You are on page 1of 28

วิศวกรรมธรณี เทคนิค

เบือ้ งต้น
รศ.ดร.อมร พิมานมาศ
ภาณุวฒั น์ จ้อยกลัด
ปรีดา ไชยมหาวัน

1
ความหมายของดิน
• ดิน (Soils) ในทางวิศวกรรมหมายถึง กรวด (gravel) ทราย
(sand) ทรายเม็ดปน่ หรือตะกอน (silt) และดินเหนียว (Clay) หรือ
ส่วนผสมของสิง่ เหล่านี้
• ดินทางธรรมชาติเกิดจากเม็ดของแร่ธาตุต่างๆทีต่ กตะกอนทับถม
รวมตัวกันไม่แน่น สามารถแยกออกจากกันโดยวิธงี า่ ยๆ เช่น การ
นาไปละลายน้า เป็ นต้น
• หิน (Rocks) ทีเ่ กิดการรวมตัวกันของเม็ดแร่ต่างๆและมีแรงยึด
เกาะกันแน่นและถาวรมากจนไม่สามารถจะแยกออกจากกันง่ายๆ
2 เหมือนดิน
ลักษณะของเนื้ อดิน
• ทราย (Sand) ประกอบด้วยเม็ดใหญ่น้อยที่ ไม่มคี วามเชือ่ มแน่น (Cohesionless
soils) หรือไม่มแี รงยึดเกาะกันระหว่างเม็ด น้ าซึมผ่านได้งา่ ย รับแรงแบกทานได้ดี
• ดินตะกอนหรือดินเหนี ยว (Silt and clay) เป็ นดินเม็ดละเอียด มีความเชือ่ ม
แน่น (Cohesive soils) หรือมีแรงยึดเกาะกันระหว่างเม็ดดิน น้ าซึมผ่านได้ยาก มี
การยืด พองตัว (heave) ซึง่ สามารถเปลีย่ นแปลงปริมาตรได้

3
ดินทรายที่ความลึก 18 ม. (กรุงเทพฯ) ดินเหนี ยวอ่อนที่ความลึก 3-10 ม. (กรุงเทพฯ)
หน่ วยน้าหนัก
• หน่ วยน้าหนักของดิน (Unit weight) คือ น้ าหนักของดินต่อหน่วยปริมาตร
ดินแต่ละประเภทมีหน่วยน้ าหนักไม่เท่ากัน หน่วยน้ าหนักของดินในสภาพ
แห้ง (Dry unit weight) ประมาณตามตารางที่ 1.1
ประเภทของดิน หน่วยน้ ำหนัก
(ตัน/ม.3)
Loose uniform sand 1.45
Dense uniform sand 1.80
Loose angular-grained silty sand 1.60
Dense angular-grained silty sand 1.90
Stiff clay 1.70
Soft clay 1.15 - 1.45
Loess 1.35
Soft organic clay 0.60 – 0.80
4
Glacial till 2.10
ความหนาแน่ นสัมพัทธ์ของดิน
• ความหนาแน่ นสัมพันธ์ (Relative density, Dr) ของมวลดินใช้บอกสภาพ
ความหนาแน่นของมวลดินทีไ่ ม่มคี วามเชื่อมแน่น
ประเภทของดิน ควำมหนำแน่นสัมพัทธ์
(%)

หลวมมำก 0 - 0.2

หลวม 0.2 – 0.4

ปำนกลำง 0.4 – 0.6

แน่น 0.6 – 0.8

5
แน่นมำก 0.8 – 1.0
ขีดจากัดของอัตเตอร์เบิรก์
• ปริมาณน้าในมวลดิน (Water content, wn) คือ อัตราส่วนของน้ าหนักของ
น้ าในมวลดินต่อน้ าหนักของมวลดิน ใช้บอกสภาพความข้นเหลวของดิน
• ขีดจากัดเหลว (Liquid Limit : L.L.) คือ ปริมาณน้ าทีน่ ้อยทีส่ ดุ ทีจ่ ะทาให้ดนิ
เปลีย่ นสภาพเป็ นของเหลวเหลวและไหลได้
• ขีดจากัดพลาสติก (Plastic Limit : P.L.) คือ ปริมาณน้ าน้อยทีส่ ดุ ทีจ่ ะทาให้
ั ้ นก้อนได้โดยไม่แตกทีผ่ วิ
ดินมีความเหนียวจนสามารถปนเป็

6
การทดสอบ Liquid limit
การทดสอบ Plastic limit
ความเหนี ยวหนื ด
• ความเหนี ยวหนื ด (Plasticity) จะใช้เป็ นตัวแบ่งแยกประเภทของดิน
ทีม่ คี วามละเอียดสูงหรือดินประเภทเหนียว ซึง่ โดยปรกติจะแบ่งดังนี้
• ถ้าดินมีคา่ ขีดจากัดความเหลว น้อยกว่า 35% จะนิยามเป็ นดินทีม่ ี
ความหนื ดตา่ (Low plasticity)
• ถ้าดินมีคา่ ขีดจากัดความเหลว อยูร่ ะหว่าง 35% ถึง 50% จะนิยาม
เป็ นดินทีม่ ี ความหนื ดปานกลาง (Intermediate plasticity)
• ถ้าดินมีคา่ ขีดจากัดความเหลว มากกว่า 50% จะเรียกเป็ นดินทีม่ ี
ความหนื ดสูง (High plasticity)

7
ประเภทของดินที่สาคัญทางวิศวกรรมปฐพี

• ทราย (Sand) อยูใ่ นกลุ่ม Cohesionless หรือ Non-cohesive soil


ซึง่ เม็ดดินมีขนาดใหญ่ ไม่มคี วามเชือ่ มแน่น ไม่พองตัว หากทรุดตัว
แน่นจะมีกาลังรับแรงแบกทานได้ดี แต่เนื่องจากน้าสามารถซึมผ่าน
ได้งา่ ยดังนัน้ อาจมีปญั หาการพังทลายของดินได้

• ดินเหนี ยว (Clay) อยูใ่ นกลุ่ม Cohesive soil ซึง่ เม็ดดินละเอียด


มาก น้าซึมผ่านได้ยาก มีการพองตัว ความสามารถต้านทานแรง
เฉือนขึน้ อยูก่ บั แรงเชื่อมแน่นระหว่างมวลดิน โดยมากจะสามารถ
ผ่านตะแกรงเบอร์ 200 ได้ (ขนาดเล็กกว่า 0.002 mm)
8
การเจาะสารวจดิน
ชัน้ ดินเหนี ยว
(ดินอ่อน)
ใช้แรงดันน้าใน
การกดกระบอก

การเก็บตัวอย่างดินเหนี ยว
thin tube sampler

ชัน้ ดินทราย
(ดินแข็ง)
ใช้ต้มุ ตอกใน
การกดกระบอก
9 การเก็บตัวอย่างชัน้ ทราย + SPT-N value
split sampler
การจาแนกดินทางวิศวกรรม

• แบ่งคร่าวๆได้ 2 ประเภท คือ ดินเม็ดหยาบและเม็ดละเอียด โดย


คานวณจากการร่อนผ่านตะแกรง เช่น ดินหยาบจะมี กรวด (Gravel, G)
และทราย (Sand, S) ดินเม็ดละเอียดจะมี ตะกอนทราย (Silt, M) และดิน
เหนียว (Clay, C)
• ดินหยาบ จาแนกย่อยอีกครัง้ โดยใช้ขนาดคละ เช่น คละดี (Well
graded, W) คละไม่ดี (Poorly graded, P) หรือปนดินเหนียว (Clay
binder, C)
• ดินละเอียด จาแนกย่อยอีกครัง้ โดยใช้ Atterberg ’s Limit เช่น ความ
เหนียวต่า (Low plasticity, L) หรือ ความเหนียวสูง (High plasticity, H)
10
การจาแนกดินตาม Unified Soil Classification

ประเภทของดิน (ตัวย่อตัวแรก) ตัวย่อตัวที่สองและควำมหมำย


ดินเม็ดหยำบ (Coarse-grained soils) ขนำดคละดี (Well grade, W)
กรวด (Gravel, G) ขนำดคละไม่ดี (Poorly grade, P)
ทรำย (Sand, S) สม่ำเสมอ (Uniform, U)
ปนดินเหนียว (Clay binder, C)
ปนเม็ดละเอียดมำก (Excess fines, P)
ดินเม็ดละเอียด (Fine-grained soils) ควำมเหนียวหนืดต่ำ (Low plasticity, L)
ตะกอนทรำย (Silt, M) ควำมเหนียวหนืดปำนกลำง (Intermediate plasticity, I)
ดินเหนียว (Clay, C) ควำมเหนียวหนืดสู ง (High plasticity, H)
ดินอินทรี ย ์ (Organic soils, O)
พีต (Peat, Pt)
11
พารามิเตอร์สาคัญในงานธรณี เทคนิค

• ค่าตุ้มตอกมาตรฐาน (SPT-N value) : ยกตุม้ น้าหนัก 140 ปอนด์


สูง 30 นิ้ว แล้วปล่อยให้กระแทกกับดินอย่างอิสระ
• จานวนครัง้ ทีน่ บั ได้ในการตอกให้ดนิ ยุบ 1 ฟุต เรียกว่า SPT-N value ค่า
ดังกล่าวมีหน่วยเป็ น “ครัง้ /ฟุต หรือ blows/ft”
• ค่า SPT นิยมใช้สาหรับดินทรายและดินทีม่ กี รวดขนาดเล็กปนไม่มาก ค่า
ดังกล่าวแสดงถึงความหนาแน่นสัมพัทธ์และความแข็งแรงของดิน
• ในกรณีทรายทีม่ คี วามละเอียดมากหรือทรายเม็ดปน่ ค่า N ทีไ่ ด้จะผิดไป
เนื่องจากแรงดันน้า ทาให้ตอ้ งทาการปรับค่า ในกรณีทน่ี บั ค่า N ได้
มากกว่า 15 ครัง้ ดังนี้ N’ = 15 + 0.5*(N - 15)
12
การทดสอบทะลวงมาตรฐาน (SPT)
• เป็ นการตอกตุม้ เหล็กลงไปในดิน โดยค่า SPT หรือ N นับเป็ นจานวณ
ครัง้ ทีท่ าการตอกจนกระบอกทดสอบ ด้วยตุม้ ขนาด 140 ปอนด์ ให้จม
ลงไปในดินลึก 1 ฟุต

การทดสอบค่า SPT
13
ทรายแห้ง ดินเหนียว
SPT ค่า ความหนาแน่น SPT qu
N  สัมพัทธ์ สภาพดิน N สภาพดิน
(ครั้ง/ฟุต) (องศา) (%) (ครั้ง/ฟุต) (ตัน/ม.2)
0-4 < 28.5 0-20 หลวมมาก <2 < 2.5 อ่อนมาก
4-10 28.5-32 20-40 หลวม 2-4 2.5-5.0 อ่อน
10-30 32-36 40-60 ปานกลาง 4-8 5.0-10.0 ปานกลาง
30-50 36-41 60-80 แน่น 8-15 10.0-20.0 แข็ง
> 50 > 41 80-100 แน่นมาก 15-30 20.0-40.0 แข็งมาก
> 30 > 40.0 แข็งที่สุด

14
กาลังของดิน : ความเชื่อมแน่ น (c)
• สาหรับ ดินเหนี ยว พารามิเตอร์ทส่ี าคัญ คือ ความเชือ่ มแน่ น
ระหว่างเม็ดดิน (cohesion, c) ซึง่ มีคา่ เท่ากับครึง่ หนึ่งของ
หน่ วยแรงอัดไม่โอบรัด (Unconfined compressive strength,
qu) ค่า qu โดยทัวไปเท่
่ ากับ
สภาพของดินเหนี ยว qu (Ton/m.2)
อ่อนมาก (very soft) < 2.50
อ่อน (Soft) 2.50 – 5.00
ปานกลาง (Medium) 5.00 – 10.00
แข็ง (Stiff) 10.00 – 20.00
แข็งมาก (Very stiff) 20.00 – 40.00
15 แข็งทีส่ ดุ (Hard) > 40.00
หน่ วยแรงเฉื อนแบบไม่ระบายน้า (Su)
• ในกรณีของ ดินเหนี ยว ซึง่ มี  = 0
• เมือ่ ค่า c คานวณจากวิธี Unconfined compressive test ซึง่ เป็ น
การทดสอบรูปแบบหนึ่งของ Undrained Triaxial test และมีคา่
เท่ากับ 0.5qu แล้ว
• ทาให้คา่ แรงเฉือน (t) ทีไ่ ด้จากสมการ t = c + s*tan, ค่าเท่ากับ
0.5qu ไปด้วย (t = 0.5qu)
• หน่วยแรงเฉือนตัวดังกล่าวมีชอ่ื เรียกเฉพาะว่า หน่ วยแรงเฉื อน
แบบไม่ระบายน้ า (Undrained shear strength) และเปลีย่ น
สัญลักษณ์จาก s ไปเป็ น su ทาให้ su = 0.5qu นันเอง

16 su = 0.625N
กาลังของดิน : มุมของแรงเสียดทานภายใน (f)

• สาหรับ ดินทราย พารามิเตอร์ทส่ี าคัญคือ มุมของแรงเสียดทาน


ภายใน (Angle of internal friction, ) โดยคานวณจากความชัน
ของกราฟหน่วยแรงเฉือน (shear stress) และแรงกด (Normal
compressive stress) ซึง่ ได้จากการทดสอบในห้องปฏิบตั กิ าร

Shear stress, t

Cohesionless soil

Angle of internal friction

 Compressive stress, s
17
หน่ วยแรงประสิทธิผล (Effective stress)
หน่วยแรงประสิทธิผล (Effective stress, s’) จะเกิดจากการนา
แรงดันน้ า (Pore water pressure, u) ไปลบออกจาก
หน่วยแรงรวม (Pore water pressure, s) ตามสมการต่อไปนี้
s  s  u x

z
หน่วยแรงรวมสามารถคานวณได้โดย sz
sx sx

s  z sz
z

z คือ ความลึกทีพ่ จิ ารณา


18
 คือ หน่วยน้าหนักของดิน
สภาพชัน้ ดินของกรุงเทพฯ
• พืน้ ทีร่ าบลุ่มแม่น้ าเจ้าพระยาตอนล่างมีลกั ษณะชัน้ ดินแบบดินเหนียว
อ่อนปากแม่น้ า หรือเป็ นดินตะกอนทีถ่ กู พัดมาทับถมกัน หนาประมาณ
18 กม. มีชอ่ื เฉพาะว่า Bangkok Clay
0
0
Soft to medium silty CLAY
Stiff to very stiff silty CLAY -20
-20

-40
-40 Medium compact to very compact
fine to medium silty SAND Very compact fine to -60
-60 Hard sandy CLAY Hard Silty CLAY coarse SAND
End of Investigation -80
-80

19
สภาพชัน้ ดินของกรุงเทพฯ
– ดินชัน้ บนของ Bangkok Clay ดินเหนียวอ่อน (Soft clay) หนา
ประมาณ 12 – 15 ม. รับน้าหนักสิง่ ก่อสร้างขนาดใหญ่ไม่ได้
– โดยทัวไปต้
่ องวางเข็มไปทีช่ นั ้ ดินเหนียวแข็ง (Stiff clay) จนไปถึงชัน้
ทรายชัน้ ที่ 1 ซึง่ มีความลึกตัง้ แต่ 19 – 27 ม.
– หากสิง่ ก่อสร้างมีน้าหนักบรรทุกมากขึน้ เช่น อาคารสูงตัง้ แต่ 20 ชัน้
ขึน้ ไป อาจต้องวางเข็มไปทีช่ นั ้ ดินเหนียวแข็งมาก (Hard clay) หรือ
ชัน้ ทรายชัน้ ที่ 2 ซึง่ อาจพบทีค่ วามลึกตัง้ แต่ 38 – 49 ม. เป็ นต้นไป
– ในบางกรณีอาจจาเป็ นต้องวางปลายเข็มไว้ในชัน้ ทรายชัน้ ที่ 3 ซึง่ มี
ความลึกตัง้ แต่ 54 – 55 ม. เป็ นต้นไป
20
ผลการทดสอบในห้ อกงปฏิบตั ิ การ
หน่ วยน้าหนั
ขีดจากัดของอัตเตอร์เบิรก์
การวิเคราะห์ผา่ นตะแกรงร่อน

กาลังเฉื อนแบบ
ไม่ระบายน้า

ค่า SPT

ความชื้นของดิน ประเภทของดิน
21
ระดับความลึก
Boring log

22
ตารางแนะนา

23
การแปลผล
Boring Log
 ช่วงความลึก 0 – 19 ม. เป็ นชัน้
ดินเหนียวอ่อนถึงแข็งปานกลาง
 ไม่ควรให้รอยต่อของเข็มตอกอยู่
ในช่วง 0-19 ม. เนื่องจากมี
ปริมาณน้ าในมวลดินสูง (> LL)
ทาให้ดนิ เคลือ่ นตัวได้งา่ ย
 ตัง้ แต่ 20 ม. ลงไปเป็ นดินเหนียว
ปนทรายซึง่ มีความแน่น
 ปลายเข็มควรวางทีค่ วามลึก 25
ม. เนื่องจากมีคา่ SPT สูง (มาก
ว่า 30 ครัง้ /ฟุต)
24
 ช่วงความลึก 0 – 19 ม. เป็ นชัน้
ดินเหนียวอ่อนถึงแข็งปานกลาง
 ไม่ควรให้รอยต่อของเข็มตอกอยู่
ในช่วง 0-19 ม. เนื่องจากมี
ปริมาณน้ าในมวลดินสูง (> LL)
เนื่องจากดินเคลือ่ นตัวได้งา่ ย
 ตัง้ แต่ 20 ม. ลงไปเป็ นดินเหนียว
ปนทรายซึง่ มีความแน่น
 ปลายเข็มควรวางทีค่ วามลึก 25
ม. เนื่องจากมีคา่ SPT สูง (มาก
ว่า 30 ครัง้ /ฟุต)
25
แรงแบกทานที่ยอมให้

ประเภทของดิน qa (ตัน/ม.2)
ดินอ่อนหรื อดินถมไว้แน่นตัวเต็มที่ 2

ดินดำนกลำงหรื อทรำยร่ วน 5

ดินแน่นหรื อทรำยแน่น 10

กรวดหรื อดินดำน 20

หิ นดินดำน 25

หิ นปูนหรื อหิ นทรำย 30

หิ นอัคนีที่ยงั ไม่แปรสภำพ 100

26
แรงแบกทานที่ยอมให้ (2)

พื้นที่ qa (ตัน/ม.2)

กรุ งเทพมหำนคร, ลุ่มน้ ำเจ้ำพระยำ-บำงประกง, ริ มฝั่งน้ ำที่เป็ น 2

ดินเหนียว
ภำคเหนือ, ภำคตะวันออกเฉี ยงเหนือ, พื้นที่ทวั่ ๆไป 8

ภำคเหนือ, ภำคตะวันออกเฉี ยงเหนือ, ภำคตะวันออก, ภำค 10-12

ตะวันตก, ภำคใต้, พื้นที่ทวั่ ไป


บริ เวณดินแข็งใกล้ภูเขำ, มำเลเซียตอนบน 12-15

27
28

You might also like