You are on page 1of 57

คุณสมบัติและสมการควบคุม

ของของไหล
อ.ดร.นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
สาขาวิชาวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
2/2564
ของไหล (fluid)?
▪ ของเหลว จะมีรูปร่างเหมือนภาชนะที่บรรจุ
อยู่และก่อตัวเป็นพื้นผิวอิสระ (free surface)
เมื่อมีแรงโน้มถ่วง
▪ ก๊าซ จะขยายตัวจนสัมผัสกับผนังของภาชนะ
และเติมพื้นที่ว่างทั้งหมด ก๊าซไม่สามารถก่อ
ตัวเป็นพื้นผิวอิสระได้
▪ ก๊าซ และ ไอ (vapor) มักใช้เป็นคาเรียกที่มี
ความหมายเหมือนกัน

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 2 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
ของไหล (fluid)?
▪ fluid เป็นสสารในสถานะของ ก๊าซ หรือ ของเหลว
▪ ความแตกต่างระหว่าง ของแข็ง กับ ของเหลว?
▪ Solid: สามารถต้านทานแรงเฉือน (shear force) ที่ทาให้เสียรูปได้
ความเค้น (stress) เป็นสัดส่วนโดยตรงกับ ความเครียด (strain)
▪ Fluid: สามารถเสียรูปได้ภายใต้แรงเฉือน
ความเค้น (stress) เป็นสัดส่วนโดยตรงกับ อัตราเปลี่ยนของความเครียด (strain rate)
หรือที่เรียกว่า ความชันของความเร็ว (velocity gradient)
Solid Fluid
F F v
 =  = 
A A h

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 3 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
คุณสมบัติ
▪ คุณลักษณะใดๆ ของระบบ เราเรียกว่า (property)
pressure P, temperature T, volume V และ mass m
▪ Intensive properties เป็นคุณสมบัติที่ไม่ขึ้นกับมวลของระบบ เช่น temperature, pressure
และ density ต้น
▪ Extensive properties เป็นคุณสมบัติที่ขึ้นกับมวลหรือขนาดของระบบ เช่น mass, volume
energy เป็นต้น
มวลน้า 1 kg มี ความหนาแน่น เท่ากับ มวลน้า 2 kg
มวลน้า 1 kg ไม่เท่ากับ มวลน้า 2 kg

▪ Extensive properties จะเรียกว่า คุณสมบัติจาเพาะ (specific properties) เช่น ปริมาตร


per unit mass จาเพาะ (specific volume) ; v = V/m

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 4 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
มวลและนาหนักของของไหล
▪ ความหนาแน่น (Density) คือ mass per unit volume (units : kg/m3)
m
อ่านว่า rho =
V

▪ ปริมาตรจาเพาะ (Specific volume) เป็นส่วนกลับของความหนาแน่น ใช้ในทางเทอร์โมไดนิกส์


(thermodynamic)
1 V
v= =
 m
▪ นาหนักจาเพาะ (Specific weight) เป็น weight per unit volume (units : N/m3)
mg
อ่านว่า gamma
= = g
V

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 5 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
Density and Specific Gravity
▪ ความถ่วงจาเพาะ (Specific gravity, SG) เป็นสัดส่วน ความหนาแน่นสารเทียบกับความ
หนาแน่นของสารมาตรฐาน ที่อุณหภูมิจาเพาะ (โดยทั่วไปใช้น้า water ที่ 4°C มีความหนาแน่น
1000 kg/m3 ) หรือ (1.94 slugs/ ft3) คือ

SG =
H O2

และค่า SG เป็นปริมาณไร้มิติ (dimensionless)


หน่วยอังกฤษ ที่ควรทราบ
หน่วย มวล เรียกว่า สลัก (slug)
หน่วย แรง เรียกว่า ปอนด์ (pound, lb)
1 lb = 1 slug x 1 ft/s2
ดังนั้น น้าหนัก 1 lb มีมวล 1/32.174 slug ภายใต้แรงโน้มถ่วง เมื่อ g = 32.174 ft/s2

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 6 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
แบบฝึกหัด (ข้อ 1)
Air at 20°C and atmospheric pressure has a density of 1.23 kg/m3. Find its specific
gravity. What is the ratio of the specific gravity of water to the specific gravity of air at
20°C and atmospheric pressure?

What is the significance of the ratio?

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 7 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
แบบฝึกหัด (ข้อ 2)
The specific weight of oil mixture at ordinary pressure and temperature is 9.81 kN/m3.
The specific gravity of mercury is 13.56. Compute the density of oil mixture and the
specific weight and density of mercury.

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 8 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
Quiz#1 (ข้อ 3)
A cylinder container has a diameter of 0.5 m and a height of 1 m. If it is to be filled
with a liquid having a specific weight of 2000 N/m3, how many kg of this liquid must
be added?

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 9 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
ความเค้น (stress)
▪ ความเค้น ถูกนิยามด้วย แรงต่อหน่วยพืนที่
▪ Normal component: normal stress
หรือ ความเค้นตังฉาก
▪ ของไหลอยู่นิ่งกับที่ (สถิต) เรียก
ความเค้นตั้งฉาก ว่า ความดัน (pressure)
▪ Tangential component: shear stress
หรือ ความเค้นเฉือน

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 10 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
ความดัน (Pressure)
▪ Pressure คือ แรงตั้งฉาก (normal force) ที่กระทาต่อหน่วยพื้นที่
▪ หน่วยของความดัน N/m2 ซึ่งเรียกว่า pascal (Pa)
▪ ทาให้หน่วย Pa เป็นหน่วยที่เล็กมากๆ ในทางปฏิบัติ จะใช้ kilopascal (1 kPa =
103 Pa) และ megapascal (1 MPa = 106 Pa)
▪ รวมถึงหน่วย บาร์ (bar), atm, kgf/cm2, lbf/in2=psi
การแปลงหน่วย
1 bar = 105 Pa = 0.1 MPa = 100 kPa
1 atm = 101,325 Pa = 101.325 kPa = 1.01325 bars
1 kgf/cm2 = 9.807 N/cm2 = 9.807  104 N/m2 = 9.807  104 Pa = 0.9807 bar = 0.9679 atm
1 atm = 14.696 psi.
1 kgf/cm2 = 14.223 psi.

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 11 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
ความดันบรรยากาศ ความดันเกจ และความดันสัมบูรณ์

▪ ความดันบรรยากาศ (atmospheric pressure, Patm ) คือ ความดันในบรรยากาศของโลก ขึ้นกับ


ระดับความสูง ที่ระดับสูงขึ้น Patm จะลดต่าลง เนื่องจากปริมาณอากาศเบาบาง มักอ้างอิงที่
ระดับน้าทะเล (sea level) 101.33 kPa (abs) หรือ 14.696 psi (abs)
▪ ความดันเกจ (gage pressure, Pgage) คือ ความดันที่วัดได้จากเครื่องมือวัดความดัน ซึ่งเทียบกับ
Patm ในบริเวณที่วัดความดัน ส่วน Pgage ติดลบเรียกว่า ความดันสุญญากาศ (Vacuum pressure,
Pvac )
▪ ความดันสัมบูรณ์ (absolute pressure, Pabs ) คือ ความดันที่แท้จริง
Pabs=Pgage + Patm

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 12 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
ความหนืด (viscosity)
▪ Viscosity เป็นคุณสมบัติที่แสดงถึง
ความต้านทานภายในของของไหลต่อ
การเคลื่อนที่
▪ แรงที่ของไหลไหลกระทาต่อวัตถุในทิศ
ทางการไหลเรียกว่า แรงฉุด (drag
force) และขนาดของแรงนี้จะขึ้นอยู่
กับความหนืด

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 13 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
No-slip condition
▪ สภาพการไม่ลื่นไถล (No-slip condition)
เกิดขึ้นจากผลความหนืด (viscosity)
ของเหลวสัมผัส กับพื้นผิวของแข็งโดยตรง
▪ เป็นผลมาจาก shear stress กับแรงฉุดจาก
พื้นผิว (surface drag) และชั้นขอบเขต
(boundary layer)
▪ มีความเร็วเป็น ศูนย์ ซึ่งเท่ากับความเร็วของ
แผ่นราบ (plate)

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 14 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
ความหนืด (viscosity)
▪ ความสัมพันธ์ของความหนืด ให้พิจารณาชั้นของเหลว
v (fluid layer) ระหว่างแผ่นขนานขนาดใหญ่สองแผ่นที่คนั่
ด้วยระยะห่าง
F
▪ จากนิยามของความเค้นเฉือน  =
A
▪ ใช้ no-slip condition
u(0) = 0 และ u( ) = v
y
▪ ได้ โปรไฟล์ความเร็ว (velocity profile) u ( y ) = v
▪ ความเค้นเฉือน ของ Newtonian fluid ▪ ได้ ความชันของความเร็ว (velocity gradient)
du du v
 = =
dy dy
da vdt
▪ เมื่อ tan d   d  = =
 คือ ความหนืดสัมบูรณ์ (absolute viscosity) หรือ
ความหนืดไดนามิก (dynamic viscosity) ขึ้นชนิดของของไหล d v
และอุณหภูมิ ▪ ทาให้ได้อัตราการบิดตัวที่เวลาใด ๆ =
dt
▪ ได้ว่า
d

dt
551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 15 คุณสมบัติของของไหล
นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
ความหนืด (Viscosity)
▪ ความหนืดสัมบูรณ์ (absolute viscosity)
มีหน่วยเป็น
kg/m·s , Pa·s หรือ N·s/m2
dyne·s/cm2 ที่เรียกว่า พอยส์ (poise, P)
*หน่วยแรง 1 dyne = 10-5 N
1 cP = 0.001 Pa·s
▪ หาพิจารณา ความหนืดสัมบูรณ์ เทียบกับ ความ
หนาแนน จะเรียกว่า ความหนืดเชิงจลน
(kinematic viscosity)
▪ ความหนืด ต่าเกินไป ของเหลวจะรั่วผ่านซีลภายใน ทา
อ่านว่า mu
 ให้สูญเสียประสิทธิภาพเชิงปริมาตร (Volumetric
อ่านว่า nu = efficiency) ได้
▪ มีหน่วยเป็น  ▪ ความหนืด สูงเกินไป ของเหลวจะไหลผ่านท่อ ข้อต่อ
m2/s หรือ ft2/s และวาล์วได้ยาก ส่งผลให้ประสิทธิภาพเชิงกล
cm2/s เรียกว่า สโตกส์ (stoke, St) (Mechanical efficiency) ลดลง
1 m2/s = 106 cSt = 104 St

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 16 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
ความหนืด (Viscosity)
ดัชนีความหนืด (Viscosity Index ; VI)

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 17 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
ความหนืดวัดยังไง?
Rotating viscometer
▪ จากแรงเฉือน
du
F = A = A
dy
ถ้า / R 1
สมมติให้เป็นทรงกระบอกบาง จาลองเป็น flat plates ได้
▪ แรงบิด (Torque), T = FR และความเร็วในแนวสัมผัส v = w R
▪ พื้นที่ A = 2 RL
▪ วัดค่าแรงบิด T และ w ก็จะคานวณหาค่า  ได้

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 18 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
การไหลบริเวณ Viscous กับ Inviscid
▪ Viscous regions เป็นบริเวณที่มี
ผลกระทบเนื่องจากแรงเสียดทาน มัก
อยู่ใกล้กับพื้นผิวของแข็ง
▪ Inviscid regions เป็นบริเวณที่มี
ผลกระทบเนื่องจากแรงเสียดทานน้อย
เมื่อเทียบกับความเฉื่อย หรือแรง
เนื่องจากความดัน

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 19 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
การอัดตัว (Compressibility)
ปริมาตร หรือ ความหนาแนนของของไหลเปลี่ยนแปลงได
สามารถอัดใหของไหลมีปริมาตรลดลง (ความหนาแนนเพิ่มขึ้น) หรือ
ขยายใหของไหลมีปริมาตรเพิ่มมากขึ้น (ความหนาแนนลดลง) ได
เรียกว่า การอัดตัวของของไหล (Compressible flow)
▪ มอดูลัสเชิงปริมาตร หรือ บัลค์มอดูลัส (Bulk Modulus) เป็นสมบัติของของไหลที่ใชบอก
ความสามารถในการอัดตัวของของไหล จากอัตราส่วนของความเค้น ต่อความเครียด ซึ่งเรียกว่า
มอดูลัสความยืดหยุ่น (Modulus of Elasticity)
▪ บัลค์มอดูลัส เป็น อัตราส่วนของความเค้นอัด ต่อ ความเครียดเชิงปริมาตร (หรือ อัตราลดลงของ
ปริมาตรต่อปริมาตรเดิม)
F/A dP dP
B=− = −V =
dV / V dV d

เครื่องหมาย ลบ แสดงถึงการลดลงของปริมาตร เมื่อความดันเพิ่มขึ้น เช่น ค่าบัลค์มอดูลัส ของน้าที่อุณหภูมิ 15.6 OC เท่ากับ 2.15x109


Pa หมายความว่า หากต้องการอัดน้าให้ปริมาตรลดลง 1% ต้องเพิ่มความดันถึง 21.5x10 MPa

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 20 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
แบบฝึกหัด (ข้อ 7)
A 4.5 N force moves a piston inside a cylinder at a velocity of 3 m/s. The piston of
10.16 cm diameter is centrally located in the cylinder having an internal diameter of
10.17 cm. An oil film separates the piston from the cylinder. Find the absolute
viscosity of the oil.

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 21 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
กฎของก๊าซในอุดมคติ
▪ Equation of State (สมการสภาวะ) เป็นสมการความสัมพันธ์ระหว่างความดัน
อุณหภูมิ และความหนาแน่น
▪ สมการสถานะที่ง่ายที่สุด และเป็นที่รู้จักดีที่สุดคือ สมการแก๊สในอุดมคติ
P
Pv = RT หรือ  =
RT
เมื่อ R เป็นคงตัวของก๊าซ (gas constant)
P คือความดันสัมบูรณ์
T อุณหภูมิสัมบูรณ์ (K = oC + 273.16)
v คือ ปริมาตรจาเพาะ
ซึ่ง ค่า R จะต่างกันตามก๊าซแต่ละประเภท หาได้จาก R = Ru/M เมื่อ Ru คือ universal
gas constant (8.314 kJ/kmol.k) และ M คือ มวลโมเลกุลของก๊าซ

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 22 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
การอัดและการขยายตัวของก๊าซ
▪ สาหรับกระบวนการอัดหรือขยายตัวของก๊าซ ▪ สาหรับกระบวนการอัดหรือขยายตัว
แบบอุณหภูมิคงที่ (isothermal process) แบบไอเซนโทรปิก (isentropic process)
จากกฎของก๊าซในอุดมคติ PV = mRT ได้ว่า คือกระบวนการที่ย้อนกลับได (reversible)
1 และไมมีการแลกเปลี่ยนความรอนกับสิ่ง
PV = const.  P    แวดลอม (adiabatic)
V k
▪ ทาให้ dP P 1
PdV + VdP = 0  =− PV k = const.  P      k
dV V
V 
▪ จากบัลค์มอดูลัส
▪ เมื่อ k = c p / cv โดยที่
dP
 B = −V =P
dV cv คือความร้อนจาเพาะที่ปริมาตรคงที่
c p คือความร้อนจาเพาะที่ความดันคงที่
ซึ่งสัมพันธ์กับค่าคงที่ของก๊าซ R = c p − cv
dP P
 B = kP ทาให้ PkV dV + V dP = 0  dV = −k V
k −1 k

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 23 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
Vapor Pressure and Cavitation
ใบจักร หมุนทวนเข็มมองจากด้านท้าย
▪ Vapor Pressure (ความดันไอ) เป็นความดันที่ทา
ให้ของเหลวเดือดที่อุณหภูมิที่กาหนด
ด้านบน เช่น ปกติน้าเดือนที่อุณหภูมิ 100OC ที่ความดัน
บรรยากาศมาตรฐาน (101.3 kPa) ซึ่ง น้าอาจเดือดได้ที่
อุณหภูมิห้อง (30 OC) ถ้าลดความดันห้องลงเรื่อย ๆ
จนกระทั่งได้ความดันไอ
ด้านล่าง
▪ จะทาให้น้ามีความเร็วสูงปลายใบด้านบน ทาให้เกิด
ความดันต่าด้านบน และความดันสูงด้านล่าง ทาให้
เกิดแรงผลักเรือให้แล่นได้
▪ ความดันด้านบน ต่ากว่าความดันไอ จะทาให้เกิด
โพรงไอ (cavity) พาไปตามแนวการไหล
(streamline) โดยไม่ยุบตัว
▪ โพรงไอ บางจุดยุบตัวลงด้านล่าง เมื่อมีความดันสูง
กว่าความดันไอ
▪ การยุบตัวจะทาให้เกิดการกัดกร่อนขึ้น
551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 24 คุณสมบัติของของไหล
นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
Capillary Effect
▪ Capillary effect เป็น ปรากฏการณที่
ของเหลวในหลอดหรือทอขนาดเล็กที่เรียกวา
ทอแคปปลลารี (capillary tube)
▪ มีระดับสูงขึ้นหรือต่าลงกวาระดับของเหลว
ภายนอก พิจารณาสมดุลของของเหลวที่ถูกดัน
ขึ้นในทอ
▪ พื้นผิวโค้งในท่อ เรียกว่า meniscus
▪ นา มีโค้ง meniscus อยู่ด้านบน เรียกว่า
ของเหลวเปียก (wetting liquid)
▪ ปรอท มีโค้ง meniscus อยู่ด้านล่าง เรียกว่า
ของเหลวไม่เปียก (nonwetting liquid)
▪ ใช้สมการสมดุลแรง ก็จะสามารถหาความสูงได้

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 25 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
สถิตศาสตรของไหล (Fluid Statics)
▪ หรือ Hydrostatics เป็นการศึกษา ความดันของของไหลที่สภาวะหยุดนิ่งอยู่กับที่ (static)
▪ เมื่อ ของไหลที่หยุดนิ่ง จึงไม่มีแรงเฉือนอยู่
▪ ความดัน ในของไหลที่หยุดนิ่ง ไม่ขึ้นกับรูปร่างของภาชนะ
▪ ความดัน เกิดจาก นาหนักของของไหล เท่านั้น
▪ ความดัน ที่กระทาที่จุดใด ๆ ในระนาบเดียวกัน จะตั้งฉากกับพื้นผิวเสมอ และมีค่าเท่ากันในทุกทิศ
ทุกทาง โดยไม่ขึ้นกับความหนืด

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 26 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
การเปลี่ยนแปลงความดัน
▪ ความดันจะเพิ่มขึ้นตาม ความลึก
ความสัมพันธ์สาหรับการแปรผันของแรงดันกับความลึก ให้
พิจารณาองค์ประกอบสี่เหลี่ยม
เมื่อพิจารณาสมดุล แรงในทิศทาง z

F z = maz = 0
P2 x − P1x −  g xz = 0
จัดรูปใหม่ได้ว่า
P = P2 − P1 =  g z = z

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 27 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
กฎของปาสกาล (Pascal’s Law)
▪ จุดสองจุดที่ระดับความสูงเท่ากันในของเหลว
ต่อเนื่องที่หยุดนิ่ง จะมีความดันเท่ากัน
เรียกว่า กฎของปาสกาล
▪ ในรูปแสดง ลูกสูบ ที่ความสูงเท่ากัน
F1 F2 F2 A2
P1 = P2 → = → =
A1 A2 F1 A1
▪ อัตราส่วน A2/A1 เป็น ความได้เปรียบทางกล
ในอุดมคติ

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 28 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
แบบฝึกหัด (ข้อ 5)
For the fluid power automobile lift system, the hydraulic piston has a 250-mm
diameter. How much of oil pressure (kPa) is required to lift a 13300 N automobile?

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 29 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
แบบฝึกหัด
Diameters of system are 200 mm and 30 mm respectively. Fine the weight lifted by the
hydraulic system when force applied at the small cylinder is 400N (Ans: 17.77 kN)

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 30 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
Quiz#2 (ข้อ 9)
A force of P = 850 N is applied to the smaller
cylinder of a hydraulic jack. The area a of the small
piston is 15 cm2 and the area A of the larger piston
is 150 cm2. What load W can be lifted on the larger
piston
(a) if the pistons are at the same level

(b) if the large piston is 0.75 m below the smaller


one? The mass density of the liquid in the jack is
103 kg /m3.

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 31 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
มาโนมิเตอร์ (Manometer)
▪ เป็นอุปกรณ์วัดความดัน โดยใช้ความสูง
ของเหลวในท่อ หรือหลอดแก้ว ที่
เปลี่ยนแปลง
P1 = P2 ▪ มีลักษณะเป็น หลอดตัวยู (U-tube) ภาย
บรรจุสาร เช่น ปรอท น้า หรือ น้ามัน
P2 = Patm +  gh

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 32 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
มาโนมิเตอร์ (Manometer)
P2 = ?

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 33 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
การวัดความดันลด (Pressure Drops)
▪ ความดันลด คือ
P1 − P2
▪ โดยการใช้หลักการของมาโนมิเตอร์ ในการ
วัดค่า
PA = 1 g (h + a ) + P1
PB =  2 gh + 1 ga + P2
PA = PB
1 g (h + a ) + P1 =  2 gh + 1 ga + P2
P1 − P2 = (  2 − 1 ) gh

▪ สาหรับก๊าซ
2 1
P1 − P2 =  2 gh

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 34 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
บาโรมิเตอร์
▪ การวัดความดันบรรยากาศ โดยใชของเหลวในท่อ
เปน ปรอท เรียกวา บาโรมิเตอรปรอท
(mercury barometer)
▪ ใชหลอดแกวปลายขางหนึ่งปดบรรจุปรอทใหเติม
แลวคว่าลงในอางปรอท ปรอทในหลอดแกวจะ
ปรับระดับสูสมดุลเมื่อแรงน้าหนักปรอทรวมกับแรง
จากความดันไอปรอทสมดุลกับแรงจากความดัน
บรรยากาศ
▪ ที่ตาแหน่ง C ความดันสัมบูรณ์ของไอปรอท คือ
0.00016 kPa จึงประมาณได้เป็น ศูนย์
▪ ค่าน้าหนักจาเพาะของปรอท 133 kN/m3 และที่
PC +  Hg gh = Patm ความดันบรรยากาศมาตรฐาน 101.3 kPa ทาให้
ความสูงปรอท ประมาณ 760 mm
Patm   Hg h

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 35 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
แบบฝึกหัด
The atmospheric pressure is 755 mm of mercury
(sp. gravity = 13.6), calculate
i) Absolute pressure of air in the tank
(Ans: -80 kPa)
ii) Pressure gauge reading at L
(Ans: -60.38 kPa)

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 36 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
เกจความดัน (Bourdon)
▪ เกจความดันชนิดบูรดอง เปนมาตรวัดความดันที่ใชวิธีทางกล
โดยใชหลักการของทอโคงที่ยึดหดตามความดันที่เรียกวา
ทอบูรดอง (bourdon tube)
▪ ปลายดานหนึ่งตอกับสวนที่ตองการวัดความดัน
▪ ปลายอีกดานหนึ่งตอกับกลไกใหเกิดการเคลื่อนที่ของเข็มชี้
ความดันบนหนาปด
▪ หากความดันในทอบูรดอง เทากับ ความดันนอกทอก็กาหนด
ใหเข็มชี้ไปที่ศูนย
▪ หากความดันในทอบูรดอง แตกตาง กับความดันนอกท่อการ
ยืดหรือหดของทอจะทาใหเข็มชี้ไปที่ตาแหนงความดันคาอื่น
▪ ความดันเกจบวก (positive pressure) หรือ ความดันเกจลบ
หรือความดันสุญญากาศ (negative gage pressure or
vacuum pressure)

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 37 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
จลนศาสตรของไหล (Fluid Kinematics)
▪ เป็นการศึกษา การไหลของของไหล โดยไม่พิจารณาผลของ แรง และโมเมนต์ ที่
ทาให้เกิดการเคลื่อนที่

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 38 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
Streamlines และ Pathline
▪ Streamline คือ เส้นสัมผัสกับเวกเตอร์ความเร็วของ
อนุภาคที่เคลื่อนที่ต่อ ๆ กัน
เมื่อ ความยาว
dr = dxi + dyj + dzk
และต้องขนานกับเวกเตอร์ความเร็ว ที่ตาแหน่งใดตาแหน่งหนึ่ง
V = ui + vj + wk
Arguments ของสมการ streamline คือ
dr dx dy dz
= = =
V u v w
▪ Pathline เป็นเส้นทางจริง ในการเคลื่อนที่ของ
อนุภาคในแต่ละช่วงเวลาหนึ่ง
(x particle ( t ) , y particle ( t ) , z particle (t ) )
ตาแหน่งอนุภาคที่เวลา t หาได้จาก
t
x = xstart +  Vdt
tstart

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 39 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
กฎอนุรักษ์มวล
▪ เป็น หลักการพื้นฐานในธรรมชาติ
▪ มวล เช่นเดียวกับ พลังงาน เป็นคุณสมบัติที่อนุรักษ์ คือ ไม่สามารถสร้างหรือทาลาย
ได้ในระหว่างกระบวนการ
▪ สาหรับระบบปิด (Closed Systems) มวลจะอนุรักษ์โดยปริยาย เนื่องจากมวลของ
ระบบคงที่ในระหว่างกระบวนการ
▪ สาหรับปริมาตรควบคุม (Control Volumes, CV) มวลสามารถข้ามขอบเขตได้ ซึ่ง
หมายความว่า ต้องติดตามปริมาณมวลที่เข้าและออกจากปริมาตรควบคุม

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 40 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
อัตราการไหลเชิงมวล
▪ ปริมาณของมวลที่ไหลผ่านพื้นผิวควบคุม (control surface)
ต่อหน่วยเวลา เรียกว่า อัตราการไหลเชิงมวล (mass flow
rate)
▪ สัญลักษณ์ ดอท (dot) เป็นตัวบ่งชี้ อัตราการเปลี่ยนแปลง
เวลา
▪ อัตราการไหล ทั่วทั้งพื้นที่ควบคุม ที่ความหนาแน่นและ
ความเร็วคงที่ หาได้จากการอินทิเกรต

( )
m =   V  n dAc = Vn Ac
Ac
▪ เทอมอินทิเกรต สามารถแทนด้วยค่าความเร็วเฉลีย่ ที่ตั้งฉาก
1
Vavg =
 Ac Ac Vn dAc

m = Vavg Ac

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 41 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
อัตราการไหลเชิงปริมาตร

▪ อัตราการไหลเชิงปริมาตร (volume flow rate) V


หาได้จาก
V =  Vn dAc = Vavg Ac = VAc
Ac
▪ บางครั้งเขียน V แทนด้วย Q
▪ ความสัมพันธ์ระหว่าง อัตราการไหลเชิงมวล กับ อัตราการ
ไหลเชิงปริมาตร
m = V

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 42 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
กฎอนุรักษ์มวล
▪ กฎอนุรักษ์มวล (conservation of mass)
เป็นอัตราการเพิ่มขึนของมวลภายในปริมาตร
ควบคุม เท่ากับ อัตราสุทธิของการไหลเข้า
ปริมาตรควบคุม
dmCV
min − mout =
dt

▪ เมื่อ min และ mout เป็นอัตรารวมสุทธิของ


มวลที่เข้าและออกปริมาตรควบคุม (CV)
▪ เทอมด้านขวา อัตราการเปลี่ยนแปลงมวล
ภายในปริมาตรควบคุม (CV)

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 43 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
การไหลในสภาวะคงตัว (Steady Flow)
▪ สาหรับการไหลในสภาวะคงตัว เป็น ปริมาณมวลรวม ที่มี
อยู่ในปริมาตรควบคุม (CV) คงที่
dmCV
=0
dt
▪ ผลรวมของมวลไหลเข้า เท่ากับ ผลรวมของมวลไหลออก

m = m
in out
▪ สาหรับการไหลไม่อัดตัว (incompressible flows)
 คงที่
 Qin =  Qout
in out

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 44 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
แบบฝึกหัด (ข้อที่ 19)
Oil with specific gravity 0.9 enters a tee, with velocity v1 =5 m/s. The diameter at
section 1 is 10 cm, the diameter at section 2 is 7 cm and the diameter at section 3 is 6
cm. If equal flow rates are to occur at sections 2 and 3, find the velocities v2 and v3.
(Ans: 5.1 and 6.9 m/s)

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 45 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
พลังงานทางกล
▪ หรือ Mechanical energy เป็นรูปแบบของพลังงาน ที่ใช้เปลี่ยนเป็นงานทางกล ได้อย่างสมบูรณ์
▪ เป็นผลรวมของ พลังงานการไหล พลังงานจลน์ และพลังงานศักย์ ได้ว่า
PV2
emech = + + gz
 2
▪ การเปลี่ยนพลังงานกล ของของไหลที่อัดตัวไม่ได้ ได้ว่า

P2 − P1 V22 − V12
emech = + + g ( z2 − z1 )
 2
▪ การเปลี่ยนพลังงานทางกล มักเกิดขึ้นโดยการหมุนของเพลา
▪ แรงขับ ปั๊ม (Pump) หรือ ใบพัด (Fan) ได้รับจากงานที่เกิดจากเพลา เช่น มอเตอร์ไฟฟ้า
▪ กังหัน (Turbine) เปลี่ยนพลังงานกลของของไหล ไปเป็น งานหมุนเพลา

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 46 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
ประสิทธิภาพ (Efficiency)
▪ ประสิทธิภาพทางกล (mechanical
efficiency) ของกระบวนการหาได้จาก
Emech,out Emech,loss
hmech = =1−
Emech,in Emech,in

▪ ถ้า hmech < 100% นั้นหมายถึง มีการสูญเสีย


ในระหว่างการเปลี่ยนพลังงาน
▪ ประสิทธิภาพทางกลของปั๊ม และกังหัน อยู่ใน ▪ ประสิทธิภาพโดยรวม Overall efficiency
อัตราส่วน ความต้องการ ต่อ สิ่งที่ให้เข้าไป ต้องพิจารณาส่วนของ มอเตอร์ หรือเครื่อง
Emech , fluid กาเนิดไฟฟ้า (generator) ด้วย
h pump =
Wshaft ,in
Wshaft ,out
hturbine =
Emech , fluid

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 47 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
ประสิทธิภาพ (Efficiency)
h mech , fan = ?
(Ans: 0.72 kPa)

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 48 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
สมการพลังงาน
▪ กฎข้อที่ 1 ของเทอร์โมไดนามิก (1st law of thermodynamics) ซึ่งเป็นที่ทราบดีว่า
▪ เป็น กฎที่อนุรักษ์ นั้นคือ พลังงานไม่สามารถสร้างหรือทาลายได้ในระหว่างกระบวนการ แต่สามารถ
เปลี่ยนแปลงรูปแบบพลังงานได้

▪ หินที่ร่วงหล่น ด้วยความเร็วที่สูงขึ้น นั้นคือ PE ถูก


เปลี่ยนพลังงาน KE
▪ ถ้าเพิกเฉยต่อ แรงต้านของอากาศ ได้ว่า
PE + KE = constant

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 49 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
สมการพลังงานของระบบปิด
▪ ปริมาณพลังงาน ของระบบปิด สามารถเปลี่ยนแปลงโดย กลไก
ทางกล นั้นคือ การถ่านเทความร้อน (Heat transfer, Q)
และ งาน (Work, W)
▪ กฎอนุรักษ์พลังานสาหรับระบบปิด สามารถอธิบายในรูปแบบ
อัตราการเปลี่ยนแปลง คือ
dEsys
Qnet ,in − Wnet ,out =
dt
▪ อัตราการถ่ายเทความร้อนสุทธิ ของระบบ คือ
Qnet ,in = Qin − Qout
▪ อัตราการให้กาลังสุทธิ ของระบบ คือ
Wnet ,out = Wout − Win

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 50 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
งานของลูกสูบมาจาก?
▪ คาถาม แล้วงานจากความดัน มาจากไหน?
▪ เมือ่ ลูกสูบเคลื่อนที่ลง ds ภายใต้อิทธิพลของ F=PA งานที่เกิดขึ้นในระบบ
คือ
 Wboundary = PAds

▪ หากอนุพันธ์ทั้งสองข้างของสมการข้างต้น ได้ว่า
ds
 Wpressure =  Wboundary = PA = PAV piston
dt
▪ สามารถเขียนในเทอมทั่วไป ในปริมาตรควบคุม (CV) ได้ว่า
 Wpressure = PdAVn = PdA (V  n )

จัดรูปใหม่ได้ว่า

( )
Wpressure =  P V  n dA = 
P

 (V  n )dA
A A

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 51 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
สมการพลังงาน (Energy Equation)
▪ สมการอนุรักษ์พลังงาน เป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงของพลังงานในปริมาตรควบคุม ต้องเท่ากับ
อัตราการถ่ายโอนความร้อน และ งานจากสิ่งแวดล้อม เข้าปริมาตรควบคุม

( )
dEsys
d
Qnet ,in − Wnet ,out = =   edV +   e Vr n dA
dt dt CV CS

▪ แบ่งออกเป็น อัตรางานสุทธิจากเพลาและความดัน

Wnet ,out = Wshaft ,net ,out + Wpressure,net ,out = Wshaft ,net ,out +  P V n dA ( )
▪ จัดรูปสมการในรูป การเปลี่ยนแปลงพลังงานเข้าและออกจากระบบ
 P
Qnet ,in − Wshaft ,net ,out =
d
  edV +   e + 

( )
 Vr n dA
dt CV CS

d P  P 
Qnet ,in − Wshaft ,net ,out =   edV +  m  + e   
− m + e 
dt CV out   in  
551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 52 คุณสมบัติของของไหล
นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
สมการพลังงาน (Energy Equation)
โดยที่ e=u+ke+pe = u+V2/2+gz ของการไหล
   
d P V 2
 P V 2

Qnet ,in − Wshaft ,net ,out =   edV +  m  + u + + gz  −  m  + u + + gz 
dt CV out

 2
 in 
 2

 h   h 
Wshaft ,net ,out = Wshaft + W friction

เมื่อ u คือ พลังงานภายใน (internal energy) ต่อหน่วยมวล ke และ pe คือพลังงานจลน์ และ


พลังงานศักย์ ต่อหน่วยมวล

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 53 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
การลดรูปสมการพลังงาน
d
▪ การไหลในสภาวะคงตัว (Steady flow) =0 และเป็นการไหลเข้าและออก
dt
ทางเดียว m = min = mout

▪ ไม่มีความฝืด (Frictionless) รวมถึงงานจากเพลา Wshaft ,net ,out = 0

▪ ระบบไม่มีการส่งผ่านความร้อน (adiabatic process) Qnet ,in กับ u = 0

▪ การไหลไม่อัดตัว (Incompressible flow)  = constant

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 54 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
สมการแบร์นูลี (Bernoulli Equation)

P1 V12 P2 V22
+ + z1 = + + z2
 g 2g  g 2g
▪ เรียกสมการนีว่า Bernoulli equation
▪ เรียกแต่ละเทอมว่า Static, Dynamic, และ hydrostatic head (or pressure)

P1 V12 P2 V22
+ + z1 g = + + z2 g
 2  2

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 55 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
แบบฝึกหัด (ข้อที่ 23)
(a) Calculate the work required for a pump to pump water from a well
to ground level 125 m above the bottom of the well. At the inlet to the
pump, the pressure is 96.5 kPa, and at the system outlet, it is 103.4 kPa.
Assume the constant pipe diameter. Use  = 9810 N/m3, and assume it
to be constant. Neglect any flow losses in the system. (Ans: 125.7 m)

(b) Solve the above problem if there is friction in the system whose
total head loss equals 12.5 m. Given z1 = 0, z2 =125 m, p1 = 96.5kPa,
p2 =103.4kPa, HL =12.5m, D1= D2. Find Hp. (Ans: 138 m)

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 56 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย
แบบฝึกหัด (ข้อที่ 24)
A hydraulic turbine is connected. How much power will it develop? Use 1000 kg/m3
for the density of water. Neglect the flow losses in the system. (Ans: 7.9433 kW)

551263:THERMMO-FLUID SYSTEM 57 คุณสมบัติของของไหล


นิติศักดิ์ หนูมาน้อย

You might also like