You are on page 1of 4

เหล็กเสริมและงานคอนกรีต > เหล็กเสริมคอนกรีต และการจัดวางเหล็กเสริมคอนกรีต >

เหล็กเสริมคอนกรีต และการจ ัดวางเหล็กเสริมคอนกรีต


โพสต์Feb 3, 2014, 1:19 AMโดยSomprasong Thongrod [ อ ัปเดต Feb 3, 2014, 1:20 AM ]

เนือ
� งจากความต ้านทานของคอนกรีตต่อแรงดึงมีเพียง 10% ของความต ้านทานต่อแรงอัดเท่านัน
� ลําพังคอนกรีตเองจึงไม่สามารถ
รับแรงดึงได ้สูง แต่โดยเหตุทเี� หล็กเป็ นวัสดุทต ั ประสิทธิก
ี� ้านทานต่อแรงดึงได ้ดี อีกทัง� มีสม � การใช ้
� ารยึดหดตัวเท่าๆ กับคอนกรีต ดังนัน
เหล็กเส ้นหรือเหล็กท่อนร่วมกับคอนกรีต โดยหล่ออยูใ่ นเนือ
� คอนกรีตในลักษณะทีใ� ห ้คอนกรีตรับแรงอัด และเหล็กรับแรงดึงจึงได ้
ผลดี การทีใ� ช ้เหล็กเสริมร่วมกับคอนกรีตในลักษณะดังกล่าว เรียกว่า คอนกรีตเสริมเหล็ก การใช ้คอนกรีตห่อหุ ้มเหล็กนี� จะทําให ้
เหล็กทนทานต่อความร ้อน และป้ องกันการเป็ นสนิมผุกร่อนได ้ดี ช่วยให ้เหล็กมีความต ้านทานต่อแรงดึงได ้เต็มที� ดังนัน
� คอนกรีตเสริม
เหล็กจึงมีความต ้านทานต่อแรงต่างๆ ทีก
� ระทําได ้ดีกว่าคอนกรีตล ้วนเพียงอย่างเดียว

เหล็กเสริมคอนกรีตทีใ� ช ้กันอยูต
่ ามธรรมดาทั�วไปเป็ นเหล็กกล ้าละมุน (mild steel) รีดร ้อน มีหน ้าตัดกลมเรียบ และเป็ นเส ้นตรง มี
� ทีไ� ม่ได ้มาตรฐาน อาจสัง� โรงงานทําได ้ หากต ้องการเป็ นจํานวนมาก การซือ
ความยาวมาตรฐาน 10 และ 12 เมตร สําหรับความยาวอืน �
ขายคิดเป็ นกิโลกรัมหรือตัน ไม่ควรใช ้เหล็กเสริมทีม
� ข
ี นาดตํา� กว่า 9 มม. เว ้นแต่เหล็กปลอก หรือเหล็กลูกตัง� ทัง� นีเ� พราะเหล็กขนาด
เล็กมีราคาแพงกว่าเมือ
� คิดตามนํ� าหนัก

เพือ
� ให ้เหล็กเสริมมีกําลังรับแรงดึงได ้ดีจําเป็ นต ้องมีการยึดเหนีย
� วทีด
� รี ะหว่างคอนกรีตกับเหล็กเสริมในสมัยก่อนเหล็กท่อน หรือ
เหล็กเส ้นมีหน ้าตัดกลมเรียบหรือสีเ� หลีย
� ม ซึง� มีแรงยึดเหนีย
� วระหว่างคอนกรีตกับเหล็กไม่ดเี ท่าทีค
� วร ทําให ้เหล็กเสริมไม่สามารถรับ
แรงดึงได ้ดีเท่าทีค ั จึงได ้มีการผลิตเหล็กข ้ออ ้อยซึง� มีปล ้องหรือครีบเกลียวทีผ
� าดหมายไว ้ ในปั จจุบน � วิ ตามความยาว ซึง� ช่วยให ้แรงยึด
เหนีย ึ� มากถึงสองเท่าของเหล็กเส ้นกลม เหล็กเสริมทีใ� ช ้จะลําเลียงมายังทีก
� วระหว่างคอนกรีตกับเหล็กดีขน � อ
่ สร ้างเป็ นมัดๆ และผูก
ป้ ายแสดงเครือ � ๆ ตามขนาดต่างๆ กัน โดยมีทรี� องรับ และปกคลุมมิให ้เปื� อนดินโคลน และฝน
� งหมาย จึงควรเก็บเหล็กเสริมเป็ นชัน
เหล็กเสริมต ้องไม่ชาํ รุด ไม่ดุ ้ง ไม่งอ หรือไม่เป็ นสนิมมาก ในระหว่างทีเ� ก็บ หรือในขณะทีล
� ําเลียงมา เหล็กทีเ� ป็ นสนิมบางๆ สีแดงๆ
นับว่าไม่เสียหาย ความขรุขระทีผ
� วิ จะทําให ้การยึดเหนีย
� วดีขน
ึ� แต่ถ ้าเป็ นสนิมมากจนหนาเป็ นเกล็ด ซึง� จะหลุดโดยง่ายเมือ
� ถูด ้วย
กระสอบ หรือแปรงด ้วยแปรงลวด หรือวิธอ ื� ๆ ก็ควรขจัดออกเสียให ้หมด สิง� ทีม
ี น � ักจะพบเคลือบอยูต
่ ามส่วนต่างๆ ของเหล็กเสริมก็คอ

สี นํ� ามัน ไขมัน โคลนแห ้งๆ มอร์ต ้าบางๆ ทีก
� ระเด็นมาแห ้งติดกรังอยูบ
่ นเหล็กเสริมก่อนทีจ
� ะเทคอนกรีต ถ ้ามอร์ต ้าทีแ
� ห ้งติดอยูน
่ ัน
� มี
กําลังน ้อยหรือไม่มเี ลยก็ควรจะแปรงออกจากเหล็กนัน
� และเอาออกจากแบบให ้หมด แต่ถ ้าแกะออกยากแม ้ปล่อยไว ้เช่นนัน
� ก็อาจจะไม่
เป็ นภัยก็ได ้ แต่ก็ควรทีจ
� ะทําความสะอาดให ้ได ้มากทีส
� ด

การวางเหล็กเสริม ต ้องวางในตําแหน่งทีถ � ก
ู ต ้อง และอย่างน ้อยจะต ้องมีเหล็กเสริมส่วนทีค
� อนกรีตต ้องรับแรงดึง และมีทห
ี� นุนรอง
รับแข็งแรงพอ เพือ� ให ้คอนกรีตหุ ้มถูกต ้องตามแบบ ซึง� อาจเป็ นแท่งคอนกรีต ขาตัง� โลหะ เหล็กปลอก หรือเหล็กยึดระยะเรียงก็ได ้
และยึดไว ้แน่นหนาพอ ซึง� อาจผูกยึดด ้วยลวดเหล็กเบอร์ 18

Translate
ระยะคลาดเคลือ
� นทีย
� อมให ้สําหรับการวางเหล็กเสริมในโครงสร ้างทีร� ับแรงดัดในผนังและเสา มีดงั นี�
- ความลึกประสิทธิผล d ไม่เกิน 50 ซม. ยอมให ้คลาดเคลือ
� นได ้ + 0.50 ซม.
- ความลึกประสิทธิผล d มากกว่า 50 ซม. ยอมให ้คลาดเคลือ
� นได ้ + 1.00 ซม.
สําหรับตําแหน่งดัดเหล็กคอม ้า และตําแหน่งปลายสุดของเหล็กเสริม วัดตามยาวของโครงสร ้าง ยอมให ้คลาดเคลือ
� นได ้+ 5 ซม.
แต่ทงั � นีต
� ้องไม่ทําให ้ความหนาของคอนกรีตทีห
� ุ ้มปลายเหล็กเสริมน ้อยกว่าค่าทีก
� ําหนด

1. ระยะเรียงของเหล็กเสริม

1.1 ระยะเรียงของเหล็กเสริมเอกในผนังหรือพืน
� ต ้องไม่เกิน 3 เท่าของความหนาของผนังหรือพืน
� หรือไม่เกิน 30 ซม.

1.2 ระยะช่องว่างระหว่างผิวเหล็กตัง� ในเสาทุกชนิด ต ้องไม่น ้อยกว่า 1 ½ เท่า ของเส ้นผ่านศูนย์กลางเหล็ก หรือ 1 ½ เท่าของ
ขนาดวัสดุผสมหยาบใหญ่สด

1.3 ช่องว่างระหว่างผิวทีอ � เดียวกันของเหล็กเสริมตามยาวในคาน จะต ้องมากกว่าเส ้นผ่านศูนย์กลางเหล็ก หรือ 1.34 เท่า


� ยูใ่ นชัน
� ให ้ตรงกันเพือ
ของขนาดโตสุดของวัสดุผสมหยาบ หรือ 2.5 ซม. และต ้องเรียงเหล็กแต่ละชิน � เทคอนกรีตได ้สะดวก
1.4 เมือ � ช่องว่างระหว่างผิวเหล็กแต่ละชัน
� เหล็กเสริมตามยาวของคานมีมากกว่าหนึง� ชัน � ต ้องไม่น ้อยกว่า 2.5 ซม. และต ้องเรียง
� ให ้ตรงกัน เพือ
เหล็กแต่ละชัน � เทคอนกรีตได ้สะดวก

2. ความหนาของคอนกรีตทีห
� ม
ุ ้ เหล็ก ทีว� ด ่ ไปนี� (ควรใช ้ตามมาตรฐาน วสท. เป็ นหลัก)
ั จากผิวเหล็ก ต ้องไม่น ้อยกว่าเกณฑ์ตอ

2.1 พืน
� และคานดินทีเ� ทลงบนดินโดยไม่มไี ม ้แบบท ้องคาน …..……….…….6 ซม.

� และคานดินทีใ� ช ้ไม ้แบบท ้องคาน


2.2 พืน
� เี ส ้นผ่านศูนย์กลาง 15 มม. ขึน
สําหรับเหล็กทีม � ไป ………………………….…4 ซม.

� และคานดินทีใ� ช ้ไม ้แบบท ้องคาน


2.3 พืน
� เี ส ้นผ่านศูนย์กลางเล็กกว่า 15 มม. ลงมา……………….……3 ซม.
สําหรับเหล็กทีม

2.4 พืน
� และคานในร่มทีไ� ม่ถก
ู ดิน แดด และนํ� าโดยตรง…………..…………..2 ซม.
ความหนาของคอนกรีตทีห
� ุ ้มปลอกเหล็กของเสาทุกชนิด ต ้องไม่น ้อยกว่า 3 ซม.หรือ 1 ½ เท่า ของขนาดวัสดุผสมหยาบทีใ� หญ่
สุด และต ้องเป็ นเนือ
� เดียวกันกับคอนกรีตภายในแกนเสา

3. การยึดปลายเหล็กเสริมตามยาว

3.1 ปลายเหล็กเสริม ต ้องปล่อยเลยจุดทีไ� ม่ต ้องรับแรงไปอีกไม่น ้อยกว่าความลึกของคานหรือไม่น ้อยกว่า 12 เท่า ของเส ้นผ่าศูนย์
กลางเหล็กเสริมปลายเหล็กเสริม อาจทําเป็ นขอตามข ้อกําหนด “ ของอมาตรฐาน ” และมีระยะทีฝ
� ั งเพียงพอ

3.2 เหล็กเสริมรับโมเมนต์บวก ต ้องยืน


� เข ้าไปในทีร� องรับไม่น ้อยกว่า 15 ซม.เป็ นจํานวนไม่น ้อยกว่าหนึง� ในสามสําหรับคานช่วง
� ําหรับคานต่อเนือ
เดียว และไม่น ้อยกว่าหนึง� ในสีส � ง

3.3 เหล็กเสริมรับโมเมนต์ลบ ไม่น ้อยกว่าหนึง� ในสาม จะต ้องปล่อยเลยจุดดัดกลับโมเมนต์เป็ นระยะไม่น ้อยกว่าความลึกของคาน


หรือหนึง� ในสิบหกของช่องว่างของคาน
4. การต่อดามเหล็กเสริม โดยปกติจะไม่ยอมให ้มีการต่อเหล็กเสริม นอกจากทีแ � สดงไว ้ในแบบหรือได ้ระบุไว ้ การต่อเหล็กเสริมนี�
อาจต่อโดยวิธท � ม หรือการต่อยึดปลายแบบอืน
ี าบ วิธเี ชือ � ๆ ก็ได ้ ทีใ� ห ้มีการถ่ายแรงได ้เต็มที� การต่อเหล็กเสริมโดยปกติ ต ้องมีระยะ
เหลือ� มกันไม่น ้อยกว่า 50 เท่า ของเส ้นผ่านศูนย์กลางสําหรับเหล็กกลม และไม่น ้อยกว่า 40 เท่าของเส ้นผ่านศูนย์กลางสําหรับเหล็ก
ข ้ออ ้อย ควรหลีกเลีย
� งการต่อเหล็กเสริม ณ จุดทีเ� กิดหน่วยแรงสูงสุดเท่าทีจ � ะทําได ้ และไม่ควรใช ้วิธต
ี อ
่ ทาบกับเหล็กทีม ี นาดเส ้นผ่า
� ข
ศูนย์กลางใหญ่กว่า 25 มม. (ควรใช ้ตามมาตรฐาน วสท. เป็ นหลัก)

� ํ ามาต่อทาบกัน จะต ้องไม่น ้อยกว่า 24, 30 และ 36 เท่า ของเส ้น


4.1 การต่อเหล็กเสริมรับแรงดึง ความยาวของเหล็กข ้ออ ้อยทีน
ผ่านศูนย์กลางของเหล็กทีม ี ําลังจุดคลาก 2,800, 3,500 และ 4,200 กก./ซม.2ตามลําดับ หรือไม่น ้อยกว่า 30 ซม.สําหรับเหล็กเส ้น
� ก
ผิวเรียบ ระยะทาบทีใ� ช ้จะเป็ น 2 เท่าของค่าทีก
� ําหนดไว ้สําหรับเหล็กข ้ออ ้อย

4.2 การต่อเหล็กเสริมรับแรงอัด สําหรับคอนกรีตทีม


� ก
ี ําลังอัด 200 กก./ซม.2 หรือสูงกว่านี� ระยะทางของเหล็กข ้ออ ้อยจะต ้องไม่
น ้อยกว่า 20, 24 และ 30 เท่าของเส ้นผ่าศูนย์กลางของเหล็กทีม
� ก
ี ําลังจุดคลากเท่ากับ 3,500 หรือน ้อยกว่า และค่า 4,200 กับ 5,200
กก./ซม.2 ตามลําดับ และต ้องไม่น ้อยกว่า 30 ซม. ถ ้ากําลังอัดของคอนกรีตมีคา่ ตํา� กว่า 200 กก./ซม.2 ระยะทางจะต ้องเพิม
� อีกหนึง�
ในสามของค่าข ้างต ้น สําหรับเหล็กเส ้นผิวเรียบ ระยะทาบอย่างน ้อยจะต ้องเป็ น 2 เท่า ของค่าทีก
� ําหนดไว ้สําหรับเหล็กข ้ออ ้อย

5. เหล็กเสริมตามขวาง

� ว เหล็กยืนทุกเส ้นจะต ้องมีเหล็กปลอกขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลางไม่เล็กกว่า 6 มม.พันโดยรอบ โดยมีระยะเรียง


5.1 ในเสาปลอกเดีย
ของเหล็กปลอกไม่หา่ งกว่า 16 เท่า ของเส ้นผ่านศูนย์กลางเหล็กยืน หรือ 48 เท่าของเส ้นผ่าศูนย์กลางเหล็กปลอก ด ้านแคบทีส
� ด

� จะต ้องจัดให ้มุมของเหล็กปลอกยึดเหล็กยืนตามมุมทุกมุม และเส ้นอืน
ของเสานัน � ๆ สลับเส ้นเว ้นเส ้น โดยมุมของเหล็กปลอกนัน
� ต ้อง
ไม่เกินกว่า 135 องศาเหล็กเส ้นทีเ� ว ้นต ้องห่างจากเส ้นทีถ ู ยึดไว ้ไม่เกิน 15 ซม. ถ ้าเหล็กยืนเรียงกันเป็ นวงกลม อาจใช ้เหล็กปลอก
� ก
พันให ้ครบรอบวงนัน
� ก็ได ้

5.2 ในเสาปลอกเกลียว ต ้องพันเหล็กปลอกเกลียวต่อเนือ


� งกันเป็ นเกลียวทีม
� รี ะยะห่างสมํา� เสมอกัน และยึดให ้อยูต
่ ามตําแหน่ง
อย่างมั�นคงด ้วยเหล็กยึด จํานวนของเหล็กยึดทีใ� ช ้ ขึน
� อยูก ั ขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลางของวงปลอกเกลียว
่ บ เหล็กปลอกควรมีขนาด
ใหญ่พอ (ไม่น ้อยกว่า 6 มม.) และประกอบแน่นหนาพอทีจ
� ะไม่ทําให ้ขาด ทําให ้ระยะทีอ
� อกแบบไว ้คลาดเคลือ
� นเนือ
� งจากการย ้ายและ
ติดตัง� ระยะเรียงศูนย์ถงึ ศูนย์ของเหล็กปลอกเกลียวต ้องไม่เกินหนึง� ในหกของเส ้นผ่านศูนย์กลางแกนคอนกรีต ระยะช่องว่างระหว่าง
เกลียว ไม่หา่ งเกินกว่า 7 ซม.หรือแคบกว่า 3 ซม.หรือ 1 ½ เท่า ของขนาดโตสุดของวัสดุผสมหยาบ การใส่เหล็กปลอกเกลียวต ้อง
พันตลอดตัง� แต่ระดับพืน � ไป ถึงระดับเหล็กเสริมเส ้นล่างสุดของชัน
� หรือจากส่วนบนสุดของฐานรากขึน � เหนือกว่า ในเสาทีม
� ห
ี วั เสาจะ
ต ้องพันเหล็กปลอกเกลียวขึน � วั เสา ขยายเส ้นผ่าศูนย์กลางหรือความกว ้างให ้เป็ นสองเท่าของขนาดเสา
� ไปจนถึงระดับทีห

5.3 ในคาน เหล็กปลอกทีใ� ช ้ต ้องมีขนาดไม่เล็กกว่า 6 มม. และเรียงห่างกันไม่เกิน 16 เท่า ของขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลางของเหล็ก


เสริมหรือ 48 เท่า ของขนาดเส ้นผ่าศูนย์กลางของเหล็กปลอก ในคานทีม
� เี หล็กเสริมรับแรงอัดจะต ้องใส่เหล็กปลอกตลอดระยะทีต
� ้อง
การเสริมเหล็กเสริมรับแรงอัด

� ค.ส.ล. ทีใ� ช ้เป็ นส่วนอาคาร หรือหลังคา ซึง� เสริมเหล็กรับแรงทางเดียว จะต ้องเสริมเหล็กใน


5.4 เหล็กเสริมด ้านการยืดหด ในพืน
แนวตัง� ฉากกับเหล็กเสริมอกเพือ � งจากการยืดหด ขนาดของเหล็กทีใ� ช ้ต ้องไม่เล็กกว่า 6 มม.และเรียงเหล็กห่างกันไม่เกิน 3
� รับแรงเนือ
� หรือ 30 ซม. ปริมาณของเหล็กเสริมทีใ� ช ้จะต ้องมีอต
เท่า ของความหนาของแผ่นพืน ั ราส่วนเนือ
� ทีเ� หล็กต่อหน ้าตัดคอนกรีตทัง� หมด
ไม่น ้อยกว่าค่าทีใ� ห ้ไว ้ ดังนี� (ควรใช ้ตามมาตรฐาน วสท. เป็ นหลัก)
� ซึง� เสริมด ้วยเหล็กเส ้นผิวเรียบ…………………………………………..……….…….0.0025
- พืน
� ซึง� เสริมด ้วยเหล็กข ้ออ ้อย และมีกําลังจุดคลากน ้อยกว่า 4,200 กก./ซม.2……0.0020
- พืน
� ซึง� เสริมด ้วยเหล็กข ้ออ ้อย และมีกําลังจุดคลากเท่ากับ 4,200 กก./ซม.2
- พืน
หรือลวดตระแกรงซึง� ระยะเรียงในทิศทีร� ับแรงห่างไม่เกิน 30 ซม. …….…………….…0.0018

การออกแบบควรทํารูปเหล็กทีจ
� ะต ้องดัดให ้ง่ายๆ และยิง� มีน ้อยอย่างยิง� ดี เพราะทุน
่ ค่าแรงดัด การดัดงดขอต่างๆ ต ้องทําให ้ถูกต ้อง
ตามแบบทีก
� ําหนด มิฉะนัน
� เมือ
� นํ าไปผูกเป็ นโครงจะไม่เข ้ากัน และจะทําให ้เนือ
� คอนกรีตทีห
� ุ ้มเหล็กผิดไปจากทีก
� ําหนด ถ ้าทําได ้ควร
ผูกเป็ นโครงให ้เสร็จเสียก่อน แล ้วจึงยกเข ้าใส่ในแบบ ซึง� มีทห
ี� นุนรองรับอยูใ่ ห ้สูงพ ้นแบบตามทีต
� ้องการ

บทความโดย : ภควัต รักศรี ผู ้จัดการงานวิจัยสูเ่ ชิงพาณิชย์ มจพ.


http://www.coe.or.th/

You might also like