You are on page 1of 32

ความตึงผิว

Surface Tension
ความตึงผิว (Surface Tension)
⚫ของเหลวจะออกแรงกระทำในทิศตั้ง
ฉำกกับผิวภำชนะที่ของเหลวสัมผัส

⚫ผิวหน้ำของของเหลวจะมีแรงจำก
ของเหลวหรือไม่ ?
ความตึงผิว (Surface Tension)
⚫ผิวหน้ำของของเหลวจะมีแรงจำกของเหลวหรือไม่
การที่ใบมีดโกนซึ่งมีความหนาแน่นมากกว่าน้้า หรือจิงโจ้ลอยอยู่บนผิวน้้านั้น
แสดงว่าต้อง มีแรงที่พยายามยึดผิวหน้าของน้้าไม่ให้แยกออกจากกัน แรงนี้
เรียกว่า แรงตึงผิว (surface tension force)
ความตึงผิว (Surface Tension)
⚫ในของเหลวมีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของของเหลวช่วยยึดให้
โมเลกุลอยู่ใกล้กัน
 แรงลัพธ์มีค่าเป็นศูนย์
⚫โมเลกุลที่อยู่บริเวณใกล้ๆผิว
 แรงดึงลงมากกว่าแรงดึงขึ้น (แรงลัพธ์มีทิศเข้าไปในของเหลว)
 ท้าให้ผิวของของเหลวมีลักษณะเป็นเยื่อขึงตึง (ฟิล์มบาง ๆ )
ความตึงผิว (Surface Tension)
⚫แรงตึงผิวมีทิศทางอย่างไร
พิจารณา ฟิล์มของน้้าสบู่ (ที่ผิวของฟิล์มสบู่มีแรงตึงผิว)
 แรงตึงผิว ของของเหลวมีทิศขนานกับผิวของของเหลวและตั้งฉากกับเส้น
ขอบที่ของเหลวสัมผัส
ความตึงผิว (Surface Tension)
⚫การลอยน้้าของเข็มเย็บผ้า
เข็มเย็บผ้าอยู่บนผิวน้้าได้โดยไม่จมเพราะแรงตึงผิว
⚫องค์ประกอบในแนวดิ่งของแรงตึงผิว มีค่าเท่ากับน้้าหนักของเข็มเย็บผ้าพอดี
แรงดึงผิว (Surface Force)
⚫ คือ แรงที่พยายามยึดผิวของเหลวไว้ ที่ผิวของเหลวใด ๆ โดยที่แรงดึงผิวของ
ของเหลวมีทิศขนานกับผิวของของเหลวและตั้งฉากกับเส้นขอบที่ของเหลว
สัมผัส

ความตึงผิว (Surface Tension)


⚫ คือ อัตราส่วนระหว่างแรงดึงผิวของของเหลวกับความยาวของผิวสัมผัส
ถูกเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ “  ” อ่านว่า แกมมา
มีหน่วยเป็นนิวตันต่อเมตร ( N / m )
ความตึงผิว (Surface Tension)
⚫สามารถเขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้

F
=
L
เมื่อ F เป็นขนำดของแรงตึงผิว มีหน่วยเป็น นิวตัน ( N )
L เป็นควำมยำวของผิวสัมผัส มีหน่วยเป็น เมตร ( m )

ควำมตึงผิวของของเหลว (  ) จึงมีหน่วยเป็น นิวตันต่อเมตร (N / m )


สิ่งที่ควรทราบ
ความตึงผิว (Surface Tension)
⚫ แรงดึงผิวของของเหลวจะมีทิศ ขนานกับผิวของของเหลว
⚫ แรงดึงผิวของของเหลวจะมีทิศ ตั้งฉากกับเส้นขอบที่ของเหลวสัมผัส
⚫ ควำมตึงผิวของของเหลวจะ ลดลงเมื่ออุณหภูมิของของเหลวเพิ่มขึ้น
⚫ ของเหลวที่เกิดฟองได้ง่ำยและของเหลวที่มีสำรอื่นเจือปน (เช่น สบู่ น้ำเกลือ)
จะมีค่ำควำมตึงผิวน้อยกว่ำน้ำ
⚫ แรงดึงผิวจะหำได้ในขณะที่ผิวของเหลวเริ่มขำดออกจำกกันเท่ำนั้น
⚫ ควำมยำวของผิวสัมผัส จะต้องคิดเฉพำะตรงบริเวณที่ของเหลวเริ่มจะขำดออกจำกกัน
เท่ำนั้น
⚫ แรงดึงผิวมีทิศตรงข้ำมกับทิศที่ทำให้ผิวของของเหลวยืดออกไป
⚫ ความตึงผิวของของเหลวแต่ละชนิดมีค่าไม่เท่ากัน
⚫ ส้าหรับของเหลวชนิดหนึ่ง
 ค่าความตึงผิวจะเปลี่ยนไปเมื่อมีสารมาเจือปน
⚫ น้้าเกลือ น้้าสบู่
 อุณหภูมิเพิ่มขึ้นความตึงผิวของของเหลวจะลดลง
⚫ เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นโมเลกุลของของเหลวจะเคลื่อนที่เร็วขึ้น ปฏิกิริยาระหว่างโมเลกุลที่มี
ผลต่อการเคลื่อนที่จะน้อยลง

ที่มา : hyperphysics
ความตึงผิว (Surface Tension)
⚫ ตำรำง ควำมตึงผิวของของเหลวบำงชนิด
ความตึงผิว (Surface Tension)
⚫ พิจำรณำควำมยำวของผิวสัมผัส ( L ) คือ ควำมยำวของเส้นขอบนั้น เช่น
 ผิวสัมผัสวงกลมทึบ

 ผิวสัมผัสแผ่นทึบ
ความตึงผิว (Surface Tension)
⚫ พิจำรณำควำมยำวของผิวสัมผัส ( L ) คือ ควำมยำวของเส้นขอบนั้น เช่น
 ผิวสัมผัสเป็นเส้นตรง

 ผิวสัมผัสวงกลมกลวง
ความตึงผิว (Surface Tension)
⚫ พิจำรณำควำมยำวของผิวสัมผัส ( L ) คือ ควำมยำวของเส้นขอบนั้น เช่น
 ผิวสัมผัสวงกลมกลวงบางมาก

 ผิวสัมผัสแผ่นกลวง
ความตึงผิว (Surface Tension)
⚫ พิจำรณำควำมยำวของผิวสัมผัส ( L ) คือ ควำมยำวของเส้นขอบนั้น เช่น
 ผิวสัมผัสแผ่นกลวงบางมาก
ของไหลทุกชนิดจะมีคุณสมบัติของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล 2 ชนิด
คือ แรงเชื่อมแน่นและแรงยึดติด

▪ แรงเชื่อมแน่น (Cohesive force) คือ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสารชนิดเดียวกัน


เช่นแรงยึดเหนี่ยวระหว่ำงโมเลกุลของน้ำกับน้ำ แรงยึดเหนี่ยวระหว่ำงโมเลกุลของเอทำนอลกับ
เอทำนอล เป็นต้น
▪ แรงยึดติด (Adhesive force) คือ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคต่างชนิดกัน เช่น แรงยึดเหนี่ยว
ระหว่ำงโมเลกุลของน้ำกับอนุภำคที่เป็นองค์ประกอบในหลอดแก้วที่บรรจุน้ำแรงยึดเหนี่ยวระหว่ำง
โมเลกุลของน้ำกับอนุภำคในแผ่นไม้ เป็นต้น เมื่อหยดน้ำลงบนแผ่นกระดำษหรือแผ่นไม้จะพบว่ำ
แผ่นกระดำษและแผ่นไม้เปียก แสดงว่ำแรงเชื่อมแน่นมีค่ำน้อยกว่ำแรงยึดติด แต่ถ้ำหยดน้ำลงบน
วัสดุใดแล้วพบว่ำเกิดหยดน้ำที่มีลักษณะเป็นรูปทรงกลมเกำะที่พื้นผิววัสดุนั้น แสดงว่ำ แรงเชื่อม
แน่นมีค่ำมำกกว่ำแรงยึดติด
ของไหลทุกชนิดจะมีคุณสมบัติของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล 2 ชนิด
คือ แรงเชื่อมแน่นและแรงยึดติด
การซึมตามรูเล็ก (Capillary Action หรือ Capillarity)
เมื่อจุ่มปลำยข้ำงหนึ่งของหลอดรูเล็กลงในน้ำและปรอท จะพบว่ำระดับน้ำในหลอดสูงกว่ำ
ระดับน้ำนอกหลอด ส่วนระดับปรอทในหลอดต่ำกว่ำระดับปรอทภำยนอกหลอด ดังรูป
การซึมตามรูเล็ก (Capillary Action หรือ Capillarity)
เมื่อพิจารณาความสูงของของเหลวในหลอดรูเล็ก จะเห็นได้ดังนี้


F คือ แรงยึดติดระหว่ำงโมเลกุลของน้ำกับโมเลกุลของแก้ว

 คือ มุมสัมผัสของของเหลวเป็นมุมที่แรง ซึ่งมีทิศขนำน


กับผิวของของเหลวกระทำกับผิวแก้ว

m คือ มวลของของเหลวในหลอดที่ขึ้นไปสูง h จำกผิวนอก


ของหลอด
การซึมตามรูเล็ก (Capillary Action หรือ Capillarity)
เมื่อพิจารณาความสูงของของเหลวในหลอดรูเล็ก จะเห็นได้ดังนี้
เมื่อของเหลวสมดุลจะได้
การซึมตามรูเล็ก (Capillary Action หรือ Capillarity)
เมื่อพิจารณาความสูงของของเหลวในหลอดรูเล็ก จะเห็นได้ดังนี้

ควำมสูง h ของของเหลวขึ้นกับ  (ควำมตึงผิว) 


(ควำมหนำแน่นของของเหลว) R (รัศมีของหลอด) และ
ที่สำคัญคือ cos  ซึ่งมีค่ำเป็นได้ทั้งบวกและลบ คือ
กรณีที่ 1 : ถ้ำ 0 <  < 90 → cos เป็นบวก
จะทำให้ h ในหลอดสูงกว่ำนอกหลอด
กรณีที่ 2 : ถ้ำ 90 <  < 180 → cos เป็นลบ
จะทำให้ h ในหลอดต่ำกว่ำนอกหลอด
ผลต่างของความดันภายในและภายนอกฟิล์มผิว
ผลต่างของความดันภายในและภายนอกฟิล์มผิว
ผลต่างของความดันภายในและภายนอกฟิล์มผิว
ผลต่างของความดันภายในและภายนอกฟิล์มผิว
ตัวอย่างโจทย์
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด

You might also like