You are on page 1of 17

บทที่ 2

เอกสารงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง

จากการที่ได้ทาการศึกษาค้นคว้า ข้อมูล ที่ เกี่ ยวกับแท่นอัดไฮดรอลิ กส์ ขนาดเล็กซึ่ งได้ศึกษา


ค้นคว้าจากหนังสื อเรี ยน และจ้อมูลจาก ทาง Internet ในเรื่ องของแท่นอัดไฮดรอลิกส์ขนาดเล็กและอีกทั้ง
ยังสอบถามความรู ้ จากผูเ้ ชี่ ยวชาญที่มีความรู ้ ในเรื่ องที่ เกี่ ยวข้องกับงานที่ ศึกษาและยังรวมไปถึงผูท้ ี่ใช้
แท่นอัดไฮดรอลิกส์ขนาดเล็กมีรายละเอียดที่สาคัญดังนี้
1. เหล็ก
2. สปริ ง
3. ระบบไฮดรอลิค
4. สี
5. งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง

2.1 เหล็ก
ข้อมูลนี้จดั ทาขึ้นโดยบมจ. จี สตีล เพื่อสร้างความรู ้ความเข้าใจที่ถูกต้องให้แก่สาธารณชนหรื อผู ้
ที่สนใจโดยนาเสนอเนื้ อหาที่เข้าใจได้ง่ายในเวลาอันสั้นจึงไม่เหมาะสมนาการใช้อา้ งอิงในทางวิชาการ
บมจ. จี สตีลขอสงวนสิ ทธิ์ ไม่รับผิดชอบต่อความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนหรื อข้อบกพร่ องการเผยแพร่ เนื้ อหา
สาระที่ปรากฏนี้ แต่อย่างใด"เหล็ก"เป็ นคาที่คนไทยทัว่ ไปนิ ยมใช้เรี ยกเหมารวมกันหมายถึงเหล็ก (iron)
และเหล็กกล้า (steel) ซึ่ งในความเป็ นจริ งนั้น วัสดุ ท้ งั 2 อย่างนี้ ไม่เหมือนกันหลายประการ อย่างไรก็ดี
เหล็กเป็ นวัสดุพ้ืนฐานที่สาคัญยิ่งในการพัฒนาสังคมและความเป็ นอยูข่ องมนุ ษย์ต้ งั แต่อดีตจนถึงปั จจุบนั
และต่อไปในอนาคตอีกนานแสนนาน
เหล็ก (iron) สัญลักษณ์ทางวิทยาศาสตร์ Feคือแร่ ธาตุโลหะชนิดหนึ่งที่มีอยูใ่ นธรรมชาติ ส่ วน
ใหญ่มีสีแดงอมน้ าตาลโดยปกติสามารถดูดติดแม่เหล็กได้ พบมากในชั้นหิ นใต้ดินบริ เวณที่ราบสู งและ
ภูเขาอยูใ่ นรู ปก้อนสิ นแร่ เหล็ก (iron ore) ปะปนกับโลหะชนิดอื่นๆ และหิ นเมื่อนามาใช้ประโยชน์จะต้อง
ผ่านการทาให้บริ สุทธิ์ ดว้ ยกรรมวิธีการ "ถลุง" (ใช้ความร้อนสู งเผาให้สินแร่ เหล็กกลายเป็ นของเหลวใน
ขณะที่กาจัดแร่ อื่นที่ไม่ตอ้ งการออกไป) นอกจากนี้ธาตุเหล็กยังเป็ นสารอาหารที่ร่างกายคนเราต้องการ
เนื่องจากเป็ นองค์ประกอบสาคัญในเม็ดเลือดแดงของเราอีกด้วย กล่าวคือคนที่ขาดธาตุเหล็กจะเป็ นโรค
โลหิ ตจางได้ง่าย ดังรู ปที่ 2.1
5

รู ปที่ 2.1 เหล็กดิบมีสีแดงอมน้ าตาล

เหล็กกล้า (steel) คือโลหะผสมชนิดหนึ่ง โดยทัว่ ไปเหล็กกล้าหมายความถึง "เหล็กกล้าคาร์ บอน


(carbon steel)" ซึ่งประกอบด้วยธาตุหลักๆ คือ เหล็ก (Fe) คาร์บอน (C) แมงกานีส (Mn) ซิลิคอน (Si) และ
ธาตุอื่นๆ อีกเล็กน้อยเหล็กกล้าเป็ นวัสดุโลหะที่ไม่ได้มีอยูต่ ามธรรมชาติ แต่ถูกผลิตขึ้นโดยฝี มือมนุษย์
(และเครื่ องจักร) โดยตั้งอยูบ่ นพื้นฐานของการปรับปรุ งเหล็ก (Fe/iron) ให้มีคุณสมบัติโดยรวมดียงิ่ ขึ้น
เช่น แปรเปลี่ยนรู ปได้ตามที่ตอ้ งการ แข็งแรงยืดหยุน่ ทนทานต่อแรงกระแทกหรื อสภาวะทางธรรมชาติ
สามารถรับน้ าหนักได้มากไม่ฉีกขาดหรื อแตกหักง่าย เป็ นต้น เหมาะสมในการใช้งานในด้านต่างๆใน
ชีวติ ประจาวันของคนเราได้อย่างหลากหลาย ด้วยต้นทุนที่ต่าเพื่อให้ขายได้ในระดับราคาที่คนทัว่ ไปซื้ อหา
มาใช้ได้ซ่ ึ งนับว่ามีขอ้ ได้เปรี ยบดีกว่าวัสดุอื่นๆมาก ดังรู ปที่ 2.2

รู ปที่ 2.2 เหล็กกล้า


6

เหล็กกล้าคาร์ บอน เป็ นวัสดุ พ้ืนฐานที่คนเราใช้ในชี วิตประจาวันหากประเมินสัดส่ วนการใช้


เหล็กกล้าคาร์ บอนอาจคิดเป็ นประมาณมากกว่า 80% ของการใช้เหล็กกล้าทั้งหมดในโลกนี้ ส่ วนที่เหลื อ
เป็ นเหล็กกล้าเจือ (alloy steel) ชนิ ดต่างๆ ได้แก่ เหล็กกล้าไร้ สนิ ม หรื อที่นิยมเรี ยกกันว่า "สแตนเลส"
(stainless steel), เหล็กกล้าไฟฟ้ า , เหล็กกล้าเครื่ องมื อ เป็ นต้นเนื่ องจากเหล็กและเหล็กกล้าเป็ นวัส ดุ ที่
สามารถนากลับมาใช้ใหม่ (recycle) ได้ 100% ในปั จจุบนั การผลิตเหล็กกล้า อย่างที่โรงงาน"จีสตีล"ของ
เราได้ทามาตั้งแต่เปิ ดโรงงานจวบจนทุกวันนี้จึงนิยมใช้กระบวนการผลิตที่นาเศษเหล็กที่ไม่ใช้แล้วกลับมา
ใช้ใ หม่ โดยการหลอมด้วยเตาอาร์ คไฟฟ้ าที่ เป็ นเทคโนโลยีช้ ันสู งสมัยใหม่ เพื่อให้ไ ด้น้ า เหล็ กที่ นามา
ปรับปรุ งคุ ณสมบัติต่างๆให้ตรงกับความต้องการของลู กค้าต่อไปซึ่ งกรรมวิธีน้ ี ถือเป็ นการช่ วยอนุ รักษ์
พลังงานและสิ่ งแวดล้อมได้ดีกว่าการผลิ ตแบบดั้งเดิ มที่ดว้ ยวิธีการถลุ งสิ นแร่ ดว้ ยเตาสู ง (blast furnace)
ในแง่ ของการใช้พลังงานสะอาดด้วยไฟฟ้ าเมื่ อเที ยบกับการใช้ถ่านหิ นที่ ปล่อยคาร์ บอนและก๊าซเรื อน
กระจกอื่นออกสู่ ช้ นั บรรยากาศและการนาเศษเหล็กกลับมาใช้ใหม่เท่ากับเป็ นการลดขยะของโลกลงอีก
ด้วยส่ วนน้ าดิบที่ใช้ในกระบวนการผลิ ตของโรงงาน"จี สตีล"นั้นเราใช้หมุนเวียนอยูภ่ ายในระบบปิ ด จึง
ไม่กระทบต่อระบบนิเวศของชุมชนแต่อย่างใดอีกด้วย ดังรู ปที่ 2.3

รู ปที่ 2.3 เหล็กกล้าคาร์บอน

ข้อแตกต่างระหว่างเหล็ก (iron) กับเหล็กกล้า (steel) mที่สาคัญได้แก่


1. เหล็กกล้าผลิตจากเหล็กที่ผา่ นการกาจัดคาร์ บอนออกไปให้เหลืออยูน่ อ้ ยกว่า 2% (โดย
น้ าหนัก) ทาให้มีความบริ สุทธิ์ ของเหล็กสู งกว่า 94% และมีธาตุอื่นประกอบอยูเ่ พียงเล็กน้อย
2. เหล็กกล้ามีความยืดหยุน่ คงทน สามารถดัดเป็ นรู ปร่ างต่างๆ ได้ดีกว่าและใช้งานได้
หลากหลายกว่าเหล็กเนื่องจากผ่านกรรมวิธีในการปรับปรุ งคุณภาพในกระบวนการหลอมน้ าเหล็กแล้ว
3. เหล็กมีความแข็งกว่าเหล็กกล้าแต่เหล็กมีความแข็งแรงน้อยกว่าเหล็กกล้า
4. การเปลี่ยนแปลงรู ปร่ างรู ปทรงของเหล็กทาได้โดยการตีข้ ึนรู ปหรื อหลอมเหลวเป็ นน้ า
เหล็ ก แล้วเทลงในเบ้า หล่ อหรื อแม่ พิ ม พ์ (เราเรี ย กวิธี น้ ี ว่า "การหล่ อ") เช่ น การตี ดาบ การหล่ อแท่ น
เครื่ องยนต์ในขณะที่เราเปลี่ยนรู ปร่ างหรื อรู ปทรงของเหล็กกล้าโดยการรี ด (ด้วยเครื่ องลูกกลิ้งที่เรี ยกว่า"
แท่นรี ด") การพับ ม้วน เชื่อม กระแทก กด ขึ้นรู ปฯลฯ ซึ่ งหลากหลายวิธีตามความต้องในการแปรรู ป
7

เช่น พับเป็ นเหล็กฉากม้วนแล้วเชื่อมเป็ นท่อ กดและขึ้นรู ปเป็ นชิ้นส่ วนรถยนต์ เป็ นต้น
5. เหล็กกล้ามีช้ นั คุณภาพ (เกรด) หลายหลากมากมาย ตามมาตรฐานของแต่ละประเทศ
และตามข้อกาหนดเฉพาะของลูกค้าแต่ละราย ในขณะที่เหล็กมีจานวนชั้นคุณภาพน้อยกว่ามาก หมายถึง
การนาไปใช้งานที่มีจากัดด้วย

เหล็กแผ่นมีความแตกต่างจากเหล็กเส้นอย่างสิ้ นเชิงในหลายๆ แง่ ดังต่อไปนี้


1. เหล็กเส้นเกือบ 100% ใช้ในการก่อสร้ างเป็ นหลักแต่เหล็กแผ่นสามารถนาไปใช้งาน
หลากหลายกว่ามาก ได้แก่ การก่อสร้างงานโครงสร้างต่างๆ อุตสาหกรรมการผลิต รถยนต์ จักรยานยนต์
เรื อ ยานพานะ บรรจุ ภ ัณ ฑ์ ง านชลประทาน ระบบโครงสร้ า งสาธารณู ป โภคต่ า งๆ ป้ า ยสั ญ ญาณ
เฟอร์นิเจอร์ เป็ นต้น
2. การผลิ ตเหล็กเส้น ต้องใช้เครื่ องจักรต่างชนิ ดจาก การผลิ ตเหล็กแผ่นดังนั้นโรงงาน
หนึ่งๆ มักผลิตเหล็กเส้นหรื อเหล็กแผ่นอย่างใดอย่างหนึ่งถ้าหากผลิตทั้งสองอย่าง จะต้องลงทุนเครื่ องจักร
2 ทั้งชนิด (สายการผลิต 2 สาย) เป็ นมูลค่ามหาศาล
3. การผลิ ต เหล็ ก แผ่น จ าเป็ นต้อ งใช้ ว ตั ถุ ดิ บ ที่ มี คุ ณ ภาพสู ง กว่า การผลิ ต เหล็ ก เส้ น
เนื่ องจากระดับคุ ณภาพโดยทัว่ ไปที่สูงกว่าต้องการความบริ สุทธ์ของเนื้ อเหล็กกล้าและผิวเหล็กแผ่นที่ดี
และสะอาดกว่าตามวัตถุประสงค์ในการใช้งานที่ต่างกัน
เหล็กแผ่นรี ดร้ อน คือเหล็กกล้าที่มีรูปทรงเป็ นแผ่น (ลักษณะแบน) ผลิ ตด้วยกรรมวิธีรีดร้ อน
(ด้วยลู กกลิ้งหรื อแท่นรี ดขนาดใหญ่) ซึ่ งทาให้แท่งเหล็กกึ่ งสาเร็ จรู ปที่เรี ยกว่า "สแลบ (slab)" มีขนาด
ความหนาลดลงจาก 100 มิลลิเมตร (ตามข้อกาหนดของจี สตีล) เป็ นแผ่นที่มีความหนาบางลงอยูใ่ นช่ วง
1.00 ถึง 13.00 มิลลิ เมตร ตามที่ลูกค้าต้องการเหล็กแผ่นรี ดร้ อนเมื่ อผลิ ตเสร็ จแล้วจะอยู่ในลักษณะเป็ น
ม้วน (coil) เรี ยกว่า "เหล็กแผ่นรี ดร้ อนชนิ ดม้วน (hot-rolled coil)" หรื อ "เหล็กม้วนดา (black coil)" เพื่อ
ประสิ ทธิ ภาพในการเก็บรักษา เคลื่อนย้ายและขนส่ ง อย่างไรก็ดีเมื่อลูกค้าต้องการสิ นค้าเป็ นเหล็กแผ่นรี ด
ร้ อนชนิ ดแผ่นโรงงานจะทาการตัดแบ่งเหล็กม้วนเป็ นแผ่นตามขนาดความยาวและความกว้างที่ลูกค้า
ต้องการได้อีกด้วยการนาไปใช้งาน
เหล็กแผ่นรี ดร้อนสามารถนาไปใช้งานได้หลากหลายมากโดยการใช้งานหลักๆ (มากกว่า 80%)มีดงั นี้
1. รี ดเย็นต่อ - กลายเป็ นเหล็กแผ่นรี ดเย็นสาหรับแปรรู ปเป็ นผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องมากมาย
2. กัดล้างผิวและเคลื อบน้ ามัน -กลายเป็ นเหล็กแผ่นรี ดร้ อนชนิ ดกัดล้างผิวและเคลื อบน้ ามัน
(pickled and oiled hot-rolled steel) สาหรับแปรรู ปเป็ นผลิตภัณฑ์ต่อเนื่ องมากมาย
3. แปรรู ป - เป็ นเหล็กโครงสร้างรู ปพรรณ ลักษณะต่างๆ เช่น ฉาก (รู ป L) ท่อ (ทรงกระบอก)
รางน้ า (U) ตัวซี (C) เป็ นต้น สาหรับใช้ในการก่อสร้าง งานวิศวกรรมโยธาและงานโครงสร้าง
4. ตัดแผ่น - ขายปลีก สาหรับใช้ในงานอุตสาหกรรม งานก่อสร้าง หรื องานช่างทัว่ ไป
5. ผลิตถังก๊าซ ถังคอมเพรสเซอร์ (ระบบทาความเย็น) ถังแรงดัน
8

6. ผลิตท่อก๊าซ ท่อน้ ามันและปิ โตรเคมี


1. การแบ่งประเภทของเหล็ก
เราสามารถแบ่งเหล็กออกเป็ นกลุ่มกว้างๆได้2กลุ่มโดยพิจารณาปริ มาณของธาตุคาร์ บอน
ที่มีอยู่ในเหล็ก โดยแบ่งออกได้เป็ นเหล็กหล่อ คือเหล็กที่มีปริ มาณธาตุคาร์ บอนมากกว่า 1.7% หรื อ 2%
ซึ่ งเหล็กชนิ ดนี้ จะขึ้นรู ปได้ดว้ ยวิธีหล่อเท่านั้นเพราะปริ มาณคาร์ บอนที่สูงทาให้โครงสร้างมีคุณสมบัติที่
แข็งเปราะจึ งไม่สามารถขึ้ นรู ปด้วยวิธีการรี ดทางกลอื่ นๆได้ เรายังสามารถแบ่งย่อยเหล็กหล่อออกได้
หลายประเภท โดยพิจารณาโครงสร้างทางจุลภาพ กรรมวิธีทางความร้อน ชนิดและปริ มาณของธาตุผสม
ได้แก่
1. เหล็กหล่อขาว (white cast iron) เป็ นเหล็กหล่อที่มีปริ มาณซิ ลิคอนต่ากว่าเหล็กหล่อเทา ทาให้
ไม่เกิดโครงสร้างคาร์ บอนในรู ปภาพไฟต์ โดยคาร์ บอนจะอยูใ่ นรู ปคาร์ ไบด์ของเหล็ก (Fe3C) ที่เรี ยกว่า ซี
เมนไตต์ เป็ นเหล็กที่มีความแข็งแรงสู งทนการเสี ยดสี แต่จะเปราะ ดังรู ปที่ 2.4

รู ปที่ 2.4 เหล็กหล่อขาว

2. เหล็กหล่อกราฟไฟต์กลมหรื อเหล็กหล่อเหนี ยว(spheroidal graphite cast iron, doctile cast iro)


เป็ นเหล็กหล่อเท่าที่ผสมธาตุแมกนี เซี ยมหรื อธาตุซีเรี ยมลงไปในน้ าเหล็ก ทาให้กราฟไฟต์ที่เกิดเป็ นกลุ่ม
และมีรูปร่ างกม ซึ่ งส่ งผลถึงคุณสมบัติทางกลในทางที่ดีข้ ึน ดังรู ปที่ 2.5

รู ปที่ 2.5 เหล็กหล่อกราฟไฟต์กลมหรื อเหล็กหล่อเหนียว


9

3. เหล็กหล่ออบเหนียว (malleable cast iron) เป็ นเหล็กหล่อขาวที่นามาอบในบรรยากาศพิเศษ


เหล็กรอบ ๆที่มีปริ มาณคาร์ บอนลดลงปรับโครงสร้างกลายเป็ นเฟอร์ ไรต์หรื อเพิร์ลไลต์ เหล็กชนิดนี้จะมี
ความเหนียวดีกว่าเหล็กหล่อขาว แต่จะด้อยกว่าเหล็กหล่อกราฟไฟต์กลมเล็กน้อย ดังรู ปที่ 2.6

รู ปที่ 2.6 เหล็กหล่ออบเหนียว

4. เหล็กหล่อโลหะผสม ( alloy cast iron) เป็ นเหล็กหล่อที่เติมธาตุผสมอื่น ๆลงไปในปริ มาณที่


ค่อนข้างมาก เพื่อปรับปรุ งคุณสมบัติเฉพาะด้านให้ดียงิ่ ขึ้น เช่นเติมนิกเกิลและโครเมียมเพื่อปรับปรุ ง
คุณสมบัติดา้ นทนการเสี ยดสี และทนความร้อน ดังรู ปที่ 2.7

รู ปที่ 2.7 เหล็กหล่อโลหะผสม

2.2 สปริง
ชิ้นส่ วนชนิดหนึ่งที่เมื่อเราใส่ ภาระโหลด ไม่วา่ จะเป็ นการดึง การกด การบิด เมื่อเราเอาโหลด
ออกสปริ งจะกลับคืนตัวกลับสู่ ตาแหน่งเดิมได้อย่างรวดเร็ ว ดังรู ปที่ 2.8
10

รู ปที่ 2.8 ตัวอย่างของสปริ ง

2.2.1 สปริ งสามารถทาหน้าที่อะไรได้บา้ ง ?


1.ใช้วดั แรง เช่น สปริ งภายในตาชัง่ สปริ ง
2.ใช้ทาหน้าที่เป็ นชิ้นของเครื่ องจักรกลให้มีการเคลื่อนที่กลับสู่ ตาแหน่งเดิมเช่นในวาล์วควบคุมทิศทาง
3.ใช้ส่งแรงจากชิ้นส่ วนหนึ่ งไปยังอีกชิ้นส่ วนหนึ่ ง

2.2.2 ประเภทของสปริ ง
1.สปริ งขดแบบกด (Compression springs) สปริ งประเภทนี้ ใช้สาหรั บรองรั บการกดยุบตัว ซึ ง
เพื่อน ๆ สามารถพบเห็นได้ทวั่ ไปในชี วิตประจาวันนั้นก็คือ สปริ งกดในปากกา จริ ง ๆ แล้วสปริ งรู ปแบบ
กดมีรูปแบบปลายของสปริ ง
ให้เลือกใช้งานถึง 4 รู ปแบบดังนี้

รู ปที่ 2.9 ปลายธรรมดา (Plain ends)


11

รู ปที่ 2.10 ปลายธรรมดาและเจียรไน (Ground end)

รู ปที่ 2.11 ปลายตรง (Square ends)

รู ปที่ 2.12 ปลายตรงและเจียรไน (Square ground end)

2.2.3 สปริ งขดแบบดึง (Tension springs) สปริ งประเภทนี้ นิยมนาไปใช้งานไม่นอ้ ยไปกว่าสปริ ง


แบบกด ตัวอย่างเช่น ใช้งานในตาชัง่ สปริ ง เพื่อให้สปริ งขดแบบดึงสามารถรับแรงดึงได้ สปริ งชนิ ดนี้จึง
มักทาปลายของสปริ งเป็ นรู ปตะขอหรื อห่ วง เพื่อใช้เกี่ยวกับสิ่ งที่ตอ้ งการให้ออกแรงดึง นอกจากนั้นยังมี
มุมของตะขอที่สามารถกาหนดได้ ดังรู ปที่ 2.13-14

สปริงขดแบบดึง รู ปแบบตะขอ มุม 90° สปริงขดแบบดึง รู ปแบบห่ วง มุม 180°

รู ปที่ 2.13 สปริ งขดแบบดึง รู ปแบบตะขอ รู ปที่ 2.14 สปริ งขดแบบดึง รู ปแบบห่วง
มุมของตะขอและห่วงที่สามารถเลือกใช้งานได้
12

2.2.4 สปริ งขดแบบบิด (Torsion springs)สปริ งประเภทนี้ ปลายของสปริ งจะเป็ นปลายตรงทาซึ่ ง


ทามุมกัน โดยทัว่ ไปจะมีมุมให้เลือกอยูด่ ว้ ยกัน 3 ค่านั้นก็คือ 90° 135° และ 180° ใช้รับแรงบิดรอบแกน
ของสปริ ง เช่น สปริ งที่ติดตั้งอยูใ่ นส่ วนบานประตู สปริ งชนิดนี้ ดังรู ปที่ 2.15 และ 2.16

รู ปที่ 2.15 สปริ งขดแบบบิด (Torsion springs)

รู ปที่ 2.16 สปริ งขดแบบบิดที่มีจาหน่ายตามท้องตลาด ได้แก่ มุม 90° 135° และ 180°

2.3 ระบบไฮดรอลิค
ระบบไฮดรอลิค (Hydraulic) เป็ นระบบที่มีการส่ งถ่ายพลังงานของของไหลที่เป็ นตัวขับเคลื่ อน
ในการทางานในรู ป ของอัตราการไหลและความดันเปลี่ ย นเป็ นพลังงานกล โดยผ่า นตัวกระท า เช่ น
กระบอกสู บ มอเตอร์ ไ ฮดรอลิ ค ในอุ ต สาหกรรมและงานก่ อ สร้ า งต่ า งๆ นิ ย มใช้ น้ า มัน ไฮดรอลิ ค
(Hydraulic Oil) เป็ นตัวกลางในการส่ งถ่ายพลังงาน เพราะว่าน้ ามันไฮดรอลิคมีคุณสมบัติที่สาคัญ คือ ไม่
สามารถยุบตัวได้ทาให้การส่ งถ่ายพลังงานมีประสิ ทธิ ภาพ
ระบบไฮดรอลิค เบื้องต้น ประกอบไปด้วย 3 ส่ วน ดังนี้
แหล่งจ่ายพลังงานทาหน้าที่ส่งถ่ายพลังงานน้ ามันเข้าสู่ ระบบ โดยมีมอเตอร์ ไฟฟ้ า หรื อเครื่ องยนต์เป็ นตัว
ขับ (Drive) ปั๊ มไฮดรอลิ คให้หมุน เพื่อที่จะดู ดน้ ามันจากถังพักเข้ามาในตัวเสื้ อของปั๊ ม แล้วส่ งออกไปสู่
ระบบไฮดรอลิค ซึ่ งจะประกอบไปด้วยอุปกรณ์ต่างๆ ดังนี้
 ปั๊ มไฮดรอลิค (Hydraulic pump)
 มอเตอร์ไฟฟ้า หรื อ เครื่ องยนต์ขบั (Electric motor or driving engine)
 ถังพักน้ ามัน (Oil Tank)
13

 ไส้กรองน้ ามัน (Oil filter)


 ที่ดูระดับน้ ามัน (Oil level)
 ฝาเติมน้ ามัน และระบบระบายอากาศ (Fuel filler lid and ventilation system)
ระบบควบคุมการทางาน
 ควบคุมทิศทางการไหลของน้ ามันไฮดรอลิค ทาให้กระบอกเคลื่อนที่ เข้า-ออก ได้ เช่น โซลินอยด์
วาล์ว เป็ นต้น
 ควบคุ มความดันของน้ ามันไฮดรอลิ คในระบบ เพื่อจากัดความดันให้เป็ นไปตามต้องในการใช้

งานต่างๆ อุปกรณ์ที่ใช้ควบคุมความดัน ได้แก่


o วาล์วลดความดัน

o วาล์วควบคุมลาดับการทางาน

o วาล์วลัดวงจร

 ควบคุ มปริ มาณการไหล เพื่อควบคุ มปริ มาณการไหลของน้ ามันไฮดรอลิ คให้เหมาะสม ทาให้

สามารถควบคุมความเร็ วของอุปกรณ์ทางานได้ช่ ึงมีอยู่ 2 ซนิด คือ


o ชนิ ดปรับช่องทางออก

o ชนิ ดเปิ ดออกช่องทางผ่าน

อุปกรณ์ทางาน
ทาหน้าที่เปลี่ยนแปลงพลังงานจากพลังงานไฮดรอลิคเป็ นพลังงานกล เพื่อกระทาต่อภาวะโหลด ส่ วน
ใหญ่อุปกรณ์ทางานจะมีสองประเภทใหญ่ ๆ คือ
 กระบอกสู บ จะส่ งถ่ายพลังงานในแนวเชิงเส้น
 มอเตอร์ ไฮดรอลิค จะส่ งถ่ายพลังงานในแนวรัศมี
จะเห็ นได้ว่าในปั จจุ บนั นี้ ระบบไฮดรอลิ คเป็ นระบบที่ ใช้งานกันอยู่อย่างกว้างขวาง และสิ่ งที่ ตอ้ งการ
นาไปใช้ ก็คือ งาน หรื อแรง ที่เกิดจากระบบไฮดรอลิค เช่น การเอาแรงจากกระบอกไฮดรอลิคไปกด อัด
หรื อตัดชิ้นงานและการขับ ดังนั้นหากท่านมีความรู ้พ้ืนฐานเกี่ยวกับส่ วนประกอบของระบบไฮดรอลิ คก็
ท าให้ส ามารถเข้า ใจการท างานของระบบไฮดรอลิ ค ได้ และใช้ง านจากระบบไฮดรอลิ ค ได้อ ย่า งมี
ประสิ ทธิภาพ

2.3.1 สายไฮดรอลิค (Hydraulic Hose)ใช้สาหรับการส่ งของเหลวไปยังอุปกรณ์ระบบไฮดรอลิกที่


ขับเคลื่อนด้วยความดัน เช่น เครื่ องจักรกล, รถยนต์, เครื่ องฉี ดน้ า, ปั้ มน้ า และอีกมากมาย ดังรู ปที่ 2.17
14

รู ปที่ 2.17 สายไฮดรอลิค

2.3.2 น้ ามันไฮดรอลิคน้ ามันไฮดรอลิค ระบบไฮดรอลิค คือ การใช้ของเหลวภายใต้แรงดันสู งๆ


เพื่อส่ งถ่ายกาลังจากจุ ดหนึ่ งไปยังอี กจุดหนึ่ งและในเวลาเดี ยวกันก็จะให้แรงเป็ นเท่าทวีคูณด้วย ใช้กนั
แพร่ หลายทั้งในอุตสาหกรรมและยานยนต์ ดังรู ปที่ 2.18

รู ปที่ 2.18 น้ ามันไฮดรอลิค

2.3.3 ปั้ มไฮดรอลิคมีหน้าที่เก็บน้ ามัน แล้วแปลงพลังงานจาก พลังงานของเหลว เป็ น พลังงานกล


ดังรู ปที่ 2.19
15

รู ปที่ 2.19 ปั้ มไฮดรอลิค

วาล์วไฮดรอลิค คืออะไร
เป็ นอุปกรณ์ ที่ใช้ควบคุ มทิศทางของน้ ามัน เพื่อนาไปควบคุ ม Actuator เช่ น กระบอกสู บ หรื อ
มอเตอร์ ไฮดรอลิ กให้หยุดหรื อเคลื่ อนที่ ไปในทิ ศทางที่ ตอ้ งการโดยวาล์วควบคุ มทิ ศทางสามารถแบ่ ง
ออกเป็ น 2 ลักษณะตามการควบคุม วาล์วควบคุมทิศทางชนิดใช้ไฟฟ้าควบคุม (Solenoid control valves),
วาล์วควบคุมทิศทางแบบทางกล (Manual operate valves)
โซลิ น อยด์ ว าล์ ว (Solenoid Valve) คื อ อุ ป กรณ์ ป ระเภทวาล์ ว ที่ ท างานด้ว ยไฟฟ้ า โดยมี ท้ ัง
หลากหลายรู ปแบบ เช่ น 2/2, 3/2, 4/2, 5/2 และ 5/3 โดยโซลินอยด์วาล์ว (Solenoid Valve) จะถูกใช้เพื่อ
การควบคุมการเปิ ด-ปิ ดของเหลวและก๊าซ ส่ วนวาล์วชนิ ด 3/2, 4/2, 5/2 และ 5/3 จะใช้กบั ระบบนิ วเมติก
และไฮดรอลิคเป็ นส่ วนใหญ่
วาล์วไฮดรอลิ กควบคุ มทิศทางแบบมือโยกใช้ควบคุ มทิศทางการไหลของน้ ามัน ให้ไหลไปใน
ทิศทางที่ตอ้ งการ โดยใช้การโยกมือโยกเพื่อเปลี่ ยนตาแหน่ งของก้านวาล์วเพื่อกาหนกทิศทางการไหล
ของน้ ามันไฮดรอลิ ก โดยวาล์วไฮดรอลิ กควบคุ มทิ ศทางแบบมื อโยกจะมี ท้ งั แบบล๊อคตาแหน่ ง (Ball
locking) และ แบบดันกลับด้วยสปริ ง (Spring return) โดนวาล์วลักษณะนี้ มกั จะพบในระบบที่เคลื่ อนที่
เช่น ในรถ หรื อเรื อ เนื่องจากมีโครงสร้างไม่ซบั ซ้อน และสะดวกในการควบคุมการทางาน
2.3.4 วาล์วควบคุมอัตราการไหล(Flow Control Valves)
วาล์วไฮดรอลิกควบคุมอัตราการไหล จะใช้ควบคุมความเร็ วของลูกสู บโดยการปรับเปลี่ยนขนานช่องทาง
ของวาล์วที่ให้น้ ามันไหลผ่านเพื่อควบคุมอัตราการไหลของน้ ามันไฮดรอลิกให้มีแรงดันที่เหมาะสมระบบ
วาล์วปรับอัตราการไหลทางเดียว (One way flow control valve) ดังรู ปที่ 2.20
16

รู ปที่ 2.20 วาล์วควบคุมอัตราการไหล

2.3.5 โซลินอยด์วาล์ว (Solenoid Valve)ใช้โซลินอยด์วาล์ว (Solenoid Valve) คือ อุปกรณ์ประเภท


วาล์วใช้ควบคุมทิศทางที่ทางานด้วยไฟฟ้า ดังรู ปที่ 2.21

รู ปที่ 2.21 โซลินอยด์วาล์ว

2.3.6 วาล์วควบคุมทิศทางแบบทางกล (Manual operate valves)วาล์วไฮดรอลิกควบคุมทิศทาง


แบบมือโยกใช้ควบคุมทิศทางการไหลของน้ ามัน ให้ไหลไปในทิศทางที่ตอ้ งการ โดยใช้การโยกมือโยก
ดังรู ปที่ 2.22
17

รู ปที่ 2.22 วาล์วควบคุมอัตราการไหล

2.3.7 วาล์วควบคุมอัตราการไหล (Flow Control Valves)วาล์วไฮดรอลิกควบคุมทิศทางแบบมือ


โยกใช้ควบคุมทิศทางการไหลของน้ ามัน ให้ไหลไปในทิศทางที่ตอ้ งการ โดยใช้การโยกมือโยก

2.4 สี

สี (COLOUR) หมายถึง ลักษณะกระทบต่อสายตาให้เห็นเป็ นสี มีผลถึงจิตวิทยา คือมีอานาจให้เกิด


ความเข้มของแสงที่อารมณ์และความรู ้สึกได้ การที่ได้เห็นสี จากสายตาสายตาจะส่ งความรู ้สึกไปยังสมอง
ทาให้เกิ ดความรู ้ สึก ต่าง ๆ ตามอิ ทธิ พลของสี เช่ น สดชื่ น ร้ อน ตื่ นเต้น เศร้ า สี มีความหมายอย่างมาก
เพราะศิลปิ นต้องการใช้สีเป็ นสื่ อสร้างความประทับใจในผลงานของศิลปะและสะท้อนความประทับใจ
นั้นให้บงั เกิ ดแก่ผูด้ ู มนุ ษย์เกี่ ยวข้องกับสี ต่าง ๆ อยู่ตลอดเวลาเพราะทุกสิ่ งที่อยู่รอบตัวนั้นล้วนแต่มีสีสัน
แตกต่ า งกันมากมาย สี เป็ นสิ่ ง ที่ ค วรศึ ก ษาเพื่ อประโยชน์ ก ับ ตนเองและ ผูส้ ร้ า งงานจิ ตรกรรมเพราะ
เรื่ องราวองสี น้ นั มีหลักวิชาเป็ นวิทยาศาสตร์ จึงควรทาความเข้าใจวิทยาศาสตร์ ของสี จะบรรลุผลสาเร็ จใน
งานมากขึ้ น ถ้า ไม่ เข้า ใจเรื่ องสี ดีพ อสมควร ถ้า ได้ศึ ก ษาเรื่ องสี ดีพอแล้ว งานศิ ล ปะก็จะประสบความ
สมบูรณ์เป็ นอย่างยิง่

คาจากัดความของสี
1. แสงที่มีความถี่ของคลื่นในขนาดที่ตามนุษย์สามารถรับสัมผัสได้
2. แม่สีที่เป็ นวัตถุ (PIGMENTARY PRIMARY) ประกอบด้วย แดง เหลือง น้ าเงิน
3. สี ที่เกิดจากการผสมของแม่สี
18

คุณลักษณะของสี
สี แท้ (HUE) คือ สี ที่ยงั ไม่ถูกสี อื่นเข้าผสม เป็ นลักษณะของสี แท้ที่มีความสะอาดสดใส เช่น แดง
เหลือง น้ าเงิน สี อ่อนหรื อสี จาง (TINT) ใช้เรี ยกสี แท้ที่ถูกผสมด้วยสี ขาว เช่น สี เทา, สี ชมพู สี แก่
(SHADE) ใช้เรี ยกสี แท้ที่ถูกผสมด้วยสี ดา เช่น สี น้ าตาล
ประวัติความเป็ นมาของสี
มนุ ษย์เริ่ มมีการใช้สีต้ งั แต่สมัยก่ อนประวัติศาสตร์ มีท้ งั การเขียนสี ลงบนผนังถ้ า ผนังหิ น บน
พื้นผิวเครื่ องปั้ นดิ นเผา และที่อื่น ๆภาพเขี ยนสี บนผนังถ้ า(ROCK PAINTING) เริ่ ม ทาตั้งแต่สมัยก่อน
ประวัติศาสตร์ ในทวีปยุโรป โดยคนก่ อนสมัยประวัติศาสตร์ ในสมัยหิ นเก่ าตอนปลาย ภาพเขี ยนสี ที่มี
ชื่ อเสี ย งในยุคนี้ พ บที่ ประเทศฝรั่ งเศษและประเทศสเปนในประเทศ ไทย กรมศิ ล ปากรได้สารวจพบ
ภาพเขียนสี สมัยก่อนประวัติศาสตร์ บนผนังถ้ า และ เพิงหิ นในที่ต่าง ๆ จะมีอายุระหว่าง 1500-4000 ปี เป็ น
สมัยหิ นใหม่และยุคโลหะได้คน้ พบตั้งแต่ปี พ.ศ. 2465 ครั้งแรกพบบนผนังถ้ าในอ่าวพังงา ต่อมาก็คน้ พบ
อีกซึ่ งมีอยูท่ วั่ ไป เช่น จังหวัดกาญจนบุรี อุทยั ธานี เป็ นต้นสี ที่เขียนบนผนังถ้ าส่ วนใหญ่เป็ นสี แดง นอกนั้น
จะมีสีส้ม สี เลือดหมู สี เหลือง สี น้ าตาล และสี ดาสี บนเครื่ องปั้ นดิ นเผา ได้คน้ พบการเขียนลายครั้งแรกที่
บ้านเชี ยงจังหวัดอุดรธานี เมื่อปี พ.ศ.2510 สี ที่เขียนเป็ นสี แดงเป็ นรู ปลายก้านขดจิตกรรมฝาผนังตามวัด
ต่าง ๆ สมัยสุ โขทัยและอยุธยามีหลักฐานว่า ใช้สีในการเขียนภาพหลายสี แต่ก็อยูใ่ นวงจากัดเพียง 4 สี คือ
สี ดา สี ขาว สี ดินแดง และสี เหลืองในสมัยโบราณนั้น ช่างเขียนจะเอาวัตถุ ต่าง ๆในธรรมชาติมาใช้เป็ นสี
สาหรับเขียนภาพ เช่น ดินหรื อหิ นขาวใช้ทาสี ขาว สี ดาก็เอามาจากเขม่าไฟ หรื อจากตัวหมึกจีน เป็ นชาติ
แรกที่พยายามค้นคว้าเรื่ องสี ธรรมชาติได้มากกว่าชาติอื่น ๆ คือ ใช้หินนามาบดเป็ นสี ต่าง ๆ สี เหลืองนามา
จากยางไม้ รงหรื อรงทอง สี ครามก็นามาจากต้นไม้ส่วนใหญ่แล้วการค้นคว้าเรื่ องสี ก็เพื่อที่จะนามาใช้ ย้อม
ผ้าต่าง ๆ ไม่นิยมเขียนภาพเพราะจีนมีคติในการเขียนภาพเพียงสี เดียว คือ สี ดาโดยใช้หมึกจีนเขียน
สี นา้ มัน (Oil paint) เป็ นสี ชนิดที่แห้งช้าที่ประกอบด้วยรงควัตถุที่ผสมกับน้ ามันระเหย (drying
oil) ที่มกั จะเป็ นน้ ามันเมล็ดฝ้าย ความข้นของสี ก็อาจจะปรับได้โดยการเติมสารละลายเช่น
น้ ามันสน หรื อ น้ ายาละลายสี (white spirit) และก็อาจจะมีการใส่ น้ ามันเคลือบ (varnish) เพื่อให้มีเงามาก
ขึ้นเมื่อสี แห้งการใช้สีน้ ามันใช้กนั มาตั้งแต่คริ สต์ศตวรรษที่ 13 ในอังกฤษสาหรับการตกแต่งอย่าง
ง่ายๆ แต่ก็มิได้มีการใช้อย่างแพร่ หลายในการเป็ นวัสดุที่ใช้ในการเขียนจิตรกรรมมาจนกระทัง่
คริ สต์ศตวรรษที่ 15 การใช้สีน้ ามันในสมัยใหม่มกั จะใช้ในการรักษาเนื้อไม้ในการทาสี บา้ นหรื อในการ
ทาสี สิ่งที่ตอ้ งทนกับสภาวะอากาศเช่นเรื อหรื อสะพาน เพราะคุณสมบัติที่ทนทานและเป็ นเงาทาให้เป็ นที่
นิยมใช้กนั ทั้งในการตกแต่งภายในและภายนอกทั้งที่ใช้บนไม้และบนโลหะเพราะเป็ นสี ที่แห้งช้าจึงได้มี
การใช้ในงานงานเขียนแอนิเมชันบนแก้ว (paint-on-glass animation) การแห้งช้าหรื อเร็ วก็ข้ ึนอยูก่ บั ความ
หนาของสี ที่ทา ดังรู ปที่ 2.32
19

รู ปที่ 2.23 สี น้ ามัน

สี ลายค้ อน ผลิตเรซิ นสังเคราะห์คุณภาพสู งผสมกับผงสี ชนิดพิเศษ ทาให้ได้สีพน่ เกล็ดลายค้อนที่


มีความเงาสู ง และ ลายเกล็ดสวยงามสม่าเสมอ ใช้งานง่าย อายุการใช้งานยาวนาน เหมาะสมสาหรับพ่นตก
แต่งงานพื้นผิวเหล็ก โลหะ และงานไม้ ใช้ได้ท้ งั งานภายในและภายนอกอาคาร เช่น พ่นเคลือบเครื่ องจักร
โครงเหล็ก ตูเ้ หล็ก ตูเ้ ซฟ เครื่ องมือแหละอุปกรณ์ต่าง ๆ เป็ นต้น ดังรู ปที่ 2.24
คุณสมบัติ
-สี สวยสด ลายเกล็ดสวยงามสม่าเสมอ
-ฟิ ล์มสี หนา ให้ความเงาสู ง
-การยึดติดเกาะติดแน่นกับพื้นผิว ปกปิ ดพื้นผิวได้อย่างมิดชิด
-ทนทานต่อรอยขูดขีด ปกป้ องชิ้นงานได้อย่างดีเยีย่ ม
-เช็ดล้างทาความสะอาดได้ง่าย

รู ปที่ 2.24 สี ลายค้อน

2.5 งานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง


อนันต์ เต็มเปี่ ยม(2557 บทคัดย่อ) ปั จจุบนั ภาคอุตสาหกรรมได้มีการนาเอาเครื่ องอัดไฮดรอลิก
มาใช้เป็ นเครื่ องทุ่นแรง ในการ ทางานสาหรับการผลิตชิ้นส่ วนต่างๆ แต่เครื่ องอัดไฮดรอลิกที่สร้างขึ้นใน
อดีตส่ วนใหญ่ไม่ได้คานึ งถึง การใช้พลังงานของเครื่ องอัดไฮดรอลิก จึงทาให้เกิดการสิ้ นเปลืองพลังงาน
20

ไฟฟ้ า ในขณะรอเปลี่ ยน ชิ้ นงานจากปั ญหาดังกล่ า วทางผูว้ ิจยั จึ งได้มี แนวคิ ดที่ จะทาการศึ กษาการใช้
พลังงานของเครื่ องอัดไฮ ดรอลิก เพื่อศึก ษาปั จจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการสู ญเสี ยพลังงานในเครื่ องอัดไฮดรอ
ลิกและเพื่อเป็ น แนวทางในการตัดสิ นใจเลือกใช้อินเวอร์ เตอร์ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้าขับปั๊ มไฮดรอลิก
นางสาววรดา สุ วรรณศิริ (2558 บทคัดย่อ) ปริ ญญานิ พนธ์ฉบับนี้ ทาการพัฒนาและปรับปรุ ง
เครื่ องอัดถ่านแห่งระบบไฮโดรลิกต้นแบบ ของชัยบดินทร์ พิตะวัฒนะกุล และพีรศักดิ์ หยกศิลา ที่ใช้ใน
การอัด ถานแห่ ง จ านวน 16 ก้อ นต่ อ ครั้ ง ถ่ า นแห่ ง ที่ ไ ด้เ ป็ นรู ป ทรงกระบอกกลวงที่ มี ข นาดเส้ นผ่า น
ศูนย์กลางภายนอก 6.5 เซนติเมตร เส้นผ่าน ศูนย์กลางภายใน 2.5 เซนติเมตรและยาว 6.5 เซนติเมตร มีค่า
ความหนาแน่ น ประมาณ 1.5 กรั ม ต่ อ ลู ก บาศก์ เ ซนติ เ มตร เนื่ อ งจากอุ ป กรณ์ เ ดิ ม มี ปั ญ หาในส่ ว น
กระบวนการอัดถ่านแท่งใช้เวลาในการอัดต่อ ครั้งนาน คือ ใช้เวลาเฉลี่ยประมาณ 13.5 นาที โดยไม่รวม
เวลาการอัดแช่ 5 นาทีต่อหนึ่งครั้ง ดังนั้น ทางผูจ้ ดั ทาโครงงานจึงได้พฒั นาเครื่ องอัดถ่านแห่ งระบบไฮโดร
ลิก โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อช่วยลด ระยะเวลาในการอัด อุปกรณ์มีการใช้งานง่ายและสะดวกรวดเร็ ว ทาให้
ได้ถ่านอัดแห่งที่มีขนาดเท่ากัน ทั้งหมด
ธี รพล บุญถีง (2554 บทคัดย่อ) เป็ นอุปกรณ์ยกและเคลื่อนย้ายพาเลท ที่ใช้ระบบไฮดรอลิ กส์ ใน
การควบคุ มการยกโดยไม่ตอ้ งใช้แรงคนโยกในการ Operator สามารถยกน้ าหนักได้ประมาณ 1000 kg.
เหมาะกับการยก และลากของเข้าพื้นที่แคบและรถเข้าไม่ถึง ช่วยให้มีความสะดวกสบายมากขึ้น ทาให้การ
ทางานมีความรวดเร็ ว ฉับไว เป็ นอีกเครื่ องมือหนึ่ งที่คลังสิ นค้าและสถานที่เก็บสิ นค้าไว้จานวนมากต้องมี
เครื่ องยกไฟฟ้ า (Hand lift) มาใช้เพื่ออานวยความสะดวก นอกจากจะใช้เครื่ องยกไฟฟ้ า (Hand lift) ใน
คลังสิ นค้าแล้ว เครื่ องยก ไฟฟ้ า (Hand lift) ยังสามารถใช้ได้กบั การทางานที่จาเป็ นต้องมีการยกขนหรื อ
เคลื่ อนย้ายวัสดุ ที่มีน้ าหนักมากอีก ด้วย แต่ เครื่ องยกไฟฟ้ า (Hand lift) ยังใช้แรงงานคนในการโยก เมื่อ
ลองเปรี ยบเทียบเวลาดูแล้ว ยัง พบว่ามีการสู ญเสี ยเวลาในการทางานค่อนข้างมาก

สรุ ป จากการที่ได้ทาการศึกษาข้อมูล งานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับ แท่นอัดไฮดรอลิกส์ขนาดเล็ก ซึ่ง


เป็ น โครงงานที่มีความสอดคล้องกับ แท่นอัดไฮดรอลิกส์ขนาดเล็ก ให้มีสมรรถนะตรงตามวัตถุประสงค์
สามารถใช้งานได้จริ งจากการศึกษางานวิจยั ที่เกี่ยวข้องเพื่อนามาศึกษาหรื อปรับปรุ งใช้ในการจัดทา แท่น
อัดไฮดรอลิกส์ขนาดเล็ก

You might also like