You are on page 1of 8

1

บทที่1 บทนำ

            งานปูนเป็ นแขนงหนึ่งของงานก่อสร้าง  ซึง่ มีความสำคัญในงานก่อสร้าง


ปั จจุบันงานปูนเป็ นงานหนักและคงทนต่อดินฟ้ าอากาศ  งานปูนสร้างโดยวัสดุที่ทำ
ขึน
้ จากสิ่งที่ได้จากธรรมชาติและวัสดุที่ได้จากธรรมชาติผสมกัน 
งานปูน มีลก
ั ษณะแตกต่างกันหลายแบบ   เช่น  ในรูปของ คอนกรีต ปูนก่อ ปูนถือ
หินขัด หินล้าง เป็ นต้น
ช่างปูน เป็ นช่างประเภทหนึ่ง ในจำพวกช่างสิบหมู่ งานของช่างปูน เป็ นงานสร้าง
ทำอาคารสถานชนิดเครื่องก่อ ประเภท เจติยสถาน และศาสนสถานต่างๆ เช่น
พระสถูปเจดีย์ พระพุทธปรางค์เจดีย์ พระอุโบสถ พระวิหาร ฐานชุกชี ซุ้มคูหา กับ
ได้ทำพระมหาปราสาท พระราชมณเฑียร แท่นฐาน เกยราชยาน ประตู เครื่องยอด
ต่างๆ ใบเสมา กำแพงและป้ อมปราการ เป็ นต้น และ งานของช่างปูนยังเนื่องด้วย
การปั ้ นปูนอีกด้วย

รูปภาพ งานปูนก่อสร้างประตูเครื่องยอด สมัยรัตนโกสินทร์ พระบรมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร ๑


2

ความหมายของงานปูน

งานปูน จัดเป็ นงานช่างเก่าแก่จำพวกหนึ่งที่ในสยามประเทศนี ้ ทัง้ นีพ


้ ึงเห็นได้จาก
ซากโบราณสถานประเภท เจติยสถาน ชนิดเครื่องก่ออิฐถือปูน ทำลวดบัวประกอบ
ส่วนต่างๆ อย่างประณีตแสดงฝี มือ และความสามารถช่างปูน ชัน
้ สูง แต่ทว่าหลัก
ฐานความเป็ นมา ของช่างปูนรุ่นเก่าๆ นัน
้ ไม่สู้มห
ี ลักฐานสิ่งอื่นๆ แสดงให้ทราบได้
ว่าเป็ นช่างพวกใดเป็ นผูส
้ ร้างทำ นอกเสียจากรูปแบบที่แสดงฝี ไม้ลายมือฝากไว้
เท่านัน

งานปูน หรือ งานช่างปูนแต่สมัยก่อน มีช่ อ


ื เรียกเป็ นคำเก่า อีกอย่างหนึ่งว่า “สทาย
ปูน” งานของช่างปูน อาจจำแนก ลักษณะงานของช่างปูนออกได้เป็ น ๒ ลักษณะ
ด้วยกันคือ
๑. ช่างปูนงานก่อ ช่างปูนจำพวกนี ้ ทำงานในลักษณะการก่อวัสดุชนิดต่างๆ เช่น
อิฐ หิน ศิลาแลง เป็ นต้น ขึน
้ เป็ นรูปทรงสิ่ง ต่างๆ ตัง้ แต่ขนาดเล็ก เช่น ก่อเขามอ
ขึน
้ อ่าง ไปจนกระทั่งก่อพระสถูปเจดีย์ ก่อพระพุทธปรางค์เจดีย์ หรือ ได้ทำการใน
ด้านบูรณะปฏิสังขรณ์ เครื่องหิน เครื่องอิฐก่อที่ชำรุดให้คืนดีขน
ึ ้ ดั่งเดิม

๒. ช่างปูนงานลวดบัว ช่างปูนจำพวกนี ้ ทำงานในลักษณะการถือปูน ทำผิวเป็ น


ลวดบัวแบบต่างๆ เช่น บัวคว่ำ บัวหงาย บัวหลังเจียด บัวปากปลิง บัวลูกแก้ว บัว
อกไก่ สำหรับประกอบทำฐานลักษณะต่างๆ เป็ นต้นว่า ฐานเชิงบาตร ฐานเท้าสิงห์
3

ฐานปั ทม์ ฐานเฉียง ฐานบัวจงกล ฯลฯ หรือทำการถือปูนจับเหลี่ยมเสาแบบต่างๆ


คือ เสาแปดเหลี่ยม เสาย่อมุมไม้สิบสอง เสากลม เป็ นต้น

งานปูน ที่เป็ นงานในหน้าที่ของช่างปูนดังกล่าว มีวัตถุปัจจัยสำคัญสำหรับงาน คือ


ปูน ซึ่งช่างปูนได้ใช้ในงาน ก่อ ฉาบ และ ถือปูนเป็ นสิง่ ต่างๆ มาแต่โบราณ การ
ผสมปูนนี ้ ช่างปูน บางคนได้ผสมเนื้อปูน ให้มีคุณภาพเหนียว และ คงทนถาวรอยู่
ได้นานปี บางคนใช้กระดาษฟางบ้าง หัวบุบุก หัวกลอยบ้าง แม้หัวต้นกระดาษ ก็ใช้
ตำผสมเข้ากับเนื้อปูน เพื่อช่วยเสริมความเหนียว และยึดตัวดี ทัง้ นีข
้ น
ึ ้ อยู่กับความ
เชื่อ และประสบการณ์ของช่างปูนแต่ละคน

1. ประเภทของงานปูน

     แบ่งตามประเภทของงานได้ดังนี ้

     1. ช่างปูนโครงสร้าง

     2. ช่างปูนประณีต

     3. ช่างปูนก่อสร้างและบูรณะ

     4. ช่างปูนเฟอร์นิเจอร์

     5. ช่างปูนสุขภัณฑ์

     6. ช่างปูนชั่วคราว

 
4

2 ประโยชน์ที่ได้รับจากงานปูน

 4.1.2 ชนิดของงานปูน

     แบ่งตามประเภทของงานได้ดังนี ้

     1. ช่างปูนโครงสร้าง

     2. ช่างปูนประณีต

     3. ช่างปูนก่อสร้างและบูรณะ

     4. ช่างปูนเฟอร์นิเจอร์

     5. ช่างปูนสุขภัณฑ์

     6. ช่างปูนชั่วคราว

 4.2 ประโยชน์ที่ได้รับจากงานปูน

            4.2.1 ประโยชน์โดยทั่วไป

          1.  สถาปนิก สถาปนิกที่ร้เู รื่องเกี่ยวกับงานปูนดี จะใช้ประโยชน์ที่ได้


ไป design แบบของเขาซึง่ จะใช้แบบต่างๆ ของงานปูนนัน
้ ณ ที่ใดจึงจะเกิด
ประโยชน์

          2.  วิศวกร จะใช้ประโยชน์ที่ได้รับจากงานปูนในการคำนวณหาความแข็ง
แรงของโครงสร้าง เพื่อประโยชน์ในการใช้ให้เหมาะสม

          3.  ช่างเขียนแบบ ช่างเขียนแบบที่ร้เู รื่องเกี่ยวกับงานปูนดี ย่อมเขียนแบบ


5

ของเขาได้ดแ
ี ละถูกต้อง

          4. ผู้ตรวจงาน สำหรับผู้ตรวจงานนีจ
้ ะนำความรู้เกี่ยวกับงานปูนไปใช้ใน
งานตรวจงานก่อสร้างอันเกี่ยวกับงานปูนได้ดีและสามารถตรวจงานได้อย่างถูกต้อง
ตามแบบนัน

          5. ผู้เขียนรายการ   ผู้เขียนรายการที่ร้เู รื่องเกี่ยวกับงานปูนดีย่อมจะเขียน
รายงานเกี่ยวกับงานปูนได้ถูกต้องว่าจะทำอย่างไร

          6. ช่างปูน ช่างปูนที่มีความรู้ความชำนาญเกี่ยวกับงานปูนย่อมสามารถ
ปฏิบัติงานของเขาได้ถูกต้องอย่างมีประสิทธิภาพ

4.2.2 ประโยชน์โดยตรง

         1. ในด้านความคงทนแข็งแรง จะเห็นได้ว่างานปูนเป็ นงานที่คงทนต่อดิน


ฟ้ าอากาศได้ดี คงทนและถาวร ในระยะยาวนาน เช่น ถนนคอนกรีต อนุสาวรีย์
สะพานคอนกรีตตลอดจนตึกหลาย ๆ ชัน
้ เป็ นต้น

2. ในด้านรูปร่างและความสวยงาม จะเห็นได้ว่างานปูนนัน
้ เราสามารถทำเป็ นรูป
ต่างๆ ได้ตามความต้องการ เช่น รูปสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม วงกลม และอื่น ๆ อีก
มากมาย ทัง้ ยังทำลวดลายอื่น ๆ ได้อีก เช่น การทำบัว หินขัดหินล้าง ลายหินอ่อน
เทียม เป็ นต้น

          3. ในด้านเป็ นวัสดุทนไฟ ทัง้ นีจ


้ ะช่วยป้ องกันหรือลดการเกิดอัคคีภัยได้เป็ น
อย่างดี

          4. ในด้านการประหยัดเนื่องจากคุณสมบัติในด้านความทนทาน แข็งแรง
6

จึงเป็ นการประหยัดในด้านก่อสร้างไปในตัว

4.3 เครื่องมือเครื่องใช้เกี่ยวกับงานปูนและเก็บรักษา

            เครื่องมือเครื่องใช้และอุปกรณ์ ในการทำงานเกี่ยวกับช่างปูนนัน
้ มี
มากมายหลายอย่างซึ่งพอจะกล่าวได้พอสังเขปเฉพาะที่สำคัญดังนี ้

         4.3.1 จอบและพลั่ว

             ใช้ขุดดินและผสมคลุกเคล้าส่วนผสมซึ่งได้แก่ ปูน ทราย ให้เข้ากัน การ


เก็บรักษาหลังจากเลิกใช้งานแล้วต้องล้างให้สะอาดทุกครัง้       เพราะถ้าไม่ล้างให้
สะอาดแล้วส่วนผสมก็จะเกาะมากขึน
้ ๆ ทุกทีทำให้เครื่องมือชำรุดได้ง่าย

         4.3.2 ตะแกรงร่อน

              ใช้ร่อนทรายและปูนขาวที่สกปรกหรือเป็ นกากออก  เพราะบางครัง้
อาจจะมีสิ่งสกปรกเจือปนมากับทราย เช่น เปลือกหอยหรือหิน จำเป็ นจะต้อง
ทำให้สะอาดเสียก่อนโดยการใช้ตะแกรงร่อน ตะแกรงมีหลายขนาดแล้วแต่ลักษณะ
ของงานนัน
้ ๆ

        4.3.3 ไม้เมตร

               ใช้วัดขนาดหรือระยะต่าง  ๆ  ตามแบบ  การใช้ต้องระวังอย่าให้ตก  แ
ละต้องรักษาให้สะอาดเสมอ ถ้าเป็ นเหล็กหลังจากทำความสะอาดแล้วควรชะโลม
ด้วยน้ำมัน

         4.3.4 เกรียง
7

               เกรียงมีหลายชนิดที่สำคัญซึ่งใช้กับงานนัน
้ มีดังนี ้

               -เกรียงเหล็ก มีทงั ้ ชนิด 3 เหลี่ยมและ 4 เหลี่ยม สำหรับเกรียง


ชนิด 3 เหลี่ยมใช้ในงานก่ออิฐ ชนิด 4 เหลี่ยมใช้สำหรับขัดมันและใช้ตีปูนขัดมัน
หรือตบแต่งผิวปูนฉาบในขัน
้ สุดท้าย

               -เกรียงไม้    ได้แก่เกรียงที่ทำด้วยไม้ใช้สำหรับตบแต่งหรือกดปูนให้
เรียบ เช่นแต่งพื้นหรือฉาบปูน

               การเก็บรักษาเกรียงก็เช่นเดียวกันกับเครื่องมือชนิดอื่น    ๆ  คือหลัง
จากใช้แล้วต้องล้างให้สะอาด

         4.3.5 กะบะไม้ถือปูน

               ส่วนมากใช้ใส่ปูนก่อและปูนถือ     โดยตักจากถังผสมปูนมาใส่ใน
กะบะใส่ปูนอีกทีหนึ่ง

         4.3.6 ถังน้ำหรือกระป๋องใส่ปูน

               ใช้สำหรับใส่ปูนที่ผสมแล้ว   นอกจากนีย
้ ังใช้หว
ิ ้ ปูนและใช้ตวงส่วน
ผสมได้ด้วย เลิกใช้ต้องล้างให้สะอาด

         4.3.7 ปุ ้งกี๋

               ใช้ใส่หรือตวง หิน ทราย ในการผสมปูน

สรุป
8

ปูนได้ใช้ในงาน ก่อ ฉาบ และ ถือปูนเป็ นสิง่ ต่างๆ มาแต่โบราณ การ


ผสมปูนนี ้ ช่างปูน บางคนได้ผสมเนื้อปูน ให้มีคุณภาพเหนียว และ คงทน
ถาวรอยู่ได้นานปี บางคนใช้กระดาษฟางบ้าง หัวบุบุก หัวกลอยบ้าง แม้หัว
ต้นกระดาษ ก็ใช้ตำผสมเข้ากับเนื้อปูน เพื่อช่วยเสริมความเหนียว และยึด
ตัวดี ทัง้ นีข
้ น
ึ ้ อยู่กับความเชื่อ และประสบการณ์ของช่างปูนแต่ละคน

You might also like