You are on page 1of 16

การทดลองเกี่ยวกับแรงดึง (Tensile test)

วัตถุประสงค์ของการทดลองนี ้

1.เพื่อศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติทางกลของโลหะชนิดต่างๆ

2.เพื่อศึกษาการเสียรูปของโลหะชนิดต่างๆ

3.เพื่อทำการศึกษาและทดสอบเกี่ยวกับแรงดึง

การทดสอบวัสดุด้วยแรงดึง (Tensile Test) เมื่อวัสดุได้รับแรงดึงในทิศตัง้ ฉากกบพื้นที่หน้า


ตัดของวัสดุ จะทําให้เนื้อวัสดุเกิด แรงต้านในทิศตัง้ ฉากกับพื้นที่หน้าตัดเพื่อไม่ให้เนื้อ
วัสดุเกิดการขาด เป็ นการทดลองเพื่อ ทดสอบหาค่า ความเค้น (Stress) และ
ความเครียด (Strain) โดยนําวัสดุเหนียว (Ductile material) เข้าไป ทดสอบกับเครื่อง
ทดสอบแรงดึงสากล (Universal testing machine) เป็ นเครื่องที่สามารถใช้ทดสอบได้ทงั ้ แรง
ดึงและแรงกด โดยใช้วิธีทดสอบมาตรฐานสําหรับการทดสอบ แรงดึงและชิน
้ ทดสอบ
ขนาดมาตรฐาน ASTM E8 / E8M-13a ด้วยเช่นกัน วัสดุที่เลือกนํามาใช้ในการทดสอบ คือ
Aluminum 6063-T5 และ โลหะ SR-24 ในการทดสอบ โดยความเร็วในการทดสอบนัน
้ จะ
ช้ามากเนื่องจากไม่ต้องการให้ชน
ิ ้ งานที่ทดสอบ การเปลิ่ ยนแปลงสถานะอยางรวดเร็ว
โดยวัสดุที่ใช้ในการทดลองควรเป็ นวัสดุที่เปลิ่ยนแปลงสมบัติภายในช้าๆ
ตารางบันทึกผลการทดลอง

จากเครื่องทดสอบแรงดึง (Tensile Testing Machine)

หมายเล วัสุดุของ ความเร็ เส้นผ่า Gauge ระยะ ระยะ


ขของ ชิน
้ งานที่ วของ ศูนย์กลาง( Length( เริ่ม สุดท้าย(
ชิน
้ ที่ ทดสอบ การ mm) mm) ต้น(m mm)
ทดสอบ ดึง(m m)
m/
min)
1 Al 6063- 10-20 6 24 36.2 41.284
T5(1)
2 Al 6063- 10-20 6 24 35.8 41.161
T5(2)
3 Al 6063- 10-20 6 24 35.4 40.800
T5(3)
4 SR-24 10-20 6 24 36.6 47.525

ตารางสรุปผลการทดลอง

การทดสอบแรงดึงกับชิน
้ งาน Aluminium 6063-T5
ชิน
้ งานที่ 1

ภาพที่ 1 Front Panel แสดงผลการทดลองของแรงดึงกับชิน


้ งานชิน
้ ที่1
Aluminium 6063-T5

กราฟที่1 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นกับความเครียดของชิน
้ งาน
Aluminium 6063-T5 ชิน
้ ที่1
จากกราฟที่ 1 แสดงความเค้นและความเครียดของวัสดุซึ่งได้จากการนํา
ข้อมูลภาระและระยะยืดไปคํานวณ โดย กราฟ Stress-Strain curve ของ
Aluminum 6063-T5 ชิน
้ ทดสอบแรกจุดที่ชน
ิ ้ ทดสอบเริ่มมีการเสียรูปแต่ยัง
อยู่ ในช่วง Elastic ในช่วงนีจ
้ ะมีค่า Young’s Modulus สามารถหาค่าได้
จากความชันของเส้นกราฟ ในช่วง Elastic โดย ความชันหรือ Young’s
Modulus มีค่าประมาณ 5.833 GPa ช่วง Elastic จะสิน
้ สุดที่ตําแหน่งนี ้
หมายความว่าหลังจากจุดนีช
้ น
ิ ้ ทดสอบจะไม่สามารถกลับสู่รูปร่างเดิมได้จะ
เกิดการเสียรูปอยางถาวรซึ่งก็คือจะเป็ นช่วงที่เกิด Yield และ Yield
strength จะมีค่าอยูในช่วง 193.75 ถึง 209.375 MPa และมีค่า Load ที่
จุด Yield มีค่าอยู่ในช่วง 5497.897 ถึง 5851.721 N และเมื่อผ่านไปอีก
ช่วง คือช่วงที่มีการรับ Stress มากที่สุดโดย Ultimate strength จะมีค่า
ประมาณ 225.198 MPa และมีการรับ Load มากที่สุดด้วยวเช่นกัน มีค่า
ประมาณ 6369.908 N เป็ นจุดเริ่มการเกิด Necking หรือคอคอด คือการที่
พื้นที่หน้าตัดของชิน
้ ทดสอบจะลดลงเรื่อยๆจนเกิดการขาด

ชิน
้ งานที่2
ภาพที่ 2 Front Panel แสดงผลการทดลองของแรงดึงกับชิน
้ งานชิน
้ ที่2
Aluminium 6063-T5
กราฟที่2 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นกับความเครียดของชิน
้ งาน
Aluminium 6063-T5 ชิน
้ ที่2

กราฟ Stress-Strain curve ของ Aluminum 6063-T5 ชิน


้ ทดสอบที่ 2 มี
จุดที่ชน
ิ ้ ทดสอบจะเริ่มมีการเสียรูปแต่ยังอยูในช j วง Elastic ในช่วงนีจ
้ ะมีค่า
Young’s Modulus ที่สามารถหาได้จากความชันของเส้นกราฟ ในช่วง
Elastic โดยความชันหรือ Young’s Modulus มีค่าประมาณ 6.021 GPa
และเมื่อผ่านไปถึงจุดต่อไป เป็ นจุด Elastic limit ซึง่ ช่วง Elastic จะสิน
้ สุด
ที่ตําแหน่งนีห
้ มายความว่าหลังจากจุดนีช
้ น
ิ ้ ทดสอบจะไม่สามารถกลับสู่รูป
ร่างเดิมได้จะเป็ นการเสียรูปอย่างถาวร ซึ่งก็คือจะเป็ นช่วงที่เกิดการ Yield
และ Yield strength จะมีค่าอยู่ในช่วง 191.67 ถึง 201.167 MPa และมี
ค่า Load ที่จุด Yield มีค่าอยู่ ในช่วง 5485.198 ถึง 5763.25 N และเมื่อ
ผ่านไปถึงจุดต่อไป คือช่วงที่จะมีการรับ Stress มากที่สุดโดย Ultimate
strength จะมีค่าประมาณ 223.858 MPa และมีการรับ Load มากที่สุด
ด้วยเช่นกัน มีค่าประมาณ 6331.992 N เป็ นจุดเริ่มเกิดการ Necking หรือ
คอคอด คือการที่พ้น
ื ที่หน้าตัดของชิน
้ ทดสอบจะลดลงเรื่อยจนเกิดการขาด
ชิน
้ งานที่3

ภาพที่ 3 Front Panel แสดงผลการทดลองของแรงดึงกับชิน


้ งานชิน
้ ที่3
Aluminium 6063-T5

กราฟที่3 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นกับความเครียดของชิน
้ งาน
Aluminium 6063-T5 ชิน
้ ที่3
กราฟ Stress-Strain curve ของ Aluminum 6063-T5 ชิน
้ ทดสอบที่ 3 ใน
จุดเริ่มต้นคือจุดที่ชน
ิ ้ ทดสอบเริ่มมีการเสียรูปแต่ยัง อยู่ในช่วง Elastic ในช่วง
นีจ
้ ะมีค่า Young’s Modulus จะสามารถหาได้จากความชันของเส้นกราฟ
ในช่วง Elastic โดยความชันหรือ Young’s Modulus มีค่าประมาณ 6.021
GPa และเมื่อผ่านไปถึงจุดต่อไป เป็ นจุด Elastic limit ซึ่งเป็ นช่วงที่
Elastic จะสิน
้ สุดที่ตําแหน่งนีห
้ มายความว่าหลังจากจุดนีช
้ น
ิ ้ ทดสอบจะไม่
สามารถกลับสู่รูปร่างเดิมได้จะเป็ นการเสียรูปอยางถาวรซึ่งก็คือ เป็ นช่วงที่
Yield และ Yield strength จะมีค่าอยู่ในช่วง 187.5 ถึง 202.5 MPa และมี
ค่า Load มากที่จุด Yield จะมีค่าอยู่ ในช่วง 5308.256 ถึง 5700.057 N
และเมื่อผ่านไปถึงจุดต่อไป คือช่วงที่มีการรับ Stress มากที่สุดโดย
Ultimate strength จะมีค่าประมาณ 223.858 MPa และมีการรับ Load
มากที่สุด ด้วยเช่นกัน มีค่าประมาณ 6331.992 N จะเป็ นจุดเริ่มของการเกิด
อาการ Necking หรือคอคอด คือการที่พ้น
ื ที่หน้าตัดของชิน
้ ทดสอบจะลดลง
เรื่อยจนเกิดการขาด
การทดสอบแรงดึงกับชิน
้ งาน Steel round (SR24)
ภาพที่4 Front Panel แสดงผลการทดสอบแรงดึงกับชิน
้ งาน SR24

กราฟที่ 3 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นกับความเครียดของชิน
้ งาน
SR24

กราฟ Stress-Strain curve ของ SR24 มีจุดที่ชน


ิ ้ ทดสอบเริ่มมีการ เสียรูป
แต่ยังอยู่ในช่วง Elastic ในช่วงนีจ
้ ะมีค่า Young’s Modulus สามารถหาได้
จากความชันของเส้นกราฟ ในช่วง Elastic โดยความชันหรือ Young’s
Modulus จะมีค่าประมาณ 15.210 GPa และเมื่อผ่านไปถึงจุดต่อไปเป็ นจุด
ของ Elastic limit ซึง่ ช่วง Elastic จะสิน
้ สุดที่ตําแหน่งนีห
้ มายความว่าหลัง
จากจุดนีช
้ น
ิ ้ งานทดสอบจะไม่สามารถกลับสู่รูปร่างเดิมได้จะเป็ นการเสียรูป
อย่างถาวร ซึ่งก็คือจะเป็ นช่วงที่ Yield และ Yield strength จะมีค่าอยู่ใน
ช่วง 191.67 ถึง 201.167 MPa และมีค่า Load ที่จุด Yield จะมีค่าอยู่ใน
ช่วง 5485.198 ถึง 5763.25 N และเมื่อผ่านไปถึงจุดต่อไป คือช่วงที่มีการ
รับ Stress มากที่สุดโดย Ultimate strength จะมีค่าประมาณ 223.858
MPa และมีการรับ Load มากที่สุดด้วย เช่นกัน จะมีค่าประมาณ 6331.992
N เป็ นจุดเริ่มเกิด Necking หรือคอคอด คือการที่พ้น
ื ที่หน้าตัดของชิน
้ งาน
ทดสอบจะลดลงเรื่อยจนเกิดการขาดในที่สุด
สรุปผลการทดลอง

การทดลองเครื่องทดสอบแรงดึง (Tensile Testing Machine) มี


วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณสมบัติทางกลของวัสดุกลุ่มโลหะและการเสียรูป
ของวัสดุกลุ่มโลหะ โดยใช้เครื่องทดสอบแรงดึงทำการดึงชิน
้ งานทดสอบจะ
เกิดการขาด ที่ความเร็วดึงประมาณ 10-20mm/min และนำค่า ความเค้น
ความเครียด ระยะยืด และแรงที่กระทำในช่วงเวลาใด ที่ได้จากโปรแกมมา
วิเคราะห์ และทำการวาดกราฟความสัมพันธ์ของความเค้นและความเครียด
เพื่อหา ตำแหน่งและค่าของ Yield Strength, Ultimate strength, Young
modulus และ %Elongation ได้ผลดังนี ้

คุณสมบัติทางกลและลักษณะการเสียรูปของโลหะเหนียว ซึ่งผลการทดลอง
ลักษณะของการเสียรูปของชิน
้ ทดสอบทัง้ สองชนิดเป็ นการขาดแบบ
ถ้วยและกรวย (Cup and cone) และค่าคุณสมบัติทางกลของชิน
้ ทดสอบ
แต่ละชนิด มีดังนี ้ Aluminum 6063-T5 ทดสอบ 3 ชิน
้ นําแต่ละค่า
คุณสมบัติทางกลมาเฉลี่ยกัน Young’s Modulus มีค่าประมาณ
5.994 GPa Load ที่จุด Yield มีค่าอยู่ในช่วง 5430.450 ถึง 5771.676 N
Yield strength มีค่าอยู่ในช่วง 190.973 ถึง 204.347 MPa แรงที่รับมาก
ที่สุด (Maximum load) มีค่าประมาณ 6344.630 N ความเค้นที่รับมาก
ที่สุด Ultimate strength มี ค่าประมาณ 224.304 MPa %Elongation
ในตอนที่เสียรูปมีค่า 14.757 % SR-24 Young’s Modulus มีค่า
ประมาณ 15.217 GPa Load ที่จุด Yield มีค่าอยู่ในช่วง 10780.817 ถึง
10932.481 N Upper yield strength มีค่าประมาณ 383.33 MPa
Lower yield strength มีค่าประมาณ 387.5 MPa แรงที่รับมากที่สุด
(Maximum load) 14142.713 N ความเค้นที่รับมากที่สุด (Ultimate
strength) มีค่าประมาณ 499.994 MPa %Elongation ในตอนที่เสียรูปมี
ค่า 29.850 % จากค่า คุณสมบัติทางกลของชิน
้ ทดสอบทัง้ สองชนิดแม้จะ
เห็นได้ว่า SR-24 มีการรับ Stress และ Load รวมไปถึง ค่าอื่นๆด้วยเช่นกัน
ที่มากกว่า Aluminum 6063-T5 แสดงให้เห็นว่า SR-24 เป็ นวัสดุที่มีความ
เหนียวมากกว่า Aluminum 6063-T5

วิจารย์ผลการทดลอง

1.ผลการทดลองมีค่าความเครียดที่แกว่งกลับมาในบางช่วง ส่งผลให้การคํา
นวณคุณสมบัติทางกลเกิดความคลาดเคลื่อนได

2. กราฟแสดงความสัมพันธ์ในช่วง Elastic ควรจะเป็ นเส้นตรงแต่กลับเป็ น


เส้นโค้งแบบเอ็กโพเนนเชียลเนื่องจาก การทดลองความเร็วในการดึงไม่คงที่

3.อัตราเร็วในการทดสอบบางช่วงอาจไม่อยู่ในค่ามารฐานการทดสอบ เนื่อง
จากข้อจํากัดของอุปกรณ์ทําให้ค่า คุณสมบัติทางกลเกิดความคาดเคลื่อน
รายงานปฏิบัติการ

เรื่อง การทดสอบแรงดึง (Tensile Test)

วันที่ทำการทดลอง 2 พฤษจิกายน 2565

จัดทำโดย

นายธัญญะ งามประเสริฐโสภณ รหัสนักศึกษา 63010456

วิศวกรรมขนส่งทางราง กลุ่มที่ 5 (RTE 5)

เสนอ

ผศ.ดร. อุนนัต พิณโสภณ

รายงานนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของวิชา การทดลองทางวิศวกรรมเครื่องกล รหัสวิชา


01156217
คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สาขาวิชาวิศวกรรมขนส่ง
ทางราง

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2565

You might also like