You are on page 1of 70

Physical Properties of Soil_Part 1

Decho Phueakphum
Geological Engineering
Trimester 1/2565
▪ วิศวกรรมดินหรือวิศวกรรมปฐพี (soil engineering) เป็ น การศึกษาเกีย่ ว “พฤติกรรม
(Behavior)” และ “คุ ณสมบัติ (Properties)” ของดิน “ทางกายภาพ (physical
properties)” และ “กลศาสตร์ (mechanical properties)” ทัง้ ทางด้านทฤษฎี หลักการ
กฎเกณฑ์ การทดสอบทัง้ ในห้องปฏิบตั กิ ารและในภาคสนาม
▪ นาไปประยุกต์ “ในการวิเคราะห์” และ “ออกแบบ” งานทางด้านวิศวกรรมทีเ่ กี่ยวข้อง
กับมวลดิน เช่น การออกแบบโครงสร้างของดินทีเ่ ป็ นผิวจราจร การก่อสร้างฐานรากที่
อยู่บนมวลดิน การก่อสร้างอุโมงค์ใต้ดนิ การบดอัดดินในงานก่อสร้างเขื่อน ความลาด
ชันของมวลดินตามธรรมชาติและทีถ่ ูกสร้างขึน้ เป็ นต้น
▪ งานทางด้านวิศวกรรมดิน (Soil Engineering) จะเริม่ ต้นด้วยการสารวจทาง
ธรณีวทิ ยา เพื่อวิเคราะห์ขอ้ มูลชัน้ ดินและการลาดับชัน้ ดิน การจาแนกคุณสมบัตขิ อง
ดิน “ทางกายภาพ” และ “คุณสมบัตทิ างวิศวกรรม” ของชัน้ ดินแต่ละชัน้
35
▪ ในทีน่ ้จี ะรวมไปถึง “การเจาะและเก็บตัวอย่างดิน” เพื่อนาตัวอย่างไปทดสอบคุณสมบัติ
ในห้องปฏิบตั กิ าร
▪ นอกจากนี้ใน “การวิเคราะห์และออกแบบ” จะต้องมี “การทดสอบคุณสมบัตขิ องดินใน
ภาคสนาม (in-situ test)” อีกด้วย
▪ เนื้อหาในบทนี้นาเสนอองค์ความรูเ้ บือ้ งต้นด้านวิศวกรรมดิน ซึง่ จะเน้นไปทีค่ ุณสมบัติ
ทางกายภาพของดิน ได้แก่
o การกาเนิดดินจากกระบวนการผุกร่อนหรือย่อยสลายของหินต้นกาเนิด
o ประเภทของดินธรรมชาติของเม็ดดิน
o แร่องค์ประกอบดิน
o ความสัมพันธ์เชิงปริมาตรและน้ าหนัก
o การกระจายตัวของเม็ดดินและสถานภาพของดินเม็ดละเอียด เพือ่ นาไปใช้ในการ
จาแนกประเภทของดินในเชิงวิศวกรรม 36
หัวข้อนำเสนอ
1) ธรรมชำติของดิน (Natural of soil): กำรกำเนิ ดดิน
2) ควำมสัมพันธ์เชิงปริมำตรและน้ำหนัก (Phase Relationship)
3) กำรวิเครำะห์ขนำดคละของเม็ดดิน (ดินเม็ดหยำบ+ดินเม็ดละเอียด)
4) สถำนะของดินเม็ดละเอียด (Consistency) ***ควำมเหนี ยวของดิน
5) กำรจำแนกชนิ ดของดิน
▪ USCS (Unified Soil Classification System)
▪ AASHTO (American Association of State Highway and Transportation Official)
6) คุณสมบัติของดิน
▪ คุณสมบัติทำงกำยภำพ - คุณสมบัติของดินขัน้ พื้นฐำน
▪ คุณสมบัติของดินด้ำนวิศวกรรม
7) กำรบดอัดดิน (Soil Compaction): เพิ่มควำมหนำแน่ นและกำลังของดิน
8) กำรหำควำมหนำแน่ นของดินในภำคสนำม: ตรวจสอบกำรบดอัดดินให้เป็ นไปตำมคุณสมบัติ
ที่ตอ้ งกำร 37
(1)
ธรรมชำติของดิน
(THE NATURE OF SOIL)

38
ควำมหมำยของดิน
“วัสดุ” ที่ตกตะกอนทับถมกันเป็ นผิวเปลื อกโลกแบ่งออกเป็ น “ดิน” และ “หิ น”
▪ ดิ น คื อ ส่วนที่ตกตะกอนทับถมกัน
ไม่แน่น แยกจากกันได้งา่ ย เช่น
นาไปละลายน้า หรื อบีบให้แตกด้วย
มื อ เป็ นต้น
▪ หิ น คื อ ส่วนที่แข็งแรงและยึดจับ
กันแน่นมาก (โดยตัวประสานและ
ไม่สามารถแยกจากกันได้งา่ ย
การแข็งตัวหรื อการกลายเป็ นหิ น (Lithification)
1) การอัดตัว (Compaction) เกิดกับตะกอนเนื้ อเม็ดขนาดเล็กกว่าทราย ช่องว่าง
ระหว่างเม็ดตะกอนจะค่อยๆ ลดลงโดยแรงกดของน้าหนักตะกอนที่กดทับอยู ่
ด้านบนหรื อแรงกดดันที่มาจากการเคลื่ อนไหวของเปลื อกโลก
2) การเชื่ อมประสาน (Cementation) มักเกิดกับตะกอนขนาดใหญ่ ช่องว่าง
ระหว่างเม็ดตะกอนถูกแทนที่โดยวัสดุเชื่ อมประสาน (Calcite, Quartz, Iron
Oxide, Dolomite) ที่มากับน้าที่ซึมผ่านช่องว่างเหล่านี้ ในรู ปของสารละลาย
ให้ตะกอนเกาะตัวกลายเป็ นหิ น
3) การตกผลึก (Crystallization) เป็ นการตกผลึกทางเคมีของแร่จากสารละลายใน
สภาวะความดันและอุณหภูมิปกติ ทาให้เกิดการจับตัวกันกลายป็ นหิ น
40
4.74-75 mm
Relative soil particle sizes
0.075-4.74 mm
0.005-0.075 mm
0.001-0.005 mm
หินโคลน
(Mudstone)

หินกรวดมน หินทราย หินทรายแป้ ง หินเคลย์


(Conglomerate) (Sandstone) (Siltstone) (Claystone)
Coarse Grained Soil
Gravel (4.74-75 mm)
Sand (0.075-4.74 mm)

Fine Grained Soil


Silt (0.005-0.075 mm)
Clay (0.001-0.005 mm)

การแข็งตัวหรื อการกลายเป็ นหิ น (Lithification)

Conglomerate Sandstone Siltstone Claystone


ควำมหมำยของ “ดิน” ในทำงวิศวกรรม
▪ วัสดุท่ ีตกตะกอนแล้วทับถมกันไม่แน่น เช่น “กรวด (gravel)” “ทราย (sand)”
“ตะกอนทราย (silt)” และ “ดินเหนี ยว (clay)”
▪ ดิน อาจเป็ นพวกที่มีพนั ธะเชื่ อมประสาน (cohesive เช่น ดินเหนี ยว)* หรื อไร้พนั ธะ
เชื่ อมประสาน (cohesionless ได้แก่ ตะกอนทราย กรวด และทราย)**
▪ ดิน เกิดจากการ กัดกร่อน ผุพงั และแตกสลาย (Weathering) ของหิ นต่างๆ โดย
ธรรมชาติ จากอิทธิ พลดินฟ้าอากาศ อุณหภูมิ ความชื้ น ความกดดัน แรงดึงดูดของ
โลก และการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
*Cohesive – มี พนั ธะเชื่ อมประสาน หรื อมี ความเชื่ อมแน่น (เช่น ดิ นเหนี ยว)
*Cohesionless – ไร้พนั ธุเชื่ อมประสานหรื อไม่มีความเชื่ อมแน่น (เช่น กรวด ทราย)
44
▪ แรงเชื่ อมแน่น (Cohesive force) คื อ แรงยึดเหนี่ ยว
ระหว่างอนุ ภาคของสารชนิ ดเดียวกัน เช่น แรงยึด
เหนี่ ยวระหว่างโมเลกุลของน้ากับน้า แรงยึ ดเหนี่ ยว
ระหว่างเม็ดดินเหนี ยวและเม็ดดินเหนี ยว เป็ นต้น
▪ แรงยึดติด (Adhesive force) คื อ แรงยึดเหนี่ ยว
ระหว่างอนุ ภาคต่างชนิ ดกัน เช่น แรงยึดเหนี่ ยวระหว่าง
โมเลกุลของน้ากับอนุ ภาคที่เป็ นองค์ประกอบใน
หลอดแก้วที่บรรจุน้า แรงยึดเหนี่ ยวระหว่างโมเลกุล
ของน้ากับอนุ ภาคในแผ่นไม้ เป็ นต้น
47
Cohesive Soil ได้แก่ Clay Cohesionless Soil ได้แก่ กรวด ทราย เป็ นต้น
49
50
ประโยชน์ของดินเหนี ยว
กรวด (gravel) ทราย (sand) ตะกอนทราย (Silt) Typical Cements
(4.75 – 75 mm) (0.075 - 4.75 mm) และดินเหนียว (Clay) Calcite, Quartz,
(0.001 – 0.075 mm) Iron Oxide
กรวด (gravel)
(4.75 – 75 mm)

ทรำย (sand)
(0.075 - 4.75 mm)

ตะกอนทรำย (Silt)
และดินเหนี ยว (Clay)
(0.001 – 0.075 mm)
ASTM ระบุขนาดของเม็ ดดินด ังนี้
Particle size (mm) Soil type
Sieve

Rock
> 350 หินก ้อน (Boulder)
No
3” 350 – 75.0 หินกรวด (Cobble)

3/4” 75.0 – 19.0 กรวดหยาบ (Coarse gravel)

Coarse Grained
#4 19.0 – 4.75 กรวดละเอียด (Fine gravel)

#10 4.75 – 2.00 ทรายหยาบ (Coarse sand)

Soil
#40 2.00 – 0.425 ทรายปานกลาง (Medium sand)
ทรายละเอียด (Fine sand)

Soil
#200 0.425 – 0.075
0.005-0.075 ตะกอนทราย (Silt)

Fine Grained
0.001-0.005 ตะกอนดินเหนียว (Clay)

Soil
< 0.001 ตะกอนแขวนลอย

ASTM – American Society Testing and Materials


Soil

Inorganic Organic

Cohesive (ดินทีม่ พี ันธะเชือ่ มประสาน) Cohesionless (ดินไร้พ ันธะเชือ่ มประสาน)

Clay Silt Sand Gravel Stone


D < 0.002 D >60

F M C F M C F M C
0.002-0.006 0.006-0.02 0.02-0.06 0.06-0.2 0.2-0.6 0.6-2 2-6 6-20 20-60
F – Fine
M – Medium The size of particles in mm
C – Coarse
57
Silt Clay

58
59
Frictional Soil = Cohesionless Soil
<15% Silt&Clay
Cohesive Soil = Frictionless Soil
>15% Silt&Clay

http://www.aresok.org/npg/nioshdbs/oshamethods/validated/id194/id194.html
COHESIVE SOILS (>70% CLAY CONTENT)
▪ Contains clay either wholly or in part (>70% clay content)
▪ Includes clay, silty clay, organ clay, gravelly clay, sandy clay, clayey silt, etc.
▪ Contain sufficient “clay” to mould a “moist lump” without it “disintegrating”
▪ Clays when moist to wet feel sticky (เหนียว) and often greasy (ลืน่ )
▪ If dry clay can be broken by hand but not powdered
▪ If dry clay can be broken by hand but not
powdered
▪ Contain sufficient “clay” to mould a “moist
lump” without it “disintegrating”
ดินเกิดในที่ (Residual Soil)

กำรผุกร่อน (Weathering)
ดินเกิดจำกกำรพัดพำ
(Transportation Soil)
Extrusive igneous rock

Sedimentary rock

Intrusive igneous rock

Metamorphic rock
How does weathering make rocks turn into soil?

Mechanical and Chemical


Weathering 64
ขบวนกำรผุกร่อน (WEATHERING) ของหินเป็ นดิน
เป็ นขบวนกำรท ำลำยที่ เ กิ ด ขึ้ นกับ หิ น และดิ น อัน เกิ ด จำกกำร
เปลี่ยนแปลงทำงกำยภำพและทำงเคมี ซึ่งเป็ นปรำกฏกำรณ์ทำงธรรมชำติ
▪ กำรผุกร่อนทำงกำยภำพ – ผุกร่อนขนำดลดลง แร่หรื อธำตุเดิ มคง
อยู่ ไม่มีกำรเปลี่ ยนแปลงทำงเคมี มักเกิ ดจำกสภำวะอำกำศร้อน
สลับหนำว ได้เม็ดดินขนำดใหญ่ ได้แก่ กรวด และ ทรำย
▪ กำรผุกร่อนทำงเคมี – ทำให้เกิ ดสำรเคมีเชื่ อมแน่ น ออกไซด์ของ
เหล็ก และ คำร์บอเนต ปฏิกิริยำทำงเคมีที่เกิดขึ้ น ได้แก่ ไฮเดรชัน
คำร์บอเนชัน ไฮดรอลิซิส ออกซิเดชัน ได้เม็ดดินขนำดเล็ ก ได้แก่
ดินเหนี ยว ดินตะกอน
WHAT IS THE DIFFERENCE
BETWEEN MECHANICAL
AND CHEMICAL
WEATHERING?

66
1) กำรผุกร่อนทำงกำยภำพ (MECHANICAL WEATHERING)
▪ การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ (Thermal effect)
▪ การปลดปล่อยแรงกดดันหรื อความเค้น (Unloading หรื อ Pressure release)
▪ การเซาะพังทลายและการทับถม (Erosion and Deposition)
▪ การกระทาของสัตว์และพื ช (Mechanical work of plants and animals)
หลักการผุกร่อนทางด้าน
กลศาสตร์ โดยหิ นจะมีขนาดเล็ ก
ลงและมีพ้ ื นที่ผิวสัมผัสสู งขึ้นตาม
ระดับการผุกร่อนที่สูงขึ้น
การผุกร่อนทางด้านกลศาสตร์เนื่ องจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ

(a) (b)
(a) อุณหภูมิเพิ่มและลดอย่างเป็ นวัฏจักรจนทาให้หินเกิดการแตกร้าว
(b) การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของน้าที่แทรกเข้าไปในรอยแตกจนกระทัง่ น้ากลายเป็ นน้าแข็งและเกิด
การขยายตัวของปริ มาตรรอยแตกจะมีการขยายตัวและกระจายสูร่ ะดับลึกมากยิ่งขึ้น
69
70
http://www.mitrearth.org/7-1-weathering/
72
73
การผุ กร่ อนทางด้านกลศาสตร์เ นื่ องจาก
การปลดปล่อยความเค้นของมวลหิ น เมื่ อไม่มี
ความเค้นกดทับผิวนอก หิ นจะเกิดการขยายตัว
และแตกเป็ นแผ่นแล้วหลุดออกมาในที่สุด

74
T
C

75
การผุกร่อนทางด้านกลศาสตร์เนื่ องจากการเซาะโดยกระแสน้า 76
77
78
79
การผุกร่อนทางด้านกลศาสตร์เนื่ องจากพื ช เมื่ อรากของพื ชที่ชอนไชไปตามรอยแตกของหิ นจะทาให้หินแยก
ออกจากกันมากขึ้น รวมทัง้ แบคทีเรี ย รา (fungi) ตะไคร่หรื อสาหร่าย (algae) และไลเคนที่เกาะอยูต่ ามผิวหิ นก็
เป็ นผลทาให้เกิดการผุกร่อนของหิ น การผุกร่อนเช่นนี้ เรี ยกอีกอย่างว่า biological weathering
80
81
การผุกร่อนทางด้านกลศาสตร์เนื่ องจากการเซาะโดยคลื่ นลม 82
การผุกร่อนทางด้านกลศาสตร์เนื่ องจากการเซาะโดยคลื่ นลม 83
84
85
▪ อิทธิ พลของธารน้ าแข็งจะทา
ให้หิ น เกิ ด การผุ พ งั สลายตัว
เมื่ อธารน้าแข็งในบริ เวณที่สูง
และหนักเกินไปเริ่ มละลาย
▪ จากนั้นมีการเคลื่ อนตัวลงสู ท่ ่ ี
ต่ า เมื่ อเคลื่ อนลงมาจะทาให้
เกิ ด พลัง มหาศาลครู ด พัด พา
เอาหิ น และแร่ ห รื อสิ่ งอื่ นลง
มาด้วย
86
2) กำรผุกร่อนทำงเคมี (CHEMICAL PROCESS)
2Fe2O3 + 3H 2O → 2Fe2O3  3H 2O
▪ ไฮเดรชั่น (hematite) (water) (limonite)

KAlSi3O8 + H 2O → HAlSi3O8 + KOH


▪ ไฮโดรไลซี ส (orthoclase) (water) (aluminosilicic) (potassium hydrocide)

4FeO + O2 → 2 Fe2O3
▪ ออกซิ เดชั่น (ferrous oxide) (oxygen) (ferric oxide)
H 2 O + CO2

2KAlSi3O8 + H 2CO3 → HKAlSi3O8 + K 2 CO3
▪ คาร์บอเนชั่น (orthoclase) (hydrocloric acid) (limonite) (potassium carbonate)

HAlSi3 O8 → HAlSiO4 + 2SiO2


▪ การสลายตัวของซิ ลิกา้ (aluminosilicic) (aluminosilicic acid) (silicon dioxide)

CaCO3 + H 2O + CO2 → Ca(HCO3 )O2


▪ การละลาย (calcium carbonate) (water) (carbon dioxide)
87
ไฮเดรชัน่ (Hydration)

2Fe2O3
(Hematite)

2Fe2O3.3H2O
(Limonite)

3H2O
88
รู ปที่ 2.5 (หน้า 7) 89
การผุกร่อนทางเคมีของ K-Feldspar เป็ น Kaolinite
ผ่า นกระบวนการ 1) ไฮโดรไลซิ ส (Hydrolysis)
2) การสะลายตัวของซิลิกา้ (Desilication) และ
3) ไฮเดรชัน่ (Hydration)

90
ไฮโดรไลซีส (Hydrolysis)

91
ไฮโดรไลซีส (Hydrolysis) ของแร่ดนิ เหนียว

92
Anorthite

Albite

93
94
95
96
สี ของดินบอกอะไรบ้ำง?
▪ สี ข องดิ น ที่ ต่า งกัน ขึ้ นอยู ่ก ับ “ชนิ ดของแร่ ท่ ี เป็ น
องค์ประกอบในดิ น” “สภาพแวดล้อมในการเกิดดิ น ”
“ระยะเวลา”
▪ สี ข องดิ น เป็ นสมบัติ ข องดิ น ที่ สามารถมองเห็ น ได้
ชัด เจนกว่า สมบัติ อ่ ื นๆ ดัง นั้ น จากสี ข องดิ นเรา
สามารถที่ จะประเมิ น สมบัติ บ างอย่า งของดิ น ที่
เกี่ ย วข้อ งไ ด้ เ ช่ น “ กา ร ระ บ าย น้ าข อ งดิ น ”
“อิ นทรี ยวัตถุ ในดิ น” “ระดับความความอุดมสมบู รณ์
ของดิน”
97
สี ของดินบอกอะไรบ้ำง?
ดินสีดา สีน้าตาลเข้มหรื อสีคลา้
▪ ส่ว นใหญ่ม ัก จะเป็ นดิ น ที่ มี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ์ สู ง
เนื่ องจากมี ก ารคลุ ก เคล้า ด้ว ยอิ น ทรี ยวัต ถุ ม าก
โดยเฉพาะดินชัน้ บน
▪ แต่บางกรณี สี คล ้าของดิ น อาจจะเป็ นผลมาจาก
อิ ทธิ พลของปั จจั ย ที่ ควบคุ มการเกิ ดดิ นอื่ น ๆ
นอกเหนื อไปจากการมีปริ มาณอินทรี ยวัตถุในดิ นมากก็
ได้ เช่น ดิ นที่ พัฒนามาจากวัตถุ ต น้ กาเนิ ด ดิ นที่ ผุ พงั
สลายตัวมาจากหิ นที่ประกอบด้วยแร่ท่ ีมีสีเข้ม เช่น หิ น
ภูเขาไฟ และมี ระยะเวลาการพัฒนาไม่นาน หรื อดิ นมี
แร่แมงกานี สสูง ก็จะให้ดินที่มีสีคลา้ ได้เช่นกัน 98
สี ของดินบอกอะไรบ้ำง?
ดินสีเหลื องหรื อแดง
▪ สี เหลื องหรื อแดงของดิ นส่วนใหญ่จะเป็ น สี ออกไซด์
ของเหล็ ก และอลู มิ เ นี ยม แสดงถึ ง การที่ ดิ น มี
พัฒนาการสูง ผ่านกระบวนการผุ พงั สลายตัวและซึม
ชะมานาน
▪ เป็ นดิ น ที่ มี ก ารระบายน้ า ดี แต่ม กั จะมี ค วามอุ ด ม
สมบู รณ์ต่ า ดิ นสี เหลื องแสดงว่าดิ นมี ออกไซด์ของ
เหล็ กที่ มี น้ าเป็ นองค์ประกอบ ส่วนดิ นสี แดงจะเป็ น
ดิ นที่ ออกไซด์ของเหล็ กหรื ออลู มิเนี ยมไม่มีน้ าเป็ น
องค์ประกอบ
99
สี ของดินบอกอะไรบ้ำง?
ดินสีขาวหรื อสีเทาอ่อน
▪ การที่ดินมีสีออ่ น อาจจะแสดงว่าเป็ นดินที่เกิดมาจาก
วัตถุตน้ กาเนิ ดดินพวกที่สลายตัวมาจากหิ นที่มีแร่สี
จาง เป็ นองค์ประกอบอยูม่ าก เช่น หิ นแกรนิ ต หรื อ
หิ นทรายบางชนิ ด หรื ออาจจะเป็ นดินที่ผา่ น
กระบวนการชะล้างอย่างรุ นแรง จนธาตุอาหารที่มี
ประโยชน์ตอ่ พื ชถูกซึมชะออกไปจนหมด หรื อมีสี
อ่อนเนื่ องจากมีการสะสมปูน ยิปซัม หรื อเกลื อชนิ ด
ต่างๆ ในหน้าตัดดินมากก็ได้ ซึ่งดินเหล่านี้ ส่วนใหญ่
มักจะเป็ นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า
100
สี ของดินบอกอะไรบ้ำง?
ดินสีเทาหรื อสีน้าเงิน
▪ การที่ ดิ นมี สีเทา เทาปนน้ า เงิ น หรื อน้ า เงิ น
บ่ง ชี้ ว่า ดิ น อยู ่ใ นสภาวะที่ มี น้ า แช่ข ัง เป็ น
เวลานาน เช่น ดิ นนาในพื้ นที่ลุม่ หรื อดิ นใน
พื้ นที่ป่าชายเลนที่มีน้าทะเลท่วมถึงอยูเ่ สมอ
▪ มีสภาพการระบายน้าและการถ่ายเทอากาศ
ไม่ดี ทาให้เกิดสารประกอบของเหล็กพวกที่มี
สีเทาหรื อสีน้าเงิน
101
สี ของดินบอกอะไรบ้ำง?
แต่ถา้ ดิ นอยูใ่ นสภาวะที่มีน้าแช่ข งั สลับกับแห้ง
ดินจะมีสีจุดประ ซึ่งโดยทัว่ ไปมักปรากฏเป็ นจุดประ
สี เหลื องหรื อสี แดงบนพื้ นสี เทา ซึ่ งเป็ นผลมาจาก
การเปลี่ ยนแปลงของสารประกอบออกไซด์ของ
เหล็ กที่ สะสมอยู ่ ใ นดิ น โดยสารเหล่ า นี้ จะ
เปลี่ยนแปลงไปอยูใ่ นรู ปที่มีสีเทาเมื่ ออยูใ่ นสภาวะที่
มี น้ า แช่ข งั ขาดออกซิ เ จนเป็ นเวลานานๆ และ
เปลี่ ยนไปอยู ่ ใ นรู ปที่ ให้ส ารสี แดงเมื่ อ ได้รั บ
ออกซิเจน
สารประกอบในดิน สีของดิน
เหล็ก (เหล็กออกไซด์) เขียว เขียวปนน้าเงิน
แมงกานี ส ดา
สารอินทรี ย ์ ดา สีคลา้
สารประกอบเปอร์ออกไซด์ เหลื องปนน้าตาล หรื อ เทา
สีดา หรื อน้าตาลเข้ม เป็ นดินที่มี “อินทรี ยสาร” ผสมอยู ่
สีอมสีแดง มี Unhydrated iron oxides และ
มีคุณสมบัติยอมให้น้าผ่านได้งา่ ย
สีเหลื อง มีธาตุเหล็กและน้าผ่านได้ยาก
สีขาว มี Silica หรื อ Lime หรื อสารประกอบอลูมิเนี ยมผสมอยู ่
สีน้าเงินอมเทา และเทาปนเหลื อ แสดงว่าลักษณะของดินที่น้าซึมผ่านได้ยาก
สารประกอบในดิน สีของดิน
เหล็ก (เหล็กออกไซด์) เขียว เขียวปนน้าเงิน
แมงกานี ส ดา
สารอินทรี ย ์ ดา สีคลา้
สารประกอบเปอร์ออกไซด์ เหลื องปนน้าตาล หรื อ เทา
สีดา หรื อน้าตาลเข้ม เป็ นดินที่มี “อินทรี ยสาร” ผสมอยู ่
สีอมสีแดง มี Unhydrated iron oxides และ
มีคุณสมบัติยอมให้น้าผ่านได้งา่ ย
สีเหลื อง มีธาตุเหล็กและน้าผ่านได้ยาก
สีขาว มี Silica หรื อ Lime หรื อสารประกอบอลูมิเนี ยมผสมอยู ่
สีน้าเงินอมเทา และเทาปนเหลื อ แสดงว่าลักษณะของดินที่น้าซึมผ่านได้ยาก

You might also like