You are on page 1of 19

อลูมิเนียม (Aluminium)

สัญลักษณ์คือ Al ความหนาแน่น 2.7 กก./ดม 3.


จุดหลอมเหลว 658 องศาเซลเซียส
ความเค้นแรงดึงของอลูมิเนียมหล่อ 9-12Kp/mm2 (9-12 กก./ตร.มม.)
ความเค้นแรงดึงของอลูมิเนียมอบเหนี ยว 7Kp/mm2(7 กก./ตร.มม.)
ความเค้นแรงดึงของอลูมิเนียมรีดแข็ง 13-20 Kp/mm2(13-20 กก./
ตร.มม.)
อัตรายืดตัว 3-35%

คุณสมบัติของอลูมิเนี ยม

ลักษณะภายนอกของอลูมิเนี ยมคือมีสเี งิน มีความหนาแน่นน้อย น้้า


หนักเบา และมีก้าลังวัสดุต่อหน่วยน้้าหนัก (Strenght-to-Weght
Ratio)สูง
มีความเหนี ยวจุดหลอมเหลวต้่าหล่อหลอมได้ง่ายอลูมิเนียมบริสุทธิ ์
เมื่อทิ้งไว้ในอากาศจะเกิดออกไซด์ของอลูมิเนียมขึ้นเป็ นอลูมเิ นี ยม
ออกไซด์
(Aluminum Oxide) เคลือบอยู่เป็ นผิวบางๆท้าให้อลูเนี ยมนัน ้ ทนต่อ
บรรยากาศ ไม่ถูกกัดกร่อน คุณสมบัติการน้าไฟฟ้ าประมาณ 2/3 เท่า
ของ
ทองแดง แต่ อลูมิเนียมเบากว่าทองแดง สายเคเบิลแรงสูงจึงนิ ยมใช้
อลูมเิ นี ยมเป็ นตัวน้าความร้อนได้ดีและเหมาะอย่างยิง ่ กับงานขึ้นรูป
และงาน
ปาดผิวโลหะเช่นอัด รีด ดึง ตัด เจาะ กลึง ไส กัด และนอกจากนี้ อลูมิ
เนียมก็ยังเป็ นวัสดุประสมทีม ่ ีประโยชน์มากคือใช้อลูมิเนี ยมเพียงเล็ก
น้อย
ผสมลงไปในโลหะประสมทีม ่ ีทองแดงแมงกานี ส และ แมกนี เซียม จะ
ให้ความแข็งและคุณสมบัติในการกลึงให้ดีเด่นมากอย่างประหลาด
เลย
ทีเดียว

ทีม
่ าของอลูมิเนี ยม

อลูมเิ นี ยมเป็ นโลหะทีเ่ กิดเป็ นสารประกอบอลูมเิ นี ยมออกไซด์ ส่วน


มากพบในดินเหนียว และดินต่างๆ วัตถุดิบส้าคัญทีใ่ ช้ในการผลิตอลู
มิเนี ยม
คือสินแร่ โบไซต์หรือ บอกไซด์(Bauxite)มีลก ั ษณะเหมือนดินแดง
หรือดินลูกรัง แตามีความแข็งกว่าในสินแร่บอกไซด์จะมีดินเหนียว
บริสุทธิ ์
(Al2 O3= อลูมิเนียมออกไซด์ )ปนอยู่ประมาณ 55-60% เหล็ก
ออกไซด์(Fe2O3) ไม่เกิน
24% และน้้าในโมเลกุลสินแร่ประมาณ 12-31% แร่ซิลก ิ า(SiO2)ไม่
เกิน 4% แหล่งแร่บอกไซด์ทส ี่ ้าคัญๆ คือทีป
่ ระเทศ
ฝรัง่ เศษตอนใต้ ฮังการี รัสเซีย สหรัฐอเมริกา มาเลเซีย อินโดนี เซีย

กรรมวิธีผลิตอลูมิเนียม

กรรมวิธีผลิตอลูมิเนียม คือน้าไปถลุงโดยน้าแร่บอกไซด์ทีม ่ ีสน


ิ แร่
ประมาณ 55-60% มา สกัดเอา
อลูมเิ นี ยม(Alumina) ออกเสียก่อนโดยการป่ นแร่ ให้เป็ นผงละเอียด
แล้วน้ามาเข้าเครื่องตุุนกับน้้ายาโด
ไฟอย่างเข้มข้น (NaOH)สารจะถูกต้มในหม้อพิเศษ(Autoklaven)ซึง ่
ปิดสนิ ทภายใต้ความกดดันประมาณ
7 บรรยากาศ อุณหภูม1 ิ 80 องศาเซลเซียสในการนี้ สารทีเ่ จือปนอยู่จะ
ถูกแยกออกไปโดยการกรองและน้า
ไปเผาหรืออบให้แห้งในเตาหมุนด้วยอุณหภูมิ 1300 องศาเซลเซียส
ไล่น้ าทีต่ ิดอยู่ในโมเลกุลของอลูมินา
ออกก็จะได้อลูมินาบริสุทธิ ์ หรืออลูมิเนี ยมออกไซด์น้ี จะถูกแยกด้วย
ไฟฟ้ าในเตาไฟฟ้ าอีก ในการนี้ อุณหภูมิ
ออกไซด์จะต้องอยู่ในสภาพหลอมเหลวแต่เนื่ องจากจุดหลอมเหลว
ของสารชนิ ดนี้ สูงมาก( 2000 องศา
เซลเซียส ) เขาจึงต้องใช้สารผสมทีเ่ รียกว่าคลีโอไลท์(Cryolite) ซึง ่
มีจุดหลอมเหลวอยู่ประมาณ 900 องศา
เซลเซียสปนสงไปเพื่อให้อลูมน ิ าหลอมตัวได้ง่ายการแยกด้วยเตาไฟ
ฟ้ าจะใช้อุณหภูมิประมาณ 900-950
องศาเซลเซียสอลูมิเนียมจะแยกไปจับอยู่ทีข ่ ัว
้ ลบเป็ นอลูมิเนียม
บริสุทธิ ์ สินแร่บอกไซด์ 4 ตันจะให้ผลึก
อลูมน ิ าประมาณ 2 ตันและจะให้โลหะอลูมิเนี ยมประมาณ 1 ตัน
การถลุงอลูมิเนียมด้วยไฟฟ้ าต้องใช้ก้าลังงานไฟฟ้ ามากและต้องเป็ น
ก้าลังไฟฟ้ าราคาถูกกล่าวกัน
ว่าการทีจ ่ ะถลุงให้ได้อลูมิเนี ยม 1 ตันนัน ้ ตองใช้ไฟฟ้ าจ้านวน 18,000
กิโลวัตต์ต่อชัว ่ โมง เสียเวลาถลุง
ทัง้ หมอ 120 ชัว ่ โมงใช้ ไฟฟ้ าขนาดแรงดัน 5-6 โวลต์ ปริมาณกระแส
20,000-70,000 แอมแปร์
อลูมเิ นี ยมในสมัยแรกๆ ทีม ่ นุษย์รู้จก
ั ถลุงใช้มิได้ถลุงด้วยไฟฟ้ า แต่
ถลุงด้วยปฏิกิริยาเคมีอ่ ืนๆ
ต้นทุนการผลิตก็สูงมาก ในรัชสมัยพระเจ้านโปเลียนมหาราชของฝรัง่
อลูมเิ นี ยมมีราคาสูงกว่าทองค้า
ภาชนะต่างๆทีใ่ ช้ในพระราชวังสมัยนัน ้ นิยมทะด้วยอลูมิเนียม เพราะ
เป็ นโลหะหายาก อลูมิเนี ยมเพิง ่ จะ
ใช้เป็ นโลหะราคาถูกเมื่อมนุษย์รู้จักถลุงด้วยไฟฟ้ าเมื่อประมาณ 70 ปี
มานี้ เอง
การน้ าอลูมิเนี ยมไปใช้งาน

เนือ
่ งจากอลูมเิ นียมมีความหนาแน่นน้อยน้้าหนักเบาและมีความเค้น
แรงดึงสูงจึงน้าไปใช้ท้าเครือ
่ งใช้ต่างๆ
เครือ
่ งบิน ยานอวกาศ จรวด ขีปนาวุธ เป็ นวัสดุก่อสร้าง เช่น ท่อ
แผ่นหลังคา กรอบโครงหน้าต่าง ประตู
บันได ในวงการอุตสาหกรรมใช้ท้าถังภาชนะและถังรถบันทุกเคมีภัณฑ์
และน้้ามัน ในวงการไฟฟ้าใช้ท้าสาย
เคเบิลไฟฟ้าแรงสูง อลูมิเนียมบริสุทธิ ์ ใช้ท้าแผ่นสะท้อนในแฟลซถ่าย
รูป จานสะท้อนแสง ในโคมไฟ
ไฟหน้ารถยนต์ นอกจากนีอ
้ ลูมิเนียมยังใช้ท้าโลหะผสม เช่นท้าโลหะ
Alnico ซึง
่ เป็ นโลหะแม่เหล็ก นิยมใช้ท้า
ล้าโพงวิทยุ แม่เหล็กทีป
่ ระสมอลูมิเนียมสามารถชุบิผิวให้แข็งด้วย
กรรมวิธี Nitriding แผ่นอลูมิเนียมทีร่ ีด
บางๆ เรียกว่า Aluminum Foil เช่น ซองห่อบุหรี ่ และใช้เป็ นวัสดุ
หีบห่อเพ่อความสวยงาม
และท้าคอนเดนเซอร์วท
ิ ยุ

ประโยชน์ของอลูมิเนี ยม

อลูมเิ นี ยมมีประโยชน์มากมายเห็นได้ทัว
่ ไปนอกจากทีก
่ ล่าวมาแล้วยัง
ใช้ท้าภาชนะหุงต้มและหีบห่อ
เช่น หม้อ กระทะ ถาด จาน ช้อน การะมัง แก้ว ฯลฯ

การกัดกร่อน

อลูมเิ นี ยมบริสุทธิม
์ ีเม็ดเกรนละเอียด คงสม้่าเสมอดีมากโอกาสทีจ ่ ะ
ถูกกัดกร่อนด้วยสาเหตุจาก
เม็ดเกรนในโลหะนัน ้ ไม่มีเลย ยิง ่ กว่านัน
้ บนผิวจะมีฟิล์ม อลูมเิ นี ยม
ออกไซด์บางๆติดอยู่ซึง ่ เป็ นฟิล์มทึบ
การกัดกร่อนจากบรรยากาศปกติจึงไม่มีเลย

วิธีป้องกันการกัดกร่อนอลูมิเนี ยมโดยวิธีเคมี เรียกว่า วิธีอีลอกซาน


(Eloxal)

วิธีอีลอกซาน(Eloxal) การท้าอีลอกซานให้น้าชิ้นงานอลูมิเนียมนัน ้ มา
แขวนเป็ นขัว ้ บวกให้แผ่นตะกัว ่ เป็ น
ขัว
้ ลบน้ากรดก้ามะถันเจือจางเป็ นอิเล็กโตไลต์ผ่านกระแสไฟตรง
เข้าไปชัว่ ระยะเวลาหนึ่ ง กระแสไฟฟ้ าจะท้า
ให้ผิวชิ้นงานอลูมิเนียม ณ ขัว้ บวกเปลีย่ นเป็ นอลูมิเนี ยมออกไซด์ คือ
ฟิล์มบางๆปกปิดผิวอยู่โดยรอบโดย
ทีข ่ นาดของงานยังคงเดิมและชัน ้ ฟิล์มอลูมิเนียมออกไซด์จะแข็งกว่า
อลูมเิ นี ยมแท้ๆ แม้จะหักหรืองอชิ้นงาน
นัน
้ อย่างไรฟิล์มนี้ ก็จะไม่หลุดหรือแยกออกมาเลย มีความคงทนต่อ
การกัดกร่อนและไม่เป็ นตัวน้าไฟฟ้ า
อลูมเิ นี ยมและโลหะผสมอลูมิเนียมทีใ่ ช้ดกันตามบ้านเรือนทัว ่ ๆไป
ได้แก่กรอบประตู หน้าต่าง มู่ลี่ ภาชนะ
เครื่องใช้ตอลดจน กระทะ ตอนบนของขวดใส่นมท้าด้วยแผ่นอลูมิ
เนียมบางๆ อลูมิเนียมมีความเหมาะสม
ทีใ่ ช้ท้าเป็ นกระทะเพราะ น้าความร้อนได้ดี และก็เป็ นตัวน้าไฟฟ้ าทีด
่ ี
ด้วย ประกอบกับมีน้ าหนักบางจึงน้ามา
ใช้ประโยชน์ใช้เป็ นสายไฟฟ้ าขึงพาดไปตามเสาไฟฟ้ าได้เป็ นอย่างดี
และแพร่หลายมาก

การปฏิบัติงานหล่ออลูมิเนียมผสม

อลูมเิ นี ยมบริสุทธิน
์ ับว่าเป็ นโลหะหล่อทีใ่ ช้งานเกือบไม่ได้เพราะมี
คุณภาพต้่าเกือบทุกกรณี ส่วนใหญ่จะใช้อลูมเิ นี ยมผสมหล่อเป็ น
ชิ้นงานต่างๆ เพราะอลูมิเนียมผสมมีคณ ุ สมบัติเศษหลายอย่างเหมาะ
กับจุดประสงค์ในงานหล่อมาก โดยเหตุทีอ ่ ลูมเิ นี ยมผสมหล่อเป็ น
จ้านวนมากหาได้ง่าย มันมีคุณสมบัติเด่นเฉพาะ อย่างกว้างขวางต่าง
กันออกไปสาเหตุทีผ ่ สมนัน ้ อลูมิเนี ยมผสมผสมทุกชนิ ดจะต้องมี
คุณสมบัติสองประการทีจ ่ ะต้องพิจารณา

ประการแรก:

คุณสมบัติทางการหล่อ ลักษณะทัง ้ หมดของธาตุทีผ ่ สมจะเป็ นตัว


ก้าหนดว่าหล่อได้ง่ายหรือยากทีจ่ ะหล่องานนัน ้ ได้ดี
และประการทีส่ อง:คุณสมบัติทางวิศวกรรม ผู้ใช้หรือนักออกแบบงาน
หล่อจะต้องสนใจคุณสมบัติข้อนี้ เป็ นพิเศษ ช่างหล่อจึงจ้าเป็ นต้อง
ศึกษาคุณสมบัติพ้ ืนฐานทัง
้ สองประการนี้ ควบคู่กันไปด้วย

ข้อได้เปรียบของอลูมิเนี ยมผสมหล่อ

ข้อได้เปรียบจริงๆ ทางวิศวกรรมของอลูมเิ นี ยม ผสมหล่อก็คือน้้าหนัก


เบา(ต่อหน่วยปริมาตร) เบากว่าเหล็กประมาณ 3 เท่า
จึงได้เปรียบกว่าเหล็กในเรื่องความแข็งแรง(Strength) ต่อน้้าหนัก
(Weight)หมายความว่าถ้าใช้อลูมิเนียมหนักเท่ากับเหล็ก ก็จะได้
ความแข็งแรงเท่ากับเหล็ก (Steel)แต่จะได้ความหนาเพิม ่ ขึ้น เช่นชิ้น
ส่วนอากาศยาน ถ้าใช้เหล็กจะได้ความหนาเพียง 0.02 นิ้ วเท่านัน ้
แต่ถ้าใช้อลูมเิ นี ยมผสมจะได้ความหนาถึง 1/16 นิ้ ว หรือ 0.0625 นิ้ ว
ส้าหรับข้อได้เปรียบอื่นๆ เกีย ่ วกับคุณสมบัติทต ี่ ้องการมีหลายประการ
ดังต่อไปนี้
1. มีคุณสมบัติทางกลกว้างขวางกว่า กล่าวคือความแข็งแรง
ความแข็ง และคุณสมบัติทุกชนิ ดจะเปลีย ่ นแปลงอย่างมากตามธาตุ
ผสม
หรือการอบชุบ ถ้าเปรียบเทียบกับเหล็กหล่อหรือเหล็กเหนียวทีม ่ ี
ความแข็งแรงต้่า
อลูมเิ นี ยมผสมจะได้เปรียบเรื่องน้้าหนักเบากว่า
2. มีคุณค่าทางสถาปั ตยกรรมและศิลปะการตกแต่ง
3. มีคุณสมบัติตา ้ นการผุกร่อน เช่นทนการผุกร่อนต่อบรรยากาศ
ธรรมดาหรือน้้าจืด
4. ไม่มีพิษ (Nontoxicity)จึงนิ ยมท้าภาชนะต่างๆและเครื่องครัวพวก
หม้อหุงข้าวเป็ นต้น
5. เป็ นตัวน้าไฟฟ้ าได้ดี จึงนิ ยมท้าชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้ า
6. การตัดแต่งด้วยเครื่องมือกลกระท้าได้ง่าย
7. มีคุณสมบัติทางการหล่อหลอมดี เพราะมีอุณหภูมิหลอมละลาย
เพียง
660oC เทียบกับเหล็กหล่อ 1135oC
นับได้ว่าอลูมเิ นี ยมผสม
ใช้อุณหภูมิต่ ้ามากจึงไม่มีปัญหาเรื่องวัสดุทนไฟของเตาหลอม
และทรายหล่อเพราะอุณหภูมิเทต้่านอกจากนัน ้ ในทางปฏิบต ั ิยังนิ ยม
ใช้แบบหล่อ
ถาวรและแบบหล่อแม่พิมพ์กันอย่างกว้างขวางอีกด้วย
8. ค่าขนส่วงานหล่ออลูมิเนี ยมต่อชิ้นถูกกว่าเหล็กเพราะน้้าหนักเบา
มากนัน ่ เอง

ข้อเสียเปรียบของอลูมิเนี ยมผสมหล่อ

1.ราคาแพงกว่าเหล็กหล่อและเหล็กเหนียวหรือเหล็กกล้าแต่ถ้า
พิจารณาการใช้คิดเป็ นปริมาตร
แล้วจะพอๆกับเหล็กเพราะอลูมิเนียมเบา
ได้ปริมาตรมาก แต่น้ าหนักน้อย ส่วนเหล็กปริมาตรเท่ากันจะต้องมี
น้้าหนักมาก
(หนักกว่าอลูมิเนี ยม 2.90 เท่า หรือปริมาณ 3 เท่า)
2.ไม่ทนต่อการขัดสี (Abrasion) และการสึกหรอ
(Wear)
3.ไม่สามารถท้าให้อลูมเิ นี ยมผสมมีความแข็งแรงสูง
ความเหนี ยวสูง และความแข็งแรงสูงพร้อมกันเหมือนกับเหล็กผสม
4.ทนการผุกร่อน (Corrosion) หลายอย่างสู้พวกทองแดงนิ เกิลผสม
และเหล็กไร้สนิ ม (Stainless Steel) ไม่ได้

แบบหล่อทราย (Sand Casting)


ปกติอลูมิเนี ยมผสมสามารถหล่อในแบบหล่อทรายได้เกือบทุกชนิ ด
ไม่วา
่ จะเป็ นทรายชื้นหรือทรายแห้ง แต่ทรายแห้งนิ ยมใช้หล่อชิ้น
ใหญ่ๆ
หรืองานทีป ่ ราณี ต ใช้ท้าเครื่องหล่อจ้าพวกเครื่องกระแทกอัดใช้แรง
อัดต้่าแค่ 20-30 ปอนด์ ต่อตารางนิ้ ว เพราะอลูมิเนี ยมผสมหล่อด้วย
แบบทรายทีแ ่ ข็งแรงมากไม่ดี ไม่นิยมกระท้ากัน

ทรายท้าแบบหล่อ (Molding sand)

ทรายส้าหรับท้าแบบหล่อเพื่อหล่อท้าอลูมิเนี ยมผสมใช้ได้ทัง ้ ทราย


ธรรมชาติและทรายสังเคราะห์แต่อลูมิเนียมต้องควบคุมน้้าให้นอ ้ ย
ทีส
่ ุดเท่า จะท้าได้ไม่เช่นนัน
้ จะมีรูพรุนเพื่อสะดวกในการใช้ทรายหล่อ
จึงขอเสนอส่วนผสมต่างๆของทรายหล่อดังนี้

1. ทรายธรรมชาติ

ส้าหรับหล่ออลูมิเนี ยมผสมทุกชนิ ด มีส่วนผสมและคุณสมบัติดังนี้

1.ทรายขนาดตาม A.F.S Fineness No. 130-200


2.ดินเหนียว 12-18%
3.ความชื้น (น้้า) 5-7%
4.อัตราลมผ่าน(ขณะชื้น) 10-25%
5.ทนแรงอัด (ขณะชื้น) 5-10 Psi
ถ้าหากเป็ นชิ้นงานเล็กๆ งานเบาๆ เย็นเร็วๆ ไอน้้าไม่ทันเกิดต้องการ
ผิวเรียบอาจใช้ในทรายเล็กขนาด 200-250 F.A.S
ต้องมีดนิ เหนี ยวเพิม
่ ขึ้นด้วย แต่อัตราลมผ่านจะต้่าในราว 5-10
เท่านัน

2. ทรายสังเคราะห์

ส้าหรับอลูมิเนี ยมผสมทีต
่ ้องการผิวเรียบมาก มีส่วนผสมและ
คุณภาพดังนี้

1.ทรายขาวขนาดตาม A.F.S Fineness No. 100-170


2.เป็ นโทไนท์ 6-12 %
3.ความชื้น (น้้า) 3-5%
4.อัตราลมผ่าน(ขณะชื้น) 30-60%
5.ทนแรงอัด (ขณะชื้น) 6-9 Psi

แต่ถ้าหากต้องการผิวเรียบมากควรใช้ส่วนผสมและคุณสมบัติดังนี้

1.ทรายขาวขนาดตาม A.F.S Fineness No. 60-100


2.เป็ นโทไนท์ 3-5 %
3.ความชื้น (น้้า) 2-5%
4.อัตราลมผ่าน(ขณะชื้น) 60-150%
5.ทนแรงอัด (ขณะชื้น) 7-10 Psi
ทรายท้าไส้แบบ (Core Sands)

ทรายท้าไส้ส้าหรับหล่ออลูมิเนี ยมผสม จะใช้ทราย กับแป้ งมัน Co2


หรือไส้แบบเปลือกก็ได้ ข้อส้าคัญก็คือจะต้องท้าให้แบบแตกตัวง่าย
เมื่อ อลูมเิ นี ยมเย็นตัวลงไม่เช่นนัน
้ แล้วจะท้าให้อลูมิเนียมหล่อแตก
ร้าวขณะร้อนได้ จึงพอสรุปได้ว่าแบบส้าหรับหล่ออลูมเิ นี ยมผสมจะ
ต้อง
สลายตัว หรือแตกตัวง่ายกว่าไส้แบบทีใ่ ช้หล่อเหล็กทัว ่ ไป

ตารางกรรมวิธีแบบหล่อ

รูปแสดง ชิ้นงานหล่อแบบต่างๆ ของอลูมิเนียมผสม

การเทน้้าอลูมิเนียมผสมหุม
้ เหล็ก
(Insert)

ตามปกติอลูมิเนี ยมจะไม่ทนต่อการสึกหรอทีเ่ กิดจากการเสียดสี เมื่อ


เราต้องการจะให้เนื้ อตรงจุดใช้งานทนการสึกหรอดี
เราสามารถกระท้าได้โดยการสอดเหล็กหล่อหรือเหล็กกล้าไว้ข้างใน
โดยการเทอลูมิเนี ยมผสมหุ้มไว้ เช่น เพลา,บล็อก,ลูกสูบเป็ นต้น
ตัวอย่างการเทหุ้มแสดงไว้ในรูปข้างล่าง เหล้กทีส่ อดไว้ในนี้ จะต้องท้า
ลายหรืเตรียมยึดให้ติดแน่นกับงานหล่อนัน ้ เหล็กทีจ
่ ะสอดไว้จะ
เป็ นลักษณะแบบหล่อใส่ไว้ในแบบหล่อทรายหรือในไส้แบบหรือ
บังคับให้อยู่ในแม่พิมพ์หรือแบบถาวร และจะต้องแหงสนิ ทปราศจาก
สนิม
และสิง ่ สกปรก เพื่อป้ องกันการเกิดโพรงอากาศ
รูปแสดงการเทอลูมิเนี ยมผสม ห้ม
ุ เหล็ก

ทางเข้าและรูล้นส้าหรับอลูมิเนี ยมผสม (Gating and Riseving


Aluminium)

องค์ประกอบทีส ่ ้าคัญ ในการผลิตชิ้นงานหล่อให้ได้ดี จะต้องท้ารูลน ้


และทางเข้าให้ถูกต้อง การทีจ ่ ะจัดระบบการป้ อนน้้าโลหะ
และทางเข้าทีด ่ ที ้าหน้าทีไ
่ ด้อย่างสมบรูณ์ถูกต้อง จะต้องค้านึ งถึงคณุ
ลักษณะของอลูมเิ นี ยมผสมทีจ ่ ะหล่อเป็ นอย่างดี กล่าวคือ
1. แนวโน้มทีจ ่ ะเกิดขี้ตะกรันง่าย
2. การดูดแก๊สเข้าได้ง่าย
3. การหดตัวจากการแข็งตัว(ต้องการน้้าโลหะป้ อน)
4. การน้าความร้อนสูง
5. การก้าจัดตามดล้าบาก
ขณะเทอลูมเิ นี ยมเหลวลงแบบหล่อ อลูมเิ นี ยมจะดูดซับเอาก๊าซออกซิ
เจนและไฮโดรเย่นไวทันที การเทน้้าโลหะให้เกิดการไหลวน
และการไหลของน้้าโลหะไปตามทางเข้าก็จะช่วยให้น้ าโลหะท้า
ปฏิกิรย
ิ ากับก๊าซได้เป็ นอย่างดี ขี้ตะกรันหรือกากโลหะจะเกิดตอนนี้
ก๊าซไอโดรเย่นละลายรวมกับน้้าโลหะเข้าแบบหล่อไป นอกจากนัน ้
ฟองอากาศก่อจะเกิดการไหลเข้าไปท้าให้งานหล่อเป็ นโพรง

การออกแบบทางเข้า (Gating Design)

ระบบทางเข้าจะบังเกิดผลขึ้นได้จะต้องรวมเอาพวกแอ่งเท,รูเท,ทาง
วิง
่ และทางเข้าของน้้าโลหะเข้าด้วยกัน
จุดแรกทีน
่ ้ าโลหะจะไหลเข้าแบบหล่อได้ก็คือ แอ่งเท ซึง
่ จะต้อง
พิจารณาเป็ นอันดับแรก

แอ่งเท (Pouring Basin)


รูปแสดงการออกแบบระบบแอ่งเท

ทรายท้าไส้ส้าหรับหล่ออลูมิเนี ยมผสม จะใช้ทราย กับแป้ งมัน Co2


หรือไส้แบบเปลือกก็ได้ ข้อส้าคัญก็คือจะต้องท้าให้แบบแตกตัวง่าย
เมื่อ อลูมเิ นี ยมเย็นตัวลงไม่เช่นนัน ้ แล้วจะท้าให้อลูมิเนียมหล่อแตก
ร้าวขณะร้อนได้ จึงพอสรุปได้ว่าแบบส้าหรับหล่ออลูมเิ นี ยมผสมจะ
ต้อง
สลายตัว หรือแตกตัวง่ายกว่าไส้แบบทีใ่ ช้หล่อเหล็กทัว ่ ไป
ถ้าเทน้้าโลหะลงไปในรู เทโดยตรงจะท้าให้เกิดความเร็วสูง , เกิด
อลวน ท้าให้น้ าโลหะไหลวนลักษณะเหมือนน้้าวน จะเกิดการกัดเซาะ
ของขี้ตะกรันไหลเข้าโพรงแบบไปได้โดยง่าย ดังนัน ้ แอ่งเทจะต้อง
ท้าให้เป็ นรูปเรียวดัง แอ่งเทรูปเรียวนี้ท้าเป็ นไส้แบบหรือจะท้าไว้เป็ น
รูปร่างทีแ่ บบหล่อ การท้าแอ่งเท และทุกส่วนของระบบทางเข้าเป็ น
รูปเรียวจะช่วย ท้าให้น้ าโลหะเกิดอลวนน้อยทีส ่ ุด ท้านบเรียวตรงแอ่ง
เทจะช่วยท้าให้น้ าโลหะหยดแรกเข้ารูเทไปโดยราบเรียบและท้าให้
คนเทกะความเร็ว
ของการเทได้พอเหมาะก่อนทีน ่ ้ าโลหะจะไหลเข้าส่ร ู ูเท

รูเท(Sprue)

รูเทส้าหรับอลูมิเนี ยมผสมจ้าเป็ นจะต้องได้สัดส่วนกับทางเข้า อลูมิ


เนี ยมใช้สัดส่วนของทางเข้าดังนี้
1:2:2 หรือ 1:4:4 หรือ 1:6:6(พื้นทีร ่ ูเท:ทางวิง
่ :ทางเข้า )ซึง
่ เป็ นระบบ
ไม่มีแรงอัด ส่วนระบบรีดน้้าโลหะมีแรงดัน เช่น 1:2:1
ไม่นิยมใช้กับอลูมิเนี ยมผสม เพราะท้าให้เกิดการไหลวน
รูเทเรียวหรือตรงหรือเรียวกลับทาง นิ ยมใช้กับอลูมิเนียมผสมมาก
เพราะช่วยจ้ากัดแก๊สทีจ ่ ะไหลเข้าไปในเนื้อโลหะได้
ปกติความเร็วจะเท่ากับ 1/4 ต่อความสูงของรูเท 1 ฟุต ใช้ได้ผลดี
ทีส่ ุด

ฐานรูเท (Sprue base)

ด้วยเหตุทีฐ
่ านรูเทเป็ นตัวแสดงการเปลีย ่ นทิศทางและเนื้ อทีจ่ ึง
สามารถท้าให้เกิดการทะลักหรือไหลวน พาเอาฟองแก๊สและกาก
โลหะ
เข้าสู่แบบหล่อได้ ดังนัน
้ ทีฐ
่ านของรูเทมักจะท้าให้ใหญ่ข้ึนหรือท้าเป็ น
แอ่ง หรือ คอคอด ทีม ่ ีความเรียวเล็กน้อยประกอบกัน

ทางวิง
่ (Runners)
โดยทัว ่ ไปทางวิง่ ส้าหรับหล่ออลูมิเนียมผสมมักนิยมท้าล้อมรอบชิ้น
งานหล่อ(รอบเส้นรอบรูปชิ้นงาน)โดยตัดทางเข้าชิ้นงาน
หลายทางเข้า การตัดทางเข้าหลายๆทางเป็ นจ้านวนมาก เพื่อหลีก
เลีย
่ งน้้าโลหะเป็ นจ้านวนมากเข้าทางเดียว จะท้าให้ทางเข้านัน ้ ร้อน
มาก
การเย็นตัวทีหลังท้าให้เกิดโพรงหดตัวตรงรูเข้าได้ พื้นทีห ่ น้าตัดของ
ทางวิง่ นิ ยมใช้เป็ น 4 เท่าของรูเท และในทางปฏิบต ั ิมักอยู่ในหีบล่าง
(แต่ไม่เสนอไป)ทางวิง ่ มักท้าให้มีความเรียวเพื่อหลีกเลีย่ งการพาแก๊ส
และการไหลอลวนของน้้าโลหะเพื่อทีจ ่ ะให้น้ าโลหะไหล เท่าๆกันทุกๆ
ทางทางวิง ่ จะต้องเล็กลงเท่ากับทางเข้า

รูปแสดงสัดส่วนการออกแบบระบบทางวิง

ทางเข้า(Ingrates)

การท้าทางเข้าหลายๆทางส้าหรับงานหล่ออลูมเิ นี ยมก็ด้วยเหตูผล 2
ประการ คือ ประการแรก เพื่อหลีกเลีย ่ งการเทไม่เต็มแบบ
และประการทีส ่ อง น้้าโลหะจ้านวนมากทีผ ่ า่ นทางเข้าทางเดียวจะเป็ น
ผลท้าให้เกิดการหดตัวขึ้นข้างๆทางเข้านัน ้ เพราะบริเวณทางเข้า
นัน
้ มีความร้อนมาก เป็ นเหตุให้เย็นตัวช้า จึงถูกดึงน้้าบริเวณนัน ้ ไป
ท้าให้เกดโพรงหดตัวได้
การใช้อัตตาส่วนทางเข้า 1:4:4 นัน ้ พื้นทีร่ วมของทางเข้าจะประมาณ
เท่ากับพื้นทีร่ ูเท คูณด้วย 4 ทางเข้าจ้าเป็ นต้องท้าให้เรียวลง
และพาฟองแก๊สเข้าแบบหล่อ ทางเข้าอาจติดให้อยู่ในหีบบนหรือหีบ
ล่างก็ได้ ขึ้นกับว่าติดอย่างไร อยู่ทไ ี่ หนจึงจะท้าให้งานหล่อได้ดีทีส ่ ด

ไส้กรอง(Screen)

เพื่อป้ องกันโลหะแปลกปลอมเข้าไปกับน้้าโลหะส่ช ู ้ินงานหล่อ จ้าเป็ น


จะต้องใช้วิธีการต่างๆเพื่อท้าให้ได้น้ าโลหะทีส
่ ะอาด
อีกอย่างก็ใช้ทางวิง ่ ให้ยาวกว่าทางเข้าไปนิ ดหน่อย เทคนิ คอีกอย่าง
คือ ท้าทางวิง ่ ให้กลวงแล้วแคบลง เพื่อให้อากาศหรือขี้โลหะ
แยกตัวไปติดอยู่ผิวหีบบนไส้กรองอาจใส่ไว้ในจุดต่างๆในระบบทาง
เข้าเพื่อทีจ
่ ะท้าให้น้ าโลหะสะอาด

รูลน
้ (Risering)

จากประสบการณ์ของบริษท ั ไกเซอร์และเคมีประเทศอเมริกาพบว่ารู
ล้นส้าหรับอลูมิเนียมผสมนัน ้ นิ ยมใช้รูล้นเป็ นรูปทรงกระบอก
ทัง
้ นี้ เขาได้พิสูจน์จากการเอาพื้นทีผ่ ิวของรูล้นหารด้วยปริมาตรของรู
ล้น สรุปการใช้รูล้นในการหล่ออลูมิเนียมผสมไว้ดังนี้
1. ความสูงของรูล้นไม่ควรเกิน 1.5 เท่าของความโต(เส้นผ่า
ศูนย์กลาง) และความสูงไม่ควรน้อยกว่า 0.5 เท่าของความโต
(H=1.5D และ H=0.5D )
2. ความโตของรูล้น(D) ปกติจะโตกว่าความหนาของชิ้นงานทีจ ่ ะให้รู
ล้นป้ อนน้้าโลหะประมาณ 15-20%
3. ถ้าใช้รูลน้ ข้าง(Side riser) ข้างใต้รูล้นจะต้องท้าเป็ นรูปร่าง
กระเปาะคล้ายหลอดไฟฟ้ า
4. ถ้าใช้รูลน ้ ข้าง เนื้ อทีค
่ อคอดตรงทีต ่ ิดกับชิ้นงานจะต้องไม่นอ
้ ยกว่า
70% ของความหนา ของงานทีร ่ ูล้นจะท้าการป้ อน
5. ความยาว(ความสูง)ของรูล้นข้างต้องไม่มากกว่า 1/3 เท่าของความ
โต(H=0.33D)
ส้าหรับระยะการป้ อนของน้้าโลหะอลูมเิ นี ยมผสมปรากฏ ว่าป้ อนได้
ไกลกว่าเหล็กเหนียวหรือเหล็กกล้า ดังนัน ้ จ้านวนรูล้น
ทีใ่ ช้กับอลูมิเนียมผสมจึงควรน้อยกว่าเหล็กกล้าหรือเท่ากับเหล็กกล้า

เทคนิคการหลอมอลูมิเนียมผสม

เพื่อให้ได้งานหล่อทีด่ ีมีคุณภาพสูงตานมาตรฐานสากลเทคนิ คการหลอมมี


เทคนิ คส้าคัญๆแบ่งเป็ น 4 ขัน
้ ตอน ดังต่อไปนี้

1. การเลือกเตาหลอม
2. การป้ องกันและการก้าจัดแก๊สไฮโดรเย่น
3. การป้ องกันและการก้าจัดอลูมิเนี ยมออกไซด์
4. การปรับปรุงคุณสมบัติของอลูมิเนียมผสมขัน้ สุดท้ายก่อนเทลงแบบหล่อ

1.การเลือกเตาหลอม(Melting Furnace)

เตาหลอมทีใ่ ช้อลูมิเนียมผสมมีหลายแบบ ขึ้นอย่ก ู ับคุณภาพของอลูมิ


เนียมทีจ ่ ะหลอม แบ่งเป็ นพวกๆได้ดังนี้
1. เตาเบ้า(เตาน้้ามัน) โดยใช้เบ้ากราไฟท์หรือเซรามิค ชนิ ดยกออก
เท
2. เตากะทะ โดยใช้เหล็กหล่อหรือเหล็กกล้าพิเศษเป็ นกะทะ
มีทัง้ ชนิ ดตัง
้ อยู่กับทีแ
่ ละเอียงเทได้ และใช้น้ ามันเป็ นเชื้อเพลิง
3. เตาสะท้อนความร้อน มีทัง ้ ตัง
้ อย่ก
ู ับทีแ่ ละแบบเอียงเทได้ ใช้น้ ามัน
เป็ นเชื้อเพลิง
4. เตาถังเบร์เรล ใช้น้ ามันเป็ นเชื้อเพลิง
5. เตาไฟฟ้ าแบ่งเป็ น
ก.เตาช่อง แบบเหนี่ยวน้า
ข. เตาช่อง แบบเหนี่ยวน้าชนิ ด ความถีต ่ ่า

ค.เตาช่อง แบบเหนี่ยวน้าชนิ ด ความถีส ่ ูง
ง.เตาช่อง แบบความต้านทาน
รูปแสดง เตาเบ้าชนิ ดยกเบ้าออกเท

รูปแสดง เตาเบ้าทนความร้อนส้าหรับหลอมอลูมิเนียม

ถ้าเป็ นเตาแบบใช้ถ่านหรือน้้ามัน หรือแก๊สเป็ นเชื้อเพลิงควรจะเป็ น


ลักษณะทีเ่ ปลวไฟหรือเปลวความร้อนต้องไม่สัมผัสกับน้้าโลหะ
เพราะเปลวไฟจะมีไอน้้าปนอยู่ด้วย ท้าให้ไอน้้าแยกตัวเมื่อสัมผัสกับ
อลูมเิ นี ยมได้แก๊สไฮโดรเย่นและออกซิเจน อลูมิเนียมละลายแก๊ส
ไฮโดรเย่นได้ดีและกลายเป็ นอลูมิเนียมออกไซด์ได้ง่ายเมื่อสัมผัสกับ
ออกซิเจน ในขัน ้ ตอนการหลอมจ้าเป็ นจะต้องป้ องกันแก๊สทัง
้ สอง
ให้มากทีส ่ ุดเท่าทีจ
่ ะท้าได้

ส้าหรับเตาไฟฟ้ า ถ้าเป็ นแบบเหนี่ยวน้าไม่ว่าจะเป็ นความถีส ่ ูงหรือต้่า


จะมีผลท้าให้เกิดการกวนขึ้น ทีน ่ ้ าโลหะซึง่ ก้าลังหลอมเหลว ท้าให้
โอกาสละลายแก๊สในอากาศได้มาก ส้าหรับเตาแบบช่องซึง ่ ต้องอาศัย
น้้าอลูมิเนี ยมเป็ นขดลวดทีส
่ อง มักเกิดอลูมิเนี ยมอ๊อกไซด์ ซึง ่ เป็ น
ฉนวนท้าให้ขดลวดไม่ท้างานคือหลอมไม่ได้ เราอาจแก้ไขโดยอาศัย
ช่องของเตากว้างขึ้น หรือใช้โลหะอลูมิเนี ยมบริสุทธิใ์ ห้มากขึ้น และ
ต้องท้าความสะอาดช่องโดยการลดออกไซด์ทก ุ ๆ 3-4 ชัว
่ โมง ก็พอใช้
ได้แต่ก็ปฏิบัติยาก เตาไฟฟ้ าทีด่ ีทีส ่ ุดควรจะเป็ นแบบความต้านทาน
เพราะสามารถควบคุมได้ง่ายทัง ้ การละลายแก๊สและการเกิดอลูมิเนีย
มอ๊อกไซด์ หรือขี้โลหะเพราะเตาไฟฟ้ าแบบนี้ ไม่เกิดการกวนน้้าโลหะ
เวลาหลอม

ถ้าหากเป็ นชิ้นงานเล็กๆ งานเบาๆ เย็นเร็วๆ ไอน้้าไม่ทันเกิดต้องการ


ผิวเรียบอาจใช้ในทรายเล็กขนาด 200-250 F.A.S
ต้องมีดนิ เหนี ยวเพิม
่ ขึ้นด้วย แต่อัตราลมผ่านจะต้่าในราว 5-10
เท่านัน

top

2.การป้ องกันและก้าจัดแก๊สไฮโดรเย่น

ในการหลอมอลูมิเนียมผสมจะหลีกเลีย ่ งเรื่องไม่ให้แก๊สไฮโดรเย่นเข้า
ละลายในน้้าโลหะได้ยากมาก เพราะแก๊สไฮโดรเย่นมีทม ี่ าได้หลาย
ทางเช่น
ติดมากับโลหะทีจ ่ ะหลอมพวกอลูมิเนียมแท่ง หรือพวกรูล้น รูเท ทีน ่ ้า
มาหลอมใหม่ในรูปขอวงความชื้น มากับแก๊สทีไ ่ ด้จากการเผาไหม้
และสุดท้ายมาจากความชื้นในอากาศ เมื่อความชื้นหรือไอน้้าสัมผัส
กับอลูมิเนียมเหลวก็จะเกิดแก๊สไฮโดรเย่นและขี้โลหะขึ้น ดังสมการ
3 H2O+ 2 Al --------------------> 6 H+Al2O3

ไอน้้า อลูมิเนียม ไฮโดรเย่น อลูมิเนียมออกไซด์

ในตอนทีแ ่ ก๊สไฮโดรเย่นละลายอยู่ในอลูมิเนี ยมจะอยู่ในสภาพทีเ่ ป็ น


อะตอม ต่อเมื่ออลูมิเนียมเย็นตัวลง ปริมาณของแก๊สไฮโดรเย่น
ทีล
่ ะลายได้จะลดน้อยลงตามล้าดับ ท้าให้อะตอมของไฮโดรเย่นทีถ ่ ูก
ขับออกมารวมตัวกันเป็ นโมเลกุลและในทีส ่ ุดก็กลายเป้ นฟองเล็กๆ
แยกตัวลอยขึ้นเหนื อน้้าโลหะถ้าแยกตัวออกจากน้้าโลหะไม่ทัน เนื่ อง
จากอลูมิเนียมแข็งตัวเสียก่อน ก็ยังตกค้างอยู่ในอลูมิเนี ยมเป็ นฟอง
เล็กๆกระจัดกระจายอยู่ทัว ่ ไป ท้าให้คุณภาพของงานหล่อทีไ ่ ด้ต่า้ จะ
เห็นได้ชัดเจนภายหลังทีเ่ อาชิ้นงานไปกลึงหรือไส
หรือถ้าจะเขียนเป็ นกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอลูมิเนี ยม และ
ความสามารถของไฮโดรเย่นทีล ่ ะลายได้ในอลูมิเนี ยม
วิธีป้องกันและก้าจัดแก๊สไฮโดรเย่น ในทางปฏิบัตินัน ้ ก่อนทีจ่ ะท้าการ
หลอมอลูมิเนี ยม จ้าเป็ นจะต้องน้าอลูมิเนี ยมทีจ ่ ะหลอม เช่น
พวกอลูมิเนียมแท่ง,รูลน ้ ,รูเทและอื่นๆ มาย่างหรืออุ่นเสียก่อนทีจ ่ ะใส่
เข้าเตา โดยวางไว้บนหลังเตาหลอมนัน ้ เอง
เมื่ออลูมเิ นี ยมผสมละลายหมดแล้ว จะใช้แก๊สคลอรีนหรือแก๊ส
ไนโตรเจน ปล่อยผ่านท่อลงไปก้นเบ้าท้าให้เกิดเป็ นฟองขึ้นมาทีผ ่ ิวน้้า
โลหะฟองของแก๊สคลอลีนจะท้าหน้าทีพ ่ าเอาแก๊สไฮโดรเย่นออกมา
ด้วย บางทีอาจใช้อลูมิเนี ยมคลอไรด์หรือเฮ็กซ่าโครโรอีเทน ซึง ่ เป็ น
ของ
แข็งลดลงใต้ผิวน้้าอลูมเิ นี ยม จะท้าให้เกิดเป็ นฟองของแก๊สขึ้นท้า
หน้าทีไ่ ล่แก๊สไฮโดรเย่นได้เช่นเดียวกัน การก้าจัดแก๊สไฮโดรเย่นจะ
ต้อง
ท้าก่อนเทลงแบบหล่อเล็กน้อยเมื่อไล่แก๊สแล้วต้องรีบเทน้้าโลหะลง
แบบหล่อทันที มิฉะนัน ้ อลูมเิ นี ยมอาจละลายแก๊สไฮโดรเย่นได้อก ี
ในกรณี ทีไ ่ ม่แน่ใจว่าได้ไล่แก๊สไฮโดรเย่นออกหมดหรือยัง อาจต้องใช้
อุปกรณ์ดูดแก๊สแบบ สูญญากาศ ทดสอบดูก่อนเพื่อให้แน่นใจว่าไม่
มีแก๊สไฮโดรเย่นหรืออยู่ในน้้าโลหะอลูมิเนี ยม
รูปแสดง อุปกรณ์ดูดแก๊สไฮโดรเย่นแบบสูญญากาศ

3.การป้ องกันและก้าจัดอลูมิเนี ยมออกไซด์

เราทราบว่าอลูมเิ นี ยมออกไซด์มีความถ่วงจ้าเพาะใกล้เคียงกับอลูมิ
เนียมหลอมเหลวมาก คือประมาณ 2.40-3.99 ซึง ่ อลูมิเนียมประมาณ
2.70
(ดูข้างล่างนี้ )จึงท้าให้อลูมิเนียมอ๊อกไซด์สามารถลอยปะปนไปกับน้้า
โลหะได้ง่ายในขณะทีเ่ ทน้้าลงแบบหล่อ จะท้าให้งานหล่อทีไ ่ ด้มี
คุณภาพต้่า
การแก้ไขจุดเสียจะต้องกระท้าทัง ้ การป้ องกันไม่ให้เกิดอลูมเิ นี ยมอ๊อก
ไซด์หรือถ้าจะเกิดก็ให้เกิดได้นอ ้ ยทีส่ ุดออกไปด้วย

การแสดงความถ่วงจ้าเพาะของวัสดุบางตัวที่มีอยู่ในอลูมิเนี ยม
ออกไซด์หรือขี้โลหะ

ตามปกติอลูมิเนี ยมสามารถรวมกับออกซิเจนได้ง่ายมาก แต่ออกไซด์


ของอลูมิเนียมจะมีความแน่นทึบมาก ไม่ยอมให้อีอกซิเจน
แทรกซึมเข้าไปท้าปฏิกิริยากับอลูมิเนี ยม ใต้ผิวของออกไซด์ได้ ดัง
นัน้ อลูมิเนียมอ๊อกไซด์จึงเกิดแต่ผิวหน้าน้้าโลหะจะท้าหน้าทีเ่ ป็ นเยื่อ
บางๆ
ป้ องกันการเกิดอ๊อกไซด์ได้เป็ นอย่างดี ถ้าเราท้าการหลอม อลูมิเนียม
ด้วยวิธีธรรมดา การป้ องกันการเกิดออกไซด์จะท้าได้โดยไม่แตะต้อง
หรือกวนน้้าโลหะเลย ท้าให้เยื่อบางๆของอลูมิเนียมออกไซด์ถูก
ท้าลาย การเกิดออกไซด์ต่อก็จะมีนอ ้ ย แต่เพื่อให้การป้ องกันมี
ประสิทธิภาพ
เรามักจะใช้ยาฟลักซ์เข้าช่วยซึง ่ ยาฟลักซ์ทีใ่ ช้มี 4 ประเภท

1.ยาฟลักซ์ควบคุมผิวหน้า ยาฟลักซ์ตัวนี้ ท้าหน้าทีค่ วบคุมผิวหน้าน้้า


โลหะไว้ เป็ นการป้ องกันทัง
้ ไม่ให้เกิดออกไซด์ และการละลายของ
แก๊สไฮโดรเย่น ยาฟลักซ์ชนิ ดนี้ จึงต้องมีจุดหลอมเหลวต้่ากว่าจุด
หลอมตัวของอลูมิเนี ยม และมีความถ่วงจ้าเพาะต้่ากว่าด้วย ยาฟลักซ์
พวกนี้
ได้แก่ เกลือคลอไรด์ของโซเดียม และเกลือคลอไรด์ของโปรแตสเซี
ยม ทีแ
่ ห้งสนิ ทหรือใช้เกลือสินธเภาก็ได้

2.ยาฟลักซ์ท้าให้สะอาด ยาพวกนี้ ท้าหน้าทีป่ ้ องกันการเกิดอ๊อกไซด์


และช่วยท้าให้อ๊อกไซด์และสิง่ เจือปนอื่นๆลอยขึ้นมาอยู่ที่
ยาฟลักซ์ชนิ ดนี้ ประกอบด้วยเกลือโซเดียมและเกลือโปรแตสเซียม
เช่นเดียวกับยาฟลักซ์คลุมผิวหน้า แต่จะต้องผสมฟลูออไรด์เข้าไป
ด้วย ท้าให้มีจุดหลอมเหลวและความถ่วงจ้าเพาะต้่า
3.ยาฟลักซ์จ้ากัดขี้โลหะ เป็ นยาทีใ่ ช้ก้าจัดโลหะโดยเฉพาะ ส่วนใหญ่
จะใช้ยาชนิดนี้ ในตอนทีจ
่ ะเทโลหะลงแบบหล่อ ยาพวกนี้ จะเป็ นตัวไป
จับพวกออกไซด์ต่างๆ ให้รวมกันอยู่ในลักษณะเหนี ยว ท้าให้เรากวาด
ออกได้ง่าย และก็ช่วยท้าให้พวกขี้โลหะไม่ไหลตามน้้าโลหะลงไปใน
แบบหล่อจ้ากัดออกได้ง่าย ยาฟลักซ์พวกนี้ ประกอบด้วยเกลือโซเดียม
และเกลือโปรแตสเซียมรวมกับไครโอไลท์ 5-10%หรือโซเดียมฟลูออ
ไรด์ก็ได้

4.ยาฟลักซ์ลดแก๊ส ยาลดแก๊สพวกนี้ ปกติมักใช้แก๊สครอรีนและ


ไฮโดรเจน โดยเป่ าผ่านเข้าไปในน้้าโลหะเกิดฟองพาเอาแก๊สไฮ
โดรเย่น
และพวกออกไซด์ต่างๆออกมาด้วย

แก๊สคลอรีนมีข้อได้เปรียบ 2 อย่างคือฟองของมันมีแรงดันต้่า
สามารถพาเอาแก๊สไฮโดรเย่นและสารมลทินต่างๆออกมาได้
และมันยังรวมกับอลูมิเนี ยมครอไรด์ ซึง ่ จะดึงเอาสารอโลหะฝั งในลอย
ขึ้นมาอยู่ทีผ ่ ิวน้้าโลหะได้
แต่แก๊สทัง ้ สองมีข้อเสียหลายอย่าง เช่น แก๊สไฮโดรเย่นเป็ น
แก๊สเฉื่ อยไม่สามารถเอาอนุภาคพวกอโลหะออกมาได้และใช้เวลา
นาน
นอกจากนัน ้ ไนโตรเจนยังรวมกับแม็กนีเซียม ท้าให้แม็กนี เซียมสูญ
เสียมาก ท้าให้สารมลทินพวกอโลหะมากด้วย ส่วนคลอรีนท้าให้อลูมิ
เนียม
และเเม็กนี เซียม สูญเสียมากจนสิ้นเปลืองนอกจากนัน ้ แก๊สคลอรีนยัง
เป็ นพิษอีกด้วย จึงต้องใช้เครื่องป้ องกันอย่างดี
ด้วยเหตุทีค ่ ลอรีนและไนโตรเจนมีข้อเสียหลายอย่าง ช่างหล่อส่วน
มากจึงหันมาใช้ อะลูมิเนียมคลอไลด์แอนไฮดรัสคลอริเนตไฮโดร
คาบอนด์เอ็กซ่าคลอรีเธน , ไทเตเนียมคลอไลด์ เฮ็กซ่าคลอโดร
เบนซิน และคาร์บอนเต็ทตาร์คลอไรด์ แต่คาร์บอนเต็ทตาร์คลอไรด์
มีพิษมาก
บางบริษท ั ได้ท้ายาฟลักซ์ลดแก๊สโดยเติมยาส้าหรับท้าให้เกรน
ละเอียดไปพร้อมกันด้วยซึง ่ เหมาะกับงานหล่อ

4. การปรับปรุงคุณสมบัติขัน
้ สุดท้ายก่อนเทลงแบบหล่อ (Grain
refinement)

อะลูมิเนี ยมผสมเป็ นโลหะทีม ่ ชี ่วงการแข็งตัวค่อนข้างกว้างจึงมักจะได้


เม็ดเกรนทีม ่ ีขนาดโต ท้าให้คุณสมบัติทางกลเสียไปมาก โดยเฉพาะ
งานทีม่ ีความหนามากๆ ยิง ่ หล่อด้วยแบบทรายแล้วจะได้เม็ดเกรนทีม ่ ี
ขนาดโตมากขึ้น ความประสงค์ในการปรับปรุงคุณสมบัติ ขัน ้ สุดท้าย
ก่อน
เทลงแบบหล่อ ก็เพื่อแก้ไขลงอลูมิเนียมผสมทีไ ่ ด้มีขนาดเม็ดเกรน
เล็กและสม้่าเสมอ การปรับปรุงคุณสมบัติดังกล่าว
มีหลักการทีส ่ ้าคัญ 2 ประการคือ
1. การท้าให้เย็นตัวลงอย่างรวดเร็ว เป็ นการลดช่วงของการเกิดการ
แข็งตัวให้สัน้ ทีส่ ุด เพื่อไม่ให้โอกาสเม็ดเกรนทีเ่ กิดขึ้นมี
การพองโตขึ้น วิธีทีใ่ ช้โดยทัว ่ ไปก็คือใช้โลหะเป็ นแบบหล่อ เช่นการ
หล่อแบบแม่พิมพ์หรือแบบหล่อถาวร เป็ นต้น
2. การผสมโลหะช่วยในการท้าให้เม็ดเกรนละเอียด ซึง ่ โลหะทีผ ่ สม
ลงไปจะไม่ท้าให้ส่วนผสมของอลูมเิ นี ยมผสมต้องเสียไป
หรือเปลีย ่ นไป โลหะทีจ ่ ะเป็ นตัวท้าให้เม็ดเกรนละเอียดได้แก่ ไทเต
เนียม โบรอน หรือ เซอร์โคเมียม การผสมโลหะเหล่านี้ มก ั จะท้าก่อน
การเทน้้าโลหะลงไปในแบบหล่อเล็กน้อยซึง ่ ไทเตเนียมหรือโบรอน
จะรวมตัวกับกลายเป็ นสารประกอบ เช่น ไทเตเนี ยมโบไรด์ หรือ
สารประกอบ Intermeatllic (อินเตอร์เม็ทตอลลิค) อื่นๆ และ
สารประกอบเหล่านี้ จะอยู่ในสภาพของแข็งลอยอยู่ในน้้าโลหะอลูมิ
เนียมผสม
ซึง่ จะท้าหน้าทีใ่ ห้ก้าเนิดนิ วเคลียสเทียม(Heterogeneous
neucleous)แก่โลหะอลูมเิ นี ยมผสมท้าให้ได้เม็ดเกรนทีล ่ ะเอียด
สม้่าเสมอ
สารทีเ่ ม็ดเกรนละเอียดทีใ่ ช้กันทัว ่ ไปจะอยู่ในรูปของฟลักซ์(Fluxes)
เช่นโปรตัสเซียม ไทเตเนี ยม ฟลูออไรด์(K2TiF6)และ
โปตัสเซียมไบโรฟูออไรด์ (KBF4) เมื่อผสมลงไปในอลูมิเนี ยมเหลวจะ
เกิดปฏิกริยาแยกตัวออกและจะได้ไทเทเนียมโบไรด์ในทีส ่ ุดซึง

ไทเทเนี ยมโบไรด์ท้าหน้าเป็ นตัวท้าให้เม็ดเกรนละเอียด(Grain
refines) นอกจากสารทีท ่ ้าให้เม็ดเกรนละเอียดในรูปของตัวยาฟลัก
ซ์
และยังมีใช้กันในรูปของโลหะรวม(Hardener) ระหว่างอลูมิเนียมกับ
ธาตุทีเ่ ป็ นตัวท้าให้เม็ดเกรนละเอียด เช่นอลูมิเนียมไทเทเนียม ,
อลูมเิ นี ยม - โบรอน .หรืออลูมิเนียม - ไทเตเนียม - โบรอน เป็ นต้น
ในทางการค้ามีโลหะรวม(Hardener) ส้าหรับท้าหน้าทีใ่ ห้เม็ดเกรน
ละเอียดหลายตัวดังนี้

ตัวทีใ่ ช้กันอย่างกว้างขวางทีส ่ ุดได้แก่อลูมิเนี ยม - ไทเตเนี ยม และ อลู


มิเนี ยม - ไทเตเนียม -โบรอน ส้าหรับส่วนผสมนัน ้ อลูมเิ นี ยม - ไทเต
เนียม
มีส่วนผสมของไทเตเนี ยมระหว่าง 5-10% และ อลูมิเนี ยม - ไทเต
เนียม - โบรอน มีส่วนผสมของไทเตเนียมประมาณ 5% โบรอน
ประมาณ
0.1-2.5% ปริมาณของสารทีท ่ ้าให้เม็ดเกรนละเอียดทีต ่ อ
้ งการส้าหรับ
อลูมเิ นี ยมผสมทัว ่ ๆ ไปและจะใช้ประมาณ 0.05-0.15 % ไทเตเนี ยม
และ
0.04% โบรอน หรือระหว่าง 0.01 - 0.08% ไทเตเนียม และ 0.03%
โบรอน ถ้าใช้ปริมาณของสารทีท ่ ้าให้เม็ดเกรนละเอียดมากเกินไปจะ
เกิด
ข้อเสียตรงทีม ่ ีการแยกตัวโดยเฉพาะ ไทเตเนี ยม - โบไรด์ จะมีความ
หนาแน่นมากกว่าอลูมเิ นี ยม จะแยกตัวตกตะกอนจมอยู่กน ้ เบ้า หรือ
ก้นเตา
นอกจากนี้ ไทเตเนี ยม - โบไรด์ มีความแข็งค่อนข้างสูงจะท้าให้อายุ
การท้างานของแม่พิมพ์ (die) โดยเฉพาะแม่พิมพ์ทีอ ่ ลูมิเนี ยมผสม
(Extrusion die)จะสัน ้ ลงมาก
นอกจากการท้าให้เม็ดเกรนละเอียดแล้วยังมีกรรมวิธีทเี่ รียกว่า"การ
ดัดแปลง" (Modification)ใช้เฉพาะกับอลูมิเนียม - ซิลก ิ อน
ซึง
่ ก็เป็ นวิธีการท้าให้เม็ดเกรนละเอียดอีกวิธีหนึ่ งโดยจะใช้โซเดียม
ประมาณ 0.02% ผสมอยู่ในอลูมเิ นี ยมทีม ่ ีซิลก
ิ อนต้่ากว่าจุด ยูเท็คติก
(Hyto - eutectic,7-12% Si ) และถ้ามีซิลิกอนเกิน 12 % จะใช
ฟอสฟอรัส "ดัดแปลง" แทนโซเดียมซึง ่ หลักการใช้ฟอสฟอรัส
จะคล้ายคลึงกับการใช้ไทเทเนี ยมและโบรอนกล่าวคือฟอสฟอรัสจะ
รวมตัวกับ อลูมิเนี ยมฟอสไฟด์ (AlF) และท้าหน้าทีเ่ ป็ นนิ วเคลียส
เทียม
ท้าให้เกรนทีไ
่ ด้ละเอียดสม้่าเสมอ

ข้อเสียของการเติมสารทีท
่ ้าให้เม็ดเกรนละเอียดก็คือ

1. ท้าให้การไหลตัว (Fluidity ) ของอลูมิเนียมผสมลดลง 10%


2. ท้าให้การน้าไฟฟ้ าลดลง
3. ถ้าน้าอลูมิเนียมผสมทีท ่ ้าให้เม็ดเกรนละเอียดแล้วมาหลอมใหม่
สารทีเ่ ติมเพื่อท้าหน้าทีใ่ ห้เม็ดเกรนละเอียดจะหมดไป จะต้องท้าใหม่
อีก

ล้าดับขั้นการหลอมอลูมิเนียม

ล้าดับขัน
้ การหลอมอลูมิเนี ยม-ซิลิกอน โดยวิธีนาแวค(NAVAC)ของบ
ริษท
ั โฟเซโก (FOSECO)จ้ากัด

โดยใช้ยาฟลักซ์ชนิ ดต่างๆของบริษท ั (FOSECO) ประเทศอังกฤษ เตาทีใ่ ช้


เป็ นเตาเบ้า ซึง
่ มีล้าดับขัน
้ ปฏิบตั ิดังต่อไปนี้

1.อ่น
ุ เบ้าให้ร้อนแดง
2.ใส่อลูมิเนียมผสมทีเ่ ป็ นแท่ง และเศษพวกรู้ล้น,รูเท
3.รอจนอลูมิเนี ยมทีอ ่ ยู่ในเบ้าเริม
่ ละลาย ก็โรยยาฟลักซ์คุมผิวหน้าที่
ชื่อว่า COVERAL 11 คลุมให้ทัว ่ ปกติใช้ยานี้ 250 กรัมต่ออลูมเิ นี ยม
50 กก.
4.เติมอลูมิเนียมทีเ่ หลือลงเบ้าให้หมด แล้วเริม ่ หลอมโดยเร็ว ตอนนี้
ฟลักซ์คลุมผิวหน้าก็ยังมีอยู่
5.อย่าให้น้ าโลหะร้อนเกิน 760o C แล้วหยุดเตา(หรือยกเบ้าออก)
ตอนนี้ ความร้อนในเบ้ายังคงรักษาระดับอุณหภูมิให้เพียงพอ และใน
ช่วงเวลานี้ น้้าโลหะจะดึงดูดแก๊สออกมาโดยยา DEGASER 190
หรือ 301 หรือ 450 ตัวใดตัวหนึ่ ง
6.ใส่ยาฟลักซ์คลุมผิวนิ ดหน่อยแล้วจึงใส่ยา DEGASER 190 ชนิ ด
เม็ด ใช้ประมาณ 0.25% โดยน้้าหนักกดลงก้นเบ้าหรือใช้ยา

DEGASER 450 ใช้ประมาณ 0.35% โดยน้้าหนักกดลงก้นเบ้า รอ


จนกว่าปฏิกิริยาฟองแก๊สเดือดจึงหยุด ปกติกินเวลา 2-3 นาที
หัวกดส่วนมากท้าด้วยเหล็กเหนี ยวรูประฆังคว้่าเจาะรู จึงต้องทายา
FIRIT เพื่อกันเหล็กเหนี ยวไม่ให้ละลายรวมกับอลูมิเนี ยม
7.ตอนนี้ อณ
ุ หภูมิของน้้าโลหะจะอยู่ประมาณ 720-740o C ใส่ยา
ปรับปรุงคุณภาพชื่อ NAVAC โดยการกดลงก้นเบ้า เมื่อปฏิกิรย ิ าเกิด
พอดีแล้ว
จึงกวนน้้าดลหะด้วยหัวกดนัน ้ 2-3 ครัง ้ แต่อย่าให้ยาคลุมผิวแตก
แล้วจึงเอาหัวกดยาออก ยา "NAVAC 25" 1 ก้อนใช้กับอลูมิเนียมได้
50 กก.
ถ้าหลอมน้อยหรือมากกว่านี้ ก็ให้เพิม ่ ลดตามสัดส่วนได้
8.โรยยาคลุมผิว "COVERAL 11 " ลงไปอีกเหมือนข้อ 3 รอจนน้้า
โลหะนิ่ งประมาณ 5-10 นาที ขึ้นอยู่กบ ั ว่าหลอมมากหรือน้อย แต่ไม่
ควรเกิน
5 นาที ต่อน้้าโลหะ 50 กก.
9.ตอนนี้ยาฟลักซ์จะเป็ นชัน ้ คลุมผิวหน้าน้้าโลหะทัว ่ และขี้โลหะจะดู
เป็ นสีแดงเรื่อๆ ซึง
่ เป็ นผลของ
ปฏิกิรยิ าริยาเพิม
่ ความร้อนของยาฟลักซ์ ขี้โลหะจึงไม่มีเนื้ อโลหะติด
อย่เู ลยจึงถูกกวาดออกจนสะอาด
10.รีบเทลงแบบหล่อทันที อย่ารอพักเป็ นอันขาด

ล้าดับขัน
้ การหลอมอลูมิเนี ยม - แม็กนี เซียม

1. อ่น
ุ เบ้าให้ร้อนแดงใส่
2. ใส่อลูมิเนียมแท่ง (Ingot) และเศษพวกรูล้น, รูเท ฯลฯ
3. โรยฝุ่นยาฟลักซ์คลุมผิว"COVERAL 65 " ใช้ 250 กรัมต่อน้้าโลหะ
50 กก.
4. ใส่อลูมิเนียมทีเ่ หลือ แล้วหลอมต่อโดยเร็ว ตอนนี้ ยาฟลักซ์คลุมผิว
ก็ยังคงมีอยู่
5. เมื่อน้้าโลหะมีสภาวะเหมือนพลาสติก อุณหภูมป ิ ระมาณ 600oC ก็
ต้องเติมยาฟลักซ์คลุมผิว COVERAL 65 ลงไปอีกให้ทัว ่ ผิวน้้าโลหะ
ใช้ยานี้ อย่างน้อย 1 กก. ต่อน้้าโลหะ 50 กก.
6. เมื่ออุณหภูมิถึง 700oC ก็หยุดเตา ความร้อนทีเ่ หลืออยู่จากผนัง
เตาหรือเบ้า จะมีเพียงพอทีจ ่ ะให้อุณหภูมิ ของน้้าโลหะเพิม ่ ขึ้นถึง
750oC พยายามควบคุมอุณหภูมอ ิ ย่าให้เกิน 750oC
7. ยาฟลักซ์คม ุ ผิวตอนนี้ จะอยู่ในสภาพของเหลว จะเซาะลงในน้้า
โลหะโดยใช้หัวกดเจาะพรุนกดลงไปกวนไปด้วยแล้วกวาดให้คลุม
ผิวน้้า
โลหะให้ทัว ่ อยู่เสมอ
8. เขีย่ ขี้ตะกรันบนผิวน้้าโลหะไปอยู่ข้างหนึ่ งแล้วใส่ยาฟลักซ์
DEGASER 190 เป็ นก้อนลงก้นเบ้า โดยการกดด้วยหัวจุ่ม ใช้อย่าง
น้อย
250 กรัมต่อน้้าโลหะ 50 กก. ถ้าหลอมมากๆ ควรแบ่งใส่ 2 ครัง ้ ตาม
สัดส่วนทีต ่ ้องการ กดอยู่กน ้ เบ้าจนกว่าปฏิกิริยาเดือดจะหยุด
9. โรยยาฟลักซ์ COAERAL 11 คลุมผิวอีก 250 กรัมต่อน้้าโลหะ 50
กก. รอเวลาซัก 5 นาทีจนน้้าโลหะสงบนิ่ ง
10. ตอนนี้ ยาฟลักซ์กระจายอยู่ทัว ่ ผิวน้้าโลหะ จะท้าให้ข้ีโลหะกลาย
เป็ นสีแดงเรือๆ และเป็ นผงละเอียดท้าการกวาด ออก ตรวจอุณหภูมิ
ถูกต้องแล้วต้องรีบเทลงแบบทันที

ล้าดับขัน
้ การหลอมอลูมิเนี ยม-สังกะสี-แม็กนี เซียม DTD 5008
B(โดยวิธีใช้ยาฟลักซ์คลุมผิวชนิ ดแห้ง)

1. อ่น
ุ เบ้าให้ร้อนแดง
2. ใส่อลูมิเนียมแท่ง เศษพวกรูเท รูลน้ ฯลฯ
3. ถ้าเป็ นไปได้ต้องหลอมโดยเร็ว เมื่อโลหะหลอมก็โรยยาฟลักซ์
COVERAL 11 ลงไปประมาณ 500 กรัม ต่อน้้าโลหะ 100 กก.
อุณหภูมิของโลหะตอนนี้ ต้องไม่เกิน 800o C
4. ใส่สารท้าให้เม็ดเกรนละเอียดและยาฟลักซ์ดึงแก๊สก่อนหล่อ โดย
กดยา NUCLEANT 2 ประมาณ 250 กรัมต่อน้้าโลหะ 100
กรัมลงก้นเบ้าเมื่ออุณหภูมิเริม ่ ลดลงกดอยู่จนปฏิกิรย ิ าเดือดลงจึง
ใส่ยาดึงแก๊สพวก DEGASER 400 โดยกดลงก้นเบ้า ใช้ยานี้ ประมาณ
300 กรัมต่อน้้าโลหะ 100 กก.เติมแม็กนี เซียมลงตอนนี้ ถ้าจ้าเป็ น
โดยกดลงไปโดยใช้เหล็กขอทีเ่ ผาแห้งแล้ว เครื่องมือกดตัวยาทีก ่ วาด
ขี้โลหะจะต้องทายา FIRIT 1
5. เมื่ออุณหภูมิเทได้ทีก
่ เ็ ขีย
่ ขี้โลหะทีผ
่ ิวออกแล้วเทลงแบบทันที

ข้อสังเกต

ตลอดเวลาอย่าให้ตัวยาคลุมผิวแตกจากแยกกันขณะท้าการหลอมถ้า
แตกจนเห็นน้้าโลหะ

You might also like