You are on page 1of 24

Specification

งานกอ (MASONRY)
1. ขอกําหนดทั่วไป (GENERAL)
1.1 งานกอ หมายถึง งานกอวัสดุผนังโดยรอบอาคาร และภายในอาคาร งานหลอเสาเอ็น และคานทับหลังคอนกรีต
เสริมหลัก และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ตามที่ระบุในแบบกอสราง และรายการกอสราง
1.2 ผูรับจางจะตองสงตัวอยางวัสดุกอนที่จะใชใหผูควบคุมงานพิจารณาอนุมัติ จึงจะทําการสั่งเขาบริเวณกอสราง
ได
1.3 ผูรับจางจะตองตรวจสอบใหแนนอน ในการดําเนินการกอนผนังใหถูกตองตามชนิดของวัสดุกอ ขนาดและ
ความหนา ระยะ และแนวตางๆ ที่ไดกําหนดไวในแบบกอสราง
1.4 การกอผนังจะตองเปนไปตามหลักวิชาชาง ซึ่งจะตองใชชางที่มีความชํานาญ และฝมือประณีตมาดําเนินการกอ
ผนัง หากผนังกอสวนใดไมไดคุณภาพหรือไมเรียบรอย ผูรับจางจะตองดําเนินการแกไข ผนังที่ไมไดคุณภาพ
ใหเรียบรอย ผูควบคุมงานมีสิทธิ์สั่งรื้อทุบไดโดยคาใชจายของผูรับจางเองทั้งสิ้น
2. วัสดุที่ใชในงานกอ (MATERIAL)
2.1 ปูนซิเมนต ใชปูนซิเมนตผสมตามาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม มอก. 80-2517
2.2 ปูนซิเมนตขาว ใชปูนซิเมนตขาวตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม มอก. 133-2518
2.3 ปูนขาว ใชน้ํายาผสมปูนฉาบแทนปูนขาว
2.4 ทราย เปนทรายน้ําจืดที่สะอาด คมแข็ง ปราศจากดิน หรือสิ่งสกปรกเจือปน หรือเคลือบอยู ขนาดของเม็ดทราย
จะตองมีขนาดใกลเคียงกัน โดยมีคุณสมบัติดังนี้
ผานตะแกรงรอนเบอร 8 100%
ผานตะแกรงรอนเบอร 50 15-40%
ผานตะแกรงรอนเบอร 100 0-10%
2.5 น้ํา ตองใสสะอาด ปราศจากน้ํามัน กรด ดาง เกลือ พฤกษธาตุ และสิ่งสกปรกเจือปน หามใชน้ําจาก คู คลอง
หรือแหลงอื่นใดกอนไดรับอนุญาต และน้ําที่ขุนจะตองทําใหใส และตกตะกอนเสียกอนจึงจะนํามาใชได
2.6 ปูนฉาบสําเร็จรูป ตองไดรับการพิจารณาอนุมัติกอนดําเนินการ
2.7 อิฐมอญ จะตองมีเนื้ออิฐที่เผาสุก ผลิตไดตามมาตรฐาน มอก. 77-2517 เนื้อแข็งแกรง ไมมีโพรง ไมแตกราว
ขนาดของกอนอิฐจะตองสม่ําเสมอ และไดขนาดตามตองการ ไมบิดงอ และแตกรวน
2.8 อิฐโปรง กลวง จะตองเปนอิฐที่มีคุณภาพดี ผลิตไดตามมาตรฐาน มอก. 103-2517 เปนอิฐโปรงที่มีโพรง หรือรู
อยางขนานกัน ทําดวยเครื่องจักร ไมแตกราว บิดงอ เหมาะสําหรับใชรับน้ําหนัก หรือไดมาตรฐาน มอก. 168-
2519
2.9 คอนกรีตบล็อค ทั้งชนิดโปรง กลวง และตัน จะตองผลิตตามมาตรฐาน ASTM C-90,ASTM C-129,ASTM C-
145 โดยสวนผสมของคอนกรีตมีสวนคละของขนาดเม็ดกรวด หรือหินกับทราย ไดสวนสัมพันธกันอยางดี
และจะตองมีกําลังอัดประลัยของคอนกรีต (ULTIMATE COMPRESSIVE STRESS) ไมนอยกวา 150
กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร ขนาดความกวาง ยาว และสูงของกอนคอนกรีตบล็อค จะมีสวนผิดพลาดจากรายการ
ที่กําหนดไดไมเกิน 3 มม.
2.10 ผูรับจางจะใชน้ํายาผสมปูนไดตอเมื่อผูคุมงานไดพิจารณา และอนุญาตแลว ผลิตภัณฑตามรายละเอียดที่ระบุไว
ในรายการกอสราง
3. การเก็บรักษาวัสดุกอ (STORAGE)
วัสดุกอทุกชนิด จะตองจัดวางเรียบใหเปนระเบียบเรียบรอย การเก็บเรียงซอนกันไมควรสูงเกิน 2 ม. บริเวณที่เก็บ
จะตองไมมีสิ่งสกปรก หรือความชื้นที่จะกอใหเกิดตะไครน้ํา หรือราได ทั้งนี้วัสดุกอที่มีสิ่งสกปรกจับแนนหรือ
อินทรียวัตถุ เชน รา หรือตะไครน้ําจับ หามนําไปใชกอผนังโดยเด็ดขาด

การปฏิบัติในงานกอ (MASONRY PRACTICE)


1. การเตรียมพื้นผิวสําหรับงานกอ (PREPARATION)
1.1 ผนังกอบนพื้น ค.ส.ล. ทุกแหง ผิวหนาของพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กที่จะทําการกอผนังจะตองสกัดผิวใหขรุขระ
ทําความสะอาด และราดน้ําใหเปยกเสียกอนที่จะเริ่มงาน กอสําหรับการกอผนังริมนอกโดยรอบอาคาร และ
โดยรอบหองน้ําจะตองเทขอบคอนกรีตกวางเทากับผนังกอ และสูงจากพื้น 10 ซม. กอนเพื่อกันการรั่วซึม
1.2 ผนังสวนที่กอชนเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก จะตองสกัดผิวเสาจุดที่ผนังกอชนใหขรุขระแลวทําความสะอาดและ
ราดน้ําใหเปยก และจะตองเสียบเหล็กขนาดเสนผาศูนยกลาง 6 มม. ยาว 45 ซม. ไวที่เสาขณะหลอเสาหรือเสา
เอ็นทุกระยะไมเกิน 60 ซม. โดยใชวิธีเจาะโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กดวยสวานเจาะคอนกรีต แลวฝงยึด
เหล็กเสริมดวย EPOXY หรือยึดดวยทุกเหล็กที่ใชกับงานคอนกรีต
2. การเสริมตะแกรงเพื่อการยึดเกาะ (METAL LATH)
ผนังกอทั้งหมดจะตองเสริมเหล็กตะแกรง ชนิดชุบ GALVANIZED เพื่อเพิ่มการยึดเกาะขนาดแผนตะแกรงจะเล็ก
กวาความหนาของผนังกอนประมาณ 0.5 นิ้ว เสริมตามแนวนอน ตลอดความยาวของกําแพงปลายทั้ง 2 ดาน จะอยู
ระดับเดียวกับเหล็กที่ยื่นออกจากเสาเหล็กตะแกรงจะตองฝงเรียบในแนวปูนกอ เพื่อชวยยึดผนังกอการตอเหล็ก
ตะแกรงใหตอซอนทับกันอยางนอย 20 ซม. เหล็กตะแกรงใหใชผลิตภัณฑตามที่ระบุไวในหมวดรายการวัสดุและ
อุปกรณกอสราง
3. ขอพึงปฏิบัติในงานกอ (PRINCILE OF WORK)
3.1 ใหกอคอนกรีตบล็อกในลักษณะแหง โดยไมจําเปนตองนําไปแชน้ํา หรือสาดน้ํากอน เวนแตวาตองการทําความ
สะอาดกอนคอนกรีตบล็อกเทานั้น สวนวัสดุกอประเภทอิฐมอญกอนทําการกอใหนําอิฐไปแชน้ําใหเปยก
เสียกอนจึงจะใชกอได
3.2 การกอผนังจะตองไดแนว ไดดิ่ง และไดระดับ และตองเรียบ โดยการทิ้งดิ่ง และใชเชือกดึงจับระดับทั้ง 2 แนว
ผนังกอที่กอเปนชองตางๆ เชน DUCT สําหรับระบบปรับอากาศ หรือไฟฟาจะตองเรียบรอย มีขนาดตามระบุ
ในแบบกอสราง และจะตองมีเสาเอ็น หรือทับหลังโดยรอบ
3.3 การกอผนังในชวงเดียวกัน จะตองกอใหมีความสูงใกลเคียงกัน หามกอผนังสวนหนึ่งสวนใดสูงกวาสวนที่
เหลือเกิน 1 เมตร โดยจะตองทิ้งไวอยางนอย 3 ชั่วโมง จึงจะทําการกอเสริมได และผนังกอหากกอไมแลวเสร็จ
ในวันนั้น สวนบนของผนังกอที่กอคางไวจะตองหาสิ่งปกคลุม เพื่อปองกันฝน
3.4 ผูรับจางจะตองทําชองเตรียมไวในขณะกอสราง สวนของระบบอื่นๆ ที่เกี่ยวของ เชน ระบบไฟฟา ระบบ
สุขาภิบาล ระบบปรับอากาศ ฯลฯ การสกัด และการเจาะผนังกอเพื่อติดตั้งระบบดังกลาวจะตองไดรับอนุมัติ
จากผูควบคุมงานเสียกอน เมื่อไดรับอนุมัติแลวจึงจะดําเนินการได ทั้งนี้จะตองดําเนินการสกัดเจาะดวยความ
ประณีต และตองระมัดระวังมิใหผนังกอบริเวณใกลเคียงแตกราวเสียความแข็งแรงไป
3.5 ผนังกอคอนกรีตบล็อกเฉพาะแนวกอนลางสุดที่ติดกับพื้น เวลากอใหกรอกปูนทรายลงในรู หรือในโพรงของ
กอนคอนกรีตบล็อกใหเต็มและแนนตลอดแนวกอของผนัง
3.6 ผนังที่กอชนคานคอนกรีตเสริมเหล็กหรือพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กจะตองเวนชองไวประมาณ 10-20 ซม. เปน
เวลาไมนอยกวา 3 วัน เพื่อใหปูนกอแข็งตัว และทรุดตัวจนไดที่เสียกอน จึงทําการกอใหชนทองคาน หรือทอง
พื้นคอนกรีตเสริมเหล็กที่จะกอผนังอิฐชนจะตองโผลเหล็กเสนผาศูนยกลาง 6 มม. ยาว 20 ซม. ระยะหาง
ระหวางเหล็ก 80 ซม. ตลอดความยาวของกําแพง
3.7 การกอสรางผนังอิฐโชวแนว ผูรับจางจะตองคัดแผนอิฐที่ไดมาตรฐานทุกๆ การกอจะตองไดระดับทั้งแนวนอน
และแนวดิ่ง ในการกอแตละชั้นจะตองขึงเชือกหัวทายทุกครั้ง กอนที่ปูนจะแหงจะตองทําการเซาะรองตามแนว
ปูนกอใหเปนรองลึกประมาณ 1 ซม. พรอมทั้งทําความสะอาดผนังควบคูกันไป เพื่อไมใหคราบปูนหรือสิ่ง
สกปรกอื่นๆ จะแหง และทําความสะอาดลําบาก แลวทาดวยน้ํายาเคลือบใสประเภทซิลิโคนเพื่อกันซึม และ
ปองกันรา ตะไครน้ําจับ
3.8 ผนังกอที่กอใหมจะตองไมกระทบกระเทือน หรือรับน้ําหนักเปนเวลาไมนอยกวา 3 วัน หลังจากกอผนังเสร็จ
เรียบรอยแลว
3.9 เศษปูนกอ เศษอิฐ จะตองเก็บใหเรียบรอยกอนที่เศษปูนจะแหง และแข็งติดพื้น

สวนผสมปูนกอ (MORTAR MIXTURE)


1. สวนผสมปูนกอ (MORTAR MIXTURE)
ปูนกอสําหรับกอผนังใหใชสวนผสมของปูนซิเมนต 1 สวน ทรายหยาบ 4 สวน โดยปริมาณ นอกจากจะไดรับอนุมัติ
จากผูควบคุมงานเปนอยางอื่น
2. วิธีการผสมปูนกอ (MIXING)
การผสมปูนกอ ใหผสมแหงระหวางปูนซิเมนต และทรายใหเขากันดีกอนจึงผสมน้ํา สวนผสมของน้ําจะตองไมทํา
ใหปูนกอเหลวเกินไป การผสมปูนกอ ใหผสมดวยเครื่องผสมคอนกรีต การผสมปูนกอดวยมืออาจอนุมัติใหใชไดใน
กรณีที่สามารถผสมปูนกอใหมีคุณภาพเทากับการผสมดวยเครื่องปูนกอที่ผสมแลวเกินกวา 1 ชั่วโมง หามนํามาใช
เด็ดขาด
3. ขอกําหนดแนวปูนกอ (JOINT)
แนวปูนกอจะตองหนาไมนอยกวา 1 ซม. และตองใสปูนใหเต็มรอยตอ โดยรอบแผนวัสดุกอ การกอตองกดกอน
วัสดุกอ และใชเกรียงอัดปูนใหแนนไมใหมีซอก มีรูป หามใชปูนกอที่กําลังเริ่มแข็งตัวหรือเศษปูนกอที่รวงจากการ
กอแลวกลับมาใชกออีก

เสาเอ็น คานทับหลัง
1. เสาเอ็น
มุมผนังกอทุกมุม หรือที่ผนังกอหยุดลอยๆ โดยไมติดเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก หรือตรงที่ผนังกอติดกับวงกบ ประตู
หนาตาง จะตองมีเสาเอ็นขนาดของเสาเอ็นจะตองไมเล็กกวา 10 ซม. และมีความกวางเทากับผนังกอเสาเอ็นจะตอง
เสริมดวยเหล็ก เสนผาศูนยกลาง 6 มม. และมีเหล็กปลอกเสนผาศูนยกลาง 6 มิลลิเมตร @ 20 ซม. เหล็กเสริมเสาเอ็น
จะตองฝงลึกลงในพื้น หรือคาน ค.ส.ล. ทั้งสองดาน หรือตอเชื่อมกับเหล็กที่เสียบเตรียมเอาไว ในกรณีที่ไมไดระบุ
ไวในแบบ ผนังอิฐกอทุกๆ ความยาว 3 ม. ในแตละชวง
2. คานทับหลัง
ผนังกอที่กอสูงไมถึงทองคาน หรือพื้น ค.ส.ล. หรือผนังที่กอชนใตวงกบหนาตาง หรือเหนือวงกบประตู-หนาตางที่
กอผนังทับดานบนจะตองมีคาบทับหลัง และขนาดจะตองไมเล็กกวาเสาเอ็นตามที่ระบุมาแลว คานทับหลัง ค.ส.ล.
ใหปลายทั้งสองขางยาวตลอดชนเสา หรือโครงสรางหรือเสาเอ็น ค.ส.ล. และที่มุมของดานบนและลางของวงกบ
ใหเสริมเหล็ก 2 เสน ขนาดเสนผาศูนยกลาง 6 มม. ยาว 30 มม. แนวทแยงไปทับหลัง และเสาเอ็นจากนั้นในกรุตา
ขายลวดกรงไก ยึดที่มุมวงกบทั้งสองดานกอนทําการฉาบปูน และผนังกอที่สูงเกินกวา 3 ม. จะตองมีคานทับหลัง
ตรงกลาง ชวงเหล็กเสริมคานทับหลังจะตองตอกับเหล็กที่เสียบไวในเสาหรือเสาเอ็น ค.ส.ล.
รายละเอียดหมวดงานคอนกรีต น้ํายาเคมี และ WATER STOP
ใหใชผลิตภัณฑตามที่กําหนดรายละเอียดในรายการประกอบแบบกอสรางวิศวกรรมโครงสราง
กรณีไมไดระบุใหใชผลิตภัณฑตามที่กําหนดหรือชนิดอื่นที่มีคุณภาพเทียบเทา

วัสดุ ชื่อสินคา หมายเหตุ


-สารอุดยาแนวคอนกรีต 1. CONBEXTRA 747
(GROUTING MATERIALS) 2. SIKAGROUT 214-11
3. FEBXPAN PREMIX
4. EMACO S-55 GROUT
-น้ํายากันซึมผสมในคอนกรีต 1. UA COLEMANOID NO.1
(ADMIXTURE FOR CONCRETE) 2. SIKALITE
3. FEBPROOF RMC
4. STEAROX
- น้ํายาผสมปูนฉาบ 1. UA MORTAR PLASTICISER
(MORTAR PLASTICISER) 2. SIKALITE
3. FEBMIX ADMIX
4. BARRA NORMAL
- น้ํายากันซึมผสมปูนฉาบ 1. UA COLEMANOID NO.1
(WATERPROOFING AGENT) 2. SIKALITE
3. COMPLAST PROLAPIN 031
4. STEAROX
- น้ํายาทาแบบหลอคอนกรีต 5. UA 723
(FORM RELEASING AGENT) 6. SEPAROL
7. FEBSTRIKE
8. FORMOIL
- น้ํายาประสานคอนกรีต-ปูนทราย 1. UA BONDCRETE
(BONDING AGENT) 2. SIKA LATES
3. FEBOND SBR
4. BARRA EMULSION 57
- วัสดุฝงกั้นรอยตอคอนกรีต 1. UA PVC& RUBBER WATERSTOP
(FORM RELEASING AGENT) 2. SUPERCATS PVC
3. REHAU
4. HYDROTITE-CJ TYPE
5. SUUERSTOP
6. SUPERCAST SW
- วัสดุซอมแซมคอนกรีต
(CONCRETE REPAIRING
MATERIALS)
ประเภท EPOXY 1. EXPOGROUT PUTTY หรือ EXPOFILL B1
2. SIKADUR
3. FOSFOC EPOXY BINEDR
4. EPOXANCRETE S
ประเภท CEMENTITIOUS 1. ALLCRETE 20
2. SIKAGROUT 214-11
3. FEBEXPAN PREMIX
4. BARRA MORTAR “L”
- วัสดุอุดยานแนวรองรอยตอถนน 1. PLIASTIC 99
(MASTIC JOUNT SEALER) 2. IGAS K-HPT
3. TEX-MASTIC
4. COLPOR 200 PF
5. MITOSEAL 222
- วัสดุอุดยานแนวรองสําหรับอาคาร
(JOINT SEALANT)
ประเภท SILICONE 1. DOW CORNING
2. GE
3. RHODORSIL
4. WACKER

ประเภท POLYSULPHIDE 1. SONNEBORN


2. THIOFLEX 600
3. THIO-CAUK
4. THIOKOL
ประเภท POLYURERHANE 1. SIKAFAEX IA หรือ SIKAGLEX 15 LM
2. SONOLASTIC NP1
3. POLYREN 27
ประเภท ACRYLIC 1. GE
2. TREMCO MONO
3. ZBOND
- วัสดุยาแนวสุขภัณฑ 1. DOW CORNING
(BATHROOM SEALANT) 2. GE
3. RHODORSIL
4. WACKER
- วัสดุยึดติดและยาแนวกระเบื้อง 1. LATICRETE
(ADHESIVE AND GROUT) 2. MAPEI
3. CERA C-CURE
4. TILEMENT

หมวดงานไมและพลาสติก (WOOD AND PLASTIC)

ขอบเขต และขอกําหนดทั่วไปของไม (SCOPE OF WORK)


1. ขอบเขตของงาน (SCOPE OF WORK)
งานในหมวดนี้รวมถึงงานไมโครงสราง และงานไมประกอบตกแตงตางๆ งานชางไม งานติดตั้งประตู-หนาตาง คราว
ผนัง เพดานคิ้วไม และบัวตางๆ ดังที่ปรากฏในแบบกอสราง และแบบขยายรายละเอียดที่อาจมีเพิ่มเติมจากสถาปนิก
โดยผูรับจางจะตองจัดหาชางไมที่มีความชํานาญงานมาทําการติดตั้งใหถูกตอง และเรียบรอยตามรูปแบบและรายการ
กอสรางทุกประการ
2. ขอกําหนดทั่วไป (GENERAL)
2.1 ไมทุกชนิดที่ใชงานในตําแหนงที่มองเห็นไดดวยตา จะตองไส และตกแตงใหเรียบรอย ไมที่ระบุใหยอมสี
ธรรมชาติ สีเสี้ยน หรือทาแลคเกอร ใหใชไมแดง ไมสัก ไมมะคา ที่มีสีกลมกลืนกัน นอกจากจะระบุไว
เปนอยางอื่น ทั้งนี้ผูรับจางจะตองแสดงตัวอยางที่ยอมสีธรรมชาติ สีเสี้ยน หรือทาแลคเกอร ตอสถาปนิก
หรือผูคุมงานกอนทํางาน
2.2 ไมสําหรับทําคราวฝาเพดานจะตองไสเรียบมาจากโรงงานทั้งหมด หามใชเศษไมที่ประกอบแบบหลอ
คอนกรีตมาใชทําคราวผนัง หรือคราวฝาเพดานเปนอันขาด
คุณสมบัติ วัสดุงานไม และวัสดุประกอบ (PROPERTIES OF LUMBER)
1. ไมรูปพรรณ (LUMBER)
1. 1 คุณสมบัติของไม ตองเปนไมที่มีคุณภาพดี ไมมีตําหนิไมมีตาไม หรือกระพี้ ไมมีโพรง ไมมีรอยแตกราว
ไมบิดงอและขอบกพรองอื่นๆ ตองเปนไมที่ผานการอบและผึ่งแหงดีแลว ไมที่มีความชื้นเกิน 18 % หาม
นํามาใชในงานถาวร หากมีการยึดหดตัวภายหลังผูรับจางจะตองแกไข และรับผิดชอบตอความเสียหายที่
ที่เกิดขึ้นทั้งหมด
1.2 ในแบบและรายการกอสราง หากมิไดระบุชนิดของไมไวเปนพิเศษ หรือบอกแตเพียงวาเปนไมเนื้อแข็งหรือ
ไมเนื้อออน อนุญาตใหใชไดดังนี้
1.2.1 ไมเนื้อออนใชสําหรับงานประกอบไมแบบ สวนที่ทําเปนไมคราว หรือคราวฝาเพดาน อนุญาตให
ใชไมยางได แตจะตองผานการอัดน้ํายามาแลว ไมตกแตงประกอบเฟอรนิเจอร นอกจากระบุเปน
อยางอื่น ในแบบใหใชไมสักทอง การอัดน้ํายา จะตองมีคุณภาพไมนอยกวา การอัดน้ํายา จะตอง
มีคุณภาพไมนอยกวา การอัดน้ํายาของโรงงานอัดน้ํายาไมขององคการอุตสาหกรรมปาไม คือ
กอนอัดน้ํายาโดยใชน้ํายาแหงครึ่งปอนด ตอไม 1 ลูกบาศกฟุต
1.2.2 ไมเนื้อแข็ง ที่จะนํามาใชในการกอสราง สวนที่ระบุเปนไมเนื้อแข็ง จะตองเปนไมตามมาตรฐาน
กรมปาไม ฯ โดยผูรับจางจะตองจัดสงตัวอยางพรอมผลการทดสอบกํากับมาดวยไมเนื้อแข็ง
ในส ว นที่ เ ป น โครงสร า ง ให ใ ช ไ ม เ ต็ ง และในส ว นที่ ต กแต ง โชว ผิ ว ให ใ ช ไ ม เ ต็ ง และในส ว นที่ ต บ
แตงโชวผิว ใหใชไมแดง
1.2.3 ไมวงกบ สําหรับทําวงกบทั้งหมด (นอกจากระบุเปนอยางอื่นในแบบ) ใหใชไมตะเคียนทองขนาด
ของไมวงกบ ตามระบุในแบบกอสราง
หมายเหตุ : ไมที่มีผลการทดสอบคุณภาพ และกําลังความแข็งแรงอยูในชั้นเดียวกัน หรือดีกวาไมที่ระบุไว
ขางตนตามชนิดของไมเนื้อออน หรือไมเนื้อแข็ง แลวแตกรณี ตามที่กรมปาไมรับรองเปนลาย
ลักษณอักษร หากผูรับจางตองการใชไมชนิดอื่นแทน จะตองเสนอผูคุมงานเพื่อพิจารณากอนเมื่อ
ไดรับอนุมัติแลวจึงจะนํามาใชได
1.3 ขนาดของไมที่ใชสําหรับกอสรางทั้งหมด (ยกเวนไมสักเมื่อไดตกแตงเสร็จเรียบรอยแลวจะตองมีขนาดเต็ม
ตามที่ระบุในแบบ) ยอมใหเสียเนื้อไมเปนคลองเลื่อย และเมื่อไสตกแตงเรียบรอย พรอมที่จะประกอบเขา
เปนสวนของอาคารแลว อนุญาตใหขนาดไมลดลงไดไมเกินจากขนาดที่ระบุไวในตารางดังตอไปนี้
ไมขนาด ½” ไสตกแตงแลวเหลือไมเล็กกวา 3/8”
ไมขนาด 1” ไสตกแตงแลวเหลือไมเล็กกวา 7/8”
ไมขนาด 1 ½” ไสตกแตงแลวเหลือไมเล็กกวา 1 3/8”
ไมขนาด 2” ไสตกแตงแลวเหลือไมเล็กกวา 1 7/8”
ไมขนาด 3” ไสตกแตงแลวเหลือไมเล็กกวา 2 3/4”
ไมขนาด 4” ไสตกแตงแลวเหลือไมเล็กกวา 3 5/8”
ไมขนาด 5” ไสตกแตงแลวเหลือไมเล็กกวา 4 5/8”
ไมขนาด 6” ไสตกแตงแลวเหลือไมเล็กกวา 5 5/8”
ไมขนาด 7” ไสตกแตงแลวเหลือไมเล็กกวา 7 1/2”
ไมขนาด 10” ไสตกแตงแลวเหลือไมเล็กกวา 9 1/2”
ไมขนาด 12” ไสตกแตงแลวเหลือไมเล็กกวา 11 1/2”
2. วัสดุอยางอื่นนอกจากไมรูปพรรณ
2.1 ไมอัด ไมอัดชนิดตางๆ ที่ระบุในแบบกอสรางทั้งหมดที่กําหนดเปนไมอัดยาง หรือไมอัดสัก หรือไมอัด
ชนิดอื่นๆ จะตองใชไมอัดที่ผลิตไดมาตรฐาน มอก. 178-2519 โดยใหไมบางที่ทําเปนไมหนา และไม
หลังของแผนไมอัด ใชไมบางในชั้นคุณภาพ ไมบางชั้น 1 และกาวที่ใชประกอบแผนไมอัดเปนกาว
ประเภท 1 สําหรับคุณภาพทางดานอื่นๆ จะตองไดตามมาตรฐานของมอก.ทุกประการ สวนความหนา
ของแผนไมอัดรวมทั้งชนิดของไมหนา และไมหลังของแผนไมอัดจะตองเปนไปตามที่ระบุไวในแบบ
กอสราง
การเก็บ ปองกัน และรักษาเนื้อไม
1. การเก็บไม
ผูรับจางจะตองสรางโรงเก็บไม หรือจัดหาที่เก็บ ซึ่งสามารถปองกันแดด น้ํา น้ําฝน ความชื้น และปลวกได
เปนอยางดี และจัดกองเก็บใหเรียบรอย และไมไมถูกดัดงอ ควรอยูในที่โปรง ลมพัดผานได และสามารถนํา
ไมเขาเก็บไดทันทีที่นํามาถึงบริเวณกอสราง
2. การปองกันและรักษาเนื้อไม
ไมโครงคราวผนัง และฝาเพดานที่กําหนดใหใชเปนไมเนื้อออนนั้น จะตองไดรับการปองกัน และรักษาเนื้อไม
จากปลวกและมอด แมลงตางๆ ตามกรรมวิธีที่ผูคุมงานเห็นชอบ ในกรณีที่ไมไดใชไมอัดน้ํายาจากโรงงานแต
ใชวิธีการทา หรือฉีดพนเคลือบในขณะกอสรางจะตองดําเนินการหลังจากติดตั้งโครงคราวเรียบรอยเสียกอน
และไดรับการตรวจพิจารณาอนุมัติจึงจะทํางานในขั้นตอไปได ผลิตภัณฑน้ํายาที่ใชไดระบุไวในหมวดรายการ
วัสดุ และอุปกรณกอสราง
วัสดุยึดเหนี่ยวในงานไม (JOINT OF WOOD)
1. ผิวคอนกรีตเสริมเหล็ก (REINFORCE CONCRETE SURFACE)
ผิวที่ฉาบ จะตองทําใหขรุขระโดยวิธีการสกัดผิวหนา หรือใชทรายพนขัด หรือใชแปรงลวดขัด น้ํามันทาไม
แบบตามผนังคอนกรีตจะตองขัดลางออกใหสะอาดดวยเชนกันแลวราดน้ํา และทาน้ําปูนซิเมนตขน ๆ ใหทั่ว
เมื่อน้ําปูนแหงแลวใหสลัดดวยปูนทราย 1: 1 โดยใชแปรง หรือไมกวาดจุมสลัดเม็ดๆ ใหทั่วทิ้งใหปูนทรายแหง
แข็งตัวประมาณ 24 ชม. จึงราดน้ําใหความชุมชื้นตลาด 48 ชม. และทิ้งไวใหแหงจึงจะดําเนินงานฉาบปูนรอง
พื้น และฉาบปูนตกแตงตามลําดับ
2. ผิววัสดุกอ (WALLING SURFACE)
ผนังกอ วัสดุกอตางๆ จะตองทิ้งไวใหแหง และทรุดตัวจนคงที่เสียกอนอยางนอยควรทิ้งไวอยางนอย 7 วัน จึงทํา
การสลักเศษปูนออกทําความสะอาดผิวใหปราศจากไขมัน หรือน้ํามัน ฝุนผง หลังจากนั้นจึงจะดําเนินงานฉาบ
ปูนรองพื้น และฉาบปูนตกแตงตามลําดับ
งานฝมือในงานไม
1. การประกอบ ตอไม และเขาไม
1.1 การประกอบ และตอไม เขาไม การติดตั้งยึดโครงสรางทั้งโครงผนัง หรือโครงฝาเพดานจะตองใชชางฝมือ
และความชํานาญโดยเฉพาะ ซึ่งการประกอบการตอ และการเขาไมจะตองแนนสนิท และประกบกันอยาง
เรียบรอย ตรงรอยตอตองยึดใหแนนมั่นคงแข็งแรงไดฉาก หรือไดแนว
2. การติดตั้งประตู-หนาตางไม
การติดตั้งประตู-หนาตางไมเขาในวงกบ ตองใชชางผูชํานาญงานในการติดตั้งโดยเฉพาะเมื่อเรียบรอยแลวจะ
ตองปดเปดไดสะดวก ไมมีการติดขัด หรือเสียดสีกันจนเกิดเสียงดัง เมื่อปดจะตองปดไดสนิท สามารถกันลม
และฝนไดเปนอยางดี
3. การติดตั้งผนัง
การติดตั้งผนังภายในประเภทโครงไม หรือโครงโลหะตางๆ ในกรณีที่เปนผนังตอเนื่องยาวเกินกวา 3.00 เมตร
ผูรับจางจะตองเตรียมเผื่อสําหรับการเสริม การยึดโครงผนังใหมั่นคงแข็งแรงติดกับโครงสรางตางๆ ของอาคาร
ไวดวย ทั้งนี้ผูรับจางตองเสนอแบบรายละเอียด (ZSHOP DRAWING) สงใหผูคุมงานพิจารณากอนทําการติด
ตั้งผนัง
4. การติดตั้งบัวเชิงผนังไม
บัวเชิงผนังไม จะตองไสปรับแตงใหเรียบรอยตามชนิดและขนาดของไมที่ระบุในแบบกอสราง และจะตอง
รอใหงานปูวัสดุพื้นเสร็จเรียบรอยแลว จึงดําเนินการติดตั้งได
งานประตูและหนาตาง (DOOR & WINDOW)

อุปกรณประกอบบานประตู (DOOR & WINDOW)


การติดตั้งอุปกรณตางๆ เชน กุญแจ ลูกลิด ขอรับ ขอสับ ฯลฯ ผูรับจางจะตองใช TEMPLATE กําหนดตําแหนงที่จะเจาะ
ประตูกอน แลวจังทําการเจาะประตู เพอไมใหเกิดความผิดพลาดขึ้นไดหลังจากการติดตั้งอุปกรณตางๆ และไดทดสอบ
การใชงานเรียบรอยแลว ใหถอดอุปกรณตางๆ ออกใหหมด (ยกเวนบานพับ) แลวนําเก็บลงในกลองตามเดิม ทั้งนี้เพื่อให
ชางสีทํางานไดโดยสะดวก และเมื่อสีที่ทาประตูหรือวงกบแหงสนิทแลว จึงทําการติดตั้งอุปกรณเหลานั้นใหมและ
ทดสอบจนใชการไดดังเดิม
หมายเหตุ : ขอบกพรองใดๆ ก็ตามที่เกิดขึ้นจะตองไดรับการแกไขจนใชการไดดีตามหลักวิชาการ คาใชจายของผูรับจาง
เองทั้งสิ้น

ประตู-หนาตางอลูมิเนียม (ALUMINUM DOOR AND WINDOW)

คุณสมบัติอลูมิเนียม (PROPERTIES OF ALUMINIUM)


งานในหมวดที่จะกลาวนี้ใหยึดถือตามขอกําหนดของแบบกอสรางและรายการทั่วไปเปนหลัก
1. กําลังของอลูมิเนียม (STRENGTH OF ALUMINIUM)
อลูมิเนียมที่ใชเนื้ออลูมิเนียมจะตองเปน ALLOY 6063 T5 หรือ 50S ขึ้นรูปชนิดที่มีคุณภาพ ความแข็งแรง
เหมาะสมกับงานสถาปตยกรรม โดยมี (ULTIMATE TENSILE STRENGTH) ไมนอยกวา 22,000 ปอนดตอ
ตารางนิ้ว ซึ่งจะตองมีขนาดตัดที่เหมาะสมหรือตามที่ระบุไวในแบบ และรายการรายละเอียดนอกเหนือจากที่
กําหนดนี้ใหเปนตามมาตรฐาน มอก.218-2520 ทุกประการ
2. ผิวอลูมิเนียม (ALUMINIUM SURFACE)
ผิวอลูมิเนียมจะตองเปน ANODISE ตามที่ระบุในแบบ และความหนาของผิวที่ชุบ จะตองเปนไปตามกรรมวิธี
และมาตรฐานของผูผลิตโดยเครงครัดและจะตองมีหนังสือรับรองความหนาของ FILM และระบบการชุบเปน
ลายลักษณอักษรจากโรงงานผูผลิต ขนาด ความหนา และน้ําหนักของ SECTION ทุกอันจะตองไมเล็ก หรือบาง
กวาที่ระบุไวในรูปแบบ หรือรายการ

ขนาดและความหนาของอลูมิเนียม (SIZE OF ALUMINIUM)


1. อลูมิเนียมที่ใชในภายในอาคาร (INTERNAL ALUMINIUM)
สําหรับขนาด และความหนาของหนาตัดอลูมิเนียมทุกชิ้นของประตู-หนาตาง ที่ติดตั้งทั่วไปภายในอาคาร
จะตองไดความหนาไมต่ํากวาที่ระบุไวดังนี้ (ถือเอาความหนาของขอบรอบรูปของตัวหนาตัดอลูมิเนียม ใน
กรณีที่ไมไดกําหนดในรูปแบบและรายการ)
1. ชองแสง หรือกรอบติดตาย ความหนาไมต่ํากวา 2.0 มิลลิเมตร
2. ประตู-หนาตาง ชนิดบานเลื่อน ความหนาไมต่ํากวา 2.0 มิลลิเมตร
3. บานประตูสวิง ความหนาไมต่ํากวา 2.5 มิลลิเมตร
4. กรอบหนาตาง ชนิดผลักกระทุง ความหนาไมต่ํากวา 2.0 มิลลิเมตร
5. อลูมิเนียมตัวประกอบตางๆ ความหนาไมต่ํากวา 1.2 มิลลิเมตร
2. อลูมิเนียมสําหรับภายนอกอาคาร (EXTERNAL ALUMINIUM)
สําหรับขนาด และความหนาของหนาตัดอลูมิเนียมรูปทุกชิ้นของประตู-หนาตาง ที่ตัดตั้งสวนภายนอกอาคาร
ใหยึดถือตามขอกําหนดในแบบกอสราง หากมิไดระบุในรูปแบบ และรายการผูรับจางจะตองยึดถือหลักเกณฑ
ดังนี้ จะตองสามารถรับแรงลมไดไมนอยกวา100 กิโลกรัม/ตารางเมตร ในระดับต่ํากวา 40.0 เมตร ลงมาถึง
ระดับดิน และ 160 กิโลกรัม/ตารางเมตร ในระดับสูงกวา 40.00 เมตรขึ้นไป/ผูรับจางจะตองเสนอรายการ
คํานวณแบบแสดงขนาดหนาตัด พรอมทั้งความหนาของอลูมิเนียม และความหนาของกระจกที่ติดตั้งให
เหมาะสมในแตละสวนของอาคารใหผูออกแบบพิจารณา
หมายเหตุ : ขอกําหนดนี้มิไดขอกําหนดตายตัว เพียงเปนแนวทางในกรณีที่ไมไดกําหนดในรูปแบบและ
รายการแลว ผูรับจางจะตองปฏิบัติตามรูปแบบและรายการอยางเครงครัด
อุปกรณประกอบของอลูมิเนียม (ACCESSORIES OF ALUMINIUM)
1. สกรู และพุก (SCREW)
สวนประกอบตางๆ ของประตู-หนาตางอลูมิเนียม เชน สกรูยึดวงกบ และตัวบานสวนที่มองเห็นได จะตอง
ใชชนิดที่เปน STAINLESS STEEL สวนที่ไมอาจมองเห็นได ใหใชสกรูชนิดโลหะชุบ CAD PLATED สกรู
ที่ยึดติดกับสวนที่ไมใชไม หรือวัสดุที่เปนโลหะ หรือกําแพง ค.ส.ล. เสา ค.ส.ล. กําแพง หรือผนังอิฐ ฉาบปูน
เปนตน ตะปูควง หรือสกรูที่ขัน ตองใชรวมกับพุก PLASTIC ทําดวย NYLON ของ U-PAT หรือ TOX หรือ
เทียบเทา
2. อุปกรณประกอบอื่น (OTHERS)
2.1 ยางใสกระจกทั้งหมดใหใชชนิด NEOPRENE สวนที่เปนบานเปดชนกับวงกบ หรือชนกับบานเปด
บานอื่นตามแนวตั้งใหใสสักหลาด (WOVEN POLYPILE WEATHERSEAL) โดยเลือกใชขนาด
และแบบใหเหมาะสม และไดรับการอนุมัติจากสถาปนิกสําหรับประตู - หนาตางอลูมิเนียมที่ติดกับภายนอก
จะตองใชเสนสักหลาดประเภทที่เสริมแผน POLYURETHANE ตรงกลาง
2.2 สวนหนาตางบานเลื่อนใหติดลูกลอสําหรับบานเลื่อนทุกบาน ลูกลอจะตองเปนไนลอนชนิดที่มีความแข็งแรง
เปนพิเศษ โดยใชรุนที่เหมาะสมกับขนาด น้ําหนักของบานเลื่อน หนาตางบานเลื่อนทุกชองจุตองมีระบบ
ไมใหบานหนาตางหลุดจากรางอยางปลอดภัย และแตงใหเรียบรอยทั้งภายนอกและภายใน บานเลื่อน
ทุกบานใหใสสักหลาดยาวตลอดแนวเลื่อน

แบบประกอบการติดตั้ง (SHOP DRAWING)


1. แบบกอสรางไดแสดงแบบของประตู–หนาตาง เพื่อบอกจุดประสงค และขนาดเทานั้น ผูรับจางจะตองเขียนแบบ
แสดงรายละเอียดประกอบการติดตั้งมาเสนอตอผูคุมงาน และสถาปนิก เปนจํานวน 3 ชุด เพื่อตรวจแกไขให
ถูกตองเหมาะสมกับงานสถาปตยกรรมโดยจะตองไดรับการอนุมัติจากผูควบคุมงาน และสถาปนิกเปนลายลักษณ
อักษรเสียกอน จึงจะลงมือดําเนินการติดตั้งไดสําหรับในแบบ SHOP SRAWING จะตองแสดงรายละเอียด
ดังตอไปนี้
1.1 SECTION และความหนาของอลูมิเนียมที่ใช รวมทั้งขนาดของ SECTION ที่จะตองไดขนาดที่เหมาะสม
และไดขนาดกับชนิดของ SHARDWARE ที่จะติดตั้งตามที่กําหนดดวย
1.2 แสดงการติดตั้ง การยึดติดกับโครงสรางตาง ๆ และติดตั้งในสวนใดของอาคาร
1.3 แนวรอยตอ และการกันน้ํา
2. แสดงแบบรายละเอียดระบบ CURTAIN WALL จะตองเทียบเทา SCALE จริง ขยายสวนประกอบของ
HORIZONTAL และ VERTICAL SECTION , TRIM ANCHORAGE , GLASS TYPE และ GLAZING แสดง
การปองกันน้ํารั่วของอากาศ (AIR INFILTRATION) ระบบปองกันการรั่วซึมของน้ํา (WATER PENETRATION)
ระบบเผื่อการขยายตัว (EXPANSION) ระบบปองกัน THERMAL BREAKAGE และ แสดงอื่น ๆ ของระบบ ซึ่ง
จะตองมีแบบรายละเอียดแสดงระบบอุปกรณประกอบระบบ และแบบรายละเอียดที่เกี่ยวของกับงานกอสรางดาน
รายละเอียดสัมพันธกันรวมทั้งรายการคํานวณ และตารางแสดงขอมูลตาง ๆ แบบ SHOP DRAWINGS และ
รายละเอียดอื่น ๆ จะตองไดรับความเห็นของสถาปนิก และวิศวกรผูควบคุมการกอสรางกอนทําการติดตั้ง
3. ผูรับจางจะตองสงตัวอยางของวัสดุที่ใชประกอบในสวนของผนังกระจก CURTAIN WALL ทั้งระบบ
โดยจะตองแสดงตัวอยางการติดตั้งประกอบใหสอดคลองกับ SHOP DRAWING ที่เสนอมา และไดรับ
ความเห็นชอบในหลักการจากผูวาจางเปนที่เรียบรอยแลว เพื่อใชเปนมาตรฐานการตรวจรับงาน
การทดสอบอลูมิเนียม (TESTING)
1. ผูรับจางจะลงมือติดตั้งประตู-หนาตาง ผูรับจางจะตองทําการทดสอบ ULTIMATE TENSILE STRENGTH
อลูมิเนียมตามที่กําหนด โดยคาใชจายสวนผูรับจางจะตองเปนผูรับผิดชอบ และในระหวางการกอสราง
หากสถาปนิกพิจารณาเห็นวาจะตองนําตัวอยางอลูมิเนียมไปทําการทดสอบ ผูรับจางจะตองรับผิดชอบสําหรับ
คาใชจายนี้ดวย และผูรับจางจะตองติดตั้งตัวอยางชุดประตู-หนาตาง และหนาตางติดตายพรอมกระจกและอุปกรณ
เพื่อใหสถาปนิกตรวจสอบ และเพื่อใชเปนมาตรฐานในการติดตั้งงานอลูมิเนียม สําหรับการติดตั้งตัวอยางนี้ ผูคุม
งานจะกําหนดใหภายหลัง
2. ผูรับจางจะตองจัดทําการทดสอบระบบอัดอากาศ (CHAMBER TEST) สําหรับการทดลองผนังกระจกระบบ
CURTAIN WALL ใหเปนไปดวยความถูกตอง และสอดคลองกับขอกําหนดมาตรฐานการทดสอบดวยอุปกรณ
และวิธีการที่ไดถือปฏิบัติมาแลวในตางประเทศ โดยใหอยูภายใตการควบคุมดูและของวิศวกรจากสถาบันที่เชื่อถือ
ได ผูรับจางจะตองเปนฝายจัดใหมีการทดสอบ โดยเปนผูออกคาใชจายสําหรับการเตรียมการดําเนินการอื่น ๆ ใน
ทุกกรณี ผูรับจางสามารถใชผลการทดสอบอางอิงระบบ CURTAIN WALL แบบเดียวกัน ซึ่งไดทําการติดตั้งและ
ทําการทดสอบระบบอัดอากาศ (CAHMBER TEST) ไปแลว ทั้งนี้ ผลการทดสอบจะตองเปนไปตาม
ขอกําหนด ดังตอไปนี้
2.1 รายการทดสอบ และการคํานวณในโครงสราง (STRUCTURAL)
การทดสอบตามเงื่อนไขของ ASTM E330 หากผลการทดสอบไมเปนที่พอใจของผูวาจาง ผูรับจางจะตองสง
รายการคํานวณเพื่อเติมเดี่ยวกับ DEFECTION และ STRESS ในโครงการของ CURTAIN WALL จนกวา
จะพิสูจนความเปนไปไดจนเปนที่แนชัดทางวิชาการ
2.2 แบบหยอนตัว (DEFLECTION)
เปน CURTAIN WALL จะตองรับแรงลม (WIND LOAD) ไดไมนอยกวา 2.6 หมวด 08-027 และ มี
การหยอนตัวที่ยอมให ZALLOWABLE DEFLEDTION) ไมเกิน 1/175 ของชวง SPAN และจะตองไม
มากกวา 0.75 นิ้ว หรือ 20 มม. สวนระยะหยอนตัวที่ SEALANT JOINTS ตรงกรอบหนาตาง
และสวนประกอบอื่น ๆ ของอาคารตองไมมากกกวา ½ ของ JOINT WIDTH ซึ่งจะมีการเสริมความแข็งแรง
ดวยอลูมิเนียมหรือเหล็กเมื่อจําเปน สวนการหยอนตัวของ ANCHORS จะไมเกินกวา 1.5 มม. สวนประกอบ
ทุกชิ้นจะตองกําหนดตามเทศบัญญัติ หรือตาม ANSVAAMA 302.9 โดยผูรับจางจะตองเสนอผลการทดสอบ
พรอมทั้งรายการคํานวณใหผูวาจาง
3. GLASS LOAD
ชิ้นสวนรับบานกระจกติดตายจะตองมี DEFLECTION ของจุดรับน้ําหนักไมเกิน 1/175 ของ SPAN
ซึ่งไมทําให GLASS BITE ลดลงเกินกวา 25% หรือ 3 มม.
4. ความเคน (STRESS)
โครงสรางชิ้นสวนหนาตางทั้งหมดจะตองเปน ALUMINIUM ALLOY และสามารถรับ ULTIMATE TENSILE
STRENGHT 21,000 P.S.L. เมื่อทดสอบโครงสรางจะเทากับ 1.5 เทา ของความกดดันที่ออกแบบไว และไมมี
OVER STRESS ปรากฏที่สวนประกอบใด ๆ STRESS LIMITS สําหรับสวนประกอบตาง ๆ จะอยู
ในขอบเขตขอกําหนดของ SPECIFICATION ของ AAMA ตาม GUIDE LINES อยางเครงครัด
5. AIR INFILTRATION
บานกระจกติดตามจากการรั่วของอากาศเมื่อทําการทดสอบดวย STATIC PRESSURE 1.56 PSF. (25 MPH.)
จะตองไมเกินกวา 0.06 CFM. ตอตารางฟุต (ทดสอบมาตรฐานของ ASTM.E283)
6. WATER PENETRATION
เมื่อทําการทดสอบตาม ASTM. E331 ดวย STATIC PRESSURE 6.24 PSF.(50MPH.) และพนกระจายน้ํา 5
แกลลอน ตอตารางฟุตตอชั่วโมง จะตองไมปรากฏการรั่วซึมใด ๆ
7. THERMAL BREAKAGE AND THERMAL SHOCK
ระบบ CURTAIN WALL จะตองไดรับการออกแบบโดยที่กระจกไมแตก เนื่องจาก THERMAL BREAKAGE หรือ
THERMAL SHOCK โดยการทดสอบหรือโดยการคํานวณจนกวาจะพิสูจนความเปนไปได และเปนที่
แนชัดทางวิชาการ

การติดตั้ง และอุดยาแนว (INSTALLATION AND SEALANT)


1. การติดตั้ง (INSTALLATION)
การประกอบติดตั้งงานอลูมิเนียมจะตองติดตั้งโดยชางผูชํานาญการใหเปนไปตามแบบขยายและรายละเอียดตาง ๆ
ตาม SHOP DRAWING ที่ไดรับความเห็นชอบจากผูควบคุมงานและสถาปนิกแลว รอยตอตาง ๆ จะตองมีความ
แข็งแรงปด - เปด หรือเลื่อนไดคลองตัว การประกอบติดตั้งจะตองไดแนวดิ่งและแนวนอน และจะตองไดฉากทุก
มุม ยกเวนจะระบุใหทําเปนอยางอื่น และสําหรับการสัมผัสกันระหวางอลูมิเนียมกับโลหะอื่น จะตองทาดวย
BITUMINUS PAINT หรือ ISOLATION TAPE ตลอดบริเวณที่โลหะทั้งสองสัมผัสกัน เมื่อติดตั้งแลวเสร็จ
ในสวนใดที่ผูคุมงานเห็นจําเปนตองปองกันผิวอลูมิเนียม ในระหวางการกอสรางจะตองทาหรือพน STRIPABLE
P.V.C. COATING 2 ชั้น เพื่อปองกันผิววัสดุจากน้ําปูน หรือสิ่งที่อื่นใดอันอาจจะทําความเสียหายกับวงกบ
ประตู - หนาตางได การเคลือบผิวอลูมิเนียม ผูรับจางตองเคลือบเปนตัวอยางใหผูคุมงานพิจารณากอน ทั้งนี้
ผูรับจางสมารถเสนอวิธีการปองกันผิวของอลูมิเนียมไดหากมีวิธีการอื่นที่ดีกวา
2. วัสดุยาแนว (SEALANT)
อลูมิเนียมที่ติดแนบกับปูน หรือสวนของ ค.ส.ล. หรือวัสดุอื่นใดนั้นจะตองยาแนว หรืออุดดวย CAULKING
COMPOUND ประเภท ACRYLIC SEALANT และจะตองรองรับดวย JOINT BACKING ชนิด POLETHYLENE
กอนทําการยาแนวหรืออุดจะตองทําความสะอาดเสียกอนจึงทาการอุด CAULKING COMPOUND ไดหลังจากนั้น
จึงทําการตกแตงแนวใหเรียบรอยสวยงามทั้งภายในและภายนอก
3. การรับประกัน (WARRANTY)
ผูรับจางจะตองรับประกันคุณภาพ CURTAIN WALL ตั้งแตการออกแบบวัสดุที่ใช และฝมือการติดตั้งนับตั้งแต
วันที่สงมอบงานเปนระยะเวลา 5 ป และจะตองยินยอมเปลี่ยนเปนสวน ๆ หรือทั้งชุดถาหากเกิดจากความบกพรอง
ในวัสดุ หรือฝมือการประกอบเพื่อใหไดคุณภาพตามมาตรฐานที่กําหนด ผูรับจางจะตองซอมแซมภายใน 1 เดือน
หลังจากไดรับแจงโดยไมสามารถฟองเรียกคาเสียหายเพิ่มเติมจากผูวาจางได ไมวากรณีใด ๆ ผลงานเมื่อเสร็จแลว
แนวอลูมิเนียมโครงสรางตาง ๆ จะตองเปนแนวเสนตรงซึ่งขนานหรือไดฉากกั้นทั้งทางตรงและทางนอนซึ่งจะเปน
มุมฉากตอกันตลอด และจะตองขนานหรือไดฉากกับแนวโครงสรางของอาคารที่สามารถตรวจสอบใหอยู
ในสภาพดี อลูมิเนียมจะตองไมมีรอยขูดขีด มีสีของอลูมิเนียมเปนสีเดียวกันตลอด
การติดตั้งกระจก และอุดยาแนว (GLAZING AND SEALING)
1 การติดตั้งกระจก (GLASING)
1.1 การบรรจุกระจกเขากรอบทั่วไป ผูรับจางจะตองระมัดระวังในการใชวัสดุอุดยาแนวอันจะไมกอใหเกิดความ
สกปรก เลอะเทอะ หรือความเสียหายกับกระจก หรือกรอบบานในภายหลังการลาง หรือทําความสะอาด
เนื่องจากวัสดุอุดยาแนวกับกระจก ผูรับจางจะตองใชทินเนอร หรือน้ํายาอื่น ๆ ที่ผูผลิตวัสดุอุดยาแนวได
แนะนําไวเทานั้น และหามมิใหผสมน้ํายาใด ๆ อันจะทําใหความเขมขนของวัสดุอุดยาแนวลดนอยลง หาม
มิใหบรรจุกระจกเขากรอบในขณะที่สียังไมแหงผิวของกรอบบาน และกระจกกอนใชวัสดุยาแนวจะตองทํา
ความนะอาดใหปราศจากความชื้น ไขมัน และฝุนละออง และเมื่อใชวัสดุยาแนวอุดยากระจกแลวตองทําการ
ขจัด และตกแตงวัสดุยาแนวสวนที่เกินใหเรียบรอยกอนที่วัสดุยาแนวนั้นจะแข็งตัว (ภายใน 2-3 ชั่วโมง)
1.2 เมื่อการติดตั้งกระจกเสร็จสมบูรณ กระจกตองปราศจากรอยขีดขวน แตกราว หรือคลาดเคลื่อนใด ๆ ที่เกิด
ความเสียหายกอนการรับมอบงาน
2. วัสดุอุดยาแนว (SEALER)
วัสดุอุดยาแนวที่ใชสําหรับกรอบบานเหล็ก ตองเปนวัสดุประเภท SILICONE SEALANT หรือ POLYURETHANE
SEALANT วัสดุอุดยาแนวที่ใชนี้จะตองไมแหง หรือแข็งอยูในภาชนะบรรจุจากโรงงานในขณะที่เปดเพื่อนํามาใช
รายละเอียดผลิตภัณฑไดระบุไวในรายการวัสดุ และอุปกรณกอสราง

ประเภทกระจก (TYPE OF GLASS)


1. กระจกใส (CLEAR PLATE GLASS)
ตามมาตรฐาน B.S 952/1964 FLOAT PROCESS ความหนาตามที่ระบุในแบบกอสราง กระจกตองมีคุณภาพดี ผิว
เรียบสม่ําเสมอทั้งแผน ปราศจากริ้วรอยขีดขวน หรือฝามั่ว กระจกทุกแผนตองมีการแตงลบมุมใหเรียบรอยสวยงาม
มีขนาดความหนา และคุณสมบัติตามที่กําหนดในแบบและในรายการกอสรางนี้
2. กระจกนิรภัย (TEMPERED AND LAMINATE SAFETY GLASS)
ตามมาตรฐาน B.S 952/1964 จะตองใชชนิดและสีตามที่สถาปนิกกําหนดขนาดความหนา และคุณสมบัติ
ใหเปนไปตามที่กําหนดในแบบกอสรางและรายการกอสรางนี้
3. กระจกเงา (MIRROR)
กระจกเงาใหใชกระจกชนิด FLOAT GLASS เปนเนื้อกระจกตัดแสง สําหรับกรรมวิธีในการเคลือบทําเปนกระจก
เงา จะตองเปนระบบ ELECTRO COPPERED SILVERING รายละเอียดผลิตภัณฑ ขนาด ความหนา คุณสมบัติ
ของกระจกไดระบุไวในหมวดรายการวัสดุและอุปกรณกอสราง

ความหนาของกระจก (THICKNESS)
หากไมไดกําหนดเปนอยางอื่นในแบบกอสราง ใหใชความหนาของกระจกตามที่กําหนดไวในรายการกอสรางนี้และ
สําหรับสวนที่ตองใชขนาดของกระจกตามที่กําหนดในแบบใหญกวาที่กําหนดนี้ ใหใชกระจกขนาดความหนาตาม
มาตรฐาน B.S 952/1964
สําหรับหนาตางทั่วไป 6 มิลลิเมตร
สําหรับประตูทั่วไป 6 มิลลิเมตร
สําหรับกระจกติดตายทั่วไป 6 มิลลิเมตร
สําหรับกระจกติดตายที่มีพื้นที่เกิน 30 ตร.ฟ. 8 มิลลิเมตร
สําหรับกระจกบานเกล็ด 6 มิลลิเมตร
หมายเหตุ
1. สวนตอไปนี้ใหใชเปนประเภทกระจกเทมเปอร ความหนาตามที่กําหนดในแบบกอสราง
- สวนที่ทําหนาที่เปนผนังกระจก
- สวนตาง ๆ ที่กําหนดในแบบกอสราง
2. สวนที่เปนกระจกนิรภัยตาง ๆ ใหผูรับจางเสนอ SHOP DRAWING และรายการคํานวณขนาด และความ
หนาของกระจกที่ใชในแตละสวนตามแบบกอสรางตอผูคุมงานและสถาปนิกพิจารณาอนุมัติกอนดําเนินการ
รายละเอียดผลิตภัณฑประเภท ประตู หนาตาง และกระจก (DOOR, WINDOW and GLASS)
ใหใชผลิตภัณฑตามที่ระบุหรือเทียบเทา
วัสดุ ชื่อสินคา หมายเหตุ
- ประตุ-หนาตางอลูมิเนียม 1. TOSTEM TOA ผิวสําเร็จ ANODISE ตาม
(ALUMINIUM DOOR AND 2. NIKKEI THAI รายละเอียดที่ระบุในแบบ และ
WINDOW) 3. เมืองทองอลูมิเนียม รายการกอสราง
- ลูกลอไนลอน (ROLLER) 1. DELMAR
2. INTERLOCK
- วัสดุอุดยาแนวกระจกประเภทซิลิโคน 1. DOW CORNING
(SILICONE SEALANT) 2. GE
3. RHODORSIL
4. WACKER
- สักหลาด (WOVEN POLYPILE 1. SCHLEGEL
WWATHER SEAL) 2. LINEAR
- กระจก (GLASS
- ประเภท FLOAT GLASS 1. THAI-ASAHI GLASS
2. SIAM GUARDIAN
- ประเภท TEMPERED GLASS 1. TGSG
2. SIAM V.M.C.
3. DCG
- ผูติดตั้งงานประตู-หนาตางอลูมิเนียม 1. YHS INTERNATIONAL
(ALUMINIUM FABRICATOR) 2. ALUMINIUM TECHNIC
3. KIM YOO SENG
4. EUROSIA MERCANTILE
5. THANATORN ANUFACTURING
6. THAI INTER ALUMINIUM
งานแผนยิปซั่มบอรด โครงคราวโลหะ (CEILING FINISH OF GYPSUM ON CONCEALED GRID)
1. การติดตั้งโครงเคราโลหะ (CONCEALED GRID)
ติดตั้งโครงเคราโลหะตามชนิดและขนาดของโครงคราวฝาเพดาน โดยมีการยึดกับโครงสรางของ เสาคาน
ทองพื้น ดวยตัวยึดโครงคราวอยางมั่นคงแข็งแรง และตองไดระดับตามที่กําหนดใน แบบอยางสม่ําเสมอตลอด
บริเวณทั้งหมดขนาดของโครงเคราหลักโครงคราวชอบและโครงคราวยึด
ไดกําหนดไวในหมวดรายการวัสดุและอุปกรณกอสราง
2. การติดตั้งแผนยิปซั่มบอรด (GYPSUM BOARD CONNECTED)
ติดตั้งแผนยิปซั่มใหเรียบรอย และยึดแผนดวยสกรูโดยจะตองยิงสงหัวสกรูใหจมลงในแผนเล็กนอย
ทุกหัวสกรูเมื่อติดตั้งแผนเสร็จเรียบรอยแลวจึงดําเนินการฉาบอุดหัวสกรู และแนวขอบรอยตอแผน
ทุกแนวใหเรียบรอยตามกรรมวิธีของผูผลิต แลวจึงดําเนินการทาสีตามรายละเอียดที่ไดกําหนดไวใน
หมวดงานทาสีโดยเครงครัด
วัสดุ ชื่อสินคา หมายเหตุ
- กระเบื้องยาง 1. DYNOFLEX ใหใชชนิด NON-ASBESTOS
(VINYL COMPOSITION 2. STARFLOR
TILE)
- บัวเชิงผนังกระเบื้องยาง 1. DYNOFLEX
(PVC BASE) 2. STARFLOR
- กาวติดกระเบื้องยาง 1. DYNOFLEX ใหใชกาวขาวตามมาตรฐานผูผลิต
(VINYL TILE ADHESSIVE) 2. STARFLOR
3. THOMSIT
- ยิปซั่มบอรด 1. ตราชาง
(GYPSUM BOARD) 2. ตราบานทีจี
- โครงคราวโลหะ 1. TG RONDO
(METAL STUD) 2. DECEM
3. BSP
4. FRAMA-TECH
5. ARCON TYPE

งานทาสี (PAINTING WORK)


ขอบเขตและขอกําหนดทั่วไปของงานทาสี (GENERAL SPECIFICATION)
1. ขอบเขตของงาน (SCOPE OF WORK)
ผูรับจางจะตองจัดหาวัสดุ-อุปกรณเครื่องใช และสิ่งอํานวยความสะอาดตาง ๆ เพื่อดําเนินการทาสีให
ลุลวงดังที่กําหนดในแบบ และรายการกอสราง และใหสัมพันธกับงานในสวนอื่น ๆ ดวยการทาสี
หมายถึงการทาสีอาคารทั้งภายนอก ภายใน และสวนตอเนื่องตาง ๆ ที่ไดกําหนดไวในแบบ ยกเวน
สวนที่กําหนดไวเปนอยางอื่นหรือสวนที่กําหนดใหระบุดวยวัสดุประดับตาง ๆ ทั้งนี้หากมีสวนใด
ที่ผูรับจางสงสัยหรือไมแนใจใหปรึกษาขอคําแนะนําจากผูควบคุมงานทันที การทาสีใหรวมถึง
การตกแตงอุดมยาแนวผิว และการทําความสะอาดผิวตาง ๆ กอนที่จะทําการทาสี
2. ขอกําหนดทั่วไป (GENERAL SPECIFICATION)
2.1 สีที่นํามาใชจะตองบรรจุและผนึกในกระปอง หรือภาชนะโดยตรงจากโรงงานของผูผลิต
และประทับตราเครื่องหมายการคา เลขหมายตาง ๆ ชนิดที่ใช และคําแนะนําในการทาติดบน
ภาชนะอยางสมบูรณ กระปอง หรือภาชนะที่ใสสีนั้น จะตองอยูในสภาพเรียบรอยไมบุบ ชํารุด
ฝาปดตองไมมีรอยปด-เปดมากอน
2.2 สีทุกกระปองจะตองนํามาเก็บไวในสถานที่ที่จัดไวในที่มิดชิดมั่นคง สามารถใชกุญแจปดได
ภายในหองมีการระบายอากาศดี ไมอับชื้น มีการทําความสะอาดใหเปนระเบียบเรียบรอยเปน
ประจําทุกวันและจะตองมีการปองกันอัดคีภัยเปนอยางดี เปนที่เก็บสีและอุปกรณในการทาสี
การมอบรับสีจากโรงงานหรือการเปดกระปองสี ตลอดจนการผสมสีใหทําในหองนี้เทานั้น
2.3 การตรวจสอบระหวางการกอสราง เจาของโครงการ สถาปนิก ผูควบคุมงาน มีสิทธิเขา
ตรวจสอบคุณภาพ และจํานวนของสีไดตลอดเวลาการกอสราง
2.4 ผูรับจางจะตองไมทําการทาสีในขณะที่มีฝนตก ความชื้นอากาศสูง และหามทาสีภายนอกอาคาร
ทันทีหลังจากฝนหยุดตก จะตองปลอยทิ้งไวอยางนอย 72 ชั่วโมง หรือจนกวาผูควบคุมงานจะ
เห็นสมควรใหเริ่มทาสีได
2.5 ถาหากมีสวนหนึ่งสวนใดที่สงสัย หรือไมสามารถทาสีไดตามขอกําหนดผูรับจางจะตองรีบแจง
ใหผูควบคุมงานทราบทันที
2.6 การนําสีมาใชแตละงวด จะตองใหผูควบคุมงานตรวจสอบกอนวาเปนสีถูกตองตามที่กําหนดให
ใช
3. วัสดุ (MATERIAL)
3.1 สีที่ใชในการกอสราง จะตองไดรับการพิจารณา และอนุมัติใหใชจากสถาปนิกเสียกอนสีจะตอง
เปนของใหม โดยหามนําสีเกาที่เหลือจากงานอื่นมาใชโดยเด็ดขาด ชนิดของสีและหมายเลขของ
สีจะตองเปนไปตามกําหนด หามนําสีชนิด และหมายเลขที่นอกเหนือไปจากที่กําหนดไวมาใช
หรือมาผสมเปนอันขาด
3.2 สีที่ใชตองเปนสีที่ผลิตขึ้นโดยมีตัวยาปองกันการขึ้นราของสี หรือกันสนิมอันเกิดจากโลหะ
ปองกันดางอันเกิดจากคอนกรีตและกําแพงอิฐและจะตองเปนสีที่มีความคงทนถาวรไมหลุดงาย
3.3 สิ่งอื่น ๆ ที่ใชประกอบในการทาสีที่มิไดระบุไว เชน น้ํามันสน (TURPENTINE) น้ํายาผสมสี
(THINNER) ฯลฯ ซึ่งตองใชควบคูกันไปในระบบการทาสี ใหใชผลิตภัณฑของผูผลิตสี
โดยเฉพาะในกรณีที่บริษัทผูผลิตสีไมมีผลิตภัณฑประกอบตาง ๆ นี้ ใหเลือกใชผลิตภัณฑที่มี
คุณภาพ โดยมีเครื่องหมายการคา และชื่อผูผลิตบอกไวอยางชัดเจน
ประเภทของสีที่ใชในงานทาสี (TYPE OF PAINT)
ในกรณี แบบ รูป และรายการกอสรางมิไดกําหนดไวเปนอยางอื่น ใหถือปฏิบัติดังนี้
1. สีพลาสติกคอิมัลชั่น (EMULSION PAINT)
ใชทาบนผิวฉาบปูน หรือผิวอื่น ๆ ที่คลายคลึงกัน และตามที่สถาปนิกกําหนดใหใช
2. สีน้ํามัน (ENAMEL PAINT)
ใชทาบนผิวไมทั่วไป หรือผิวอื่นที่คลายคลึงกัน และผิวโลหะตาง ๆ รวมทั้งผิวตามที่สถาปนิก
กําหนดใหใช
3. แลคเคอร น้ํามันวานิช ฯลฯ (LACQUER, VARNISH ETC.)
ใชทาบนผิวไม หรือผิวอื่น ๆ ที่คลายคลึงกันภายในอาคารหรือภายนอกอาคารตามที่สถาปนิก
กําหนดใหใช
4. สีอื่น ๆ (OTHER)
สถาปนิกจะระบุเพิ่มเติมไวเปนเฉพาะสวน หรือเปนพิเศษเฉพาะแหงในแบบกอสราง

การเตรียมการทั่วไปกอนทํางานทาสี (GENERAL PREPARATION)


1. ชางฝมืองานทาสี (WORKMANSHIP)
1.1 ผูรับจางจะตองจัดหาชางทาสีที่มีฝมือดีประสบการณและชํานาญงานมาทํางาน โดยการทํางาน
ของชางทาสีจะตองอยูในความควบคุมดูแลอยางใกลชิดของผูควบคุมงาน หรือหัวหนาชางสี
ของผูรับจางจะตองอยูควบคุมตลอดเวลาในระหวางงานทาสี
1.2 ในการทาสี ชางสีจะตองทาใหสีมีความเรียบสม่ําเสมอกันตลอดปราศจากรอยตอ ชองวาง หรือ
เปนรอยแปรงปรากฏอยู ไมมีรอย หยดของสี การทาสี แตละชั้น ตองใหแนใจวาสีแตละชั้นจะตองแหงสนิทดี
แลวจึงจะลงมือทาสีชั้นตอไป ควรจะพิจารณาความเรียบรอยหลังการทาสี แตละชั้น
2. การเตรียมการกอนเริ่มงานทาสี (SURFACE PREPARATION)
2.1 ผูรับจางจะตองเปนผูจัดหาอุปกรณตาง ๆ รวมทั้งบันได หรือนั่งรานสําหรับทาสีที่เหมาะสม
หรือตามความจําเปน และผาหรือวัสดุอื่นใดที่ใชปกคลุมพื้นที่หรือสวนอื่นของอาคาร เปนการ
ปองกันความสกปรกเปรอะเปรื้อนเลอะเทอะ ซึ่งอาจเกิดขึ้นไดจากงานทาสี
2.2 ผูรับจางตองตรวจดูอุปกรณประตู-หนาตาง และอุปกรณสวนอื่น ๆ ที่สามารถจะติดตั้งภายหลัง
ได แตติดตั้งไปแลวใหถอดออก และทําการติดตั้งภายหลังเมื่อทาสีเรียบรอยแลว
2.3 ฝาครอบสวิทซและปลั๊กไฟฟา ซึ่งไดติดตั้งเรียบรอยแลวจะตองเอาออกกอนทําการทาสี เมื่อทาสี
เสร็จและสีแหงดีแลว จึงทําการติดตั้งตาเดิมใหเรียบรอย
2.4 การตัดเสนตามขอบตาง ๆ และการทาระหวางรอยตอของสีตางกัน จะตองระมัดระวังเปนอยาง
ดีอยาใหมีรอยทับกันระหวางสี
3. การอุดยาแนว (CAULKING)
3.1 วัสดุยาแนวสวนที่เปนไมใหใช WOOD SEALER หรือ WOOD FILLER ถาผิวพื้นไมเรียบมี
รอยขรุขระใหขัดดวยกระดาษทรายหรือโปวสี หรือพนสีรองพื้น และขัดจนเรียบทั่วกัน สวน
ที่เปนไม จะตองทาน้ํามันวานิชใหอุดแนว และรองพื้นดวยดินสอพองผสมสีและกาวประสาน
หรือสียอมเนื้อไม
3.2 วัสดุยาแนวสวนที่เปนคอนกรีต หรือปูนฉาบใหใช CEMENT FILLER
3.3 วัสดุยาแนวสําหรับเหล็ก หรือโลหะอื่นเมื่อทาสีกันสนิม หรือรองพื้นแลว ใหอุดรูหรือยาแนว
ดวย CAULKING COMPOUND

การเตรียมผิวพื้น และรองพื้นงานทาสี
1. ผิวปูนฉาบ (PLASTERING SURFACE)
ผิวปูนฉาบ ผนังกออิฐ ผนังกอคอนกรีตบลอค หรือผนังคอนกรีตเสริมเหล็กที่จะทาสีจะตองแหงสนิท
และจะตองทําความสะอาดใหปราศจากเศษฝุนละออง คราบฝุน คราบสกปรกถามีคราบไขมัน น้ํามัน
หรือสีเคลือบละลายติดอยูใหลางออกดวยน้ํายาขจัดไขมัน หรือผงซักฟอก ทิ้งใหผิวแหงสนิทแลว ให
ทาดวยสีรองพื้น ตามชนิดของสีทาทับหนา โดยใหเปนไปตามคําแนะนํา และกรรมวิธีของผูผลิต
2. ผิวไม (WOOD SURFACE)
ผิวของไมจะตองแหงสนิท และตองทําการซอมโปวอุดรูรอยแตกตาง ๆ ของผิวไมใหเรียบรอยแลวจึง
ทําการขัดเรียบผิวไมดวยกระดาษทราย พรอมทั้งทําการเช็ดปดทําความสะอาดผิวไมใหเรียบรอย แลว
ใหทาดวนสีรองพื้นไมตามชนิดที่สถาปนิกกําหนด โดยใหดําเนินการไปตามคําแนะนํา และกรรมวิธี
ของผูผลิต
3. ผิวเหล็ก หรือโลหะที่มีสวนผสมของเหล็ก, เหล็กอาบสังกะสี และโลหะตาง ๆ (STEEL SURFACE)
3.1 ผิวเหล็ก หรือโลหะที่มีสวนผสมของเหล็ก ใหใชเครื่องขัด ขัดรอยเชื่อม รอยตําหนิ แลวใชแปรง
ลวดหรือกระดาษทรายขัดผิวจนเรียบและปราศจากสนิม หรืออาจใชวิธีพนทราย (ในสวนที่
เพื่อขจัดสนิม หรือเศษผงออกใหหมดพรอมทั้งทําความสะอาดผิวหนาไมใหมีไขมันหรือน้ํามัน
จับ โดยใชน้ํายาลางขจัดไขมันโดยเฉพาะ เสร็จแลวใชน้ํายาลางออกใหหมด และปลอยใหแหง
แลวจึงใชน้ํายาขจัดสนิทและปองกันสนิมประเภทไครโรเอทธีลนิ หรือน้ํายาประเภทเดียวกัน 1
สวน ตอน้ํา 2 สวน ทาลางคาบสนิมลนผิวหนาเหล็กใหทั่ว และกอนที่น้ํายาจะแหงใหใชน้ํา
สะอาดออกจนผิวหนาสะอาดพรอมทั้งเช็ด หรือใชลมเปาใหแหงสนิท แลวจึงทาหรือพนสีรอง
พื้นกันสนิมตามรายละเอียดที่ไดกําหนดในหมวดงานนี้และตามคําแนะนําตามกรรมวิธีของ
ผูผลิตโดยเครงครัด
3.2 ผิวเหล็กอาบสังกะสี และโลหะตาง ๆ ใหใชน้ํายาลางขจัดไขมันหรือน้ํามัน เช็คลางออกใหหมด
และลางดวยน้ําสะอาด เมื่อทิ้งใหแหงแลวใหทา หรือพนสีรองพื้น ตามรายละเอียดที่ไดกําหนด
ในหมวดงานนี้ และตามคําแนะนําตามกรรมวิธีของผูผลิต
รายละเอียดผลิตภัณฑสี (PAINTING MATERIAL)
1. สีทาอาคารทั่วไป (GENERAL PAINTING)
สีทาอาคารทั่วไปใหใชสีที่มีคุณสมบัติดังนี้
1.1 ประเภทสีทาผิวไม (WOOD SURFACE PAINT)
1.1.1 สีรองพื้นใหใชสีประเภท ALUMINIUM WOOD PRIMER หาครั้งแรก โดยมีความหนา
ของสีเมื่อแหงไมต่ํากวา 30 ไมครอนส และทารองพื้นครั้งที่ 2 ใชสีประเภท SPEED
UNDER COAT โดยมีความหนาของสีเมื่อแหงไมต่ํากวา 35 ไมครอนส
1.1.2 สีทับหนา ใหใชสีประเภทสีน้ํามัน ที่ทําจากใยสังเคราะห ALKYD ENAMEL ทาทับ
2 ครั้ง โดยมีความหนาของสีเมื่อแหงแตละชั้นไมต่ํากวา 30 ไมครอนส
1.2 ประเภทสีทาผิวปูน (CEMENT SURFACE PAINT)
1.2.1 สีรองพื้น ใหใชสีรองพื้นที่ทําจาก ACRYLIC RESIN ชนิดพิเศษ ซึ่งมีความทนทานตอ
ฤทธิ์ดางและปองกันเชื้อรา ทาหนึ่งครั้งความหนาของฟลมสี 25-30 ไมคอรนส
1.2.2 สีทาทับหนาภายในอาคาร
ใหใชสีประเภท 100% ACRYLIC EMULSION ที่มีเทอรโมพลาสติกและครีลิคเรชั่น
เปนองคประกอบ ซึ่งมีความคงทนสูง ไมซีดขาวไดงาย ทนทานตอฤทธิ์ดาง และไมมี
สารตะกั่ว มีประสิทธิภาพ ตอตานเชื้อรา ทาทับหนา 2 ครั้ง โดยความหนาของฟลมเมื่อ
แหงตามมาตรฐานผูผลิต
1.2.3 สีทาฝาเพดานยิปซั่มบอรด
ใหใชสีน้ําอิมัลชั่นที่ทําจากโพลีไวนิลอะเซเตท อะครีลิคเรชั่น มีคุณสมบัติในการตอตาน
เชื้อราและคงทนตอสภาพดินฟาอากาศโดยทั่วไป ไมผสมสารตะกั่ว และสารปรอท ทา
ทับหนา 2 ครั้ง ความหนาของฟลมสี 25-30 ไมครอนส
1.2.4 สีทาภายนอกอาคาร
ใหใชสีประเภท 100% ACRYLIC EMULSION ที่มีเทอรโมพลาสติกอะครีลิคเรชิ่นเปน
องคประกอบ ซึ่งมีความคงทนสูงตอรังสีอุลตราไวโอเล็ต ไมซีดขาวไดงาย ทนทานตอ
ฤทธิ์ดางและไมมีสารตะกั่ว มีประสิทธิภาพ ตอตานเชื้อรา ทับหนา 2 ครั้ง โดยความหนา
ของฟลมเมื่อแหงตามมาตรฐานผูผลิต
1.2.5 สี TEXURE ใชภายนอกอาคาร
ดําเนินการตามมาตรฐานผูผลิตโดยเครงครัด
1.2.6 สีทาอาคารประเภทน้ํามันอะครีลิก (ACRYLIC ENAMEL)
ใหใชสีประเภทน้ํามันอะครีลิค (ACRYLIC ENAMEL)
1.3 ประเภทสีทําผิวโลหะ (STEEL SURFACE PAINT)
1.3.1 สีรองพื้นโลหะทาครั้งแรกดวยสีประเภท RED OXIDE ที่ประกอบดวยผลสี ZINC
CHROMATE โดยที่ความหนาของสีเมื่อแหงไมต่ํากวา 30 ไมครอนส และทาทับครั้ง
ที่ 2 ดวยสีประเภท SPEED UNDER COAT ที่ทําจากใยสังเคราะหพวก ALKYD
จะตองมีความหนาของสีเมื่อแหงไมต่ํากวา 35 ไมครอนส
1.3.2 สีทาทับหนาใหใชสีจําพวก ALKYD ENAMEL ทาทับ 2 ครั้ง โดยมีความหนาของสีเมื่อ
แหงแลวแตละชั้นไมต่ํากวา 30 ไมครอนส
2. งานหินลาง, กรวดลาง, ทรายลาง ใหทาเคลือบดวยน้ํายาเคลือบไสประเภท SILICONE WATER
REPELLENT จํานวน 3 เที่ยว

3. ผลิตภัณฑสีที่ใชใหใชผลิตภัณฑตามที่กําหนด หรือคุณภาพเทียบเทา ดังนี้


1. SHERWIN WILLIAMS
2. ICI
3. TOA
หมายเหตุ 1. น้ํายาผสมที่จําเปนตองใชประกอบในงานทาสี ใหใชผลิตภัณฑชนิดเดียวกับผลิตภัณฑ
สีที่ใชทาอาคารตามกรรมวิธีผูผลิตในกรณีที่ผูผลิตสีทาอาคารไมมีจําหนายใหผูรับจาง
นําวัสดุเทียบเทาพรอมรายละเอียด คุณสมบัติวัสดุ ใหผูควบคุมงานพิจารณาอนุมัติ
2. ใหบริษัทผูผลิตออกหนังสือรับรองผลิตภัณฑสีที่ใชในโครงการใหกับเจาของ
โครงการ และสําเนาใหสถาปนิก และผูควบคุมงานดวย

ตารางรายการสี (PAINT SCHEDULE)


1. สีประเภททาไม (WOOD SURFACE PAINT)
1.1 สีน้ํามัน
1.1.1 สีรองพื้น
SHERWIN WILLIAMS : JW US ALUMINIUM WOOD PRIMER AND SEALER
ICI : DULUX ALUMINIUM WOOD PRIMER SEALER NO
A519-3697
TOA : Gloss
1.1.2 สีทับหนา
SHERWIN WILLIAMS : F65 KEM LUSTRAL ALKYD ENAMEL
ICI : DULUX GLOSS FINISH NO A365-LINE
TOA : Gloss
2. สีประเภททาผิวปูน
2.1 สีน้ําอะครีลิก (ACRYLIC EMULSION PAINT) ใชภายในอาคาร
2.1.1 สีรองพื้น
SHERWIN WILLIAMS : B 49 W 2 STANDARD WALL PRIMER
ICI : DULUX ACRYLIC ALKALI RESISTING PRIMER
A931-1050
TOA : Super shield
2.1.2 สีทับหนา
SHERWIN WILLIAMS : B40 AKRYLITE 100% PURE ACRYLIC INTERIOR
EMULSION
ICI : DULUX PEARL GLO INTERIOR EMULSION
A913-LINE
TOA : Super shield
2.2. สีน้ําอะครีลิค (ACRYLIC EMULSION PAINT) ใชภายในอาคาร
2.2.1 สีรองพื้น
SHERWIN WILLIAMS : B 49 W 2 STANDARD WALL PRIMER
ICI : DULUX ACRYLIC ALKALI RESISTING PRIMER
A931-1050
TOA : Super shield
2.2.2 สีทับหนา
SHERWIN WILLIAMS : B79 LATEX 100% PURE ACRYLIC SEMI-GLOSS
EMULSION
ICI : DULUX WEATHERSHIELD EXTERIOR EMULSION
A901-LINE
TOA : Super shield
สีน้ํามันอะครีลิก (ACRYLIC EMULSION PAINT)
2.2.3 สีรองพื้น
SHERWIN WILLIAMS : B49 SUPER QUALITY WALL PRIMER
ICI : DULUX WEATHERSHIELD S/B PRIIMER A172-3501
TOA : Super shield
2.2.4 สีทับหนา
SHERWIN WILLIAMS : B42 METALATEX GLOSS ENAMEL
ICI : DULUX WEATHERSHIELD S/B ACRYLIC FINISH
A152-LINE
TOA : Super shield
2.3 สี TEXTURE ใชภายนอกอาคาร
2.3.1 สีรองพื้น
SHERWIN WILLIAMS : พน TEXTURE รองพื้น STANDARD WALL PRIMER
ICI : พน DULUX TEXTURE A969 รองพื้น DULUX
ACRYLIC ALKALI RESISTING PRIMER A931-1050
TOA : Super shield
2.3.2 สีทับหนา
SHERWIN WILLIAMS : B79 KEM LATEX 100% PURE ACRYLIC
SEMI-GLOSS EMULSION
ICI : DULUX WEATHERSHIELD EXTERIOR EMULSION
A901-LINE
TOA : Super shield

2.4 สีทาฝาเพดาน (สีน้ําอะครีลิค) ภายในอาคาร


2.4.1 สีรองพื้น
SHERWIN WILLIAMS : B 49 W 2 STANDARD WALL PRIMER
ICI : DULUX ACRYLIC ALKALI RESISTING PRIMER
TOA : Super shield
2.4.2 สีทับหนา
SHERWIN WILLIAMS : ECO PEARL SERIES 3 INTERIOR
ICI : DULUX HOMEMATT INTERIOR EMULSION
A965-LINE
TOA : Super shield
3. สีประเภททําผิวโลหะ (STEEL SURFACE PAINT)
สีน้ํามัน (ALKYD ENAMEL) ใหกับเหล็ก
3.1 สีรองพื้น
SHERWIN WILLIAMS : E41 N 1 KROMIK METAL PRIMER RED OXIDE
ICI : DULUX ANTICORROSIVE PRIMER RED A540-560
TOA : RED LEAD/IRON OXIDE PRIMER
3.2 สีทับหนา
SHERWIN WILLIAMS : F 65 KEM LUSTRAL ALKYD ENAMEL
ICI : DULUX GLOSS FINISH S365-LINE
TOA : SUPERGLOSS
4. SILICONE WATER REPELLENT สําหรับงานกรวดลาง, หินลาง, ทรายลาง
SHERWIN WILLIAMS : A5 V23 SILICONE WATER REPELLENT
ICI : DULUX SILICONE R221 MASSONRY WATER
REPELLENT A273-0185
TOA : RED LEAD TRANSPET
PANEL TRIM SPECIFICATION
End Cap ทํามาจากพลาสติกฉีดขึ้นรูป สี Graphite หรือ สี Light Gray ขนาด 13x50 มม. ความยาวตัดตามขนาดความยาว
ของ Panel
หัวปด End Cap ทํามาจากพลาสติกฉีดขึ้นรูป สี Graphite หรือ สี Light Gray ขนาด 22x29x52 มม.

PANEL TRIM SPECIFICATION


connector Cap 2 Way ทํามาจากพลาสติกฉีดขึ้นรูป สี Graphite หรือ สี Light Gray ขนาด 21.5x67.5x67.5 มม.
L Plate 2 Way ทําจากเหล็กขาวชุบซิงค หนา 3 มม. ผานขั้นตอนการ CNC เจาะและทําการตัดเปนรูปตัว L กวาง 31 มม.
ยาวดานละ 168 มม.
2 Way Cover Post 900 ทํามาจากพลาสติกฉีดขึ้นรูป หนา 2 มม. ใหมีรีศมีความโคง 48 มม. สี Graphite หรือ สี Light Gray ขนาด
50x50 มม. ความยาวตัดตามขนาดความยาวของ Panel ถาตองการที่จะหุมผามีใหเลือก 3 เกรด คือ G1
(Standard), G2 (Premium) และ G3 (Exclusive) โดยใชกาวชนิดพิเศษ ที่สามารถติดแลวผาไมลอกออกงาย
Base Connector 2 Way ทําจากเหล็กขาวชุบซิงค หนา 3 มม. ผานขั้นตอนการ CNC เจาะและพับ ขนาด 50x59 มม.
Love Cover 2 Way ทํามาจากพลาสติกฉีดขึ้นรูป หนา 4 มม. ใหมีรัศมีความโคง 47 มม. สี Graphite หรือ สี Light Gray ขนาด
24.13x74.43x110 มม. ถาตองการที่จะหุมผามีใหเลือก 3 เกรด คือ G1 (Standard), G2 (Premium) และ G3
(Exclusive) โดยใชกาวชนิดพิเศษ ที่สามารถติดแลวผาไมลอกออกงาย

STABILIZERS SPECIFICATION
STABILIZERS สินคาทํามาจากอลูมิเนียมฉีดขึ้นรูป หนา 1.6 มม. พนสีดวยระบบ epoxy power coated และอบความรอน
200 0C สี Graphite / Silver

ADAPTER SPECIFICATION
Wall Adapter โครงสรางทํามาจาก Cold Rolled Steel หนา 1.6 มม. ผานขบวนการ CNC พับขึ้นรูป และพนสีดวยระบบ
epoxy power coated และอบความรอน 200 0C
SPECIFICATIONS
โครงภายใน สวนที่เปนโครงไมดานลาง สูงจากพื้นถึงขอบกระจกลาง ประมาณ 90 ซม. ของความสูงทุกขนาด วัสดุ
ประกอบดวย ไมพารทิเคิลบอรด หนา 35 มม. / 19 มม. / 16 มม. เพาะโครงโดยใชไมเนื้อแข็งเปนตัวค้ําระหวาง
โครงภายใน ปดทับโครงดวยกระดาษอัดหนา 3 มม. ทากาว และนําเขาเครื่องอัดความรอน
ปดแผนโครงดวยฟองน้ําหนา 2 หุน โดยประมาณ หุมดวยผาฝายซึ่งมีผาใหเลือกหลายสี
ผาหุม อุปกรณยึดดานขางเปนอลูมิเนียมฉีดขึ้นรูป 2 ตัวเกี่ยวกัน เพิ่มความแข็งแรงใหกับพารทิชั่น
อุปกรณ วัสดุทําจากอลูมิเนียม หนา 3.16 มม. กวาง 3 ซม. ยาวเทากับขนาดของแผงเซาะรองหนาและหลัง เพื่อประโยชน
คานครอบบน ในการแขวนอุปกรณตางๆ เพื่อความสวยงาม และเพื่อกันความสกปรกดานบนของแผนพารทิชั่น
กระจกกัดลายในตัวแนวนอน หนา 6 มม. ติดดานบนตอจากขอบโครงไมบุผา
- เปนพารทอชั่นครึ่งกระจกพนทรายกั้นเปนสัดสวนในการทํางาน ที่ตองการใหเห็นกันตลอด
กระจก - ความหนาของพารทิชั่นโดยรวม 5.5 ซม.
รูปแบบ - พารทิชั่นสามารถถอดประกอบ และเคลื่อนยายไดสะดวก

PANELS SPECIFICATIO
แผงดิบ โครงสรางดานในประกอบดวยกระดาษรังผึ้ง ความหนา 48 มม. และโครงสรางดานนอกทํามาจากเหล็กชุบซิงก
หนา 0.7 มม. และหุมดวยผาที่มีใหเลือก 3 เกรด คือ G1 (Standard), G2 (Premium) และ G3 (Exclusive)
สําหรับ Panels ที่ไม ไดหุมผาจะพนสีดวยระบบ epoxy power coated และอบความรอน 200 0C ดานลางยึด
ดวยเม็ดปรับขนาด M10x35
Base Trim โครงสรางทํามาจาก Cold Rolled Steel หนา 0.7 มม. ทนทานตอการขูดรีด พนสีดวยระบบ epoxy power
coated และอบความรอน 200 0C
Glazed Panel ใชแผนกระจก ความหนา 5 มม. ทําการเจียรขอบรอบดาน มีใหเลือก 3 แบบ คือ กระจกใส (GC), กระจกฝา
(GF), และกระจกขัดลาย (GS)
เฟรมกระจก โครงสรางทําจากอลูมิเนียมฉีดขึ้นรูปขนาด 38x50 มม. ความยาวตัดตามขนาดความยาวของ Panel พนสีดวย
ระบบ epoxy power coated และอบความรอน 200 0C สี Light Gray ( FL) หรือ สี Graphite (FE) ดานใน
ประกอบกับ คิ้วยางเฟรมกระจก
Top Cap ทํามาจากพลาสติกฉีดขึ้นรูป สี Graphite หรือ สี Light Gray ขนาด 12x52 มม. ความยาวตัดตามขนาดความ
ยาวของ Panel

You might also like