2 kN/m3
3 : 18.5 kN/m3
4 : 19.5 kN/m3

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 76 :

1 : 4453 m3
2 : 4776 m3
3 : 5224 m3
4 : 5557 m3

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 77 :
ดินเหนี ยวอิม
่ ตัวกอนหนึ่ งมีปริมาตร 25 cm3 ทีพ่ ิกด
ั เหลว (liquid limit) ดินเหนี ยวชนิ ดนี ม
้ ีคาพิกด
ั เหลว และ คาพิกด
ั การหดตัว (shrinkage limit) เทากับ 42% และ 25% ตามลําดับ จงหาคาตํา่ สุดของ
ปริมาตรของดินกอนนี ท ้ เี่ ป็ นไปได สมมติวาดินมีคาความถวงจําเพาะของเม็ดดิน (specific gravity of solids) เทากับ 2.72
1 : 25 cm3
2 : 22 cm3
3 : 20 cm3
4 : 18 cm3

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 78 :
การทดสอบในสนามในขอใด ทีม
่ ีขน
ึ ้ เพื่อบอกคาความแข็งแรงของดินเหนี ยวออน
1 : Field vane shear test
2 : Pressuremeter test
3 : Constant head test
4 : Field density test

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 79 :
ผลการทดสอบ Standard Penetration test จะบงบอกคาใดของดินในขอตอไปนี ้
ธิ ์

1 : Relative density
สท

2 : Angle of internal friciton


3 : Stiffness modulus

4 : ถูกทัง้ 3 ขอ
วน
สง
สท

งวน
คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4


ขอ
ขอที่ 80 :
การทดสอบในสนามในขอไหนทีม
่ ีขน
ึ ้ เพื่อแสดงความตานทานตอแรงเฉื อนของดิน

กร
1 : Vane shear test
2 : Pressuremeter test

ิ ว
3 : Constant head test
วศ
4 : Field density test

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

สภ

ขอที่ 81 :
หากทานตองการทราบพฤติกรรมของการทรุดตัวของดินเหนี ยว ทานตองกําหนดการทดสอบแบบใดในขอตอไปนี ้
1 : Compaction test
2 : Triaxial compresstion tet

3 : Direct shear test

4 : Consolidation test

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 82 :
จงบอกองคประกอบทีม
่ ีอท
ิ ธิพลตอความหนาแนนของดินแหงในการบดอัดดินเหนี ยวในสนาม
1 : วิธก
ี ารในการบดอัด
2 : พลังงานทีใ่ ชในการบดอัด
3 : ปริมาณนํ ้า
4 : ถูกทุกขอ

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 83 :
ขอใดเป็ นการบงบอกขอกําหนดสําหรับการบดอัดดิน (Compaction specification)
1 : Relative density
2 : Percentage compaction
3 : Optimum water content
4 : ถูกทุกขอ

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 84 :
จงบอกประเภทของดิน A ตามระบบ USCS (Unified Soil Classification System) โดยมีขอมูลดังนี ้ %ผานตะแกรง#4 100% %ผานตะแกรง#10 98% %ผานตะแกรง#40 70% %ผานตะแกรง#100 20%
%ผานตะแกรง#200 8% ขนาดของเม็ดดินที6
่ 0%finer 0.33 mm. ขนาดของเม็ดดินที3่ 0%finer 0.18 mm. ขนาดของเม็ดดินที1่ 0%finer 0.09 mm.
1 : SW
2 : SP
3 : SW-SM หรือ SW-SC
4 : SP-SM หรือ SP-SC

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 85 :
จงบอกประเภทของดิน B ตามระบบ USCS (Unified Soil Classification System) โดยมีขอมูลดินดังนี ้
%ผานตะแกรง#4 100% %ผานตะแกรง#40 100%
%ผานตะแกรง#100 93% %ผานตะแกรง#200 90%
Liquid Limit 40% Plastic Limit 20%

1 : CL
2 : OL
3 : ML
4 : CL-ML

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1
ธิ ์
สท

ขอที่ 86 :
วน

้ ซึง่ จะมีคามากนอยแตกตางกันไปตามสภาพของมวลดิน ไดแก มวลดินชืน


ความหนาแนนของมวลดิน คือนํ ้าหนั กของมวลดินตอหนวยปริมาตรของมวลดินนั น ้ มวลดินแหง มวลดินอิม
่ ตัว และมวลดินจมอยู
สง
สท

งวน
้ ซึง่ จะมีคามากนอยแตกตางกันไปตามสภาพของมวลดิน ไดแก มวลดินชืน
ความหนาแนนของมวลดิน คือนํ ้าหนั กของมวลดินตอหนวยปริมาตรของมวลดินนั น ้ มวลดินแหง มวลดินอิม
่ ตัว และมวลดินจมอยู
ในนํ ้า ความหนาแนนของมวลดินจะมีคามากทีส่ ด
ุ เมื่อมวลดินอยูในสภาพใด
1 : มวลดินชืน้


2 : มวลดินแหง

ขอ
3 : มวลดินอิม
่ ตัว
4 : มวลดินจมอยูในนํ ้า

กร
คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 87 : ิ ว
วศ
Transported Soil เป็ นดินทีเ่ กิดจากการสลายตัวของหิน แลวถูกพัดพาไปตกตะกอนทีอ

่ น
ื่ ดวยกลไกธรรมชาติ เชน การพัดพาไปดวยนํ ้า นํ ้าแข็ง ลมและแรงโนมถวง ดินชนิ ดใดทีไ่ มไดเกิด จากการพัดพา
ของนํ ้า
สภ

1 : Lacustine
2 : Alluvial clay
3 : Marine
4 : Loess

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 88 :
นํ าดินเหนี ยวชนิ ดหนึ่ งมาทําการทดลอง Sieve Analysis แลวเขียน Grain Size Distribution เพื่อหาปริมาณ Percent Finer ของเม็ดดินทีล
่ อดผานตระแกรง รอนเบอรตางๆ และจากการทดลองหา
Atterberg’s Limits ไดคา LL เทา กับ 52 และคา Plasticity Index PI = 37 โดยการใช AASHTO SoilClassification systemจําแนกไดวาดินนี อ ้ ยูใน Group A-7 จงหาคา PL และชนิ ดของดิน

1 : 25, A-7-6
2 : 15, A-7-5
3 : 15 , A-7-6
4 : 25 , A-7-5

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 89 :
จากกราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณนํ ้าทีใ่ ชผสมกับมวลดินกับจํานวนครัง้ ทีใ่ ชในการกระแทกถวยทองเหลือง คา Liquid Limit ทีไ่ ดจากการทดลองวิธี Percussion นี ้ คือคาของปริมาณนํ ้าทีใ่ ช
ผสมซึง่ จะทําใหรอยบากของมวลดินเคลือ
่ นเขามาบรจบกันเป็ นระยะ 1 ซม.พอดีทก ี่ ารกระทบกีค่ รัง้
1 : 15 ครัง้
2 : 20 ครัง้
3 : 25 ครัง้
4 : 30 ครัง้

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 90 :
ขอใดไมใชลักษณะการเคลือ
่ นตัวของดินใตฐานรากทีท
่ าํ ใหเกิดการพิบต

1 : General Shear
2 : Local Shear
3 : Punching Shear
4 : Beam Shear

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 91 :
องคประกอบใดทีไ่ มมีผลตอคา Ultimate Bearing Capaciy ของดินใตฐานราก
1 : นํ ้าหนั กดินเหนื อฐานราก
2 : ความกวางของฐานราก
3 : ความลึกของฐานรากจากผิวดิน
4 : คุณภาพของคอนกรีตทีใ่ ชทําฐานราก

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 92 :
ในการทดลองหาคา CBR คาแรงกดมาตรฐาน (Standard Unit Load ) ในการกดให Piston ทีม ่ ีพน ื ้ ทีห
่ นาตัด 3 ตร.นิ ว้ จมลงในเนื อ
้ ดินลึก 0.1 in มีคาเทากับ 1000 psi สําหรับดินชนิ ดหนึ่ งเมื่อบดอัดดวย
วิธี Modified Proctor แลวเมื่อกดให Piston จมลงไปลึก 0.1 in เทากัน วัดคาแรงได 750 lb ดินนี ม
้ ีคา CBR เทากับเทาไร
1 : 25
2 : 55
ธิ ์

3 : 75
4 : 85
สท

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1
วน
สง
สท

งวน
ขอที่ 93 :


ในการวิเคราะหขนาดของเม็ดดินชนิ ดเม็ดละเอียดมาก ดวยวิธี Hydrometer Analysis นั น
้ สามารถหาขนาดของเม็ดดินไดจากกฎทีเ่ กีย
่ วของกับความเร็วในการตกตะกอนของอนุ ภาคทรงกลมเล็กๆ ใน

ขอ
ของเหลว กฏนั น ื่ วาอะไร
้ มีชอ
1 : Darcy ’s Law
2 : Stoke ‘ s Law

กร
3 : Allen Hazen ‘ s Law
4 : Coulomb ‘ s Law

คําตอบทีถ
า่ ก
ิ ว
วศ
ู ตอง : 2
สภ

ขอที่ 94 :
สัมประสิทธิ ์แรงดันดินดานขาง( Coefficient of Lateral Earth Pressure) มีคาอยู 3 คา คือ At rest Lateral Earth Pressure Ko Active Lateral Earth Pressure Ka และ Passive Lateral Earth
Pressure Kp ถาเรียงลําดับคาสัมประสิทธิ ์จากนอยไปหามากจะไดดังนี ้
1 : Ko , Ka , Kp
2 : Ko , Kp , Ka
3 : Ka , Ko , Kp
4 : Kp ,Ko ,Ka

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 95 :
Atterberg ไดกําหนดปริมาณนํ ้าในดิน เพื่อแบงขอบเขตทีด ิ อยูในสภาวะตางๆ ไดแก สภาวะแข็ง สภาวะกึง่ แข็ง สภาวะพลาสติกและสภาวะของเหลว ซึง่ ปริมาณนํ ้าทีเ่ ป็ นตัวแบงขอบเขตนี ้ เรียกวา Limit
่ น
ถาเรียงลําดับของขีดแบงตามปริมาณนํ ้าทีม ่ ีอยูในดินจากนอยไปหามากจะไดดังนี ้
1 : ขีดพลาสติก , ขีดเหลว , ขีดหดตัว
2 : ขีดเหลว, ขีดหดตัว, ขีดพลาสติก
3 : ขีดเหลว , ขีดพลาสติก , ขีดหดตัว
4 : ขีดหดตัว, ขีดพลาสติก , ขีดเหลว

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 96 :
คาสัมประสิทธิ ์แรงดันดินเชิงรุก ( Active Lateral Pressure ) Ka ของดินทรายชนิ ดหนึ่ งเมื่อคํานวณโดยใชทฤษฎีของ Rankine มีคาเทากับ 0.327 ดินทรายนี ม
้ ีคามุมเสียดทานภายใน (Angle of
Internal Friction ) เทากับเทาใด
1 : 20 องศา
2 : 25 องศา
3 : 30 องศา
4 : 35 องศา

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 97 :
ดินลูกรังมีความหนาแนนเทากับ 2.1 T/m^3 , Angle of Internal Friction = 30 องศา และ c = 0.61 T/m^2 จงหาความลึก ของ Tension Crack ทีจ
่ ะเกิดขึน
้ เมื่อนํ าดินลูกรังไปเป็ นดินถมหลังกําแพงกัน
ดิน
1 : 0.75 m.
2 : 1.00 m.
3 : 1.25 m.
4 : 1.50 m.

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 98 :
จาก Mohr’s Circle ดังแสดงในรูป จงหาคาของ Normal Stress และ Shear Stress บนระนาบซึง่ ทํามุม Angle of Internal Friction = 30 กับแนวระดับ โดยมี Hajor Principal Stress(1) = 15 ksc และ
Hajor Principal Stress(3) = 65 ksc

1 : 50.0 ksc,25.5 ksc


ธิ ์

2 : 50.0 ksc, 27.5 ksc


3 : 52.5 ksc , 21.7 ksc
สท

4 : 52.5 ksc , 25.5 ksc


คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3
วน
สง
สท

ส งวน
ขอที่ 99 :

ขอ
้ ดินเหนี ยว มีระดับนํ ้าอยูทีผ
จากขอมูลของชัน ้ (Water content, w%)ได 50% และความถวงจําเพาะของเม็ดดิน 2.65 ใหคํานวณหาอัตราสวนชองวาง (Void ratio, e) ของ
่ ิวดิน เก็บตัวอยางหาคาความชืน
ดิน

กร
1 : 1.3
2 : 1.0
3 : 0.5

ิ ว
4 : ขอมูลไมเพียงพอ

คําตอบทีถ
า วศ
่ ก
ู ตอง : 1
สภ

ขอที่ 100 :
ขอใดกลาวไมถูกตอง
1 : คา Degree of Saturation คืออัตราสวนระหวางปริมาตรของนํ ้าในชองวางระหวางเม็ดดิน (Vw) กับปริมาตรของชองวางทัง้ หมดระหวางเม็ดดิน (Vv) ซึง่ จะมีคาไมเกิน 1
2 : คาความพรุน Porosity, n คืออัตราสวนระหวางปริมาตรของชองวางระหวางเม็ดดิน (Vv) กับปริมาตรของมวลดิน (V) ซึง่ จะมีคาไมเกิน 1
้ ของมวลดิน (Water Content) คืออัตราสวนระหวางนํ ้าหนั กของนํ ้าในมวลดิน (Ww) เทียบกับนํ ้าหนั กของมวลดินแหง (Ws)
3 : ความชืน
4 : คาอัตราสวนชองวางระหวางเม็ดดิน (Void ratio, e) คืออัตราสวนระหวางปริมาตรของชองวางระหวางเม็ดดิน (Vv) กับปริมาตรของเนื อ ้ ซึง่ จะมีคาไมเกิน 1
้ ดิน (Vs) ในมวลดินนั น

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 101 :
ขอใดกลาวไมถูกตอง ในการจําแนกชนิ ดของดินดวยระบบ Unified Soil Classification
1 : การจําแนกชนิ ดดินวาเป็ นแบบเม็ดหยาบ (Coarse grained soil) หรือเม็ดละเอียด (Fine grained soil) ตองใชตะแกรงเบอร 200
2 : การทดสอบ Atterberg Limit ใชเพื่อจําแนกดินประเภท Fine grained soil เทานั น ้
3 : กรณี Peat หรือดินทีม ่ ีสารอินทรียปนอยูมาก จะทําการบงชีช ้ นิ ดไดดวยการสังเกตและพิจารณาลักษณะของเนื อ
้ ดิน
4 : ดินทีม
่ ีคา Liquid Limit (LL) มากกวา 50 % จัดเป็ นดินชนิ ด High plasticity soil

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 102 :
ขอใดกลาวไดไมถูกตองเกีย
่ วกับการจําแนกประเภทของดิน
1 : ดินชนิ ด A-1 คือดินทีถ
่ ก
ู จําแนกดวยมาตรฐาน AASHTO
2 : ดินชนิ ด A-1, A-2 และ A-3 จัดเป็ นดินชนิ ด Granular Soil
3 : คาสัมประสิทธิ ์ความสมํ่าเสมอ Cu และคาสัมประสิทธิ ์ความโคง Cc ใชประกอบในการคํานวณ Group Index
4 : การวิเคราะหคา D10, D30 และ D60 นั น ้ ไดจากกราฟการกระจายตัวของขนาดเม็ดดินหรือความสัมพันธระหวาง Percent Finer by Weight กับขนาดของเม็ดดิน

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 103 :
ขอใดกลาวไดไมถูกตองเกีย
่ วกับการสํารวจดิน
1 : การเจาะเก็บตัวอยางดินดวยกระบอกบาง ตัวอยางดินทีเ่ ก็บมาไดจัดเป็ นดินประเภทไมถูกรบกวน
2 : การทดสอบ Standard Penetration Test (SPT) จะไดตัวอยางดินแบบถูกรบกวน
3 : การทดสอบ Vane Shear Test (VST) เป็ นการเก็บตัวอยางดินวิธห
ี นึ่ ง
4 : การทดสอบ Vane Shear Test เพื่อหาคา Undrained Shear Strength ของดินทีท ่ ดสอบ

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 104 :
ในการทดสอบ Standard Penetration Test (SPT)ไดผลดังนี ้
ชวง 6” แรก = 6 ครัง้
ชวง 6” ครัง้ ที่ 2 = 7 ครัง้
ชวง 6” ครัง้ ที่ 3 = 8 ครัง้
ดังนั น
้ คา SPT, N เป็ นเทาใด
1 : 13 ครัง้ ตอฟุต
2 : 14 ครัง้ ตอฟุต
3 : 15 ครัง้ ตอฟุต
4 : 21 ครัง้ ตอฟุต

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 105 :
ขอใดเป็ นวัตถุประสงคของการเจาะสํารวจดิน
1 : เพื่อเลือกหาแหลงวัสดุ
2 : เพื่อใชเป็ นขอมูลดานออกแบบ
้ ดิน
3 : เพื่อประเมินการทรุดตัวของชัน
4 : ถูกทุกขอ

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 106 :
ใหอธิบายความหมายของ D60 จากกราฟกระจายตัวของเม็ดดิน

1 : ขนาดเม็ดดินทีม ่ ีเปอรเซ็นตผาน (Percent finer) 60 % ของมวลดินทัง้ หมด


2 : ขนาดเม็ดดินทีม ่ ีเปอรเซ็นตผาน (Percent finer) 40 % ของมวลดินทัง้ หมด
3 : เม็ดดินทีม
่ ีขนาด 60 มิลลิเมตร
4 : เปอรเซ็นตผานของมวลดินทีม ่ ีขนาด 60 มิลลิเมตร

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1
ธิ ์
สท

ขอที่ 107 :

้ (Water Content) 3% ถาตองการใหตัวอยางดินนี ม


มีตวั อยางดิน 1000 กรัม มีความชืน ้ ที่ 10% จะตองเติมนํ ้าผสมเพิ่มประมาณเทาใด
้ ีความชืน
วน
สง
สท

งวน
1 : 10 กรัม
2 : 37 กรัม
3 : 68 กรัม


4 : 100 กรัม

ขอ
คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

กร
ขอที่ 108 :

ิ ว
แรดินเหนี ยวทีม
่ ีคา Activity สูง ใชในการทําเข็มเจาะระบบเปี ยก เพื่อปองกันการพังทลายของหลุมเจาะในดินทรายคือ
วศ
1 : Kaolinite

2 : Illite
3 : Montmorillonite
สภ

4 : Attapulgite

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 109 :
ตัวอยางดินเหนี ยวมีคา Void ratio เทากับ 1 จะมีคา Porosity เทากับเทาไร
1 : 0.5
2 : 1.0
3 : 1.5
4 : 2.0

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 110 :
มาตรฐานการจําแนกประเภทดินชนิ ดใดทีใ่ ชในการทํางานเกีย
่ วกับถนน
1 : ก. Unified Soil Classification System (USCS)
2 : ข. The American Association of State Highway and Transportation Offices (AASHTO)
3 : ค. U.S. Department of Agricultura Texture Classification (USDA)
4 : ง. The Federal Aviation Agency Classification System (FAA)
5 : จ. ถูกทุกขอ

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 111 :
รูปรางเสนโคงสะสมของดิบแบบใดทีแ
่ สดงเสนโคงการสะสมแบบ Well graded

1:

2:

3:

4:
5 : จ. ไมมีขอถูก

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 112 :
แรดินเหนี ยวชนิ ดใดทีเ่ มื่อเป็ นองคประกอบหลักของดินเหนี ยวแลวจะทําใหดินเหนี ยวนั น
้ มีการบวมตัวไดสูง
1 : Montmorillonite
2 : Illite
3 : Kaolinite
4 : Lignite

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1
ธิ ์

ขอที่ 113 :
สท

วน

้ ดินลุมเจาพระยาดังรูป ถาจัดดินตามลักษณะการเกิดของดิน จะจัดอยูในประเภทใด


จากชัน
สง
สท

งวน
้ ดินลุมเจาพระยาดังรูป ถาจัดดินตามลักษณะการเกิดของดิน จะจัดอยูในประเภทใด
จากชัน


ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : Sedimented soil
2 : Residual soil
3 : Dispersive soil
4 : Collapsible soil

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 114 :
ดินเหนี ยวทีถ
่ ก ื่ เฉพาะวาอะไร
ู กัดเซาะไดโดยงายเมื่อมีนํ้าไหลผานมีชอ
1 : Dispersive clay
2 : Fissured clay
3 : Soft clay
4 : Expansive clay

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 115 :
คุณสมบัตข ิ องดินทีเ่ มื่อดินถูกแรงกระทําแลวจะเสียรูปแตเมื่อปลอยแรงกระทําจะไมมีรป
ู รางเหมือนเดิมโดยดินมีปริมาตรไมเปลีย
่ นแปลงเรียกวาอะไร
1 : Plastic limit
2 : Liquid limit
3 : Elasticity
4 : Plasticity

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 116 :
ดินชนิ ดหนึ่ งเมื่อนํ ามารบกวนโดยการปั่ นหรือเขยาจะมีกาํ ลังรับแรงเฉื อนลดลง แตเมื่อตัง้ ทิง้ ไวโดยไมรบกวนซักครูจะมีกาํ ลังรับแรงเฉื อนเพิ่มขึน
้ ดังแสดงในรูป เราเรียกคุณสมบัตช
ิ นิ ดนี ว้ าอะไร
ธิ ์
สท

1 : Barotropy
2 : Anisotropy
วน
สง
สท

งวน
3 : Thixotropy
4 : Plasticity


คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอ
กร
ขอที่ 117 :
ดินชนิ ดหนึ่ ง Plastic limit = 30%, Liquid limit = 60% และมี Natural water content = 20% ขอใดถูกตอง

ิ ว
1 : ดินอยูในสภาพแข็งปั ้ นแลวดินแตก มีคา Plasticity index = 20 %
วศ
2 : ดินอยูในสภาพแข็งปั ้ นแลวดินแตก มีคา Plasticity index = 30 %
3 : ดินอยูในสภาพออนปั ้ นไดโดยไมแตก มีคา Plasticity index = 20 %
4 : ดินอยูในสภาพออนปั ้ นไดโดยไมแตก มีคา Plasticity index = 30 %

สภ

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 118 :
จากการทดสอบรอนดินผานตะแกรงไดผลการทดสอบวามีปริมาณดินผานตะแกรงเบอร 200 = 94% จะจัดดินชนิ ดนี เ้ ป็ นดินชนิ ดใด
1 : หิน
2 : ทราย
3 : กรวด
4 : ดินเหนี ยว

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 119 :
จากรูปกราฟทีก
่ าํ หนดให มีปริมาณดินทีม
่ ีขนาดเล็กกวา 0.075 มิลลิเมตร ประมาณเทาใด

1 : 35 เปอรเซ็นต
2 : 45 เปอรเซ็นต
3 : 55 เปอรเซ็นต
4 : 60 เปอรเซ็นต

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 120 :
ในการทดสอบดินชนิ ดหนึ่ งไดผลการจําแนกดินตามระบบ Unified Soil Classification System เป็ น CH ดินชนิ ดนี อ
้ าจจะเป็ นดินชนิ ดใด
1 : Clayey soil
2 : Sandy soil
3 : Gravelly soil
4 : Silty soil

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 121 :
ธิ ์
สท

วน

จากกราฟทีก
่ าํ หนดให ดินชนิ ดใดจัดเป็ นดินทีม
่ ีขนาดคละกันดีทส
ี่ ด

สง
สท

งวน
จากกราฟทีก
่ าํ หนดให ดินชนิ ดใดจัดเป็ นดินทีม
่ ีขนาดคละกันดีทส
ี่ ด


ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : ดิน A
2 : ดิน B
3 : ดิน C
4 : ดิน D

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 122 :
ตองการทดสอบกําลังรับแรงเฉื อนของดินเหนี ยวออนมากในที(่ in-situ test) โดยไมตองเก็บตัวอยาง ควรใชการทดสอบแบบใด
1 : Standard penetration test
2 : Unconsolidated Undrained triaxial test
3 : Field vane shear test
4 : Consolidation test

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 123 :
ถาตองการเก็บตัวอยางดินเหนี ยวออนมากทีร่ ะดับลึก 12 เมตรมาทดสอบกําลังรับแรงเฉื อนของดินดวยวิธี Triaxial test ควรจะใชอุปกรณใดในการเก็บตัวอยาง
1 : Cone Penetrometer
2 : Split spoon sampler
3 : Pocket penetrometer
4 : Thin wall sampler

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 124 :
้ 10% จงหาอัตราสวนชองวาง (Void ratio) และ ความหนาแนนดินอิม
ดินชนิ ดหนึ่ งมี ความหนาแนนทัง้ หมด (Bulk density) 1760 kg/m3 ความถวงจําเพาะ 2.7 และ มีปริมาณความชืน ่ ตัว (saturated
density)
1 : 0.59 และ 1.91 kg/m3
2 : 0.59 และ 2.01 kg/m3
3 : 0.69 และ 1.91 kg/m3
4 : 0.69 และ 2.01 kg/m3

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 125 :
คันดินถมถูกบดอัดทีป ้ เทากับ 17%และมี คาความพรุนเทากับ 0.386 ถาความถวงจําเพาะของเม็ดดินเทากับ 2.65 จงคํานวณหาระดับความอิม
่ ริมาณความชืน ่ ตัวของคันดินนี ้
1 : 54.5%
2 : 63.2%
3 : 71.7%
4 : 87.3%

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 126 :
ดินเหนี ยวมีอต
ั ราสวนชองวางเทากับ 0.73 ความถวงจําเพาะเทากับ 2.71 ระดับความอิม
่ ตัวเทากับ 92 % จงหาความหนาแนนแหงและความหนาแนนทัง้ หมดตามลําดับ
1 : 1,566 kg/m3 และ 1,955 kg/m3
2 : 1,566 kg/m3 และ 1,965 kg/m3
3 : 1,555 kg/m3 และ 1,955 kg/m3
4 : 1,555 kg/m3 และ 1,965 kg/m3

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1
ธิ ์
สท

ขอที่ 127 :
วน

ดินเหนี ยวชนิ ดหนึ่ งมีคณ


ุ สมบัตด
ิ งั ตอไปนี ้ LL = 50, PI = 25, wn = 54% ตัวอยางดินเหนี ยวชนิ ดเดียวกันนี แ
้ บบ Undisturbed ควรจะมี Undrained shear strength ประมาณเทาไร
สง
สท

งวน
ดินเหนี ยวชนิ ดหนึ่ งมีคณ
ุ สมบัตด
ิ งั ตอไปนี ้ LL = 50, PI = 25, wn = 54% ตัวอยางดินเหนี ยวชนิ ดเดียวกันนี แ
้ บบ Undisturbed ควรจะมี Undrained shear strength ประมาณเทาไร
1 : 0.03 t/m2


2 : 3 t/m2
3 : 30 t/m2

ขอ
4 : ไมมีขอใดถูกตอง

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

กร
ขอที่ 128 :
ิ ว
วศ
การทดสอบความหนาแนนดินในสนามของงานกอสรางถนนโดยวิธก ี รวยทรายไดผลการทดสอบดังนี ้ นน.มวลดินเปี ยกทีข่ ด
2,744 g, ความหนาแนนของทรายทีใ่ ช = 1.60 g/cm3, นน.มวลของทรายทีใ่ ชเติม = 1,289.7 g, นน.อบแหงของมวลดินทีข
า ุ ออกจากหลุม = 1,942 g, นน.มวลทรายทีใ่ ชเติมเต็มหลุมและกรวยทดสอบ =
่ ดุ ออกมา = 1,708.7 g, เมื่อดินมีความหนาแนนแหงสูงสุด(ในหองปฏิบต
ั ก
ิ าร) =
1,950 kg/m3. จงหาความหนาแนนแหง และ การบดอัดสัมพัทธ
สภ

1 : 1.88 g/cm3 และ 93.4%


2 : 1.98 g/cm3 และ 93.4%
3 : 1.88 g/cm3 และ 96.4%
4 : 1.98 g/cm3 และ 96.4%

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 129 :
ตะแกรงเบอรใดใชในการจําแนกกรวด (gravel) และทราย (sand)
1 : #4
2 : #10
3 : #40
4 : #200

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 130 :
ดินชนิ ดใดมีสวนคละดีทส
ี่ ด

1 : GW
2 : GP
3 : SP
4 : CH

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 131 :
ดินทีม
่ ีขนาดคละกันดีจะมีคา Coefficient of curvature (Cc) อยูในชวงใด
1 : 1-2
2 : 1-3
3 : 2-3
4 : 2-4

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 132 :
การเก็บตัวอยางทรายละเอียดควรใชอุปกรณชนิ ดใดในการเก็บตัวอยาง
1 : Sherby Tube
2 : Vane shear

3 : Thin wall Tube


4 : Split-Spoon Sampler
5 : ไดทุกชนิ ด

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 133 :
ขอใด ถูกตองทีส
่ ด
ุ เกีย
่ วกับคาอัตราสวนชองวางของมวลดิน ?
1 : หมายถึง อัตราสวนระหวางปริมาตรของชองวางมวลอากาศในดิน ตอปริมาตรมวลเม็ดดิน
2 : แทนดวย e และสามารถวัดไดดวยเครือ ่ งมือในหองปฐพีกลศาสตรโดยตรง
3 : เมื่อมวลดินอิม
่ ตัวดวยนํ ้า อัตราสวนชองวาง=ปริมาณนํ ้าในมวลดินx specific gravity
4 : เป็ นคุณสมบัตพ ิ ืน
้ ฐานของดินประเภทเม็ดละเอียด เชน ดินเหนี ยว และดินทรายแปง เทานั น

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 134 :
ขอใด มิไดบงบอกตัวพา(tranportation agent) ทีแ
่ สดงถึงลักษณะของการกําเนิ ดดิน ?
1 : Alluvial Soils
2 : Sand Dunes
3 : Expansive Clay
4 : Peat

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 135 :
ดินชนิ ดหนึ่ ง ผานตะแกรงเบอร 200 มากกวา 50% มีคา LL = 40 % PI =20 % ดินชนิ ดนี เ้ ป็ นดินประเภทใด
1 : Gravel
ธิ ์

2 : Sand
สท

3 : Silt
4 : Clay

วน

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4
สง
สท

งวน
คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4


ขอ
ขอที่ 136 :
ดินมีคาความหนาแนนอิม
่ ตัว 2 ตัน/ลบ.ม จงหาคาหนวยแรงประสิทธิผล(Effective stress) ทีค
่ วามลึก 5 เมตร เมื่อระดับนํ ้าอยูทีผ
่ ิวดิน
1 : 10 ตัน/ลบ.ม

กร
2 : 5 ตัน/ลบ.ม
3 : 2.5 ตัน/ลบ.ม

ิ ว
4 : 0.4 ตัน/ลบ.ม

คําตอบทีถ
า่ ก
วศ
ู ตอง : 2
สภ

ขอที่ 137 :
ตะแกรงเบอรใดใชในการจําแนกกรวด(gravel)และทราย (sand)
1 : #4
2 : #10
3 : #40
4 : #100

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 138 :
ในการทดสอบ Field density ถาไมมีทราย Ottawa จะใชทรายขนาดใดแทนได
1 : ทรายแมนํ ้าเม็ดหยาบ
2 : ทรายบกเม็ดหยาบ
3 : ทรายถมเม็ดละเอียด
4 : ทรายทีม
่ ีขนาดเม็ดสมํ่าเสมอ

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 139 :
ดินชนิ ดใดมีสวนคละดีทส
ี่ ด

1 : GW
2 : GP
3 : CL
4 : CH

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 140 :
ดินทีม
่ ีขนาดคละกันดีจะมีคา Coefficient of curvature (Cc) อยูในชวงใด
1 : 1-3
2 : 1-4
3 : 2-3
4 : 2-4

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 141 :
การเก็บตัวอยางทรายควรใชอุปกรณชนิ ดใดในการเก็บตัวอยาง
1 : Sherby Tube
2 : Thick wall Tube
3 : Thin wall Tube
4 : Split-Spoon
5 : ไดทุกชนิ ด

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 142 :
จงหาความหนาแนนอิม
่ ตัวของดินทราย
ธิ ์

1 : ก. 1.5 Mg/m3
สท

2 : ข. 1.62 Mg/m3

3 : ค. 1.78 Mg/m3
4 : ง. 1.85 Mg/m3
วน
สง
สท

งวน
คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4


ขอ
ขอที่ 143 :
้ ชัน
จงประมาณหาพลังงานตอปริมาตรในการบดอัดแบบ Standard Proctor Test โดยมี mold ขนาดเสนผาศูนยกลาง 4 นิ ว้ สูง 4.58 นิ ว้ ใชตุมหนั ก 5.5 ปอนด ยกสูง 12 นิ ว้ บดอัด 3 ชัน ้ ละ 25 ครัง้

กร
1 : 12,375 (ft. Ibf)/ft3
2 : 592.7 (ft. Ibf)/ft3

ิ ว
3 : 24,750 (ft. Ibf)/ft3
วศ
4 : 1,085.4 (ft. Ibf)/ft3

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

สภ

ขอที่ 144 :
จากผลการทดสอบจําแนกดินดวยระบบ Unified soil classification ดินชนิ ดใดเหมาะสมทีจ
่ ะนํ าไปทําแกนเขือ
่ นทึบนํ ้าทีส
่ ด

1 : GW
2 : SP
3 : CL
4 : SW

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 145 :
ตัวอยางดินทีอ ิ่ ตัวดวยนํ ้าตัวอยางหนึ่ งมีคาหนวยนํ ้าหนั กเทากับ 20 kN/m3 ถาตัวอยางดินถูกทําใหแหงโดยคงปริมาตรตัวอยางไวเทาเดิม จงหาหนวย
่ ม
นํ ้าหนั กแหงของดินตัวอยางเมื่อสมมุตวิ าคาความถวงจําเพาะของดินนี เ้ ทากับ 2.7

1 : 14.5 kN/m
3
2 : 15.8 kN/m
3
3 : 16.7 kN/m
3
4 : 17.7 kN/m
3

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 146 :
ตัวอยางดินทีอ ิ่ ตัวดวยนํ ้าตัวอยางหนึ่ งมีคาหนวยนํ ้าหนั กเทากับ 21 kN/m3 ถาตัวอยางดินถูกทําใหแหงโดยคงปริมาตรตัวอยางไวเทาเดิม จงหาหนวย
่ ม
นํ ้าหนั กแหงของดินตัวอยางเมื่อสมมุตวิ าคาความถวงจําเพาะของดินนี เ้ ทากับ 2.7
1 : 14.8 kN/m3
2 : 16.2 kN/m3
3 : 17.8 kN/m3
4 : 18.0 kN/m3

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 147 :
ตัวอยางดินทีอ ิ่ ตัวดวยนํ ้าตัวอยางหนึ่ งมีคาหนวยนํ ้าหนั กเทากับ 21 kN/m3 ถาตัวอยางดินถูกทําใหแหงโดยคงปริมาตรตัวอยางไวเทาเดิม จงหาหนวย
่ ม
นํ ้าหนั กแหงของดินตัวอยางเมื่อสมมุตวิ าคาความถวงจําเพาะของดินนี เ้ ทากับ 2.65
1 : 14.5 kN/m
3
2 : 15.8 kN/m
3
3 : 16.7 kN/m
3
4 : 18.7 kN/m
3

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 148 :
ตัวอยางดินทีอ ิ่ ตัวดวยนํ ้าตัวอยางหนึ่ งมีคาหนวยนํ ้าหนั กเทากับ 19 kN/m3 ถาตัวอยางดินถูกทําใหแหงโดยคงปริมาตรตัวอยางไวเทาเดิม จงหาหนวย
่ ม
นํ ้าหนั กแหงของดินตัวอยางเมื่อสมมุตวิ าคาความถวงจําเพาะของดินนี เ้ ทากับ 2.65
1 : 14.5 kN/m
3
2 : 15.8 kN/m
3
ธิ ์

3 : 16.7 kN/m
3
สท

4 : 17.7 kN/m
3

วน

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1
สง
สท

งวน
คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1


ขอ
ขอที่ 149 :
จงจําแนกชนิ ดของดินตามคุณสมบัตท
ิ ก
ี่ าํ หนดให

กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : SM
2 : CH
3 : ML
4 : SC

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 150 :
จงจําแนกชนิ ดของดินตามคุณสมบัตท
ิ ก
ี่ าํ หนดให

1 : SM
2 : CH
3 : ML
4 : SC

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3
ธิ ์

ขอที่ 151 :
สท

จากรูป Phase diagram กําหนด W =  346 gm   Ws = 284 gm   ถพ. = 2.70   ความหนาแนน  = 1.86 gm/cc จงคํานวณหาคา degree of

saturation และ porosity


วน
สง
สท

งวน

ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 29%,   35%
2 : 74%,   43%
3 : 62%,   40%
4 : 77%,   43%

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 152 :
จากรูป Phase diagram กําหนด W =  300 gm   Ws = 284 gm   ถพ. = 2.70   ความหนาแนน  = 1.86 gm/cc จงคํานวณหาคา degree of
saturation และ porosity

1 : 29%,   35%
2 : 74%,   43%
3 : 62%,   40%
4 : 77%,   43%

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 153 :
จากรูป Phase diagram กําหนด W =  300 gm   Ws = 260 gm   ถพ. = 2.70   ความหนาแนน  = 1.86 gm/cc จงคํานวณหาคา degree of
saturation และ porosity

1 : 29%,   35%
2 : 74%,   43%
3 : 62%,   40%
4 : 77%,   43%

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 154 :
จากรูป Phase diagram กําหนด W =  320 gm   Ws = 265 gm   ถพ. = 2.70   ความหนาแนน  = 1.86 gm/cc จงคํานวณหาคา degree of
saturation และ porosity
ธิ ์
สท

วน
สง
สท

งวน

ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 74%,   43%

2 : 62%,   40%

3 : 77%,   43%

4 : 29%,   35%

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 155 :
ดินแหงมี Gs = 2.70 ผสมนํ ้าทําใหมีปริมาณความชืน้ 16 % ถูกบดอัดลงในแบบรูปทรงกระบอกขนาดเสนผานศูนยกลาง 38 มม. ยาว 76 มม. ปริมาณ
อากาศ 6 % จงคํานวณหาคา มวลของดินทีอ ่ ยุในแทงดินรูปทรงกระบอก
1 : 163 gm.
2 : 177 gm.
3 : 158 gm.
4 : 183 gm.

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 156 :
ดินแหงมี Gs = 2.70 ผสมนํ ้าทําใหมีปริมาณความชืน้ 25 % ถูกบดอัดลงในแบบรูปทรงกระบอกขนาดเสนผานศูนยกลาง 38 มม. ยาว 76 มม. ปริมาณ
อากาศ 6 % จงคํานวณหาคา มวลของดินทีอ ่ ยุในแทงดินรูปทรงกระบอก
1 : 163 gm.
2 : 177 gm.
3 : 158 gm.
4 : 183 gm.

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 157 :
ดินแหงมี Gs = 2.65 ผสมนํ ้าทําใหมีปริมาณความชืน้ 10 % ถูกบดอัดลงในแบบรูปทรงกระบอกขนาดเสนผานศูนยกลาง 38 มม. ยาว 76 มม. ปริมาณ
อากาศ 8 % จงคํานวณหาคา มวลของดินทีอ ่ ยุในแทงดินรูปทรงกระบอก
1 : 163 gm.
2 : 177 gm.
3 : 158 gm.
4 : 183 gm.

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 158 :
้ หนั ก  2.0  กรัม เมื่ออบจนแหงดินหนั ก  1.8  กรัม จงหาปริมาณความชืน
ตัวอยางดินชืน ้ ของดิน
1 : 16%
2 : 17%
3 : 11%
4 : 22%

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 159 :
้ หนั ก  2.2  กรัม เมื่ออบจนแหงดินหนั ก  1.8  กรัม จงหาปริมาณความชืน
ตัวอยางดินชืน ้ ของดิน
1 : 16%
2 : 17%
3 : 11%
4 : 22%

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 160 :
้ หนั ก  2.1  กรัม เมื่ออบจนแหงดินหนั ก  1.8  กรัม จงหาปริมาณความชืน
ตัวอยางดินชืน ้ ของดิน
1 : 15.5%
2 : 16.7%
3 : 17.5%
4 : 18.7%
ธิ ์

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2
สท

วน
สง
สท

งวน
ขอที่ 161 :
้ หนั ก  2.2  กรัม เมื่ออบจนแหงดินหนั ก  1.9  กรัม จงหาปริมาณความชืน
ตัวอยางดินชืน ้ ของดิน


1 : 16%

ขอ
2 : 17%
3 : 11%
4 : 22%

กร
คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 162 :
า ิ ว
วศ
ดินตัวอยางมีขนาดเม็ดโตสุด  2 มม. และมีขนาดเล็กสุด  0.075 มม.  ดินตัวอยาง เป็ นดินประเภทใด
สภ

1:G
2:S
3:M
4:C

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

เนื อ
้ หาวิชา : 546 : Permeability, stresses in a soil mass, stress-strain and shear strength properties of cohesive and cohesionless soils

ขอที่ 163 :
จงใชกฏของดารซีหาคาความเร็วของนํ ้าผานทอทีม
่ ีทรายอยูเต็ม ดังแสดงในรูป กําหนดใหทรายในทอมีคาสัมประสิทธิ ์การซีมผานของนํ ้าเทากับ 10 ไมโครเมตรตอวินาที

1 : 2.5 mm/s
2 : 5.0 mm/s
3 : 7.5 mm/s
4 : 10.0 mm/s

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 164 :
การทดสอบหาคาสัมประสิทธิ ์การซึม (coefficient of permeability, k) ของดินทรายแหลงหนึ่ ง ในหองปฏิบต ิ าร โดยวิธเี ฮดคงที่ (Constant head) ซึง่ มีขอมูลดังนี ้ ตัวอยางดินมีขนาด ความสูง 6 cm
ั ก
พืน
้ ทีห
่ นาตัด 50 cm2 วัดปริมาณนํ ้าทีไ่ หลซึมตัวอยางใน 10 นาที ไดปริมาตรนํ ้า 430 cm3 การไหลอยูสภาวะความสูง (Head) คงทีเ่ ทากับ 40 cm จงคํานวณหาคาสัมประสิทธิ ์การซึม ในหนวย cm/sec

1 : 1.15 x 10-2
2 : 2.15 x 10-2
3 : 1.15 x 10-3
ธิ ์

4 : 2.15 x 10-3
สท

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

วน
สง
สท

งวน
ขอที่ 165 :
จงพิจารณาขอความตอไปนี ้


ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : ขอ a ถูกตอง
2 : ขอ b ถูกตอง
3 : ขอ c ถูกตอง
4 : ขอ d ถูกตอง

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 166 :
้ ดินเหนี ยวลวนในตําแหนงทีล
มวลดินกอนหนึ่ ง อยูในชัน ่ ก
ึ จากผิวดิน 5 เมตร หนวยนํ ้าหนั กรวมของดินมีคาเทากับ 18 kN/m3 และ หนวยนํ ้าหนั กของนํ ้ามีคาเทากับ 10 kN/m3 ระดับนํ ้าใตดินอยูตํา่ กวาผิว
ดิน 1.5 m จงคํานวณคาหนวยแรงรวมในแนวราบ (horizontal total stress) ของมวลดินกอนนี ้ ถาสัมประสิทธิ ์แรงดันดินดานขาง (coefficient of lateral earth pressure) มีคาเทากับ 0.6
1 : 35 kN/m2
2 : 68 kN/m2
3 : 89kN/m2
4 : 90 kN/m2

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 167 :
้ ดินเหนี ยวลวนในตําแหนงทีล
มวลดินกอนหนึ่ ง อยูในชัน ่ ก
ึ จากผิวดิน 5 เมตร หนวยนํ ้าหนั กของดินมีคาเทากับ 18 kN/m3 และ หนวยนํ ้าหนั กของนํ ้ามีคาเทากับ 9.8 kN/m3 ระดับนํ ้าใตดินอยูตํา่ กวาผิวดิน
1.5 m จงคํานวณคาหนวยแรงประสิทธิผลแนวดิง่ สูงสุดในอดีต (maximum past stress) ของมวลดินกอนนี ้ ถาอัตราสวนการอัดตัวคายนํ ้า (overconsolidation ratio, OCR) มีคาเทากับ 1.5
1 : 124.3 kN/m2
2 : 90.0 kN/m2
3 : 83.6 kN/m2
4 : 55.7 kN/m2

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 168 :
จงคํานณคาหนวยแรงทีเ่ พิ่มมากขึน
้ ในมวลดินเฉพาะในแนวดิง่ ณ ตําแหนงทีอยูลึกลงไปจากผิวดิน 4 เมตร เมื่อมีนํ้าหนั กแบบจุด (point load) ทีม
่ ีคาเทากับ 200 ตัน กระทําหางจากจุด A ในแนวราบ 3
เมตร โดยที่

1 : 25.15 ตัน/ตร.ม
2 : 5.97 ตัน/ตร.ม
3 : 1.96 ตัน/ตร.ม
4 : ขอมูลไมเพียงพอ

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 169 :
มวลดินอิม ้ ดินเหนี ยวลวนในตําแหนงทีล
่ ตัวดวยนํ ้า อยูในชัน ่ ก
ึ จากผิวดิน 5 เมตร ตอมามีหนวยแรงภายนอกมากระทําแบบรวดเร็ว เป็ นผลทําใหหนวยแรงรวมในแนวดิง่ และราบของดินมีคาเพิ่มขึน ้ เทากับ
15 kN/m2 และ 10 kN/m2 ตามลําดับและกอใหเกิดแรงดันนํ ้าเพิ่มขึน ้ อยางกระทันหันเป็ นความสูง 2 เมตร จงหาคาพารามิเตอร A (Skempton’s pore pressure parameter) ถาหนวยนํ ้าหนั กของนํ ้ามี
คาเทากับ 9.8 kN/m3

1 : 1.96
2 : 0.78
3 : 1.31
4 : 1.92

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4
ธิ ์
สท

ขอที่ 170 :
วน

จากผลการทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน (Standard Penetration Test, SPT) ดวยการตอกใหจมครัง้ ละ 6 นิ ว้ ไดผลการนั บครัง้ ในการตอกดังตารางขางลาง จงคํานวณหาคา N
สง
สท

งวน
จากผลการทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน (Standard Penetration Test, SPT) ดวยการตอกใหจมครัง้ ละ 6 นิ ว้ ไดผลการนั บครัง้ ในการตอกดังตารางขางลาง จงคํานวณหาคา N


ขอ
กร
1 : 15

ิ ว
2 : 22
3 : 25
4 : 27
า วศ
สภ

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 171 :
ขอใดเป็ นผลทีไ่ ดจากการทดสอบ Cone Penetration Test (CPT)

1 : แรงแบกทานของดิน (end bearing resistance)


2 : แรงเสียดทาน (friction resistance)
3 : แรงดันนํ ้าใตดิน (water pressure)
4 : ถูกทุกขอ

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 172 :
อุปกรณการทดสอบหรือวิธก
ี ารทดสอบในขอใด ทีไ่ มสามารถใชหาคากําลังรับแรงเฉื อนแบบไมระบายนํ ้า (undrained shear strength)ของดินได
1 : การทดสอบแบบเฉื อนโดยตรง (direct shear test)
2 : การทดสอบการยุบตัวหนึ่ งมิติ (oedometer หรือ consolidation test)
3 : การทดสอบแบบมีแรงอัดสามแกน (triaxial test)
4 : การทดสอบโดยใชใบมีดมาตรฐาน (vane shear test)

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 173 :
การทดสอบหากําลังรับแรงเฉื อนของดินทรายอัดแนน (Direct Shear) โดยใชกลองทดสอบขนาด 10 x 10 cm เมื่อใสแรงกระทําแนวดิง่ (normal load) 200 กก. กระทําคงทีต
่ ลอดการทดสอบ พบวาวัด
คาแรงเฉื อนสูงสุด (peak shear load) มีคาเทากับ 183 กก. จงหาคามุมของแรงเสียดทานภายใน (Angle of Internal Friction)
1 : 28 องศา
2 : 35 องศา
3 : 42.5 องศา
4 : 47.5 องศา

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 174 :
จากผลการทดสอบแบบไมมีแรงอัดรอบขาง (unconfined compression test) ของดินจากแหลงดินแหงหนึ่ ง ไดคา qu = 10 t/m2 ถานํ าตัวอยางดินจากแหลงนี ไ้ ปทดสอบแบบแรงอัดสามแกนชนิ ดไม
ระบายนํ ้า (consolidated undrained triaxial compression test, CU-Test) จะไดผลของคากําลังรับแรงเฉื อนแบบไมระบายนํ ้า (undrained shear strength) เทาใด
1 : มากกวา 10 t/m2
2 : 10 t/m2
3 : 5 t/m2 หรือมากกวา 5 t/m2
4 : นอยกวา 5 t/m2

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 175 :
จากผลการทดสอบแบบแรงอัดสามแกนชนิ ดไมระบายนํ ้า (unconsolidated undrained triaxial compression test, UU-Test) จงหาคากําลังรับแรงเฉื อนแบบไมระบายนํ ้า (undrained shear strength)
เมื่อความสูงและเสนผาศูนยกลางของตัวอยางกอนการทดสอบคือ 76mm และ 38mm ตามลําดับ โดยผลการทดสอบทีจ ่ ด
ุ วิบต
ั ม
ิ ีคาตามตารางขางลางนี ้

1 : 292 kN/m2
2 : 248 kN/m2
ธิ ์

3 : 146 kN/m2
สท

4 : 124 kN/m2

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4
วน
สง
สท

ส งวน
ขอที่ 176 :
จากสมการทีก ่ าํ หนดใหสําหรับการหาคาหนวยแรงทีร่ ะดับความลึก z ภายใตจุดศูนยกลางของแรงกระทําบนพืน
้ ทีว่ งกลมทีม
่ ีรศ
ั มี R ดังแสดงในรูป ก) จงหาคาหนวยแรงทีร่ ะดับความลึก 2.5 ม. ภายใต

ขอ
เงือ
่ นไขในรูป ข)

กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 1.52 t/sq.m.
2 : 4.55 t/sq.m.
3 : 6.83 t/sq.m.
4 : 9.11 t/sq.m.

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 177 :
จงพิจารณาขอความตอไปนี ้

1 : ถูกทุกขอ
2 : ถูกสามขอ
3 : ถูกสองขอ
4 : ถูกหนึ่ งขอ

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 178 :
้ ดินเหนี ยวลวนลึกจากผิวดิน 5 เมตร หนวยนํ ้าหนั กของดินมีคาเทากับ 18 kN/m3 และ หนวยนํ ้าหนั กของนํ ้ามีคาเทากับ 9.8 kN/m3 ระดับนํ ้าใตดินอยูตํา่ กวาผิวดิน 1.5 m ถา
มวลดินกอนหนึ่ ง อยูในชัน
พารามิเตอรสําหรับกําลังแรงเฉื อนของมอร-คูลอมป (Mohr-Coulomb shear strength parameters) มีคาคือ c = 5 kN/m2 และ phi = 28 องศา ใหประมาณคากําลังรับแรงเฉื อนแบบระบายนํ ้า (drained
shear strength) ของมวลดินกอนนี ้
1 : 51 kN/m2
2 : 48 kN/m2
3 : 35 kN/m2
4 : 32 kN/m2

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 179 :
้ ดินเหนี ยว เราควรใช Parameters จากการทดสอบประเภทใด
ในการวิเคราะหเสถียรภาพงานขุดในชัน
1 : Unconfined Compression Test
2 : Triaxial Test - Unconsolidated Undrained
3 : Vane Shear Test
4 : ถูกทุกขอ

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4
ธิ ์
สท

ขอที่ 180 :
ระดับนํ ้าเหนื อเขือ
่ นทีเ่ พิ่มขึน
้ มีผลตอ Flow Net อยางไร

วน
สง
สท

งวน
1 : Flow Line ยาวขึน

2 : Flow Net ไมเปลีย ่ นแปลง
3 : จํานวน Equipotential Line เพิ่มขึน


4 : จํานวน Equipotential Line ไมเปลีย ่ นแปลง

ขอ
คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

กร
ิ ว
ขอที่ 181 :
ในกรณี ทมี่ ีนํ้าหนั กแผสมํ่าเสมอกระทําลงบนผิวดินภายในพืน
้ ทีท
่ ไี่ ดแสดงไว จงหาวาทีร่ ะดับลึกลงใตผิวดิน 4 เมตร หนวยแรงจะมีคาลดลงเหลือประมาณรอยละเทาใดเทียบกับขนาดของนํ ้าหนั กแผทีผ
่ ิว
ดิน
า วศ
สภ

1 : ประมาณรอยละ 20
2 : ประมาณรอยละ 40
3 : ประมาณรอยละ 60
4 : ประมาณรอยละ 80

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 182 :
ดินชนิ ดหนึ่ งมีคาความถวงจําเพาะ 2.68 และอัตราสวนชองวาง 0.65 อยากทราบวามีคาความลาดวิกฤตเชิงชลศาสตร Critical Hydrualic Gradient) เทาไร
1 : 1.02
2 : 4.12
3 : 5.66
4 : 0.24

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 183 :
ในกรณี ทดี่ น
ิ ถมหลังกําแพงกันดินเป็ นแบบเอียงจะใชทฤษฎีใดในการวิเคราะห
1 : Columb
2 : Rankine
3 : Terzaghi
4 : Mohr
5 : ไดทุกวิธี

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 184 :
วิธก
ี ารใดใชในการวิเคราะหหาแรงดันดานขางของดินโดยวิธก
ี ราฟฟิ ค โดยสามเหลีย
่ มแทนแรง
1 : Columb
2 : Rankine
3 : Terzaghi
4 : Mohr
5 : Culmann

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 5

ขอที่ 185 :
แรงดันดินดานขางทีก
่ ระทําตอโครงสรางกําแพงกันดินเมื่อใหกําแพงกันดินเกิดการเคลือ
่ นทีห
่ นี จากดินทีก
่ น
ั ้ ไวเรียกวา
1 : Earth pressure at rest
2 : Active Earth pressure
3 : Passive Earth pressure
4 : Overturning Moment

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2
ธิ ์
สท

วน
สง
สท

งวน
ขอที่ 186 :
Newmark’s Chart ใชในการคํานวณหาสิง่ ใด


1 : การกระจายหนวยแรงในดิน

ขอ
2 : ตาขายการไหลของนํ ้าในดิน
3 : ความสามารถในการซึมนํ ้า
4 : การทรุดตัว

กร
คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

า ิ ว
วศ
ขอที่ 187 :
สภ

จากรูป คาความเคนประสิทธิผล (Effective Stress) ทีจ


่ ด
ุ A มีคาเทาไร

1 : -50 กิโลนิ วตันตอตารางเมตร


2 : 0 กิโลนิ วตันตอตารางเมตร
3 : 10 กิโลนิ วตันตอตารางเมตร
4 : 20 กิโลนิ วตันตอตารางเมตร

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 188 :
้ ดินจะเร็วหรือชา ขึน
การไหลของนํ ้าผานชัน ้ อยูกับองคประกอบหลักขอใด
1 : แนวทีแ่ สดงการไหลของนํ ้า (Flow line)
2 : ผลตางของพลังงานระหวางจุด 2 จุดทีน ่ ํ ้าไหล
3 : ทิศทางการไหลของนํ ้า
4 : ผิดทุกขอ

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 189 :
้ ดินแบบ Constant head จงหาความเร็วของนํ ้า (Seepage velocity) ทีไ่ หลผานชัน
จากรูปการทดสอบการไหลของนํ ้าผานชัน ้ ดิน

1 : 0.360 cm/sec.
2 : 0.054 cm/sec.
3 : 0.090 cm/sec.
4 : 0.216 cm/sec.

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 190 :
ธิ ์
สท

วน

จากรูปจงหา Seepage pressure ทีจ


่ ด
ุ A, กําหนดใหหนวยนํ ้าหนั กของนํ ้า = 9.81 kN/m3
สง
สท

งวน
จากรูปจงหา Seepage pressure ทีจ
่ ด
ุ A, กําหนดใหหนวยนํ ้าหนั กของนํ ้า = 9.81 kN/m3


ขอ
กร
า ิ ว
วศ
1 : 2.94 kN/m2
สภ

2 : 3.92 kN/m2
3 : 6.87 kN/m2
4 : 9.81 kN/m2

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 191 :
จากรูปจงหา Effective stress ทีจ
่ ด
ุ A เมื่อมีการไหลของนํ ้า, กําหนดใหหนวยนํ ้าหนั กของนํ ้า = 9.81 kN/m3

1 : 0.82 kN/m2
2 : 2.94 kN/m2
3 : 3.76 kN/m2
4 : 7.68 kN/m2

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 192 :
จากรูปเป็ นหนวยแรงทีก
่ ระทํากับดิน จงหาหนวยแรงในระนาบทีเ่ อียง 35 deg. กับแนวราบ

1 : Normal stress = 22.5 MPa Shear stress = 5.5 MPa


2 : Normal stress = 35.5 MPa Shear stress = 5.0 MPa
3 : Normal stress = 40.5 MPa Shear stress = 4.5 MPa
4 : Normal stress = 44.5 MPa Shear stress = 4.0 MPa

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 193 :

1 : C = 10 kN/m2 Phi = 10 deg.


2 : C = 25 kN/m2 Phi = 10 deg.
3 : C = 40 kN/m2 Phi = 20 deg.
4 : C = 55 kN/m2 Phi = 20 deg.

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 194 :
การทดสอบหาคาคุณสมบัตใิ นการรับแรงเฉื อนของดินในสนามคือ
1 : Vane shear test
2 : Direct shear test
3 : Triaxial test
4 : Unconfined Compression test

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1
ธิ ์
สท

ขอที่ 195 :

วน

้ ทรายทีไ่ ดแสดงไว กําหนดใหนํ ้าไหลตามแนวเอียงของชัน


จงหาปริมาณการไหลผานชัน ้ ทราย
สง
สท

งวน
้ ทรายทีไ่ ดแสดงไว กําหนดใหนํ ้าไหลตามแนวเอียงของชัน
จงหาปริมาณการไหลผานชัน ้ ทราย


ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1:

2:

3:

4:

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 196 :
้ ดินทีไ่ ดแสดงไว หากปริมาณการสูบออกทีส
จงหาคาสัมประสิทธิ ์การไหลของนํ ้าในชัน ่ ภาพสมดุลยมีคาเทากับ 200 ลบ.ม.ตอวัน

1 : 0.14 m/day
2 : 0.24 m/day
3 : 0.29 m/day
4 : 0.35 m/day

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 197 :
้ ดิน L มีคาเทากับ 10 ซม. จงหาคาสปส.ความซึม
จากผลการทดสอบหาสปส.ความซึมไดแบบ Variable head พบวาระดับนํ ้าลดจาก H1 = 20 ซม.ไปเป็ น H2 = 10 ซม. ในเวลา 3 วัน โดยความสูงของชัน
ไดของตัวอยางดินชนิ ดนี ้
ธิ ์
สท

1 : 0.69 cm/days
2 : 1.44 cm/days
วน
สง
สท

งวน
3 : 2.31 cm/days
4 : 3.32 cm/days


คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอ
กร
ขอที่ 198 :
ในการทดลอง Unconfined compression test กับตัวอยางดินเสนผานศูนยกลาง 4 เซนติเมตร สูง 8 เซนติเมตร คาแรงกดในขณะทีต
่ วั อยางดินวิบต
ั เิ ทากับ 145 นิ วตัน โดยทําใหแทงตัวอยางยุบตัว 1.2
เซนติเมตร คา Undrained shear strength ของดินนี ม
้ ีคาเทากับหรือใกลเคียงกับคาใด

ิ ว
วศ
1 : 49 kN/sq.m
2 : 57.5 kN/sq.m
3 : 98 kN/sq.m

4 : 115 kN/sq.m
สภ

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 199 :
ในการทดลอง Unconfined compression test กับตัวอยางดินเสนผานศูนยกลาง 4 เซนติเมตร สูง 8 เซนติเมตร คาแรงกดในขณะทีต
่ วั อยางดินวิบต
ั เิ ทากับ 150 นิ วตัน โดยทําใหแทงตัวอยางยุบตัว 1.2
เซนติเมตร คา Unconfined compressive strength ของดินนี ม
้ ีคาเทากับหรือใกลเคียงกับคาใด
1 : 50.6 kN/sq.m
2 : 59.5 kN/sq.m
3 : 101.3 kN/sq.m
4 : 119 kN/sq.m

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 200 :
ถานํ าดินเหนี ยวทีม
่ ีคากําลังรับแรงเฉื อนแบบไมระบายนํ ้าเทากับ 10 t/sq.m. ไปทดสอบดวยเครือ
่ งอัดสามแกนวิธี Unconsolidated-Undrained test โดยใชแรงดันเซลลเทากับ 10 t/sq.m. ตัวอยางดิน
จะวิบตั เมื่อมีหนวยแรงตามแนวแกนเทากับเทาใด
1 : 10 t/sq.m.
2 : 20 t/sq.m.
3 : 30 t/sq.m.
4 : 40 t/sq.m.

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 201 :
ถานํ าดินเหนี ยวไปทดสอบดวยเครือ่ งอัดสามแกนวิธี Unconsolidated-Undrained test โดยใชแรงดันเซลลเทากับ 7.5 t/sq.m. พบวาหนวยแรงวิบต
ั ใิ นแนวดิง่ เทากับ 27.5 t/sq.m. ดินเหนี ยวนี จ
้ ะมีกาํ ลัง
รับแรงเฉื อนแบบไมระบายนํ ้าเทาใด
1 : 10 t/sq.m.
2 : 17.5 t/sq.m.
3 : 20 t/sq.m.
4 : 27.5 t/sq.m.

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 202 :
ถานํ าดินเหนี ยวทีม
่ ีคากําลังรับแรงอัดแกนเดียวเทากับ 10 t/sq.m. ไปทดสอบดวยเครือ
่ งอัดสามแกนวิธี Unconsolidated-Undrained test โดยใชแรงดันเซลลเทากับ 20 t/sq.m. ตัวอยางดินจะวิบต
ั เมื่อ
มีหนวยแรงตามแนวแกนเทากับเทาใด
1 : 25 t/sq.m.
2 : 30 t/sq.m.
3 : 35 t/sq.m.
4 : 40 t/sq.m.

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 203 :
ถานํ าตัวอยางทรายทีไ่ มมีคา Cohesion ไปทดสอบในเครือ
่ งอัดสามแกนแลวพบวา ตัวอยางดินวิบต
ั เิ มื่อหนวยแรงตามแนวแกนมีคาเทากับ 20 t/sq.m. ภายใตแรงดันเซลล 10 t/sq.m. จงหาคาองศาแหง
ความเสียดทานของตัวอยางดินนี ้
1 : 14.5 องศา
2 : 21.2 องศา
3 : 19.47 องศา
4 : 26.56 องศา

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 204 :
ถานํ าตัวอยางทรายทีม
่ ีคา Cohesion เทากับ 1 t/sq.m. ไปทดสอบในเครือ
่ งอัดสามแกนแลวพบวา ตัวอยางดินวิบต
ั เิ มื่อหนวยแรงตามแนวแกนมีคาเทากับ 15 t/sq.m. ภายใตแรงดันเซลล 5 t/sq.m. จง
หาคาองศาแหงความเสียดทานของตัวอยางดินนี ้
1 : 12.5 degree
2 : 24.5 degree
3 : 36.5 degree
4 : 42.5 degree

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 205 :
ธิ ์
สท

วน

้ ดินบริเวณหนึ่ งแสดงดังรูป ถาคาหนวยนํ ้าหนั กของนํ ้าเทากับ 9.81 กิโลนิ วตันตอลูกบาศกเมตร จงหาคาความเคนประสิทธิผล (Effective stress) ทีจ
ชัน ่ ด
ุ A
สง
สท

งวน
้ ดินบริเวณหนึ่ งแสดงดังรูป ถาคาหนวยนํ ้าหนั กของนํ ้าเทากับ 9.81 กิโลนิ วตันตอลูกบาศกเมตร จงหาคาความเคนประสิทธิผล (Effective stress) ทีจ
ชัน ่ ด
ุ A


ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 58.94 กิโลนิ วตันตอตารางเมตร


2 : 63.84 กิโลนิ วตันตอตารางเมตร
3 : 68.75 กิโลนิ วตันตอตารางเมตร
4 : 78.56 กิโลนิ วตันตอตารางเมตร

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 206 :
้ ดินบริเวณหนึ่ งแสดงดังรูป ถาคาหนวยนํ ้าหนั กของนํ ้าเทากับ 9.81 กิโลนิ วตันตอลูกบาศกเมตร จงหาคาความเคนประสิทธิผล (Effective stress) ทีจ
ชัน ่ ด
ุ A

1 : 0 กิโลนิ วตันตอตารางเมตร
2 : 76.38 กิโลนิ วตันตอตารางเมตร
3 : 105.81 กิโลนิ วตันตอตารางเมตร
4 : 135.42 กิโลนิ วตันตอตารางเมตร

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 207 :
้ ดินบริเวณหนึ่ งแสดงดังรูป ถาคาหนวยนํ ้าหนั กของนํ ้าเทากับ 9.81 กิโลนิ วตันตอลูกบาศกเมตร จงหาคาความเคนประสิทธิผล (Effective stress) ทีจ
ชัน ่ ด
ุ A

1 : 107.82 กิโลนิ วตันตอตารางเมตร


2 : 137.25 กิโลนิ วตันตอตารางเมตร
3 : 176.49 กิโลนิ วตันตอตารางเมตร
4 : 215.73 กิโลนิ วตันตอตารางเมตร

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2
ธิ ์
สท

ขอที่ 208 :
วน
สง
สท

งวน

ขอ
กร
ิ ว
วศ
1 : 145.5 กิโลนิ วตันตอตารางเมตร
2 : 152.8 กิโลนิ วตันตอตารางเมตร
3 : 280 กิโลนิ วตันตอตารางเมตร

4 : 295 กิโลนิ วตันตอตารางเมตร
สภ

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 209 :

1 : 26.4 องศา
2 : 32.8 องศา
3 : 45 องศา
4 : 51.7 องศา

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 210 :

1 : 26.4 องศา
2 : 32.8 องศา
3 : 45 องศา
4 : 58.2 องศา

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 211 :
ธิ ์
สท

วน

จงใชกฏของดารซีหาคาความเร็วของนํ ้าผานทอทีม
่ ีทรายอยูเต็ม ดังแสดงในรูป กําหนดใหทรายในทออยูมีสม ิ นาที
ั ประสิทธิ ์การซีมผานของนํ ้าเทากับ 1มิลลิเมตรตอวิ
สง
สท

งวน
จงใชกฏของดารซีหาคาความเร็วของนํ ้าผานทอทีม
่ ีทรายอยูเต็ม ดังแสดงในรูป กําหนดใหทรายในทออยูมีสม ิ นาที
ั ประสิทธิ ์การซีมผานของนํ ้าเทากับ 1มิลลิเมตรตอวิ


ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 35.4 mm/s
2 : 70.7 mm/s
3 : 141.4 mm/s
4 : 200 mm/s

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 212 :
ในกรณี ทมี่ ีนํ้าหนั กแผสมํ่าเสมอกระทําลงบนผิวดินภายในพืน
้ ทีท
่ ไี่ ดแสดงไว จงหาวาทีร่ ะดับลึกลงใตผิวดิน 4 เมตร หนวยแรง ณ ตําแหนงทีม
่ ีลก ้ ะมีคาลดลงเหลือประมาณรอยละเทาใดเทียบกับ
ู ศรชีจ
ขนาดของนํ ้าหนั กแผทีผ ่ ิวดิน

1 : ประมาณรอยละ 12.5
2 : ประมาณรอยละ 25
3 : ประมาณรอยละ 37.5
4 : ประมาณรอยละ 50

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 213 :
้ ดินทรายหนา 1 เมตร ซึง่ ตรวจสอบใหละเอียดพบวามีชน
ชัน ั ้ ดินเหนี ยวบางหนา 1 เซนติเมตร แทรกอยูทีก
่ งึ่ กลาง จงคํานวณคาสัมประสิทธิ ์การไหลซึมผานของนํ ้าในแนวดิง่ สมมติวาคาสัมประสิทธิ ์การ
ไหลซึมผานของนํ ้าในดินทรายและดินเหนี ยวเทากับ 1x10-3 และ 1x10-7 cm/sec ตามลําดับ
1 : 10-3 เซนติเมตรตอวินาที
2 : 10-4 เซนติเมตรตอวินาที
3 : 10-5 เซนติเมตรตอวินาที
4 : 10-6 เซนติเมตรตอวินาที

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 214 :
ธิ ์
สท

วน
สง
สท

งวน

ขอ
กร
ิ ว
1 : 15 องศา
2 : 30 องศา
3 : 45 องศา วศ
4 : 60 องศา

สภ

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 215 :

1 : 63 N
2 : 65 N
3 : 126 N
4 : 128 N

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 216 :
จาก Flow net ของเขือ
่ นดังรูป คา Total head ทีจ
่ ด
ุ A จะมีคาเทากับหรือใกลเคียงกับคาใด

1 : 4.05 เมตร
2 : 6.5 เมตร
3 : 12.95 เมตร
4 : 17.0 เมตร

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 217 :
ธิ ์
สท

วน

จาก Flow net ของเขือ


่ นดังรูป คา Total head ทีจ
่ ด
ุ A จะมีคาเทากับหรือใกลเคียงกับคาใด
สง
สท

งวน
จาก Flow net ของเขือ
่ นดังรูป คา Total head ทีจ
่ ด
ุ A จะมีคาเทากับหรือใกลเคียงกับคาใด


ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 3.64 เมตร
2 : 7.04 เมตร
3 : 10.5 เมตร
4 : 13.4 เมตร

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 218 :
จาก Flow net ดังรูป คาPressure head ทีจ
่ ด
ุ A จะมีคาเทากับหรือใกลเคียงกับคาใด ถาระยะจากจุด A ถึง Datum เทากับ 7 เมตร

1 : 5.95 เมตร
2 : 10.5 เมตร
3 : 12.95 เมตร
4 : 15.02 เมตร

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 219 :
ธิ ์
สท

วน

จาก Flow net ดังรูป คาPressure head ทีจ


่ ด
ุ A จะมีคาเทากับหรือใกลเคียงกับคาใด ถาระยะจากจุด A ถึง Datum เทากับ 3 เมตร
สง
สท

งวน
จาก Flow net ดังรูป คาPressure head ทีจ
่ ด
ุ A จะมีคาเทากับหรือใกลเคียงกับคาใด ถาระยะจากจุด A ถึง Datum เทากับ 3 เมตร


ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 2.84 เมตร
2 : 3.65 เมตร
3 : 10.40 เมตร
4 : 13.75 เมตร

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 220 :
ดินกอนหนึ่ งมีความพรุน ( Porosity ) เทากับ 35% จงหาคาอัตราสวนชองวาง ( Void Ratio )
1 : 0.65
2 : 0.54
3 : 0.43
4 : 0.32

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 221 :
้ ดิน (Stratification ) ชัน
นํ ้าไหลซึมผานในแนวตัง้ ฉากกับการเรียงตัวของชัน ้ ดินเรียงซอนกันอยู 3 ชัน
้ แตละชัน
้ มีความหนาและคาสัมประสิทธิ ์ความซึมได k ดังแสดงในรูป คาสัมประสิทธิ ์ความซึมไดรวม
k T มีคาเทาไร

1 : 0.0001 cm/sec
2 : 0.0036 cm/sec
3 : 0.0136 cm/sec
4 : 0.1360 cm/sec

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 222 :
ในการทดลอง Direct Shear Test ของดินชนิ ดหนึ่ ง เมื่อใช Normal Stress เทากับ 20 ksc ดินเกิดการพิบต
ั เิ มื่อ Shear Stress เทากับ 13.888 ksc ถาใช Normal Stress เทากับ 40 ksc ดินจะเกิดการ
พิบต
ั เิ มื่อ Shear Stress เทากับ 24.444 ksc จงหา Mohr-Coumb Equation ของดินนี ้

1:

2:

3:

4:
ธิ ์

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4
สท

วน

ขอที่ 223 :
สง
สท

งวน
ขอที่ 223 :
องคประกอบใดทีไ่ มมีผลตอคาสัมประสิทธิ ์ของการซึมได (Coefficient of Permeability ) k


1 : Fluid Viscosity
2 : Fluid Density

ขอ
3 : Shape of Particle
4 : Poisson ‘ s Ratio

กร
คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 224 : ิ ว
วศ
ในการทดลองหาคา Shear Stress ของดินตัวอยางหนึ่ งโดยวิธี Unconfined Compression Test ถาดินนี เ้ ป็ นดินเหนี ยวลวน มี Angle of Internal Friction = 0 มุมเอียง ของ Faillure Plane ทีว่ ด

ั ไดจาก
ตัวอยางดินเมื่อเกิดการพิบต
ั ิ จะทํามุมเทาใดกับแนวระดับ
สภ

1 : 35 องศา
2 : 40 องศา
3 : 45 องศา
4 : 60 องศา

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 225 :
ทรายในสถานทีแ
่ หงหนึ่ งถูกทําใหแนนโดยมีความพรุน ( Porosity ) เทากับ 38.5% และมีคาความถวงจําเพาะเทากับ 2.62 จงหาคาระดับวิกฤต ( Critical Hydraulic Gradient )ทีจ
่ ะทําใหทรายเกิดสภาวะ
ทรายดูด
1 : 0.875
2 : 0.925
3 : 0.996
4 : 1.025

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 226 :
จงหาความสูงของระดับนํ ้าทีจ่ ะถูกดึงขึน
้ ไปในชองวางระหวางเม็ดดินไดสูงทีส
่ ด
ุ ( Hightest Capillary Rise ) มวลดินทีพ
่ ิจารณามีคาแรงตึงผิวเทากับ 0.074 g/cm. ชองวางระหวางเม็ดดินมีลก
ั ษณะ
เหมือนทอมีรศั มีเทากับ 0.00592 mm.
1 : 150 mm.
2 : 200 cm.
3 : 250 cm.
4 : 300 cm.

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 227 :
นํ ้าไหลมาอยางอิสระในการไหลแบบ Laminar Steady State Flow ดวย Approach Velocity เทากับ 2 cm/min เมื่อไหลผานเขาไปในมวลดินทีม
่ ีคาความพรุน เทากับ 33% ความเร็วทีน
่ ํ ้าไหลผานมวล
ดินจะมีคาเทาใด
1 : 1 cm/min
2 : 3 cm/min
3 : 6 cm/min
4 : 9 cm/min

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 228 :
เมื่อตอกเข็มพืดลงในดินซึง่ มีคา k = 10^-3 cm/sec สามารถเก็บกักนํ ้าไวภายในโดยมีระดับนํ ้าภายในและภายนอกแตกตางกัน 10 m. เมื่อเขียน Flow Net แสดงทิศทางการไหลซึมของนํ ้าผานดินจาก
ภายในออกสูภายนอกแลว นั บจํานวนชองของการไหลไดเทากับ 4 และจํานวนชองของความดันทีล ่ ดลงเทากับ 10 จงหาปริมาณนํ ้าทีไ่ หลซึมออกไป ตอหนากวาง 1 m.ของเข็มพืด
1 : 2 x 10 ^-6 (m^3/ sec)
2 : 2 x 10 ^-5 (m^3/ sec)
3 : 4 x 10 ^-4 (m^3/ sec)
4 : 4 x 10 ^-5 (m^3/ sec)

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 229 :
ดินเหนี ยวในสถานทีก
่ อสรางแหงหนึ่ งมีคา Unconfined Compressive ตามสภาพธรรมชาติเทากับ 10.0 T/m^2 ภายหลังการตอกเสาเข็มแลว จากการตรวจสอบพบวา Unconfined Compressive
Strength ลดลงเหลือ 2.5 T/m^2 จงหาคาความไวตัวของ ดินเหนี ยวนี ้
1:1
2:2
3:3
4:4

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 230 :
จากการเจาะสํารวจดิน ได Soil Profile และคุณสมบัตข ้ ดังแสดงในรูป จงหา Effective Stress ทีต
ิ องดินในแตละชัน ้ ดินเหนี ยว
่ าํ แหนงลางสุดของชัน
ธิ ์
สท

วน
สง
สท

งวน
1 : 18.72 T/m^2
2 : 15.72 T/m^2
3 : 12.72 T/m^2


4 : 21.72 T/m^2

ขอ
คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

กร
ิ ว
ขอที่ 231 :
จากชัน้ ดินทีก
า วศ
่ าํ หนดให ใหคํานวณคาความดันประสิทธิผล (Effective stress) ทีร่ ะดับกึง่ กลางของดิน Layer ที่ 3 เมื่อกําหนดใหความหนาแนนของนํ ้าประมาณ 10 kN/m3
สภ

1 : 186.5 kN/m2
2 : 179.0 kN/m2
3 : 111.5 kN/m2
4 : 91.5 kN/m2

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 232 :
จากรูปถาระดับนํ ้าเริม
่ ตนอยูทีค
่ วามลึกจากผิวดิน 2 เมตร ตอมาระดับนํ ้าขึน
้ สูงมาอยูทีร่ ะดับพืน
้ ดินทําใหดินมีสภาพเป็ น Over Consolidated Condition จงหาคา OCR ทีร่ ะดับกึง่ กลางของดิน Layer ที่ 3
วามีคาเป็ นเทาใด เมื่อกําหนดใหความหนาแนนของนํ ้าประมาณ 10 kN/m3

1 : 0.8
2 : 1.0
3 : 1.21
4 : 1.71

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 233 :
ขอใดกลาวไดไมถูกตองเกีย
่ วกับ คาสัมประสิทธิ ์การไหลซึมนํ ้าในดิน (Coefficient of Permeability, k)
1 : ขนาดคละ อุณหภูมิและชนิ ดของดิน มีผลตอคาสัมประสิทธิ ์การไหลซึมของนํ ้าในดิน
2 : อัตราการไหลของนํ ้าในดินแปรผันตรงกับคาสัมประสิทธิ ์การไหลซึมของนํ ้า
3 : อุณหภูมิของนํ ้ายิง่ สูงคาสัมประสิทธิ ์การไหลของนํ ้ายิง่ ตํา่
4 : การบดอัดดินมีผลทําใหคาสัมประสิทธิ ์การไหลซึมของนํ ้าในมวลดินตํา่ ลง

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 234 :
ธิ ์
สท

วน

จากรูปใหคํานวณหาคา Total Head Loss


สง
สท

งวน
จากรูปใหคํานวณหาคา Total Head Loss


ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 4.0 เมตร
2 : 6.5 เมตร
3 : 8.0 เมตร
4 : 15 เมตร

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 235 :
ขอใดกลาวไมถูกตอง
1 : การทดสอบแรงอัดสามแกน (Triaxial Test) และการทดสอบแบบเฉื อนตรง (Direct Shear Test) เป็ นการทดสอบหาคากําลังของดินทีใ่ หผลทดสอบเหมือนกัน
2 : การทดสอบแรงอัดสามแกนทําไดทัง้ กับดินเหนี ยวและดินทราย
้ ดินทราย
3 : การทดสอบ Vane Shear test เพื่อหาคากําลังของดินในสนามจะไมนํ ามาทดสอบกับชัน
4 : การทดสอบ Direct Shear test สามารถทดสอบไดกับดินเหนี ยวและดินทราย

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 236 :
ขอใดกลาวไมถูกตอง
1 : การทดสอบแรงอัดสามแกนแบบ Consolidated Drained Test, CD test จัดวาเป็ นการทดสอบเพื่อวิเคราะหขอมูลแบบ Effective Stress analysis
2 : ดินเหนี ยวจะมีคา Cohesion, c สูงและมุมเสียดทานของดิน (Friction angle) ตํา่ ในขณะทีด
่ น
ิ ทรายจะมีคามุมเสียดทานของดินสูงกวา
3 : เมื่อทดสอบ Direct Shear Test กับตัวอยางทรายจะไดคามุมเสียดทานมากกวาการทดสอบดินเหนี ยว
4 : คามุมเสียดทานของดินเมื่อวิเคราะหแบบ Total stress analysis จะมีคาสูงกวาคามุมเสียดทานทีว่ เิ คราะหแบบ Effective stress analysis

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 237 :
ขอใดคือพฤติกรรมในการรับแรงของ Dense sand หรือ Stiff clay

1 : เสน A
2 : เสน B
3 : เสน C
4 : เสน A และ เสน C

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 238 :
ขอใดคือพฤติกรรมในการรับแรงของ Loose sand หรือ Soft clay
ธิ ์
สท

1 : เสน A
วน
สง
สท

งวน
2 : เสน B
3 : เสน C
4 : เสน A และ เสน B


คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอ
กร
ขอที่ 239 :
คุณสมบัตใิ นขอใดมีผลกระทบนอยทีส
่ ด
ุ ตอความสามารถในการรับแรงของดินเม็ดหยาบเชน ทรายหรือกรวด

ิ ว
วศ
1 : Relative density
2 : รูปรางของเม็ดดิน (Shape of soil particle)
3 : Water content

4 : ความดันรอบขาง (Confining pressure)
สภ

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 240 :
ถาตองการหาความสามารถในการรับแรงอัดของดินควรตรวจสอบโดยใชการทดลองใด
1 : Tri-axial Test
2 : Atterberg’s Limit Test
3 : การทดสอบการทรุดตัว (Consolidation Test)
4 : การทดสอบหาความสามารถในการซึมนํ ้า (Permeability Test)

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 241 :
จงหา Hydraulic gradient ของการไหลของนํ ้าผานแทงดินเอียง 30 องศากับแนวราบดังแสดงในรูป เมื่อ hA = 2.5 m. ZA= 1.1 m. hB= 2 m. ZB= 1 m. L = 1.5 m.

1 : 0.5/1.5
2 : 0.5/ (1.5*cos (30))
3 : (1.4-1)/1.5
4 : (1.4-1)/ (1.5*cos (30))
5 : ไมมีขอถูก

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 242 :
ความสามารถในการรับแรงประเภทใดของดินทีไ่ มตองตรวจสอบ
1 : ความสามารถในการรับแรงอัด
2 : ความสามารถในการรับแรงดึง
3 : ความสามารถในการรับแรงเฉื อน
4 : ความสามารถในการรับแรงอัดและความสามารถในการรับแรงเฉื อน

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 243 :
ธิ ์
สท

วน
สง
สท

งวน
จงหา Vertical Effective stress บริเวณจุด A


ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 55 kN/m2 
2 : 59 kN/m2 
3 : 69 kN/m2
4 : 124 kN/m2 

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 244 :
จงหา effective stress ทีจ
่ ด
ุ A

1 : ก. 50 kPa
2 : ข. 55 kPa
3 : ค. 92.5 kPa
4 : ง. 110.5 kPa
5 : จ. ไมมีขอใดถูกตอง

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 245 :
ถานํ ้าไหลขึน
้ ดานบน(upward flow) ในอัตรา 1.0 ft^3/min/ft^2 ของพืน
้ ที่ จงหาความสูงของนํ ้าทีส
่ ญ
ู เสียในดิน C , ดิน B และ ดิน A ตามลําดับ

1 : 4.7 ฟุต, 7 ฟุต, และ 12 ฟุต ตามลําดับ


2 : 10.6 ฟุต, 18 ฟุต, และ 20 ฟุต ตามลําดับ
3 : 9.5 ฟุต, 10 ฟุต, และ 16 ฟุต ตามลําดับ
4 : 6.4 ฟุต, 7 ฟุต, 12 ฟุต ตามลําดับ

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 246 :
ธิ ์
สท

วน

พบการไหลของนํ ้าขึน
้ ดานบน(upward flow) ในอัตรา 1.0 cfm/ft2 ของพืน
้ ที่ จงหา Total head ทีจ
่ ด
ุ C
สง
สท

งวน
พบการไหลของนํ ้าขึน
้ ดานบน(upward flow) ในอัตรา 1.0 cfm/ft2 ของพืน
้ ที่ จงหา Total head ทีจ
่ ด
ุ C


ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 50 ฟุต
2 : 60 ฟุต
3 : 65 ฟุต
4 : 70 ฟุต

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 247 :
พบการไหลของนํ ้าขึน
้ ดานบน(upward flow) ในอัตรา 1.0 cfm/ft2 ของพืน
้ ที่ Total head ทีจ
่ ด
ุ A

1 : 40 ฟุต
2 : 41 ฟุต
3 : 42 ฟุต
4 : 43 ฟุต

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 248 :
พบการไหลของนํ ้าขึน
้ ดานบน(upward flow) ในอัตรา 1.0 cfm/ft2 ของพืน
้ ที่ จงหา Effective stress ทีค
่ วามลึก 35 ฟุต ทีก ้ C
่ งึ่ กลางชัน

1 : ก. 3880 Ib/ft2
ธิ ์

2 : ข. 1820.8 Ib/ft2
3 : ค. 635.2 Ib/ft2
สท

4 : ง. 926.4 Ib/ft2

วน

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4
สง
สท

งวน
คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4


ขอ
ขอที่ 249 :
จาก Flow net ของการไหลของนํ ้าผาน sheet piles จงหาอัตราการไหลของนํ ้าในชอง II ตอหนึ่ งหนวยความยาว
เมื่อคา kx = kz = k = 5*10^-3 ft/sec

กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 5.0x10^-3 ft./sec
2 : 8.3x10^-5 ft./sec
3 : 1.38x10^-6 ft./sec
4 : 6.94x10^-7 ft./sec

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 250 :
แรงดันนํ ้าใตฝายคอนกรีตทีจ
่ ด
ุ A มีคาเป็ นเทาใด (กําหนดใหหนวยนํ ้าหนั กของนํ ้า = 10 kN/m^3)

1 : 61.5 kPa (kN/m2)


2 : 89.7 kPa (kN/m2)
3 : 30.4 kPa (kN/m2)
4 : 70.2 kPa (kN/m2)

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 251 :
ธิ ์
สท

วน

จากรูปทีก
่ าํ หนดให อัตราการไหลของนํ ้าผานกําแพงกันดิน ตอความกวาง 1 เมตรเป็ นเทาใด
สง
สท

งวน
จากรูปทีก
่ าํ หนดให อัตราการไหลของนํ ้าผานกําแพงกันดิน ตอความกวาง 1 เมตรเป็ นเทาใด


ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 0.00162 ลูกบาศกเมตรตอวัน
2 : 0.0005 ลูกบาศกเมตรตอวัน
3 : 0.02 ลูกบาศกเมตรตอวัน
4 : 1.88e-8 ลูกบาศกเมตรตอวัน

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 252 :
จากรูปตัดชัน้ ดินทีก
่ าํ หนดให หนวยแรงกดทับประสิทธิผลในแนวดิง่ (vertical effective srress) ทีค
่ วามลึก 10 เมตรจากผิวดิน (จุด A) เป็ นเทาใด

1 : 80 kPa (kN/m2)
2 : 140 kPa (kN/m2)
3 : 160 kPa (kN/m2)
4 : 200 kPa (kN/m2)

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 253 :
ธิ ์
สท

วน

้ ดินทีก
จากรูปตัดชัน ่ าํ หนดให แรงดันดินดานขางประสิทธิผลในสภาพนิ่ ง (Horizontal effective stress – at rest) ทีค
่ วามลึก 10 เมตรจากผิวดิน เป็ นเทาใด
สง
สท

งวน
้ ดินทีก
จากรูปตัดชัน ่ าํ หนดให แรงดันดินดานขางประสิทธิผลในสภาพนิ่ ง (Horizontal effective stress – at rest) ทีค
่ วามลึก 10 เมตรจากผิวดิน เป็ นเทาใด


ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 48 kPa (kN/m2)
2 : 80 kPa (kN/m2)
3 : 52 kPa (kN/m2)
4 : 64 kPa (kN/m2)

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 254 :
ถาผลการทดสอบ CBR ไดดังรูปกราฟทีก
่ าํ หนดให คา CBR จะเทากับเทาใด (ถาหนวยแรงกดมาตรฐานทีร่ ะยะจม 0.1 นิ ว้ เทากับ 1000 ปอนดตอตารางนิ ว้ )

1:5%
2 : 7.5 %
3 : 10 %
4 : 17.5 %

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 255 :
นํ าดินเหนี ยวเหนี ยวอิม
่ ตัวดวยนํ ้าไปทดสอบ Unconsolidated Undrained ดวยแรงดันนํ ้า 100 kN/m^2 ไดคาหนวยแรงกดในแนวดิง่ ทีเ่ พิ่มขึน
้ ทีจ
่ ด
ุ วิบต
ั เิ ทากับ 80 kN/m^2
กําลังรับแรงเฉื อนแบบไมระบายนํ ้า (Undrained shear strength) ของดินตัวอยางนี จ
้ ะเป็ นเทาใด
1 : 30 kPa
2 : 40 kPa
3 : 50 kPa
4 : 60 kPa

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2
ธิ ์

ขอที่ 256 :
สท

จากผลการทดสอบ consolidated undrained triaxial กับดิน Normally consolidated clay ชุดหนึ่ งไดคา friction angle = 27 องศา และคา Cohesion = 0

ถาทดสอบดินชนิ ดนี แ
้ ตใช cell pressure = 300 kPa จะตองใชหนวยแรงกดเพิ่มขึน
้ เทาใดดินจึงจะวิบตั ิ
วน
สง
สท

งวน
1 : 388.9 kPa
2 : 498.9 kPa
3 : 598.9 kPa


4 : 698.9 kPa

ขอ
คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

กร
ิ ว
ขอที่ 257 :
ในการทดสอบการเฉื อนแบบ Direct shear ขอใดไมใชขอมูลทีไ่ ดจากการทดสอบ
วศ
1 : Friction angle

2 : Cohesion
สภ

3 : Horizontal displacement
4 : Confining stress

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 258 :
เราจะใชวิธใี ดในหองปฏิบต
ั ก
ิ ารในการทดสอบกําลังรับแรงเฉื อนของดิน
1 : Triaxial test
2 : Consolidation test
3 : Compaction test
4 : Permeability test

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 259 :
การทดสอบ Unconfined compression (UC) test โดยใชตัวอยางดินเหนี ยวชนิ ดหนึ่ ง พบวาคา Unconfined compressive strength ของดินเหนี ยวนี ม้ ีคาเทากับ 10 ตัน/เมตร2 ถานํ าตัวอยางดินชนิ ดนี ้
มาทดสอบ Triaxial test แบบ Unconsolidated Undrained (UU) test โดยใชความดันใน Triaxial cell เทากับ 10 ตัน/เมตร2 Maximum Deviator stress ทีว่ ด
ั ไดจากการทดสอบนี `้ จะมีคาเทากับเทาไร
1 : 15 ตัน/เมตร2
2 : 20 ตัน/เมตร2
3 : 5 ตัน/เมตร2
4 : 10 ตัน/เมตร2

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 260 :
การทดสอบ Direct shear test โดยใช Normal stress เทากับ 65 kPa บนตัวอยางทรายทีม
่ ีสวนคละไมดี (Poorly graded sand) และไมมีแรงยึดเหนี่ ยว พบวาหนวยแรงเฉื อนทีว่ บ
ิ ต
ั เิ ทากับ 41 kPa จง
หามุมเสียดทานภายใน (Internal friction angle)
1 : 28 องศา
2 : 32 องศา
3 : 57 องศา
4 : 61 องศา

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 261 :
ในการทดสอบหาคาสัมประสิทธิ ์การไหลซึมแบบ Head คงที่ ของตัวอยางทรายหยาบขนาดเสนผานศูนยกลาง 5.5 ซม. สูง 15.0 ซม. ใช Head สูง 40.0 ซม. เป็ นเวลา 6 วินาที วัดปริมาณการไหลได 400
ลบ.ซม. จงหาคาสัมประสิทธิ ์การไหลซึมของทราย
1 : 1.05 cm/sec
2 : 2.05 cm/sec
3 : 3.05 cm/sec
4 : 4.05 cm/sec

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 262 :
้ ดิน 3 ชัน
ชัน ้ มีความหนาเทากัน ชัน
้ บนและชัน
้ ลางมีคาสัมประสิทธิ ์การไหลซึมเทากับ 1x10-4 cm/s ชัน
้ กลางมีคาสัมประสิทธิ ์การไหลซึม 1x10-2 cm/s จงหาอัตราสวนของสัมประสิทธิ ์การไหลซึมเฉลีย

ในแนวนอน ตอแนวดิง่
1 : 12.8:1
2 : 22.8:1
3 : 32.8:1
4 : 42.8:1

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 263 :
้ ดินเหนี ยวมีหนวยนํ ้าหนั กรวมของดินเทากับ 20 kN/m3 หนวยนํ ้าหนั กของนํ ้าเทากับ 10 kN/m3 โดยระดับนํ ้าอยูตํา่ กวาผิวดิน 2 เมตร จงหาหนวยแรงประสิทธิผลในแนวราบทีค
ในชัน ่ วามลึก 8 เมตร ถา
สัมประสิทธิ ์แรงดันดานขาง (Coefficient of Lateral Earth Pressure, Ko) = 0.6
1 : 160 kN/m2
2 : 100 kN/m2
3 : 80 kN/m2
4 : 60 kN/m2

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 264 :
ในการทดสอบ Field Density ทําไมจึงตองใช Ottawa Sand
1 : เพราะเป็ นทรายสะอาด
ธิ ์

2 : เพราะเป็ นทรายสีขาว
3 : เพราะเป็ นทรายทีม
่ ีขนาดเม็ดสมํ่าเสมอ
สท

4 : เพราะเป็ นทรายมาตรฐานบังคับเทานั น ้

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3
วน
สง
สท

ส งวน
ขอที่ 265 :

ขอ
ขอใด คํานวณไมถูก เกีย
่ วกับ total head, elevation head และ pressure head ของนํ ้าในตวอยางทราย เมื่อเกิดการไหลของนํ ้าจาก point A ไป point B ดังรูป ?

กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : Total head เปลีย


่ นจาก +2.4m มาเป็ น +0.9m
2 : Elevation head ของจุด A และ B มีคาเทากับ +0.6m และ +1.5m ตามลําดับ
3 : Pressure head เปลีย่ นจาก +1.8m ทีจ่ ด
ุ A มาเป็ น -1.6m ทีจ
่ ด
ุ B
4 : Hydraulic gradient ระหวางจุด A และ B เทากับ 0.94

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 266 :
้ ดินเหนี ยวแข็งปานกลาง หนา 10m รองรับดวยชัน
ฐานรากแผคอนกรีต ขนาด 4 x 8 m2 มีนํ้าหนั กจากโครงสราง รวมนํ ้าหนั กฐานราก 504 ตัน วางบนชัน ้ หินดินดาน จงประมาณการกระจายนํ ้าหนั ก
บรรทุกของฐานรากแผ ลงบนชัน้ หินดินดาน ?
1 : 4.3 ตัน/ตร.ม.
2 : 2.0 ตัน/ตร.ม.
3 : 0.5 ตัน/ตร.ม.
4 : 0.25 ตัน/ตร.ม.

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 267 :
ดินชนิ ดใดทีม
่ ีคา Coefficient of Permeability ตํา่ ทีส
่ ด

1 : Gravel
2 : Sand
3 : Silt
4 : Clay

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 268 :
กรณี ทเี่ กิด Critical Hydraulic gradient คาใดมีคาเทากับ ศูนย
1 : Total stress
2 : Effective stress
3 : Pore water pressure
4 : Seepage pressure

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 269 :
คา Cohesion, C ทีไ่ ดจาก Vane Shear Test คือ
1 : Drained cohesion
2 : Undrained cohesion
3 : Remolded state cohesion
4 : Disturbed state cohesion

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 270 :
ธิ ์
สท

วน
สง
สท

ส งวน
ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 60 kPa
2 : 69 kPa
3 : 72 kPa
4 : 172 kPa

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 271 :
จาก Flow net ของการไหลของนํ ้าผาน sheet piles จงหาระดับนํ ้าใน piezometer เมื่อนํ าไปวัดทีจ
่ ด
ุ a, b และ c ตามลําดับ

1 : 9 ft., 7 ft., และ 6 ft.


2 : 10 ft., 9 ft., และ 6 ft.
3 : 10 ft., 8 ft., และ 6 ft.
4 : 9 ft., 8 ft., และ 6 ft.

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 272 :
ธิ ์
สท

วน

จาก Flow net ของการไหลของนํ ้าผาน sheet piles จงหาอัตราการไหลของนํ ้าในชอง II ตอหนึ่ งหนวยความยาว เมื่อคา kx = kz = k = 5*10^-3
สง
สท

งวน
จาก Flow net ของการไหลของนํ ้าผาน sheet piles จงหาอัตราการไหลของนํ ้าในชอง II ตอหนึ่ งหนวยความยาว เมื่อคา kx = kz = k = 5*10^-3


ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 1.20*10^-4 ft./sec
2 : 1.64*10^-4 ft./sec
3 : 2.10*10^-4 ft./sec
4 : 2.54*10^-4 ft./sec

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 273 :
รูปดานลางแสดงตาขายการไหลของนํ ้าใตเขือ
่ นและการกระจายแรงดันนํ ้าใตเขือ
่ น จงหาคาความสูงของนํ ้าทีห
่ นาเขือ
่ น (H)

1 : 2.7 m
2 : 2.8 m
3 : 3.0 m
4 : 3.6 m

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 274 :
สภาพของหนวยแรงทีก
่ ระทําตอดินทีบ
่ ริเวณหนึ่ งเป็ นไปดังรูปดานลาง ถาหนวยแรงเฉื อน (t) เพิ่มขึน
้ เป็ น 30.5 kPa  จงหาวามุมของ s1 เปลีย
่ นแปลงไป
กีอ
่ งศา
ธิ ์
สท

วน
สง
สท

งวน

ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 2.4 องศา
2 : 4.2 องศา
3 : 5.3 องศา
4 : 3.5 องศา

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 275 :
้ ดินทีส
ชัน ่ มํ่าเสมอกันชัน ่ ตัวดวยนํ ้าเทากับ 20 kN/m3 และมีคาหนวยนํ ้าหนั กแหงเทากับ 16 kN/m3 ใน
้ หนึ่ งมีความหนา 6 m มีคาหนวยนํ ้าหนั กเมื่ออิม
ตอนแรกระดับผิวนํ ้าอยูทีเ่ ดียวกับระดับผิวดิน ตอมาไดมีการสูบนํ ้าทําใหระดับผิวนํ ้าลดตํา่ ลงไป 3 m จงหาวาคาหนวยแรงประสิทธิผลในแนวดิง่ ทีค ่ วาม
ลึกเทากับ 3 m มีคาเปลีย ้ ดินทีอ
่ นไปเทาใด โดยสมมุตใิ หชัน ่ ยูเหนื อกวาระดับนํ ้าใตดินอยูในสถานะแหง และชัน ้ ดินทีอ
่ ยูตํา่ กวาระดับนํ ้าใตดินอยูใน
สถานะอิม ่ ตัวดวยนํ ้าเสมอ
1 : เพิ่มขึน
้  14.4 kPa
2 : ลดลง 17.4 kPa
3 : ลดลง 14.4 kPa
4 : เพิ่มขึน้  17.4 kPa

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 276 :
้ ดินทีส
ชัน ่ มํ่าเสมอกันชัน ่ ตัวดวยนํ ้าเทากับ 21 kN/m3 และมีคาหนวยนํ ้าหนั กแหงเทากับ 16 kN/m3 ใน
้ หนึ่ งมีความหนา 6 m มีคาหนวยนํ ้าหนั กเมื่ออิม
ตอนแรกระดับผิวนํ ้าอยูทีเ่ ดียวกับระดับผิวดิน ตอมาไดมีการสูบนํ ้าทําใหระดับผิวนํ ้าลดตํา่ ลงไป 3 m จงหาวาคาหนวยแรงประสิทธิผลในแนวดิง่ ทีค ่ วาม
ลึกเทากับ 3 m มีคาเปลีย ้ ดินทีอ
่ นไปเทาใด โดยสมมุตใิ หชัน ่ ยูเหนื อกวาระดับนํ ้าใตดินอยูในสถานะแหง และชัน ้ ดินทีอ
่ ยูตํา่ กวาระดับนํ ้าใตดินอยูใน
สถานะอิม ่ ตัวดวยนํ ้าเสมอ
1 : ลดลง 17.4 kPa
2 : ลดลง 14.4 kPa
3 : เพิ่มขึน
้  17.4 kPa
4 : เพิ่มขึน้  14.4 kPa

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 277 :
้ ดินทีส
ชัน ่ มํ่าเสมอกันชัน ่ ตัวดวยนํ ้าเทากับ 20 kN/m3 และมีคาหนวยนํ ้าหนั กแหงเทากับ 18 kN/m3 ใน
้ หนึ่ งมีความหนา 6 m มีคาหนวยนํ ้าหนั กเมื่ออิม
ตอนแรกระดับผิวนํ ้าอยูทีเ่ ดียวกับระดับผิวดิน ตอมาไดมีการสูบนํ ้าทําใหระดับผิวนํ ้าลดตํา่ ลงไป 3 m จงหาวาคาหนวยแรงประสิทธิผลในแนวดิง่ ทีค ่ วาม
ลึกเทากับ 3 m มีคาเปลีย ้ ดินทีอ
่ นไปเทาใด โดยสมมุตใิ หชัน ่ ยูเหนื อกวาระดับนํ ้าใตดินอยูในสถานะแหง และชัน ้ ดินทีอ
่ ยูตํา่ กวาระดับนํ ้าใตดินอยูใน
สถานะอิม ่ ตัวดวยนํ ้าเสมอ
1 : ลดลง 20.4 kPa
2 : ลดลง 14.4 kPa
3 : เพิ่มขึน
้  17.4 kPa
4 : เพิ่มขึน้  23.4 kPa

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 278 :
้ ดินทีส
ชัน ่ มํ่าเสมอกันชัน ่ ตัวดวยนํ ้าเทากับ 21 kN/m3 และมีคาหนวยนํ ้าหนั กแหงเทากับ 18 kN/m3 ใน
้ หนึ่ งมีความหนา 6 m มีคาหนวยนํ ้าหนั กเมื่ออิม
ตอนแรกระดับผิวนํ ้าอยูทีเ่ ดียวกับระดับผิวดิน ตอมาไดมีการสูบนํ ้าทําใหระดับผิวนํ ้าลดตํา่ ลงไป 3 m จงหาวาคาหนวยแรงประสิทธิผลในแนวดิง่ ทีค ่ วาม
ลึกเทากับ 3 m มีคาเปลีย ้ ดินทีอ
่ นไปเทาใด โดยสมมุตใิ หชัน ่ ยูเหนื อกวาระดับนํ ้าใตดินอยูในสถานะแหง และชัน ้ ดินทีอ
่ ยูตํา่ กวาระดับนํ ้าใตดินอยูใน
สถานะอิม ่ ตัวดวยนํ ้าเสมอ
1 : ลดลง 17.4 kPa
2 : ลดลง 23.4 kPa
3 : เพิ่มขึน
้ 23.4 kPa
4 : เพิ่มขึน้ 20.4 kPa

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 279 :
ดินเหนี ยวอิม ้ ทราย ระดับนํ ้าในหลอด Piezometer = 8 m ดังแสดง จงหาความลึกทีส
่ ตัวอยูเหนื อชัน ่ ามารถขุดไดลึกทีส
่ ด
ุ   H ทีจ
่ ะไมทําใหเกิด
  Quick condition ทีจ ่ ด
ุ A       
กําหนด     rsat. clay = 2,000 kg/m3       rsat. sand = 1,600 kg/m3
ธิ ์
สท

วน
สง
สท

ส งวน
ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1:4m
2 : 4.5 m
3:5m
4:6m

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 280 :
ดินตัวอยางอยูลึกจากผิวดิน  5 m.  ระดับนํ ้าใตดินอยูทีร่ ะดับผิวดิน ตัวอยางดินมีนํ้าหนั ก  1.8  กรัม เมื่อมีปริมาตร  1 cm3   จงหาคาหนวยแรง
ประสิทธิผล (Eftective  Stress)
1 : 4500 kg/m2
2 : 4800 kg/m2
3 : 4000 kg/m2
4 : 5400 kg/m2

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 281 :
ดินตัวอยางอยูลึกจากผิวดิน  6 m.  ระดับนํ ้าใตดินอยูทีร่ ะดับผิวดิน ตัวอยางดินมีนํ้าหนั ก  1.8  กรัม เมื่อมีปริมาตร  1 cm3   จงหาคาหนวยแรง
ประสิทธิผล (Eftective  Stress)
1 : 4500 kg/m2
2 : 4800 kg/m2
3 : 4000 kg/m2
4 : 5400 kg/m2

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 282 :
ดินตัวอยางอยูลึกจากผิวดิน  6 m.  ระดับนํ ้าใตดินอยูทีร่ ะดับผิวดิน ตัวอยางดินมีนํ้าหนั ก  1.9  กรัม เมื่อมีปริมาตร  1 cm3   จงหาคาหนวยแรง
ประสิทธิผล (Eftective  Stress)
1 : 4500 kg/m2
2 : 4800 kg/m2
3 : 4000 kg/m2
4 : 5400 kg/m2

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 283 :
ดินตัวอยางอยูลึกจากผิวดิน  5 m.  ระดับนํ ้าใตดินอยูทีร่ ะดับผิวดิน ตัวอยางดินมีนํ้าหนั ก  1.9  กรัม เมื่อมีปริมาตร  1 cm3   จงหาคาหนวยแรง
ประสิทธิผล (Eftective  Stress)
1 : 4500 kg/m2
2 : 4800 kg/m2
3 : 4000 kg/m2
4 : 5400 kg/m2

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 284 :
Piezometer เป็ นเครือ
่ งมือวัดคาใด
1 : ระดับนํ ้า
2 : ปริมาณนํ ้า
3 : ความหนาแนนนํ ้า
4 : ความเป็ นกรดของนํ ้า

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 285 :
กําหนด P1 = 80 t  , P2 = 40 t  จงหาหนวยแรงทีเ่ พิ่มขึน
้ sZA  เนื่ องจากแรงกระทําเป็ นจุด Point load ทีผ
่ ิวดิน ณ จุด A ทีค
่ วามลึก  1.50 เมตร
ธิ ์
สท

วน
สง
สท

งวน

ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 2.6 t/sq.m.
2 : 1.7 t/sq.m.
3 : 2.0 t/sq.m.
4 : 2.3 t/sq.m.

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 286 :
กําหนด P1 = 80 t  , P2 = 20 t  จงหาหนวยแรงทีเ่ พิ่มขึน
้ sZA  เนื่ องจากแรงกระทําเป็ นจุด Point load ทีผ
่ ิวดิน ณ จุด A ทีค
่ วามลึก  1.50 เมตร

1 : 2.3 t/sq.m.
2 : 1.7 t/sq.m.
3 : 2.0 t/sq.m.
4 : 2.6 t/sq.m.

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 287 :
กําหนด P1 = 80 t  , P2 = 60 t  จงหาหนวยแรงทีเ่ พิ่มขึน
้ sZA  เนื่ องจากแรงกระทําเป็ นจุด Point load ทีผ
่ ิวดิน ณ จุด A ทีค
่ วามลึก  1.50 เมตร
ธิ ์
สท

วน
สง
สท

งวน

ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 1.7 t/sq.m.
2 : 2.3 t/sq.m.
3 : 2.0 t/sq.m.
4 : 2.6 t/sq.m.

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 288 :
กําหนด P1 = 80 t  , P2 = 80 t  จงหาหนวยแรงทีเ่ พิ่มขึน
้ sZA  เนื่ องจากแรงกระทําเป็ นจุด Point load ทีผ
่ ิวดิน ณ จุด A ทีค
่ วามลึก  1.50 เมตร

1 : 1.5 t/sq.m.
2 : 2.3 t/sq.m.
3 : 2.0 t/sq.m.
4 : 2.6 t/sq.m.

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 289 :
่ าํ ใหดินพัง(deviator stress) =  80 kN/m2  ขณะทดสอบมี      Confining Pressure,  s3=  60 kN/m2
จากการทดสอบ  Triaxial   หนวยแรงทีท
 จงหาคา Maximum principal stress
1 : 100 kN/m
2  
ธิ ์

2 : 70 kN/m
2  
สท

2
3 : 120 kN/m   

2
4 : 140 kN/m   
วน
สง
สท

4 : 140 kN/m   

งวน
คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4


ขอ
ขอที่ 290 :
่ าํ ใหดินพัง(deviator stress) =  10 kN/m2  ขณะทดสอบมี      Confining Pressure,  s3=  60 kN/m2
จากการทดสอบ  Triaxial   หนวยแรงทีท

กร
 จงหาคา Maximum principal stress

ิ ว
1 : 100 kN/m
2
2 : 70 kN/m
วศ
2
3 : 120 kN/m
2

สภ

4 : 140 kN/m
2

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 291 :
่ าํ ใหดินพัง(deviator stress) =  40 kN/m2  ขณะทดสอบมี      Confining Pressure,  s3=  60 kN/m2
จากการทดสอบ  Triaxial   หนวยแรงทีท
 จงหาคา Maximum principal stress
1 : 100 kN/m
2
2 : 70 kN/m
2
3 : 120 kN/m
2
4 : 140 kN/m
2

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 292 :
่ าํ ใหดินพัง(deviator stress) =  60 kN/m2  ขณะทดสอบมี      Confining Pressure,  s3=  60 kN/m2
จากการทดสอบ  Triaxial   หนวยแรงทีท
 จงหาคา Maximum principal stress
1 : 140 kN/m2
2 : 100 kN/m2
3 : 70 kN/m2
4 : 120 kN/m2

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

เนื อ
้ หาวิชา : 547 : Soil settlement, consolidation theory

ขอที่ 293 :
การบดอัดดินจะมีผลทําให
1 : Vs ลดลง ทําใหความหนาแนนแหงของดินเพิ่มขึน ้
2 : Ws เพิ่มขึน
้ ทําใหความหนาแนนแหงของดินเพิ่มขึน

3 : ปริมาณชองวางของอากาศในดินลดลง
4 : ปริมาณนํ ้าในดินลดลง

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 294 :

1 : 160 mm
2 : 80 mm
3 : 73 mm
4 : 36 mm

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 295 :
้ ดินเหนี ยวอิม
ชัน ้ ทรายพรุนนํ ้า เมื่อเก็บตัวอยางดินเหนี ยวไปทดสอบการอัดตัวคายนํ ้าหนึ่ งมิติ โดยใชตัวอยางหนา 1 นิ ว้ (2.5 cm) และมีการระบายนํ ้าทัง้ ดานบนและ
่ ตัวดวยนํ ้าหนา 5 เมตร อยูระหวางชัน
ดานลาง การวิเคราะหผลขอมูลโดยใชวิธข ี องเทยเลอร (Taylor’s method) ซึง่ อานคาเวลาการอัดตัวคายนํ ้าที่ 50% เทากับ 12.5 นาที ถาตองการกอสรางอาคารเหนื อชัน ้ ดินเหนี ยวนี ้ จงคาดคะเนเวลา
การทรุดตัวที่ 90%
ธิ ์
สท

1 : 1 ปี
วน
สง
สท

งวน
2 : 2 ปี
3 : 3 ปี
4 : 4 ปี


คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอ
กร
ขอที่ 296 :

า ิ ว
วศ
สภ

1 : 178 mm
2 : 89 mm
3 : 16 cm
4 : 32 cm

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 297 :
จงพิจารณาขอความตอไปนี ้

1 : ถูกเฉพาะขอ a)
2 : ถูกเฉพาะขอ b)
3 : ถูกเฉพาะขอ c)
4 : ถูกมากกวา 1 ขอ

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 298 :
ขอใดไมถูกตอง เกีย
่ วกับปรากฏการณ หรือ ผลอันเกิดจากขบวนการยุบอัดตัวของดิน (consolidation) ?
1 : ขบวนการยุบอัดตัวของดิน (consolidation) จะทําใหมวลดินมีชองวางในดินลดลง.
2 : ขบวนการยุบอัดตัวของดิน (consolidation) จะทําใหกําลังรับแรงเฉื อนของดินลดลง.
3 : ขบวนการยุบอัดตัวของดิน (consolidation) จะทําใหมวลดินมีสม ั ประสิทธิ ์การระบายนํ ้าลดลง.
4 : ขบวนการยุบอัดตัวของดิน (consolidation) สามารถจําลองแบบจาก ลักษณะ Piston-spring analogy.
5:

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 299 :
ถามีนํ้าหนั กมากระทําทีผ
่ ิวดินแลวทําใหเกิดความเคนเพิ่มขึน ้ ดินเหนี ยวทีม
้ เทากันทัว่ ทัง้ ชัน ั ้ ดินทรายประกบทัง้ ขางบนและขางลาง อยากทราบวาบริเวณใดทีม
่ ีชน ่ ีอต
ั ราสวนการอัดตัวคายนํ ้าตํา่ ทีส
่ ด

1 : ทีข ่ อบชัน ้ ดินเหนี ยวติดกับชัน
้ ดินทราย
2 : ทีร่ ะยะ 1/4 ของความหนาของชัน ้ ดินเหนี ยวถัดมาจากขอบดานบนของชัน้ ดินเหนี ยว
3 : ทีร่ ะยะ 1/3 ของความหนาของชัน ้ ดินเหนี ยวถัดมาจากขอบดานบนของชัน้ ดินเหนี ยว
4 : ทีก ่ งึ่ กลางชัน้ ดินเหนี ยว

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 300 :
ดินทีใ่ นชวงเวลาในอดีตไดรับแรงดันมากกวาทีร่ บ
ั ในปั จจุบน
ั และมีผลตอการทรุดตัวคายนํ ้า คือดินตามความหมายใด
1 : Normally consolidated Clay
2 : Overconsolidated sand
3 : Overconsolidated Clay
4 : Normally consolidated Sand

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 301 :
ดินทีใ่ นอดีตไมเคยรับแรงใดๆมากกวาแรงดันของดินในปั จจุบน
ั และมีผลตอการทรุดตัวคายนํ ้า คือดินตามความหมายใด
1 : Normally consolidated Clay
2 : Overconsolidated Clay
3 : Normally consolidated Sand
4 : Overconsolidated sand
ธิ ์

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1
สท

วน
สง
สท

งวน
ขอที่ 302 :
วิธก
ี ารใดใชในการเรงการทรุดตัวของดินเหนี ยว


1 : Static compaction

ขอ
2 : Deep Mixing Pile
3 : Vibroflot
4 : Preloading

กร
คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 303 :
า ิ ว
วศ
Consolidation settlement เกิดจาก
สภ

1 : ปริมาตรของเนื อ ้ ดินลดลง ทําใหเกิดการทรุดตัว


2 : ระดับนํ ้าใตดินสูงขึน้ ทําใหคาหนวยแรงประสิทธิผลเพิ่มขึน ้
3 : นํ ้าหนี ออกจากชองวางระหวางเม็ดดินเนื่ องจากแรงดันนํ ้าสวนเกิน
4 : มีนํ้าหนั กกระทําทีผ
่ ิวดิน ทําใหชองวางของอากาศในดินลดลง

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 304 :
อัตราเร็วของการทรุดตัวแบบ Consolidation settlement ขึน
้ อยูกับ
1 : Compression index
2 : Over consolidation ratio
3 : Pre-consolidation pressure
4 : Coefficient of permeability

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 305 :
จากขอมูลทีไ่ ดใหไวในรูปประกอบ จงหาวาจะตองใชเวลาเทาใดในการระบายแรงดันนํ ้าสวนเกิน (ทีเ่ กิดขึน
้ จากแรงกระทําขนาด 10 t/sq.m. ทีผ ้
่ ิวดิน) ใหหมดสิน

1 : 1.5 ปี
2 : 3 ปี
3 : 4.5 ปี
4 : 6 ปี

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 306 :
จากขอมูลทีไ่ ดใหไวในรูปประกอบ จงหาวาจะตองใชเวลาเทาใดในการระบายแรงดันนํ ้าสวนเกิน (ทีเ่ กิดขึน
้ จากแรงกระทําขนาด 10 t/sq.m. ทีผ ้
่ ิวดิน) ใหหมดสิน

1 : 340 วัน
2 : 680 วัน
3 : 1,020 วัน
4 : 1,360 วัน

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 307 :
้ ดินทีม
ชัน ่ ีคา OCR = 2.5 และมีคา Preconsolidation pressure = 4 t/sq.m. จะมีคาหนวยแรงกดทับในปั จจุบน
ั เทากับเทาใด
ธิ ์

1 : 1.6 t/sq.m.
2 : 2.5 t/sq.m.
สท

3 : 4 t/sq.m.

4 : 10 t/sq.m.
วน

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1
สง
สท

งวน
คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1


ขอ
ขอที่ 308 :
จากรูปกราฟ e log p ถาจุด A เป็ นจุดทีม
่ ีรศ
ั มีความโคงนอยทีส
่ ด
ุ และคา Overburden pressure เทากับ 20 กิโลนิ วตันตอตารางเมตร คา Overconsolidation ratio ของดินชนิ ดนี จ
้ ะมีคาเทากับหรือใกล
เคียงกับคาใด

กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 1.0
2 : 2.0
3 : 3.0
4 : 4.0

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 309 :
จากกราฟ e log p คา Compression index มีคาเทากับหรือใกลเคียงกับคาใด

1 : 0.0086
2 : 0.01
3 : 0.43
4 : 0.68

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 310 :
ธิ ์
สท

วน

จากรูปกราฟ e log p ถาจุด A เป็ นจุดทีม


่ ีรศ
ั มีความโคงนอยทีส
่ ด
ุ คา Maximum past pressure มีคาเทากับ หรือใกลเคียงกับคาใด
สง
สท

งวน
จากรูปกราฟ e log p ถาจุด A เป็ นจุดทีม
่ ีรศ
ั มีความโคงนอยทีส
่ ด
ุ คา Maximum past pressure มีคาเทากับ หรือใกลเคียงกับคาใด


ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 50 kN/sq.m.
2 : 60 kN/sq.m.
3 : 70 kN/sq.m.
4 : 80 kN/sq.m.

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 311 :
้ ดินบริเวณหนึ่ งเป็ นดังรูป ถาความเคนทีเ่ พิ่มขึน
ชัน ้ ดินเหนี ยว (Normally consolidated clay) เนื่ องจากนํ ้าหนั กแผกระจายสมํ่าเสมอบนผิวดินเทากับ 98 กิโลนิ วตันตอตารางเมตร
้ บริเวณกึง่ กลางชัน
ขนาดของการทรุดตัวของชัน ้ ดินเหนี ยวมีคาเทากับหรือใกลเคียงกับคาใด

1 : 24 เซ็นติเมตร
2 : 32 เซ็นติเมตร
3 : 42 เซ็นติเมตร
4 : 64 เซ็นติเมตร

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 312 :
้ ดินเหนี ยวออนอิม
ชัน ่ ตัวดวยนํ ้าหนา 14 เมตร มีลก ้ ดินดังรูป ถาทีบ
ั ษณะชัน ้ ดินนี จ
่ ริเวณผิวดินมีนํ้าหนั กแผกระจายสมํ่าเสมอกระทําเป็ นบริเวณกวาง ถาเวลาผานไป 2 ปี คา Time factor ของชัน ้ ะมีคา
เทากับหรือใกลเคียงกับคาใด
ธิ ์
สท

วน
สง
สท

สงวน
ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 0.011
2 : 0.027
3 : 0.034
4 : 0.045

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 313 :
้ ดินเหนี ยวออนอิม
ชัน ่ ตัวดวยนํ ้าหนา 12 เมตร มีลก ้ ดินดังรูป ทีบ
ั ษณะชัน ้ ดินนี จ
่ ริเวณผิวดินมีนํ้าหนั กแผกระจายสมํ่าเสมอกระทําเป็ นบริเวณกวาง ถาเวลาผานไป 3 ปี คา Time factor ของชัน ้ ะมีคาเทากับ
หรือใกลเคียงกับคาใด

1 : 0.011
2 : 0.023
3 : 0.068
4 : 0.091

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 314 :

1 : 5.0 เมตร
2 : 5.2 เมตร
3 : 5.5 เมตร
4 : 5.7 เมตร
ธิ ์

5 : 6.0 เมตร
สท

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

วน
สง
สท

งวน
ขอที่ 315 :
้ ดินเหนี ยวหนา 4 เมตร วางตัวอยูระหวางชัน
ชัน ้ ทราย 2 ชัน
้ มีคาสัมประสิทธิ ์การอัดตัวคายนํ ้า (Coefficient of consolidation),CV 0.8 ลูกบาศกเมตรตอปี ถามีนํ้าหนั กภายนอกมากระทําแลวทําใหเกิด


ความเคนเพิ่มขึน ้ ดินเหนี ยว อยากทราบวาการอัดตัวคายนํ ้าเกิดขึน
้ ในชัน ้ 90 เปอรเซ็นตเมื่อเวลาผานไปนานกีเ่ ดือน (Time Factor = 0.848 ทีก่ ารอัดตัวคายนํ ้า 90%)

ขอ
1 : 11 เดือน
2 : 18 เดือน
3 : 36 เดือน

กร
4 : 51 เดือน

ิ ว
คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4
า วศ
สภ

ขอที่ 316 :
่ อสรางซึง่ นํ ้าไหลออกไดทางเดียวมาทําการทดลองในเครือ
เมื่อนํ าตัวอยางดินทีร่ ะดับความลึก 10 ม. จากสถานทีก ่ งทดสอบอัดตัวคายนํ ้าแบบมาตรฐานซึง่ มีการระบายนํ ้าทัง้ ดานบนและดานลาง พบวา
เกิดการยุบตัว 50% สําหรับตัวอยางดินหนา 1 ซม. ใชเวลา 32.392 วินาที ดินในสถานทีก ่ อสรางจะตองใชเวลาเทาไรจึงจะเกิดการยุบตัวเทากัน
1 : 500 วัน
2 : 1000 วัน
3 : 1500 วัน
4 : 2000 วัน

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 317 :
คุณสมบัตใิ นขอใดทีไ่ มมีผลกระทบหรือกระทบนอยทีส
่ ด
ุ ตอขนาดและอัตราการทรุดตัวของดินเหนี ยว
1 : Stress history
2 : Water content และ Atterberg’s limit
3 : แรประกอบในดินเหนี ยว
4 : ความหนาแนนแหงสูงสุด (Maximum dry density)

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 318 :
ขอใดคือพฤติกรรมในการรับนํ ้าหนั กและการทรุดตัวของดินแบบ Dense sand หรือ Stiff clay

1 : เสน A
2 : เสน B
3 : เสน C
4 : เสน A และ เสน B

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 319 :
ขอใดคือพฤติกรรมในการรับนํ ้าหนั กและการทรุดตัวของดินแบบ Loose sand หรือ Soft clay
ธิ ์

1 : เสน A
สท

2 : เสน B
3 : เสน C

4 : เสน A และ เสน B


วน
สง
สท

งวน
คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3


ขอ
ขอที่ 320 :
ทานไดผลการทดสอบ Consolidation test ของดินชนิ ดหนึ่ ง ณ ระดับความลึกหนึ่ ง ปรากฏวาทานพบเสนโคงความสัมพันธระหวาง void ratio และ Log (P’) มีทงั ้ หมด 3 เสนดังแสดงในภาพ ขอใดทีท
่ าน

กร
ควรสรุปจากเสนโคงขางลางนี ้

า ิ ว
วศ
สภ

1 : เสนโคง B ควรเป็ นเสนความสัมพันธทีไ่ ดมาจากตัวอยางแบบ Disturbed ไมสามารถหา Maximum Past Pressure ได


2 : ถูกทุกขอ
3 : เสนโคง C ควรจะเป็ นเสนความสัมพันธทีเ่ กิดขึน
้ ในสนามโดยมีการตรวจวัดในสภาพจริง
4 : เสนโคง A ควรจะเป็ นเสนความสัมพันธในหองปฏิบต ั ก
ิ ารและตัวอยางเป็ นตัวอยางทีม
่ ีคณ
ุ ภาพ( Undisturbed

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 321 :
คํากลาวในขอใดทีไ่ มถูกตองในทฤษฏีการทรุดตัวแบบ One dimension ของ Terzaghi
1 : คา Over-Consolidation ratio (OCR) คืออัตราสวนของความเคนทีม ่ ากทีส
่ ด
ุ ในอดีต บางครัง้ เรียกวา “Pre-consolidation pressure” หรือ “Maximum Past Pressure” ตอ ความเคนในปั จจุบน ั
2 : ถาดินมี OCR = 1 ถูกเรียกวา “Normal-consolidated Soil” , ถาดินมี OCR > 1 ถูกเรียกวา “Over-consolidated Soil” และ ถาดินมี OCR < 1 ถูกเรียกวา “Under-consolidated Soil” ซึง่ ไมคอย
พบ
3 : ทฤษฎีการทรุดตัวแบบ One-dimension เป็ นการประมาณขนาดและอัตราการทรุดตัวของดินทีม ่ ีความซึมนํ ้านอยๆ เชน ดินเหนี ยวโดยพิจารณาถึงประวัตก
ิ ารรับแรงของดิน(Stress history) ดวย
ซึง่ การนํ าดินมาทดสอบในหองปฏิบต ั ก
ิ ารตองเก็บตัวอยางดินแบบ Undisturbed และตองไมทําลายโครงสรางอืน ่ ๆ ในระหวางตัวแตงดิน
4 : ไมมีขอถูก

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 322 :
จากรูปจงหาคาการทรุดตัว (Consolidation settlement) ทัง้ หมดทีเ่ กิดขึน ้ ดินเหนี ยวเนื่ องจากดินถม ดังแสดง ทราย Bulk unit weight = 16 kN/m3 Saturated unit weight = 19 kN/m3 ดิน
้ ในชัน
เหนี ยว Saturated unit weight = 18.5 kN/m3 Initial void ratio,eo = 0.57 OCR = 1 Cc= 0.38

1 : 20.8 cm.
2 : 44.4 cm
3 : 53.7 cm.
4 : 62.9 cm.

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 323 :
ดินเหนี ยวตัวอยางดังแสดงในรูป เมื่อนํ าไปทดสอบหาคาการทรุดตัว ไดคาจากการทดสอบดังนี ้ Compression index = 0.40 Pre-consolidation pressure, = 87.1 kN/m2 Over Consolidation Ratio,
OCR = 0.90 Coefficient of consolidation = 1.20 x 10-3 mm/sec. จงหาคาของความลึก D ทีเ่ ก็บตัวอยางดินไปทดสอบ

1 : 4 m.
2 : 5 m.
3 : 6 m.
4 : 7 m.

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 324 :
ดินเหนี ยวหนา 12 เมตรมีลก ้ ดินทีอ
ั ษณะการระบายนํ ้าออกทัง้ ดานบนและดานลางหรือทีเ่ รียกวา “Doubly drained” นั่ นหมายความวาชัน ่ ยูดานบนและดานลางของดินเหนี ยวนี ย ้ อมใหนํ ้าระบายออกได
มากกวาชัน ้ ดินเหนี ยว โดยดินเหนี ยวมี coefficient of consolidation, Cv = 8.0x10-8 m2/s จงหาเปอรเซ็นตของการอัดตัวคายนํ ้าทีก
่ งึ่ กลางชัน้ ดิน หลังจากมีนํ้าหนั กมากระทํา 5 ปี
ธิ ์
สท

วน
สง
สท

สงวน
ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 45 %
2 : 55 %
3 : 65 %
4 : 75 %

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 325 :
ดินเหนี ยวหนา 12 เมตรมีลก ้ ดินทีอ
ั ษณะการระบายนํ ้าออกทัง้ ดานบนและดานลางหรือทีเ่ รียกวา “Doubly drained” นั่ นหมายความวาชัน ่ ยูดานบนและดานลางของดินเหนี ยวนี ย
้ อมใหนํ ้าระบายออกได
มากกวาชัน ้ ดินเหนี ยว โดยดินเหนี ยวมี coefficient of consolidation, Cv = 8.0x10-8 m2/s จงหาเปอรเซ็นตการทรุดตัว ณ ความลึก 6 เมตร จากผิวดานบนของชัน
้ ดินเหนี ยวหลังจากมีนํ้าหนั กมากระทํา
5 ปี

1 : 40 %
2 : 46 %
3 : 52 %
4 : 58%

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 326 :
ดินเหนี ยวหนา 12 เมตรมีลก ้ ดินทีอ
ั ษณะการระบายนํ ้าออกทัง้ ดานบนและดานลางหรือทีเ่ รียกวา “Doubly drained” นั่ นหมายความวาชัน ่ ยูดานบนและดานลางของดินเหนี ยวนี ย
้ อมใหนํ ้าระบายออกได
มากกวาชัน ้ ดินเหนี ยว โดยดินเหนี ยวมี coefficient of consolidation, Cv = 8.0x10-8 m2/s จงหาเปอรเซ็นตการทรุดตัว ณ ความลึก 9 เมตร จากผิวดานบนของชัน
้ ดินเหนี ยว หลังจากมีนํ้าหนั กมากระ
ทํา 5 ปี

1 : 55 %
2 : 61 %
3 : 70 %
4 : 75 %

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2
ธิ ์

ขอที่ 327 :
สท

ถาการถมดินทําใหเกิดความเคนในแนวดิง่ โดยเฉลีย ่ เพิ่มขึน ้ ดินเหนี ยวทีม


้ 100 kPa แกชัน ่ ีความหนา 12 ม. และมีการระบายนํ ้าแบบ Doubly drainaged,Cv =8.0*10-8 m2/s จงประมาณความดันนํ ้าทีย
่ งั

คงอยูในชัน้ ดินเหนี ยวณ. ความลึก 3 ม.หลังการกอสรางโครงสราง 5 ปี โดยกําหนดวาโครงสรางดังกลาวกอใหเฉพาะความเคนในแนวดิง่ เทานั น ้


วน
สง
สท

สงวน
ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 30 kPa.
2 : 35 kPa.
3 : 39 kPa.
4 : 45 kPa.

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 328 :
ถาการถมดินทําใหเกิดความเคนในแนวดิง่ โดยเฉลีย ่ เพิ่มขึน ้ ดินเหนี ยวทีม
้ 100 kPa แกชัน ่ ีความหนา 12 ม. และมีการระบายนํ ้าแบบ Doubly drainaged,Cv =8.0*10-8 m2/s จงประมาณความดันนํ ้าทีย
่ งั
คงอยูในชัน้ ดินเหนี ยวณ. ความลึก 6 ม.หลังการกอสรางโครงสราง 5 ปี โดยกําหนดวาโครงสรางดังกลาวกอใหเฉพาะความเคนในแนวดิง่ เทานั น ้

1 : 45 kPa.
2 : 54 kPa.
3 : 60 kPa.
4 : 65 kPa.

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 329 :
ถาการถมดินทําใหเกิดความเคนในแนวดิง่ โดยเฉลีย ่ เพิ่มขึน ้ ดินเหนี ยวทีม
้ 100 kPa แกชัน ่ ีความหนา 12 ม. และมีการระบายนํ ้าแบบ Doubly drainaged,Cv =8.0*10-8 m2/s จงประมาณความดันนํ ้าทีย
่ งั
คงอยูในชัน้ ดินเหนี ยวณ. ความลึก 9 ม.หลังการกอสรางโครงสราง 5 ปี โดยกําหนดวาโครงสรางดังกลาวกอใหเฉพาะความเคนในแนวดิง่ เทานั น ้

1 : 30 kPa.
2 : 35 kPa.
3 : 39 kPa.
4 : 45 kPa.

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3
ธิ ์

ขอที่ 330 :
สท

ถาการถมดินทําใหเกิดความเคนในแนวดิง่ โดยเฉลีย ่ เพิ่มขึน ้ ดินเหนี ยวทีม


้ 100 kPa แกชัน ่ ีความหนา 12 ม. และมีการระบายนํ ้าแบบ Doubly drainaged,Cv =8.0*10-8 m2/s จงประมาณความดันนํ ้าทีย
่ งั
คงอยูในชัน้ ดินเหนี ยวณ. ความลึก 12 ม.หลังการกอสรางโครงสราง 5 ปี โดยกําหนดวาโครงสรางดังกลาวกอใหเฉพาะความเคนในแนวดิง่ เทานั น ้

วน
สง
สท

ส งวน
ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 15 kPa.
2 : 10 kPa.
3 : 2 kPa.
4 : 0 kPa.

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 331 :
เมื่อดินเหนี ยวอิม
่ ตัวดวยนํ ้ารับแรงกดโดยแชอยูในนํ ้าและทิง้ ไวชวงเวลาหนึ่ ง ปริมาณนํ ้าในชองวางของดินจะลดลงและดินทรุดตัว เราเรียกกระบวนการนี ว้ าอะไร
1 : Shrinkage
2 : Expansion
3 : Consolidation
4 : Compaction

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 332 :
จากรูปตัดชัน้ ดิน ถามีแรงดัน 50 kPa กระทําทีผ
่ ิวดินเป็ นบริเวณกวางมากจนไมจํากัด จะมีการทรุดตัวเนื่ องจาก Primary Consolidation เป็ นเทาใด

1 : 24 cm
2 : 34 cm
3 : 44 cm
4 : 65 cm

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 333 :
ทํา consolidation test โดยใชตัวอยางดินเหนี ยวอิม
่ ตัวดวยนํ ้าหนา 20 มม. พบวาทีห
่ นวยแรงกดทับคาหนึ่ งตองใชเวลา 10.4 นาทีจงึ จะมี degree of consolidation = 90% ถาดินเหนี ยวชนิ ดเดียวกันนี ้
หนา 4 เมตรมีสภาพการระบายนํ ้าเหมือนกับใน lab และหนวยแรงกดทับเทากัน จะใชเวลานานเทาใดจึงจะมี degree of consolidation = 90%
1 : 1.44 วัน
2 : 72.2 วัน
3 : 288.9 วัน
4 : 354.3 วัน

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3
ธิ ์
สท

วน
สง
สท

งวน
ขอที่ 334 :
จากรูปตัดชัน้ ดิน และรูปผลการทดสอบ Consolidation ดินจะมีคา OCR เทาใด


ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 1.0
2 : 1.2
3 : 1.5
4 : 2.4

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 335 :
การทดสอบการอัดตัวคายนํ ้าของดินเหนี ยวตัวอยางหนา 2 ซม. โดยยอมใหนํ ้าไหลออกทัง้ ดานบนและลางของตัวอยาง พบวาในเวลา 20 นาที เกิดการทรุดตัว 50 % จงหาคาสัมประสิทธิ ์การอัดตัวคายนํ ้า
ของดิน (Coefficient of consolidation) (Tv = 0.197)
1 : 1.85x10-3 cm2 / sec
2 : 9.85 x10-3 cm2 / sec
3 : 1.64 x10-4 cm2 / sec
4 : 9.85 x10-4 cm2 / sec

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 336 :
กําหนด Pre-consolidation pressure = 200 kN/sq.m Effective overburden pressure = 100 kN/sq.m จงหาคาของ OCR (Over Consolidation Ratio)
1 : 0.5
2 : 1.0
3 : 1.5
4 : 2.0

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 337 :
คาใดไมเกีย่ วของกับการคํานวณระยะทรุดตัวของของดิน
1 : Optimum water content
2 : Compression Index
3 : Effective stress
4 : Void ratio

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 338 :
ขอใดไมใชสมมุตฐ
ิ านของ Consolidation settlement ของ Terzaghi
1 : One dimensional compression
2 : Saturated soil
3 : Homogeneous soil
4 : One-way drainage

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 339 :
ธิ ์
สท

วน

จากขอมูลทีไ่ ดใหไวในรูปประกอบ จงหาวาจะตองใชเวลาเทาใดในการระบายแรงดันนํ ้าสวนเกิน (ทีเ่ กิดขึน


้ จากแรงกระทําขนาด 10 t/sq.m. ทีผ ้
่ ิวดิน) ใหหมดสิน
สง
สท

งวน
จากขอมูลทีไ่ ดใหไวในรูปประกอบ จงหาวาจะตองใชเวลาเทาใดในการระบายแรงดันนํ ้าสวนเกิน (ทีเ่ กิดขึน
้ จากแรงกระทําขนาด 10 t/sq.m. ทีผ ้
่ ิวดิน) ใหหมดสิน


ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 340 วัน
2 : 680 วัน
3 : 1,020 วัน
4 : 1,360 วัน

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 340 :
ทฤษฎีการยุบอัดตัวคายนํ ้าแบบหนึ่ งมิตขิ องเทอรซากิใชสําหรับคํานวณการทรุดตัวของดินเหนี ยวแบบใด
1 : การทรุดตัวแบบทันทีทน ั ใด
2 : การทรุดตัวแบบระยะยาว
3 : การทรุดตัวทัง
้ หมดทีเ่ กิดจากดินไมอิม
่ ตัว
4 : ถูกมากกวา 1 ขอ

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 341 :
คาใดทีไ่ มเกีย
่ วของกับอัตราการทรุดตัวของดิน
1 : Cc
2 : Cv
3:U
4 : Tv

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

เนื อ
้ หาวิชา : 548 : Bearing capacity theory

ขอที่ 342 :
้ ดินเหนี ยวลึก 1 เมตร ระดับนํ ้าใตดินลึกมากเมื่อเทียบกับความกวางของฐานราก ดินเหนี ยวมีหนวยนํ ้าหนั กเทากับ 21 kN/m3 จงหาคากําลัง
ฐานรากแผแบบยาวเหยียด (strip footing) ฝั งจมอยูในชัน
แบกทานของฐานรากแผในกรณี ใชการวิเคราะหแบบไมระบายนํ ้า โดยมีกาํ ลังรับแรงเฉื อนแบบไมระบายนํ ้า (undrained shear strength, su) เทากับ 105 kN/m2 กําหนด Nc = 5.14, Nq = 1
1 : 540 kPa (kN/m2)
2 : 560 kPa (kN/m2)
3 : 1080 kPa (kN/m2)
4 : 1120 kPa (kN/m2)

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 343 :
้ ดินเหนี ยวลึก 1 เมตร ระดับนํ ้าใตดินลึกมากเมื่อเทียบกับความกวางของฐานราก ดินเหนี ยวมีหนวยนํ ้าหนั กเทากับ 21 kN/m3 จง
ฐานรากแผแบบยาวเหยียด (strip footing) กวาง 2 เมตร ฝั งจมอยูในชัน
หาคากําลังแบกทานของฐานรากแผในกรณี ใชการวิเคราะหแบบระบายนํ ้า โดยมีคา effective shear strength c = 10 kN/m2 และ phi = 28 องศา

1 : 258 kPa (kN/m2)


2 : 567 kPa (kN/m2)
3 : 797 kPa (kN/m2)
4 : 1134 kPa (kN/m2)

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 344 :
แทงคนํ ้าฐานวงกลมมีรศ ้ ดินเหนี ยวลึกลงไป 0.25 เมตร ระดับนํ ้าใตดินอยูทีฐ
ั มี 1 เมตร ฝั งอยูในชัน ่ านของฐานราก ดินเหนี ยวมีหนวยนํ ้าหนั ก 20 kN/m3 และ effective shear strength c = 0, phi = 35
องศา จงหาความสูงของนํ ้าในแทงคสูงสุดทีเ่ ป็ นไปได โดยใชระดับความปลอดภัย (factor of safety) 2.5

1:5m
2 : 10 m
3 : 15 m
4 : 20 m
5 : 25 m

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4
ธิ ์
สท

ขอที่ 345 :
กําลังรับรับนํ ้าหนั กของดินตามทฤษฎีของ Terzaghi จะขึน
้ อยูกับ
วน
สง
สท

งวน
1 : ความลึกของระดับทีว่ างฐานราก
2 : นํ ้าหนั กทีก
่ ระทํากับฐานราก
3 : คามุมเสียดทานระหวางฐานรากและดินใตฐานราก


4 : ถูกทุกขอ

ขอ
คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

กร
ิ ว
ขอที่ 346 :
ระยะเยือ วศ
้ งศูนยทีจ
่ ะไมทําใหเกิดหนวยแรงดึง (Tensile stress) ทีข
1 : B/6 (B = ความกวางของฐานราก)
า ่ อบของฐานรากจะตองไมมากกวา

2 : B/3
สภ

3 : D/6 (D = ความลึกของระดับทีว่ างฐานราก)


4 : D/3

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 347 :
กรณี ทมี่ ีนํ้าใตดินเหนื อระดับฐานราก ระดับนํ ้าใตดินจะมีผลทําให
1 : กําลังรับนํ ้าหนั กแบกทานของดินลดลง
2 : กําลังรับนํ ้าหนั กแบกทานของดินเพิ่มขึน

3 : กําลังรับนํ ้าหนั กแบกทานของดินไมเปลีย ่ นแปลง
4 : ไมสามารถสรุปได

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 348 :
Bearing capacity factor , Nc , Nq

1 : หนวยแรงดึงดูดของดิน(Cohesion)
2 : มุมเสียดทานภายในของดิน (Angle of internal friction)
3 : ขนาดความกวางของฐานราก, B
4 : นํ ้าหนั กของดินเหนื อระดับทีว่ างฐานรากและหนวยนํ ้าหนั กของดิน

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 349 :
ฐานรากรวม (Combined footing) หมายถึง
1 : ฐานรากทีม
่ ีนํ้าหนั กจากเสากระทําสองจุดหรือมากกวา
2 : ฐานรากเดีย
่ วทีอ ่ อกแบบใหรับแรงในแนวดิง่ และโมเมนตรวมกัน
3 : ฐานรากของอาคารทีม ่ ีหลาย ๆ รูปแบบในอาคารหลังเดียวกัน
4 : ฐานรากของอาคารทีม ่ ีทงั ้ ฐานรากแผและฐานรากเสาเข็มรวมกัน

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 350 :
จงคํานวณตามวิธข
ี อง Terzaghi วาฐานรากแผทีแ
่ สดงไวตามเงือ ั ิ (ซึง่ รวมถึงนํ ้าหนั กฐานรากแลว) ไดมากทีส
่ นไขในรูป จะสามารถรับแรงกระทําตามแกนดิง่ กอนการวิบต ่ ด
ุ เทาใด

1 : 7.4 t
2 : 29.6 t
3 : 37.2 t
4 : 50.1 t

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 351 :
ระดับนํ ้าใตดินทีร่ ะดับใดมีผลให Bearing Capacity มีคานอยทีส
่ ด

1 : ระดับผิวดิน
2 : ระดับ1/2 ของความลึกฐานราก
ธิ ์

3 : ระดับ 1/4 ของความลึกฐานราก


4 : ระดับใตฐานราก
สท

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1
วน
สง
สท

งวน
ขอที่ 352 :


ในกรณี ทเี่ กิดแรงเยือ
้ งศูนยทีฐ
่ านราก (Eccentric Load) ขนาด e จะตองเปลีย
่ นแปลงขนาดฐานราก (B) ทีใ่ ชในการคํานวณหา Bearing Capacity ตามวิธี effective area เป็ นเทาใด

ขอ
1 : B’=B-e
2 : B’=B-2e
3 : ฺB’=B-3e

กร
4 : B’=B-4e

ิ ว
คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2
า วศ
สภ

ขอที่ 353 :
วิธก
ี ารใดทีส่ ามารถคํานวณหาคา Bearing Capacity ไดในกรณี ทน
ี่ ํ ้าหนั กกระทําตอฐานรากเป็ นแบบเฉี ยง ( Incline Load )
1 : Skempton Equation
2 : Terzaghi Equation
3 : Meyerhof Equation
4 : Peck Equation

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 354 :
กําหนดขนาดฐานรากยาวตอเนื่ อง (Strip Footing) ทีร่ ะดับ –1 เมตรจากผิวดิน หนวยนํ ้าหนั กดิน 18 kN/m3, c= 5 kPa, internal friction angle=0 จงคํานวณหา Gross Ultimate Bearing Capacity

1 : 25.7 kPa
2 : 35.7 kPa
3 : 43.7 kPa
4 : 53.7 kPa

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 355 :
ดินชนิ ดใดทีค
่ วามลึกของฐานรากมีผลตอ Bearing Capacity นอยมาก
1 : Cohesionless soil
2 : Dense Sand
3 : Loose sand
4 : Clay

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 356 :
ในการวิเคราะห Bearing Capacity ตามทฤษฎีของ Terzaghi กําหนดใหดินมีการวิบต
ั แ
ิ บบใด
1 : General Shear Failure
2 : Local Shear Failure
3 : Punching Shear Failure
4 : Rotational Failure

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 357 :
จงหาคานํ ้าหนั กปรรทุกปลอดภัยของฐานรากแผทีแ
่ สดงไวโดยใชสมการของ Terzaghi โดยระดับนํ ้าใตดินอยูทีผ
่ ิวดิน กําหนดใหใชอัตราสวนปลอดภัยเทากับ 3

1 : 36 ตัน
2 : 72 ตัน
3 : 114 ตัน
4 : 162 ตัน

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 358 :
ธิ ์
สท

วน

จงหาวาฐานรากทีไ่ ดแสดงไวมีอต
ั ราสวนปลอดภัยเทากับเทาใด (กําหนดใหนํ ้าหนั กของฐานรากเป็ นศูนย)
สง
สท

งวน
จงหาวาฐานรากทีไ่ ดแสดงไวมีอต
ั ราสวนปลอดภัยเทากับเทาใด (กําหนดใหนํ ้าหนั กของฐานรากเป็ นศูนย)


ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 3.2
2 : 3.5
3 : 3.8
4 : 4.1

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 359 :
จงหาคานํ ้าหนั กบรรทุกยอมใหของฐานรากทีไ่ ดแสดงไว โดยใชสวนปลอดภัยเทากับ 3

1 : 58 ตัน
2 : 68 ตัน
3 : 78 ตัน
4 : 88 ตัน

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 360 :
จงหาคานํ ้าหนั กบรรทุกยอมใหของฐานรากทีไ่ ดแสดงไวตามสมการของเทอรซากี โดยใชสวนปลอดภัยเทากับ 3

1 : ประมาณ 30 ตัน
2 : ประมาณ 40 ตัน
3 : ประมาณ 50 ตัน
4 : ประมาณ 60 ตัน

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 361 :
นํ าตัวอยางดินลูกรังซึง่ มีคา ถพ. Gs = 2.730 ไปทําการทดลอง Modified Proctor Compaction Test ไดคาความหนาแนนแหงสูงสุด = 1.868 g/cm^3 โดยใชปริมาณนํ ้าทีเ่ หมาะสมทีส
่ ด
ุ OMC =
14.95% ถาสามารถบดอัดจนกระทัง่ ในชองวางระหวางเม็ดดินไมมีฟองอากาศอยูเลยโดยใชปริมาณนํ ้าที่ OMC นี ้ ไดคาความหนาแนนสูงสุดเทาใด
ธิ ์
สท

1 : 0.732 g/cu.m
2 : 1.868 g/cu.m
วน
สง
สท

งวน
3 : 1.939 g/cu.m
4 : 2.730 g/cu.m


คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอ
กร
ขอที่ 362 :
ในการบดอัดดินแบบ Modified Proctor ใช Mold ขนาด เสนผานศูนยกลาง 6 นิ ว้ สูง 4.584 นิ ว้ ตุมนํ ้าหนั กขนาด 10 lb ระยะยกสูง 18 นิ ว้ กระแทกลงบนเนื อ ้ ชัน
้ ดินรวม 5 ชัน ้ ละ 56 ครัง้ พลังงานทีใ่ ชใน
การบดอัดดินในรูปของพลังงานทีใ่ ชในการบดอัดดินตอปริมาตรของดินทีบ
่ ดอัด มีคาเทากับเทาไร

ิ ว
วศ
1 : 12400 ft-lb/ft^3
2 : 24800 ft-lb/ft^3
3 : 56000 ft-lb/ft^3

4 : 62400 ft-lb/ft^3
สภ

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 363 :
่ ีระดับนํ ้าใตดินลึกมากซึง่ มีคาตางๆดังนี ้ จงหาคาความแตกตางของ Ultimate Soil Bearing Capacity เมื่อฐานแผอยูทีผ
ในการกอสรางฐานแผแนวยาว ( Strip Footing ) บนดินเหนี ยวทีม ่ ิวดิน และเมื่อ
ฐานแผอยูทีค ่ วามลึก 1 ม. จากผิวดิน

1 : 0.95 T/m^2
2 : 1.45 T/m^2
3 : 1.95 T/m^2
4 : 2.45 T/m^2

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 364 :
ทานตองการหาความสามารถในการแบกทานของดิน (Bearing Capacity) เพื่อทําการกอสรางแท็งกนํ ้ารูปวงแหวนดังแสดงในรูป ทานควรใชความสัมพันธเพื่อหาความสามารถในการแบกทานของดิน
่ “Terzaghi’s bearing capacity” คือ Qultimate = cNc+qNq+1/2(gamma)BN(gamma) จากความสัมพันธดังกลาวทานควรจะกระทําการกระทําในขอใด
หรือรูจักกันในชือ

1 : ก. ปรับแกสูตรความสัมพันธดังกลาวเพื่อใหไดความสัมพันธสําหรับฐานรากวงกลม
2 : ข. ปรับแกสูตรความสัมพันธดังกลาวเพื่อใหไดความสัมพันธสําหรับฐานรากสีเ่ หลีย่ มผืนผา
3 : ค. ปรับแกสูตรความสัมพันธดังกลาวเพื่อใหไดความสัมพันธสําหรับฐานรากแบบตอเนื่ องหรือ Strip footing
4 : ง. ไมตองปรับแกความสัมพันธความสัมพันธดังกลาวสมบรูณและสามารถใชไดเลย
5 : จ. ปรับแกสูตรความสัมพันธดังกลาวเพื่อใหไดความสัมพันธสําหรับฐานรากสีเ่ หลีย
่ มจัตรุ ส

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 365 :
เสาเข็มหนาตัดสีเ่ หลีย
่ มจัตรุ ส ้ ดินเหนี ยวดังรูป กําลังรับนํ ้าหนั กประลัยของเสาเข็มตนนี เ้ ป็ นเทาใด โดยไมคิดนํ ้าหนั กเสาเข็ม
ั ขนาด 400 มิลลิเมตร วางอยูในชัน
กําหนดให
หนวยแรงเสียดทานผิวเสาเข็มเฉลีย ่ ประลัย = 23 kPa (kN/m2)
ธิ ์
สท

วน
สง
สท

งวน
หนวยแรงตานทานปลายเสาเข็มประลัย = 450 kPa (kN/m2)


ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 109 kN
2 : 417 kN
3 : 620 kN
4 : 624 kN

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 366 :
ถาฐานรากแผยาวมาก (มีความยาวมากกวาความกวางมาก) วางบนผิวดิน
Ultimate bearing capacity จะมีคาเป็ นเทาใด ถาระดับนํ ้าใตดินอยูในระดับลึกมาก

1 : 125.6 kPa (kN/m2)


2 : 135.9 kPa (kN/m2)
3 : 140.5 kPa (kN/m2)
4 : 154.2 kPa (kN/m2)

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 367 :
ธิ ์
สท

วน

ถาฐานรากแผยาวมาก (มีความยาวมากกวาความกวางมาก) วางบนผิวดินเหนี ยว ทีม


่ ีสภาพไมระบายนํ ้า จะมี Ultimate Bearing capacity เป็ นเทาใด
สง
สท

งวน
ถาฐานรากแผยาวมาก (มีความยาวมากกวาความกวางมาก) วางบนผิวดินเหนี ยว ทีม
่ ีสภาพไมระบายนํ ้า จะมี Ultimate Bearing capacity เป็ นเทาใด


ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 154.2 kPa
2 : 135.9 kPa
3 : 125.8 kPa
4 : 110.6 kPa

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 368 :
วิธก
ี ารทดสอบเสาเข็มแบบใดสามารถใชตรวจสอบความสมบูรณของเนื อ
้ คอนกรีตเสาเข็มได
1 : Sonic Integrity test
2 : Static pile load test – Quick test
3 : Plate bearing test
4 : Static pile load test – Maintained load test

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 369 :
ในการตอกเสาเข็มดวยลูกตุมหนั ก 7 ตันและมีระยะยกสูง 60 เซนติเมตร ถาเสาเข็มมีระยะจมตัวเนื่ องจากการตอก 10 ครัง้ สุดทายเทากับ 20 มิลลิเมตร แรงตานทานตอการตอกเสาเข็มตนนี เ้ ป็ นเทาใดถา
ใชสูตรของ Engineering news
1 : 155.6 tons
2 : 145.6 tons
3 : 135.6 tons
4 : 125.6 tons

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 370 :
การวิบตั ข
ิ องฐานรากตืน
้ ในรูปใดจัดวาเป็ นการวิบต
ั แ
ิ บบใด

1 : Sliding
2 : Overturning
3 : General shear
4 : Punching shear
ธิ ์
สท

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

วน
สง
สท

งวน
ขอที่ 371 :
เสาเข็มของบอเก็บนํ ้าทีอ
่ ยูในสภาพเกือบแหงดังรูปจะมีแรงกระทําชนิ ดใดทีก
่ ระทํากับเสาเข็มเป็ นหลักเป็ นหลัก


ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : Compressive force
2 : Tension
3 : Horizontal force
4 : Torsion

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 372 :
้ ดินดังรูป จะตองคํานึ งถึงขอใดเป็ นพิเศษ
เสาเข็มกอสรางในชัน

1 : General shear failure


2 : Negative skin friction
3 : Lateral movement
4 : Pile deviation

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 373 :
ฐานรากสีเ่ หลีย
่ มผืนผา กวาง 2 เมตร ยาว 4 เมตร วางอยูบนชัน ้ ทรายทีค
่ วามลึก 2 เมตรจากผิวดิน รับแรงกดในแนวแกน (รวมนํ ้าหนั กฐานราก) 80 ตัน จงประมาณคาหนวยแรงทีเ่ กิดขึน ้ ดินทีร่ ะดับ
้ บนชัน
ฐานรากและทีค ่ วามลึก 8 เมตรจากผิวดินเนื่ องจากฐานรากนี ้ กําหนดใหใชการกระจายหนวยแรง 2:1
1 : 10 t/m2 และ 1 t/m2
2 : 10 t/m2 และ 0.67 t/m2
3 : 20 t/m2 และ 1 t/m2
4 : 20 t/m2 และ 0.67 t/m2

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1
ธิ ์
สท

ขอที่ 374 :
วน

ขอใดไมใชลักษณะการเคลือ
่ นตัวของดินใตฐานรากทีท
่ าํ ใหเกิดการวิบต
ั ิ
สง
สท

งวน
ขอใดไมใชลักษณะการเคลือ
่ นตัวของดินใตฐานรากทีท
่ าํ ใหเกิดการวิบต
ั ิ
1 : Punching Shear


2 : Beam Shear
3 : General Shear

ขอ
4 : Local Shear

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

กร
ขอที่ 375 :
ิ ว
วศ
องคประกอบใดทีไ่ มมีผลตอคา Ultimate Bearing Capacity ของดินใตฐานราก

1 : นํ ้าหนั กดินเหนื อฐานราก
สภ

2 : ความกวางของฐานราก
3 : ความลึกของฐานรากจากผิวดิน
4 : คุณภาพของคอนกรีตทีใ่ ชทําฐานราก

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 376 :
้ ดินทีก
จงคํานวณหากําลังรับนํ ้าหนั กบรรทุกเสาเข็มปลอดภัยของเสาเข็ม spun เสนผานศูนยกลาง 60 ซม. ใช Safety Factor ตามกฏกระทรวงเทากับ 2.5 ตามชัน ่ าํ หนดให (ไมคิดนํ ้าหนั กเสาเข็ม)

1 : 19 ตัน
2 : 36 ตัน
3 : 46 ตัน
4 : 115 ตัน

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 377 :
จงคํานวณหากําลังรับนํ ้าหนั กบรรทุกเสาเข็มปลอดภัยของเสาเข็มสีเ่ หลีย ้ ดินขางลางโดยไมคิดนํ ้าหนั กเสาเข็ม
่ ม 0.45x0.45 ม. โดยใช Safety Factor ตามกฏกระทรวงเทากับ 2.5 ตามชัน

1 : 23 ตัน
2 : 53 ตัน
3 : 112 ตัน
4 : 132 ตัน

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 378 :
ในการตอกเสาเข็มคอนกรีตรูปหนาตัดสีเ่ หลีย
่ มขนาด 0.2x0.2 m. ความยาว 5 m. ลงไปในชัน้ ดินเหนี ยวออน ซึง่ มีคา c = 1.2 T/m^2 และ Angle of Internal Friction = 0 คาสัมประสิทธิ ์แรงยึดเกาะ (
Adhesion Factor ) ระหวางผิวคอนกรีตกับดินเหนี ยวออนเทากับ 1 คาแรงตานทานทีผ่ ิวดานขางของเสาเข็มมีคาเทากับเทาใด
1 : 2.4 ton
2 : 4.8 ton
3 : 5.6 ton
4 : 9.6 ton

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2
ธิ ์
สท

ขอที่ 379 :
วน

้ ดินเหนี ยวลึก 1 เมตร ระดับนํ ้าใต ดินลึกมากเมื่อเทียบกับความกวางของฐานราก ดินเหนี ยวมีหนวยนํ ้าหนั กเทากับ 21 kN/m3 จงหาคากําลัง
ฐานรากแผแบบยาวเหยียด (strip footing) ฝั งจมอยูในชัน
สง
สท

งวน
้ ดินเหนี ยวลึก 1 เมตร ระดับนํ ้าใต ดินลึกมากเมื่อเทียบกับความกวางของฐานราก ดินเหนี ยวมีหนวยนํ ้าหนั กเทากับ 21 kN/m3 จงหาคากําลัง
ฐานรากแผแบบยาวเหยียด (strip footing) ฝั งจมอยูในชัน
แบกทานประลัยของฐานรากแผในกรณี ใชการวิเคราะหแบบไมระบายนํ ้า โดยมีกาํ ลังรับแรงเฉื อนแบบไม ระบายนํ ้า (undrained shear strength, su) เทากับ 105 kN/m2 กําหนด Nc = 5.14, Nq = 1


1 : 540 kPa (kN/m^2)
2 : 561 kPa (kN/m^2)

ขอ
3 : 224 kPa (kN/m^2)
4 : 216 kPa (kN/m^2)

กร
คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 380 : ิ ว
วศ
้ ดินเหนี ยวลึก 1.5 เมตร ระดับนํ ้าใตดินลึกมากเมื่อเทียบกับความกวางของฐานราก ดินเหนี ยวมีหนวยนํ ้าหนั กเทากับ 20 kN/m3 จงหาคากําลัง
ฐานรากแผแบบยาวเหยียด (strip footing) ฝั งจมอยูในชัน

แบกทานประลัยของฐานรากแผในกรณี ใชการวิเคราะหแบบไมระบายนํ ้า โดยมีกาํ ลังรับแรงเฉื อนแบบไมระบายนํ ้า (undrained shear strength, su) เทากับ 95 kN/m2 กําหนด Nc = 5.14, Nq = 1
สภ

1 : 488 kPa (kN/m^2)


2 : 207 kPa (kN/m^2)
3 : 195 kPa (kN/m^2)
4 : 518 kPa (kN/m^2)

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 381 :
้ ดินเหนี ยวลึก 2 เมตร ระดับนํ ้าใตดินลึกมากเมื่อเทียบกับความกวางของฐานราก ดินเหนี ยวมีหนวยนํ ้าหนั กเทากับ 20 kN/m3 จงหาคากําลัง
ฐานรากแผแบบยาวเหยียด (strip footing) ฝั งจมอยูในชัน
แบกทานประลัยของฐานรากแผในกรณี ใชการวิเคราะหแบบไมระบายนํ ้า โดยมีกาํ ลังรับแรงเฉื อนแบบไมระบายนํ ้า (undrained shear strength, su) เทากับ 95 kN/m2 กําหนด Nc = 5.14, Nq = 1
1 : 211 kPa (kN/m^2)
2 : 195 kPa (kN/m^2)
3 : 488 kPa (kN/m^2)
4 : 528 kPa (kN/m^2)

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 382 :
้ ดินเหนี ยวลึก 2 เมตร ระดับนํ ้าใตดินลึกมากเมื่อเทียบกับความกวางของฐานราก ดินเหนี ยวมีหนวยนํ ้าหนั กเทากับ 18 kN/m3 จงหาคากําลัง
ฐานรากแผแบบยาวเหยียด (strip footing) ฝั งจมอยูในชัน
แบกทานประลัยของฐานรากแผในกรณี ใชการวิเคราะหแบบไมระบายนํ ้า โดยมีกาํ ลังรับแรงเฉื อนแบบไมระบายนํ ้า (undrained shear strength, su) เทากับ 40 kN/m2 กําหนด Nc = 5.14, Nq = 1
1 : 82 kPa (kN/m^2)
2 : 97 kPa (kN/m^2)
3 : 206 kPa (kN/m^2)
4 : 242 kPa (kN/m^2)

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 383 :
้ ดินเหนี ยวลึก 1 เมตร ระดับนํ ้าใตดินลึกมากเมื่อเทียบกับความกวางของฐานราก ดินเหนี ยวมีหนวยนํ ้าหนั กเทากับ 21 kN/m3 จง
ฐานรากแผแบบยาวเหยียด (strip footing) กวาง 2 เมตร ฝั งจมอยูในชัน
หาคากําลังแบกทานประลัยของฐานรากแผในกรณี ใชการวิเคราะหแบบระบายนํ ้า โดยมีคา effective shear strength c = 10 kN/m2 และ phi = 28 องศา

1 : 567 kPa (kN/m^2)


2 : 797 kPa (kN/m^2)
3 : 258 kPa (kN/m^2)
4 : 488 kPa (kN/m^2)

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 384 :
้ ดินเหนี ยวลึก 1 เมตร ระดับนํ ้าใตดินลึกมากเมื่อเทียบกับความกวางของฐานราก ดินเหนี ยวมีหนวยนํ ้าหนั กเทากับ 20 kN/m3
ฐานรากแผแบบยาวเหยียด (strip footing) กวาง 1.5 เมตร ฝั งจมอยูในชัน
จงหาคากําลังแบกทานประลัยของฐานรากแผในกรณี ใชการวิเคราะหแบบระบายนํ ้า โดยมีคา effective shear strength c = 10 kN/m2 และ phi = 28 องศา

1 : 258 kPa (kN/m^2)


2 : 422 kPa (kN/m^2)
3 : 552 kPa (kN/m^2)
4 : 717 kPa (kN/m^2)

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 385 :

1 : 0.11 m
2 : 0.22 m
ธิ ์

3 : 0.33 m
4 : 0.67 m
สท

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

วน
สง
สท

งวน
ขอที่ 386 :


ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 0.095 m
2 : 0.19 m
3 : 0.25 m
4 : 0.50 m

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 387 :
แทงคนํ ้าฐานวงกลมมีรศ ้ ดินเหนี ยวลึกลงไป 1 เมตร ระดับนํ ้าใตดินอยูทีฐ
ั มี 2.0 เมตร ฝั งอยูในชัน ่ านของฐานราก ดินเหนี ยวมีหนวยนํ ้าหนั กอิม ้ เทากับ 21 kN/m^3 และ effective
่ ตัวและหนวยนํ ้าหนั กชืน
shear strength c = 0, phi = 20 องศา และ Su= 15 kN/m^2 จงหาความสูงของนํ ้าในแทงคสูงสุดทีเ่ ป็ นไปได โดยใชระดับความปลอดภัย (factor of safety) 2.5 และไมตองคํานึ งถึงนํ ้าหนั กของโครง
สรางแทงคนํ ้า

1:3m
2:6m
3:9m
4 : 12 m

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 388 :
กําหนดขนาดฐานรากยาวตอเนื่ อง (Strip Footing) ทีร่ ะดับ –1 เมตรจากผิวดิน หนวยนํ ้าหนั ก ดิน 18 kN/m3, c= 5 kPa, internal friction angle=0 จงคํานวณหา Gross Ultimate Bearing Capacity
เมื่อ Nc = 5.14 , Nq = 1 , Nγ = 0
1 : 25.7 kPa
2 : 35.7 kPa
3 : 43.7 kPa
4 : 53.7 kPa

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 389 :
กําหนดขนาดฐานรากยาวตอเนื่ อง (Strip Footing) ทีร่ ะดับ –0.5 เมตรจากผิวดิน หนวยนํ ้าหนั กดิน 20 kN/m3, c= 10 kPa, internal friction angle= 0 จงคํานวณหา Gross Ultimate Bearing Capacity
เมื่อ Nc = 5.14 , Nq = 1 , Nγ = 0
1 : 35.7 kPa
2 : 61.4 kPa
3 : 51.4 kPa
4 : 25.7 kPa

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 390 :
กําหนดขนาดฐานรากยาวตอเนื่ อง (Strip Footing) ทีร่ ะดับ –2 เมตรจากผิวดิน หนวยนํ ้าหนั กดิน 21 kN/m3, c= 12.5 kPa, internal friction angle= 0 จงคํานวณหา Gross Ultimate Bearing Capacity
เมื่อ Nc = 5.14 , Nq = 1 , N? = 0
ธิ ์

1 : 106.25 kPa
สท

2 : 64.25 kPa

3 : 43.70 kPa
4 : 61.40 kPa
วน
สง
สท

งวน
คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3


ขอ
ขอที่ 391 :
การออกแบบเสาเข็มสีเ่ หลีย
่ ม 0.20x0.20 ม. ยาว 6 ม. ในชัน ่ ีคา Undrained shear strength = 2.5 t/m2   หนวยนํ ้าหนั กชืน
้ ดินเหนี ยวทีม ้ =

กร
2
1.6 t/m    α = 0.98 ระดับนํ ้าใตดินอยุตํา่ กวาผิวดิน 1 ม. ใหหาคากําลังรับนํ ้าหนั กบรรทุกสูงสุดของเสาเข็ม (Ultimate pile capacity) โดยไมคํานึ งถึง
End bearing capacity
ิ ว
วศ
1 : 11.8 t/m2
2 : 19.6 t/m2

3 : 14.7 t/m2
สภ

4 : 15.7 t/m2 

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 392 :
การออกแบบเสาเข็มสีเ่ หลีย
่ ม 0.25x0.25 ม. ยาว 8 ม. ในชัน ่ ีคา Undrained shear strength = 2.5 t/m2   หนวยนํ ้าหนั กชืน
้ ดินเหนี ยวทีม ้ =
2
1.8 t/m    α = 0.98 ระดับนํ ้าใตดินอยุตํา่ กวาผิวดิน 1 ม. ใหหาคากําลังรับนํ ้าหนั กบรรทุกสูงสุดของเสาเข็ม (Ultimate pile capacity) โดยไมคํานึ งถึง
End bearing capacity
1 : 15.7 t/m
2   
2
2 : 11.8 t/m    
2
3 : 19.6 t/m    
2
4 : 14.7 t/m    

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 393 :
 การออกแบบเสาเข็มสีเ่ หลีย
่ ม 0.20x0.20 ม. ยาว 8 ม. ในชัน ่ ีคา Undrained shear strength = 2.5 t/m2   หนวยนํ ้าหนั ก
้ ดินเหนี ยวทีม
2
้ = 1.8 t/m    α = 0.98 ระดับนํ ้าใตดินอยุตํา่ กวาผิวดิน 1 ม. ใหหาคากําลังรับนํ ้าหนั กบรรทุกสูงสุดของเสาเข็ม (Ultimate pile capacity) โดยไม
ชืน
คํานึ งถึง End bearing capacity
1 : 15.7 t/m
2   
2 : 11.8 t/m
2   
2
3 : 19.6 t/m    
2
4 : 14.7 t/m    

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 394 :
  การออกแบบเสาเข็มสีเ่ หลีย
่ ม 0.25x0.25 ม. ยาว 6 ม. ในชัน ่ ีคา Undrained shear strength = 2.5 t/m2   หนวยนํ ้าหนั ก
้ ดินเหนี ยวทีม
้ = 1.8 t/m2   α = 0.98 ระดับนํ ้าใตดินอยุตํา่ กวาผิวดิน 1 ม. ใหหาคากําลังรับนํ ้าหนั กบรรทุกสูงสุดของเสาเข็ม (Ultimate pile capacity) โดยไม
ชืน
คํานึ งถึง End bearing capacity
1 : 11.8 t/m2

2 : 19.6 t/m2
3 : 14.7 t/m2
4 : 15.7 t/m2

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 395 :
้ ดินทราย
จงคํานวนหาคาการรับแรงแบกทาน (Ultimate bearing capacity, qult) ของฐานรากแผบนชัน
ธิ ์
สท

1 : 400 kPa
วน
สง
สท

งวน
2 : 800 kPa
3 : 500 kPa
4 : 1,000 kPa


คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอ
กร
ขอที่ 396 :
้ ดินทราย
จงคํานวนหาคาการรับแรงแบกทาน (Ultimate bearing capacity, qult) ของฐานรากแผบนชัน
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 800 kPa
2 : 500 kPa
3 : 1,000 kPa
4 : 400 kPa

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 397 :
้ ดินทราย
จงคํานวนหาคาการรับแรงแบกทาน (Ultimate bearing capacity, qult) ของฐานรากแผบนชัน

1 : 400 kPa
2 : 800 kPa
3 : 500 kPa
4 : 1,000 kPa

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 398 :
้ ดินทราย
จงคํานวนหาคาการรับแรงแบกทาน (Ultimate bearing capacity, qult) ของฐานรากแผบนชัน
ธิ ์
สท

วน
สง
สท

งวน

ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 400 kPa
2 : 800 kPa
3 : 500 kPa
4 : 1,000 kPa

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 399 :
จงหาความสามารถการรับนํ ้าหนั กบรรทุกทีย ่ อมใหของเสาเข็ม (Allowable Pile Capacity) ทีก
่ าํ หนดใหอัตราสวนความปลอดภัยเทากับ 2.5 และไม
คิดนํ ้าหนั กของเสาเข็ม เสาเข็มเป็ นรูปวงกลมมีเสนผานศูนยกลางเทากับ 0.4 เมตร

1 : 200 kN
2 : 260 kN
3 : 550 kN
4 : 470 kN

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 400 :
จงคํานวนหาคาการรับแรงแบกทาน (Ultimate bearing capacity, qult) ของฐานรากแผบนชัน ้ ดินทรายปนดินเหนี ยวทีม
่ ีคา undrained shear
strength = 2.0 kN/m2, f = 16? ( Nq = 5 Nc= 14 Ng= 3  ) และนํ ้าใตดินอยูทีร่ ะดับ -1.5 ม.จากผิวดิน กําหนดใหหนวยนํ ้าหนั กของดินอิม
่ ตัวดวยนํ ้า
้ เทากับ 20 kN/m3
และหนวยนํ ้าหนั กของดินชืน
ธิ ์
สท

วน
สง
สท

งวน

ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 155 kPa
2 : 204 kPa
3 : 180 kPa
4 : 192 kPa

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 401 :
จงคํานวนหาคาการรับแรงแบกทาน (Ultimate bearing capacity, qult) ของฐานรากแผบนชัน ้ ดินทรายปนดินเหนี ยวทีม
่ ีคา undrained shear
strength = 2.0 kN/m2, f = 16? ( Nq = 5 Nc= 14 Ng= 3  ) และนํ ้าใตดินอยูทีร่ ะดับ -0.5 ม.จากผิวดิน กําหนดใหหนวยนํ ้าหนั กของดินอิม
่ ตัวดวยนํ ้า
้ เทากับ 20 kN/m3
และหนวยนํ ้าหนั กของดินชืน

1 : 155 kPa
2 : 204 kPa
3 : 180 kPa
4 : 192 kPa

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 402 :
จงคํานวนหาคาการรับแรงแบกทาน (Ultimate bearing capacity, qult) ของฐานรากแผบนชัน ้ ดินทรายปนดินเหนี ยวทีม
่ ีคา undrained shear
strength = 2.0 kN/m2, f = 16? ( Nq = 5 Nc= 14 Ng= 3  ) และนํ ้าใตดินอยูทีร่ ะดับ -1.0 ม.จากผิวดิน กําหนดใหหนวยนํ ้าหนั กของดินอิม
่ ตัวดวยนํ ้า
้ เทากับ 20 kN/m3
และหนวยนํ ้าหนั กของดินชืน
ธิ ์
สท

วน
สง
สท

ส งวน
ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 155 kPa
2 : 204 kPa
3 : 180 kPa
4 : 192 kPa

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 403 :
จงคํานวนหาคาการรับแรงแบกทาน (Ultimate bearing capacity, qult) ของฐานรากแผบนชัน ้ ดินทรายปนดินเหนี ยวทีม
่ ีคา undrained shear
strength = 2.0 kN/m2, f = 16? ( Nq = 5 Nc= 14 Ng= 3  ) และนํ ้าใตดินอยูทีร่ ะดับผิวดิน กําหนดใหหนวยนํ ้าหนั กของดินอิม่ ตัวดวยนํ ้าและหนวยนํ ้า
้ เทากับ 20 kN/m3
หนั กของดินชืน

1 : 155 kPa
2 : 204 kPa
3 : 180 kPa
4 : 192 kPa

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

เนื อ
้ หาวิชา : 549 : Compaction

ขอที่ 404 :
จากเสนโคงการบดอัดดังรูปและตองการบดอัดดินใหตรงตามขอกําหนดโดยใหมี Compaction density อยางนอย 95 เปอรเซ็นตของความหนาแนนแหงสูงสุดทีไ่ ดจากหองปฎิบต ั ก ้ อยู
ิ ารและมีความชืน
ในชวง -2 ถึง +2 เปอรเซ็นตของ Optimum water content เมื่อทดสอบ Sand cone test พบวา ปริมาตรของดินเทากับ 1153 cm3 นํ ้าหนั กเปี ยกเทากับ 2209 g. และ นํ ้าหนั กแแหงเทากับ 1879 g.จง
หาความหนาแนนแหงของบดอัดในสนาม
ธิ ์
สท

1 : 1.13 g/cm3

2 : 1.33 g/cm3
วน
สง
สท

งวน
3 : 1.53 g/cm3
4 : 1.63 g/cm3


คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอ
กร
ขอที่ 405 :
จากเสนโคงการบดอัด และตองการบดอัดดินใหตรงตามขอกําหนด (Specification) โดยใหมี Compaction density อยางนอย 95 เปอรเซ็นตของความหนาแนนแหงสูงสุดทีไ่ ดจากหองปฎิบต ั ก
ิ ารและมี
ความชืน้ อยูในชวง -2 ถึง +2 เปอรเซ็นตของ Optimum water content เมื่อทดสอบ Sand cone test พบวา ปริมาตรของดินเทากับ 1153 cm3 นํ ้าหนั กเปี ยกเทากับ 2209 g.และนํ ้าหนั กแหงเทากับ

ิ ว
1879 g. จงหา Water content ของดินในสนาม
า วศ
สภ

1 : 10.5 %
2 : 15.5%
3 : 17.6 %
4 : 19.7%

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 406 :
จากเสนโคงการบดอัดและตองการบดอัดดินใหตรงตามขอกําหนด (Specification) โดยใหมี Compaction density อยางนอย 95 เปอรเซ็นตของความหนาแนนแหงสูงสุดทีไ่ ดจากหองปฎิบต ั ก
ิ ารและมี
ความชืน้ อยูในชวง -2 ถึง +2 เปอรเซ็นตของ Optimum water content เมื่อทดสอบ Sand cone test พบวา ปริมาตรของดินเทากับ 1153 cm3 นํ ้าหนั กเปี ยกเทากับ 2209 g. และ นํ ้าหนั กแหงเทากับ
1879 g.

1 : 94 %
2 : 96 %
3 : 97 %
4 : 98 %

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 407 :
เสนโคงการบดอัดและตองการบดอัดดินใหตรงตามขอกําหนด (Specification) โดยใหมี Compaction density อยางนอย 95 เปอรเซ็นตของความหนาแนนแหงสูงสุดทีไ่ ดจากหองปฎิบต ั ก
ิ ารและมี
ความชืน้ อยูในชวง 2 เปอรเซ็นต ของ Optimum water content เมื่อทดสอบ Sand cone test พบวา ปริมาตรของดินเทากับ 1153 cm3 นํ ้าหนั ก เปี ยกเทากับ 2209 g. และ นํ ้าหนั กแหงเทากับ 1879 g.
ธิ ์
สท

วน
สง
สท

งวน

ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : เป็ นไปตามขอกําหนดเนื่ องมาจากความหนาแนนแหง และ Optimum water content


2 : ไมเป็ นไปตามขอกําหนดเนื่ องมาจากความหนาแนนแหง
3 : ไมเป็ นไปตามขอกําหนดเนื่ องมาจากความหนาแนนแหงและ Optimum water content
4 : ไมเป็ นไปตามขอกําหนดเนื่ องมาจาก Optimum water content

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 408 :
จากรูปเสนโคงการบดอัดขางลาง โคงเสนใดทีแ
่ สดงการบดอัดโดยใชพลังงานนอยทีส
่ ด
ุ และเป็ นไปตามขอกําหนด

1 : ก. เสนโคง A
2 : ข. เสนโคง B
3 : ค. เสนโคง C
4 : ง. เสนโคง D
5 : จ. ไมมีขอใดถูกตอง

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 409 :
การทดสอบการบดอัดในหองปฏิบต ั ก
ิ ารไดผลดังนี ้
ความหนาแนนเปี ยก = 18 kN/m^3, ปริมาณนํ ้าในดิน = 20 %
ความหนาแนนแหงของดินนี เ้ ป็ นเทาใด
1 : 17 kN/m^3
2 : 16 kN/m^3
3 : 15 kN/m^3
4 : 14 kN/m^3

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 410 :
จากกราฟผลการทดสอบการบดอัดดินในหองปฏิบต ั ก
ิ ารดวยวิธี Standard Proctor ดังรูป ถานํ าดินชนิ ดนี ไ้ ปบดอัดถนนแลวทําการทดสอบการบดอัดในสนามดวยวิธี Sand cone ไดความหนาแนนแหง
18.5 kN/m^3 ความแนนของการบดอัดของดินเปอรเซ็นตเป็ นเทาใด
ธิ ์
สท

วน
สง
สท

งวน

ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 96.5 %
2 : 94.9 %
3 : 92.4 %
4 : 93.8 %

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 411 :
การบดอัดดินจะมีผลทําให
1 : Vs ลด ทําให ความหนาแนนของดิน เพิ่ม
2 : Ws เพิ่ม ทําให ความหนาแนนของดิน เพิ่ม
3 : ปริมาณชองวางของอากาศลดลง
4 : ปริมาณนํ ้าในดินลดลง

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 412 :
การทดสอบการบดอัดดินในหองทดลองเพื่อตองการหาคาของ
1 : ความแข็งแรงของดินทีบ
่ ดอัด
2 : ความหนาแนนของดินชืน ้ ทีป
่ ริมาณความชืน ้ ตาง ๆ กัน
3 : ความหนาแนนแหงสูงสุดและความชืน ้ ทีเ่ หมาะสม
4 : หาคาความหนาแนนแหงของดินเมื่อชองวางของอากาศเทากับศูนย

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 413 :
การบดอัดเขือ่ นดิน
1 : ควรใชรถบดแบบลากจูง
2 : ควรใชรถบดลอเหล็ก
3 : ควรบดอัดทางดานแหง (Dry side)
4 : ควรบดอัดทางดานเปี ยก (Wet side)

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 414 :
การบดอัดดินทางดานแหง (Dry side)
1 : ควรใชรถบดแบบตีนแกะ (Sheep foot)
2 : ควรใชรถบดแบบสัน ่ สะเทือน (Vibrating Roller)
3 : เมื่อเพิ่มพลังงานในการบดอัดความหนาแนนแหงจะเพิ่มขึน้
4 : สัมประสิทธิ ์ความซึมไดของดินจะตํา่ กวาการบดอัดทางดานเปี ยก

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 415 :
ดินทีม
่ ีคา CBR สูงทีส
่ ด

1 : หินคลุก
2 : ดินลูกรัง
3 : ดินเหนี ยวปนกรวด
4 : ดินเหนี ยวปนตะกอนทราย

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1
ธิ ์
สท

ขอที่ 416 :
นํ าตัวอยางดินลูกรังซึง่ มีคา ถพ. Gs = 2.730 ไปทําการทดลอง Modified Proctor Compaction Test ไดคาความหนาแนนแหงสูงสุด = 1.868 g/cm^3 โดยใชปริมาณนํ ้าทีเ่ หมาะสมทีส
่ ด
ุ OMC =

14.95% ถาสามารถบดอัดจนกระทัง่ ในชองวางระหวางเม็ดดินไมมีฟองอากาศอยูเลยโดยใชปริมาณนํ ้าที่ OMC นี ้ ไดคาความหนาแนนสูงสุดเทาใด


วน
สง
สท

งวน

ขอ
1 : 1.868 g/cu.m.
2 : 2.730 g/cu.m.
3 : 1.939 g/cu.m.
4 : 0.732 g/cu.m.

กร
คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

า ิ ว
วศ
ขอที่ 417 :
สภ

ในการบดอัดดินแบบ Modified Proctor ใช Mold ขนาด เสนผานศูนยกลาง 6 นิ ว้ สูง 4.584 นิ ว้ ตุมนํ ้าหนั กขนาด 10 lb ระยะยกสูง 18 นิ ว้ กระแทกลงบนเนื อ ้ ชัน
้ ดินรวม 5 ชัน ้ ละ 56 ครัง้ พลังงานทีใ่ ชใน
การบดอัดดินในรูปของพลังงานทีใ่ ชในการบดอัดดินตอปริมาตรของดินทีบ
่ ดอัด มีคาเทากับเทาไร
1 : 12400 ft-lb/ft^3
2 : 24800 ft-lb/ft^3
3 : 56000 ft-lb/ft^3
4 : 62400 ft-lb/ft^3

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 418 :
้ บดอัดเหมาะสม (Optimum Moisture Content) จะเปลีย
ถาเราเพิ่มพลังงานในการบดอัด คาความหนาแนนแหงสูงสุด (Maximum Dry Density) และคาความชืน ่ นแปลงอยางไร
1 : คาความหนาแนนแหงสูงสุดลดลง และคาความชืน ้ บดอัดเหมาะสมลดลง
2 : คาความหนาแนนแหงสูงสุดลดลง และคาความชืน ้ บดอัดเหมาะสมเพิ่มขึน

3 : คาความหนาแนนแหงสูงสุดเพิ่มขึน
้ และคาความชืน ้ บดอัดเหมาะสมเพิ่มขึน

4 : คาความหนาแนนแหงสูงสุดเพิ่มขึน้ และคาความชืน ้ บดอัดเหมาะสมลดลง

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 419 :
จุดประสงคหลักของการทดสอบการบดอัดดินในหองทดลองคือ
1 : ความแข็งแรงของดินทีบ
่ ดอัด
2 : ความหนาแนนของดินชืน ้ ทีป
่ ริมาณความชืน ้ ตางๆกัน
3 : ความหนาแนนแหงสูงสุดและความชืน ้ ทีเ่ หมาะสม
4 : หาคาความหนาแนนแหงของดินเมื่อชองวางของอากาศเทากับศูนย

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 420 :
การบดอัดดินทางดานแหง (Dry side)
1 : ควรใชรถบดแบบตีนแกะ (Sheep foot)
2 : ควรใชรถบดแบบสัน ่ สะเทือน (Vibrating Roller)
3 : เมื่อเพิ่มพลังงานในการบดอัดความหนาแนนแหงจะเพิ่มขึน้
4 : สัมประสิทธิ ์ความซึมไดของดินจะตํา่ กวาบดอัดทางดานเปี ยก

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 421 :
ดินทีม
่ ีคา CBR สูงทีส
่ ด

1 : หินคลุก
2 : ดินลูกรัง
3 : ดินเหนี ยวปนกรวด
4 : ดินเหนี ยวปนตะกอนทราย

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 422 :
ธิ ์
สท

วน
สง
สท

งวน

ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 80%
2 : 85%
3 : 90%
4 : 95%

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 423 :

1 : 80%
2 : 85%
3 : 90%
4 : 95%

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 424 :
ธิ ์
สท

วน
สง
สท

งวน

ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 80%
2 : 85%
3 : 90%
4 : 95%

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 425 :

1 : 80%
2 : 85%
3 : 90%
4 : 95%

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 4

ขอที่ 426 :
ในการบดอัดแนนของคันทาง กําหนดใหใชวัสดุทม
ี่ ีคา CBR อยูระหวาง 20-30% ดินทีจ
่ ะนํ ามาใชเป็ นวัสดุคน
ั ทางควรเป็ นวัสดุใด

1 : ดินเลน
2 : ดินเหนี ยวออน
3 : ดินลูกรัง
4 : หินคลุก

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 427 :
ในการบดอัดแนนของคันทาง กําหนดใหใชวัสดุทม
ี่ ีคา CBR อยูมากกวา 80% ขึน
้ ไป ดินทีจ
่ ะนํ ามาใชเป็ นวัสดุคน
ั ทางควรเป็ นวัสดุใด
ธิ ์

1 : ดินเหนี ยวออน
สท

2 : ดินลูกรัง
3 : หินคลุก

4 : ดินเลน
วน
สง
สท

งวน
คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3


ขอ
ขอที่ 428 :
้ ทานจะเลือกเครือ
ในการบดอัดดินเดิม (Subgrade) ทีเ่ ป็ นดินเหนี ยวชืน ่ งจักรบดอัดใด

กร
1 : เครือ
่ งบดอัดลอเหล็กเรียบ
2 : เครือ่ งบดอัดตีนแกะ

ิ ว
3 : เครือ ่ งบดอัดลอเหล็กเรียบแบบอัดกระแทก
วศ
4 : ถูกทุกขอ

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

สภ

ขอที่ 429 :
รูปดานลางแสดงผลการทดสอบการบดอัดจากดินชนิ ดหนึ่ ง จงหาคาดีกรีการอิม
่ ตัวดวยนํ ้าของดินชนิ ดนี ท
้ ป ้ ทีเ่ หมาะสม เมื่อสมมุตวิ าคา
ี่ ริมาณความชืน
ความถวงจําเพาะของดินเทากับ 2.9

1 : 69%
2 : 76%
3 : 85%
4 : 91%

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 1

ขอที่ 430 :
รูปดานลางแสดงผลการทดสอบการบดอัดจากดินชนิ ดหนึ่ ง จงหาคาดีกรีการอิม
่ ตัวดวยนํ ้าของดินชนิ ดนี ท
้ ป ้ ทีเ่ หมาะสม เมื่อสมมุตวิ าคา
ี่ ริมาณความชืน
ความถวงจําเพาะของดินเทากับ 2.8
ธิ ์
สท

วน
สง
สท

งวน

ขอ
กร
า ิ ว
วศ
สภ

1 : 69%
2 : 76%
3 : 85%
4 : 91%

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 2

ขอที่ 431 :
รูปดานลางแสดงผลการทดสอบการบดอัดจากดินชนิ ดหนึ่ ง จงหาคาดีกรีการอิม
่ ตัวดวยนํ ้าของดินชนิ ดนี ท
้ ป ้ ทีเ่ หมาะสม เมื่อสมมุตวิ าคา
ี่ ริมาณความชืน
ความถวงจําเพาะของดินเทากับ 2.7

1 : 69%
2 : 76%
3 : 85%
4 : 91%

คําตอบทีถ
่ ก
ู ตอง : 3

ขอที่ 432 :
รูปดานลางแสดงผลการทดสอบการบดอัดจากดินชนิ ดหนึ่ ง จงหาคาดีกรีการอิม
่ ตัวดวยนํ ้าของดินชนิ ดนี ท
้ ป ้ ทีเ่ หมาะสม เมื่อสมมุตวิ าคา
ี่ ริมาณความชืน
ความถวงจําเพาะของดินเทากับ 2.65
ธิ ์
สท

วน
สง

You might also like