You are on page 1of 25

รวมคําถามในการขอสอบสัมภาร์ เป็ นสามัญวิศวกรโยธา ในสายงานการควบคุมงานก่ อสร้ างอาคารสูง

คําถาม - คําตอบ

เล่ าประวัติพอสังเขป และปั จุบนั


วศ.พายุพฒ ั น์ อินทร์ นอก ภย.55581
คําถามในงานคอนกรีต

ซีเมนต์ ปอร์ แลนด์ มีกีประเภท ? อธิบาย


ซีเมนต์ปอร์ แลนด์มีอยู่ 5 ประเภท
ประเภทที 1 ปูนซีเมนต์ปอร์ ตแลนด์ธรรมดา (Ordinary Portland Cement) เหมาะสําหรับผลิตคอนกรี ตหรื อการก่อสร้ างทัวไป ทีไม่ต้องการ
คุณภาพพิเศษจําเพาะแต่อย่างใด
ประเภทที 2 ปูนซีเมนต์ปอร์ ตแลนด์ดดั แปลง(Modified Portland Cement) เหมาะสําหรับงานคอนกรี ตทีอาจได้ รับความร้ อน และมีคณ ุ สมบัติ
ทนต่อซัลเฟตได้ ปานกลาง
ประเภทที 3 ปูนซีเมนต์ปอร์ ตแลนด์ประเภทให้ กําลังอัดเร็ว (High Early Strength PortlandCement) เป็ นปูนซีเมนต์ทีให้ กําลังอัดได้ สงู ใน
ระยะแรก เหมาะสําหรับงานคอนกรี ตทีเร่งรี บ ต้ องการใช้ งานเร็วหรื อถอดแบบในเวลาอันสั น
ประเภทที 4 ปูนซีเมนต์ปอร์ ตแลนด์ประเภทเกิดความร้ อนตํ า (Low Heat Portland Cement)เป็ นปูนซีเมนต์ทีให้ ความร้ อนตํา เหมาะสําหรับ
งานคอนกรี ตหลา (Mass Concrete) เช่น การสร้ างเขือน การสร้ างอ่างเก็บนํ าหรื อฝายกั นนํ า
ประเภทที 5 ปูนซีเมนต์ปอร์ ตแลนด์ ประเภททนซัลเฟตได้ สงู (Sulfate Resistance PortlandCement) เหมาะสําหรับโครงสร้ างทีต้องการป้อง
กันการกัดกร่อนได้ สงู จากสารเคมีต่างๆ โดยเฉพาะซัลเฟต

องค์ ประกอบของคอนกรี ต มีอะไรบ้ าง ? อธิบาย


คอนกรี ต จะประกอบด้ วยปูนซีเมนต์ หิน ทราย และนํ า โดยเมือนําส่วนผสมต่างๆ เหล่านี มาผสมกันจะมีชือเรี ยกเฉพาะแตกต่างกันดังนี
1.ปูนซีเมนต์ผสมกับนํ าเรี ยกว่า ซีเมนต์เพสต์ (Cement paste)
2.ซีเมนต์เพสต์ผสมกับทรายเรี ยกว่า มอร์ ต้า (Mortar)
3.มอร์ ต้าผสมกับหินหรื อกรวดเรี ยกว่า คอนกรี ต (Concrete)

คอนกรี ตความร้ อนตํา (Low Heat Concrete) คืออะไร


คือ คอนกรี ตพิเศษพัฒนาขึ นเพือควบคุมปริ มาณความร้ อนทีเกิดขึ นจากปฏิกริ ิยาไฮเดรชันโดยตรง ด้ วยการควบคุมปริ มาณ
แคลเซียมออกไซด์ ทีเป็ นสาเหตุหลักของการเกิดความร้ อนในคอนกรีต โดยการเพิมวัสดุปอโซลาน ประเภท PFA (Pulverized Fuel Ash) เข้ าไป
ในส่วนผสมคอนกรี ต นับเป็ นวิธีการแก้ ปัญหาการแตกร้ าวจากความร้ อนที ต้นเหตุอย่างแท้ จริ ง ปั จจุบนั ซีแพคได้ มีการพัฒนาส่วนผสมคอนกรี ต
อย่างต่อเนือง เพือควบคุมปริ มาณความร้ อนทีเกิดขึ นให้ เหมาะกับขนาดของโครงสร้ าง และเป็ นไปตามข้ อกําหนดเพื อลดปั ญหาการแตกร้ าวภาย
ในโครงสร้ างคอนกรี ต
เป็ นคอนกรี ตชนิดพิเศษ ออกแบบมาสําหรับชิ นงานทีมีขนาดใหญ่โดยเฉพาะ(หนาเกิน 2เมตร) โดยมีพฤติกรรมไม่เหมือนคอนกรี ตทัวๆไปอย่าง
สิ นเชิง Slump: คอนกรีตควรมี slump ไม่ ตาํ กว่ า 10 cm เพือจะได้ ไม่บล็อกในท่อระหว่างปั ม การบ่ มคอนกรีต: โดยการปิ ดผิวทุกด้ าน รวมทั งผิว
ด้ านบนของคอนกรีต ด้ วยโฟมทีมี ความหนาไม่ น้อยกว่ า 4 นิ ว หรือ 10 cm เป็ นระยะเวลาอย่ างน้ อยทีสุด 14 วัน โดยทัวไปกําลังอัดคอนกรีต
ความร้ อนตําจะถูกกําหนดทีอายุ 56 วัน หรือ 91 วันเป็ นหลัก โดยอาจเทียบเคียงได้ ว่าทีอายุ 28 วัน ควรมีกาํ ลังอัด ไม่ น้อยกวํา 70% ของกําลังอัด
ทีต้องการ
คอนกรี ตทีดีเป็ นอย่ างไร ? อธิบาย
1.วัสดุส่วนผสมต้ องดี ทรายต้ องสะอาด นํ าสะอาด หินสะอาดและได้ ขนาด ความสะอาดของวัสดุในส่วนผสมต่างๆ รวมถึงซีเมนต์ด้วย
2.สัดส่วนของสวนผสม ต้ องได้ สดั ส่วนในการผสมในแต่ละวัสดุ ไม่มากหือไม่น้อยเกินไป ตามรายการคํานวณ mix design.
3.การควบคุมการขนส่ง Concrete เส้ นทางจราจรจากเพลนถึงหน้ างาน ต้ องมีระยะทางที เหมาะสมในการขนส่ง เพือไม่ให้ เกินเวลาของ
อายุ Concrete เพือควบคุมคุณภาพ
การตรวจสอบคอนกรี ตจากเพลนถึงหน้ างานเราจะตรวจอะไรเป็ นอันดับแรก ? อธิบาย
1.ตรวจสอบบิลคอนกรี ต ตาม Coed.รายการ mix design. และระยะเวลารถคอนกรี ตจากเพลนถึงหน้ างาน โดยไม่เกินเวลาของอายุคอนกรี ต
2 ตรวจสอบกําลังอัดของคอนกรี ตว่าตรงตามที สังและชนิดการใช้ งานหรื อไม่ ตามรายการ mix design.
3 ตรวจสอบค่ายุบตัวคอนกรี ต Slump Teat. เพือดูลกั ษณะการยุบตัวของคอนกรี ตเพือตรวจสอบความสามารถเทของคอนกรี ต (Workability)
4 ตรวจสอบสารผสมเพิมต่างๆ หากมี ตามรายการ mix design.

คอนกรี ตปกติตั งแต่ ออกจาก PLANT ใช้ เวลาประมาณเท่ าไหร่ ทคี วรใช้ ให้ หมด ? อธิบาย
ประมาณ 2 ชัวโมง ยกเว้ นถ้ าทางโรงงานผสมนํ ายาหน่วงคอนกรี ตมาให้ ซึงสามารถยืดอายุคอนกรี ตให้ นานขึ นได้ เป็ น2-4 ชัวโมง
และทนต่อการเทคอนกรี ตในอากาศร้ อน

ถ้ ามันแข็งเกินไป ทํายังงัย ? อธิบาย


1.ดูเวลาหรื ออายุของคอนกรี ตว่ายังอยู่ในระยะกําหนดเวลาของอายุคอนกรี ตหรื อไม่
2.ดูปริ มาณคอนกรี ตทีเหลือว่ามากน้ อยเท่าไร ถ้ าน้ อยจะให้ เทต่อและควบควบคุมคุณภาพเป็ นพิเศษ แต่ถ้าเหลือปริ มาณมากอาจจะต้ องนําไป
ใช้ ทีอืนหรื อต้ องให้ กลับ ถ้ าเราดูแล้ วว่าคอนกรี ตแข็งเกินไป จะดูวา่ มีงานส่วนไหนที ไม่สําคัญและต้ องใช้ คอนกรี ตอยู่ก็จะนําไปใช้ ในงานนั นๆ
เช่นเทลีนทําลูกคอนกรี ต เทปรับพื นทีในการทํางานเป็ นต้ น

มีการทดสอบ Slump หรื อไม่ และ Slump คืออะไร ? / อธิบาย Slump มีวิธีการทดสอบเป็ นแบบไหน ? อธิบาย
การทดสอบค่ายุบตัวของคอนกรี ต (Slump Test) ใช้ เพือทดสอบหาค่าความข้ นเหลวของคอนกรี ตในสภาพเหลวโดยใช้ วิธีการทดสอบหาค่าการยุบตัว
เพือตรวจสอบความสามารถเทของคอนกรี ต (Workability) บอกถึงความข้ นเหลวของคอนกรี ต (Consistency) หรื อลักษณะการไหลตัวของคอนกรี ต
(Flow Characteristic) และสามารถบอกถึงการควบคุมความสมําเสมอของการผลิตคอนกรี ตผสมเสร็จ เช่น ในกรณีทีค่ายุบตัวของคอน
หรื อแห้ งมากแต่ก็มีประโยชน์อย่างมากและสะดวกสําหรับการควบคุมความสมํ าเสมอของการผลิตคอนกรี ตผสมเสร็จ เช่น ในกรณีทีค่ายุบตัวของคอนกรี ต
มีค่ามากกว่าปกติทีออกแบบไว้ แสดงให้ เห็นว่าจะต้ องมีความผิดปกติเกิดขึ นในสัดส่วนผสม ขนาดคละหรื อความชื นในมวลรวมซึงจะช่วยให้
ผู้ผลิตคอนกรี ตสามารถตรวจสอบและแก้ ไขได้
วิธีการทดสอบ Slump
ตักคอนกรี ตใส่ลงในแบบให้ ได้ 3 ชั น โดยให้ แต่ละชั นมีปริ มาตรเท่ากัน ๆ ใช้ เหล็ก กระทุ้ง25 ครั ง / ชั น ชั นล่างให้ กระทุ้งจนสุดส่วนชั นทีสองและชั นทีสาม
ให้ กระทุ้งจนเหล็กผ่านไปในชั นเดิมเล็กน้ อย เมือเติมกรวยให้ ทําการปาดปากกรวยให้ เรี ยบและชักกรวยขึ นและวัดค่ายุบตัวของคอนกรี ต
ควรใช้ เวลาในการทดสอบทั งหมดไม่เกิน 2:30 นาที

ลักษณะของ slump มีกีประเภท ลองวาดรู ป ? อธิบาย


ลักษณะที 1. การยุบตัวแบบถูกต้ อง (True Slump) เป็ นการยุบตัวของคอนกรี ตภายใต้ นํ าหนักของคอนกรี ตเอง
ลักษณะที 2. การยุบตัวแบบล้ ม (Collapse Slump) เป็ นการยุบตัวทีเกิดจากคอนกรี ตทีมีความเหลวมาก
ลักษณะที 3. การยุบตัวแบบเฉือน (Shear Slump) เป็ นการยุบตัวแบบเฉือนซึงเป็ นการยุบตัวทีเกิดจากการเลือนไถลของคอนกรี ตส่วนบน
ในลักษณะเฉือนลงไปด้ านข้ าง
ค่ ายุบตัวหรื อความข้ นเหลวของคอนกรี ตมีอะไรเป็ นตัวแปลสําคัญ ? อธิบาย
water กับ cement หรื ออัตราส่วน water / cemen tratio เป็ นอัตราส่วนนํ าต่อซีเมนต์ (W/C) อัตราส่วนไม่ควรเกิน 0.5 (นํ า มีหน่วยเป็ นลิตร)
ปริ มาณนํ าทีใช้ ผสมคอนกรี ต ซึงอยู่ในอัตราส่วนของนํ ากับซีเมนต์ กล่าวคือถ้ าใช้ นํ ามากเกินไป คอนกรี ตจะเหลวเละแต่จะสามารถเทคอนกรี ตได้ ง่าย
แต่จะทําให้ กําลังของคอนกรี ตลดลง water / cemen tratio อัตราส่วนไม่ควรเกิน 0.5 (W/C)
(นํ า มีหน่วยเป็ นลิตร/ ซีเมนต์ มีหน่วยเป็ นกิโลกรัม)
ตัวอย่างเช่น นํ า= 150 ลิตร / ซีเมนต์ = 350 ก.ก. = 0.430
และทั งนี ก็ขึ นอยู่กบั ส่วนผสมต่างๆ เช่นกัน เช่น ทราย,หิน, ผงเถ่าลอย, สารผสมเพิม

คอนกรี ตมีส่วนผสมตัวไหนทีลดความร้ อน ? อธิบาย


1.สารหน่ วงการก่ อตัว (Retarders)
เป็ นสารผสมเพิมทีมีการใช้ งานแพร่หลายทีสดุ ในประเทศ สารหน่วงการก่อตัวเป็ นสารเคมีทีใช้ สําหรับหน่วงเวลาการแข็งตัวของคอนกรี ต
ในงานคอนกรี ตทีต้องเทในสภาพอากาศร้ อน อุณหภูมิทีสงู จะเป็ นตัวเร่งปฏิกิริยาไฮเดรชันให้ เกิดอย่างรวดเร็ว สารหน่วงการก่อตัวจึงถูกนํามาใช้ เพื อหน่วง
ระยะเวลาการก่อตัวทีเร็วเกินไป สําหรับงานโครงสร้ างขนาดใหญ่ เช่น คอนกรี ตหลา หรื อการเทคอนกรี ตในสภาพอากาศร้ อนจัด ล้ วนจําเป็ นต้ องผสมสาร
หน่วงการก่อตัวในคอนกรี ตเพือยืดระยะเวลาการเทและการแต่งผิวหน้ าคอนกรี ตออกไป โดยส่วนใหญ่สารหน่วงการก่อตัวก็จะมีคณ ุ สมบัติลดนํ าร่วมด้ วย
เช่นกัน สารหน่วงการก่อตัวทีใช้ ในงานคอนกรี ตเทียบเท่ามาตรฐาน ASTM C 494 Specification for Chemical Admixtures for Concrete ประเภท B
ซึงหากว่าสารหน่วงการก่อตัวมีคณ ุ สมบัติลดนํ าด้ วยก็จะจัดเป็ นนํ ายาผสมคอนกรี ตประเภทD

ค่ า Setting Time of Concrete คือไร ? อธิบาย


Setting Time of Concrete คือระยะการก่ อตัวของคอนกรีต การทดสอบจะทําให้ เราทราบว่ าระยะเวลาผสมคอนกรีต เทคอนกรีต อัดแน่ คอนกรีต
คอนกรีตเริมรับกําลังได้ ซึงนําไปสู่ในการว่ างแผนในการเทคอนกรีตต่ อไปได้
1.ระยะการก่อตัวเริ มต้ น Initial Setting Time. เป็ นระยะเวลาในการทีคอนกรี ตสามารถทีจะผสม เท อัดแน่น และแต่งผิวได้
2.ระยะการก่อตัวสุดท้ าย Final Setting Time เป็ นระยะเวลาทีคอนกรี ตเข้ าสู้สภาวะการแข็งตัวและเริ มพัฒนากําลังอัด ระยะการเช็ดตัวสุดท้ าย
ทีสามารถรับแรงได้ ขึ นอยู่กบั water / cemen tratio เมืออัตรานํ าเพิมขึ นก็จะทําให้ ระยะเวลาในการก่อตัวเพิมขึ น รวมไปถึง ชนิดของซีเมนต์ อุณหภูมิ
นํ ายาผสมคอนกรี ตก็เป็ นปั จจัยมีผลต่อเวลการก่อตัวของคอนกรี ตเช่นกัน

อธิบายวิธีการทํางาน ตั งแต่ ก่อนเทคอนกรี ค เริ มเทคอนกรี ต หลังเทคอนกรี ต ? อธิบาย


การเตรียมการก่ อนเทคอนกรีต
1.คัดเลือกเพลนคอนกรี ตและผลิตภัฑณ์คอนกรี ตที ได้ มาตฐานทีไกล้ โครงการทีสดุ จํานวน 3-4 เพลน หากเป็ นคอนกรี ตและผลิตภัฑณ์เดียวกันจะดีทีสดุ
2.ตรวจสอบเพลนคอนกรี ต ตัวสอบเครื องมือการโหลดวัสดุผสมคอคนกรี ต เช่น ตรวจสอบการ Calibration. เครื อง ต้ อง Calibration. ไม่ตํากว่า 6 เดือน
ทีสถาบันราชการหรื อเป็ นทียอมรับมาตฐาน
3.Trial Mix cement ตรวจสอบคอนกรี ตตามรายการคํานวณ mix design. ทุก Mix ในการใช้ งานของโครงการและทุกช่วงของอายุคอนกรี ต ก่อนที จะมีการ
ใช้ คอนกรี ตเพือจะพิจารณา Slump และกําลังอัดคอนกรี ตตามมาตรฐาน
ก่ อนเทคอนกรีตหน้ างาน Method
1.คํานวณหาปริ มาณคอนกรี ตในการเทในแต่ละโครงสร้ างนั นๆ และคํานวณหาไม้ แบบและคํ ายันให้ การเข้ าแบบหล่อ
2.วางแผนการเทคอนกรี ตตามปริ มาณคอนกรี ตและลักษณะโครงสร้ างและพิจารณาความอยากงานในการเท
3.กําหนดเวลาในการเทคอนกรี ตตามปริ มาณคอนกรี ตและสภาพอาการในการเทในแต่ละวัน เช่น สภาพอากศ สภพการขราจร อื นๆ
4.วางแผนในการสัญจรรถปูนตามปริ มาณคอนกรี ตและตําแหน่งโครงสร้ างให้ รถสามารถวิ งโดยไม่ติดขัดกันในการเดินรถเข้ า-ออก
5.ตรวจสอบอุปกรณ์เครื องมือในการเทคอนกรี ตล่วงหน้ า 1 วัน
6.ตรวจสอบคอนกรี ตเวลาคอนกรี ตถึงหน้ างาน ตรวจสอบบิลตามรหัสคอนกรี ต ตรวจสอบเวลาอายุคอนกรี ต ตรวจสอบส่วนผสมคอนกรี ต ตรวจสอบSlump
7.เริ มการเทคอนกรี ต ควรเทคอนกรี ตลงเป็ นแนวดิ งให้ ใกล้ จดุ ทีต้องการจะเทมากทีสดุ ในแบบหล่อ เพือป้องกันการแยกตัวของคอนกรี ต
8.ระยะตกอิสระของคอนกรี ต ไม่ควรเกิน 1.5 เมตร เพือให้ เทคอนกรี ตได้ ถกู ตําแหน่งทีต้องการ และลดการแยกตัวของคอนกรี ต
9.ควรเทคอนกรี ตเป็ นชั นๆ อย่างสมําเสมอ ไม่ควรเทกองสูง ความหนาของการเทแต่ละชั นไม่ควรเกินชั นละ45 Cm.
และเทชั นต่อไปในขณะทีชั นล่างยังไม่แข็งตัวเพือคอนกีทกุ ชั นเชือมต่อเป็ นเนื อเดียวกัน
10.การจี คอนกรี ต ควรระวังไม่ไปเขย่าโดยเหล็กเสริ มในคอนกรี ตและอัตราการเขย่าไม่ควรมากเกินไป จนทําให้ นํ าปูนลอยตัวทีผิวหน้ าคอนกรี ต
11.ถ้ ามีการหยุดเทคอนกรี ตควรหยุดหยุดเทในตําแหน่งที มีแรงเฉือนตําสุด คือ บริ เวณช่วงก่งกลางคานหรื อกึงกลางพื นระหว่างเสาถึงเสา
ให้ หยุดเทเป็ นแนวตั งฉาก และก่อนเทคอนกรี ตต่อเนืองจะต้ องทําผิวหน้ าคอนกรี ตให้ หยาบ สะอาด และควรทานํ ายาประสาน
Bonding Agent หรื อนํ าปูนข้ น เพือให้ คอนกรี ตใหม่กบั คอนกรี ตเก่าประสานกันได้ ดีขึ น
หลังเทคอนกรีต
1.เมือคอนกรี ตเซ็ดตัวให้ ทําการขัดหรื อปาดหน้ าคอนกรี ตที ผิวหน้ าเพือแต่งหน้ าคอนกรี ตตรงบริ เวณเกิดการ Shrinkage
2.ทําการบ่มคอนกรี ต เช่น คลุมพลาสติก ใช้ วสั ดุเปี ยกคลุม ใช้ นํ าขัง หรื อใช้ นํ ายาบ่มคอนกรี ตเป็ นต้ น ตามลักษณะของแต่ละโครงสร้ าง
3.ถอดแบบตามกําหนดระยะเวลาหรื อตามกําลังรับแรงของคอนกรี ต ตามมาตฐาน
แบบข้ างกําแพง,ข้ างเสา,ข้ างคาน กําหนดวันอย่างน้ อย 2 วัน
แบบล่างรองรับท้ องพื น กําหนดวันอย่างน้ อย14 วัน หรื อ กําลังอัดขั นตําของคอนกรี ต 50 กก./ตร.ซม.
แบบล่างรองรับท้ องคาน กําหนดวันอย่างน้ อย 21 วัน หรื อ กําลังอัดขั นตําของคอนกรี ต 140 กก./ตร.ซม.

การบ่ มคอนกรี ต เพืออะไร ?


การบ่ม ( Curing ) คือ วิธีการทีช่วยให้ ปฏิกริ ยาไฮเดรชันของซิเมนต์ เกิดขึ นอย่างสมบูรณซึงจะส่งผลให้ การพัฒนากําลังอัดของคอนกรี ตเป็ นไปอย่าง
ต่อเนือง วิธีการทําโดยให้ นํ าแก่คอนกรี ตหลังจากทีคอนกรี ตแข็งตัวแล้ ว
หน้ าทีสําคัญของการบ่ มคอนกรีตมีด้วยกัน 2 ประการคือ
1. ป้องกันการสูญเสียความชื นจากเนื อคอนกรี ต 2. รักษาระดับอุณหภูมิให้ อยู่ในสภาพทีเหมาะสม
สําหรับวัตถุประสงค์ ทีสําคัญของการบ่ มคอนกรีต คือ
1. เพือให้ ได้ คอนกรี ตทีมีกําลังและความทนทาน
2. เพือป้องกันการแตกร้ าวของคอนกรี ต โดยรักษาระดับอุณหภูมิให้ เหมาะสม และลดการระเหย ของนํ าให้ น้อยทีสดุ
การบ่ มคอนกรี ต MATFOOTING
การบ่มคอนกรี ตของ MAT FOUNDATION จะแตกต่างกับการบ่มคอนกรี ต ในโครงสร้ างส่วนอืนๆ เนืองจากจะต้ องควบคุมอุณหภูมิทีผิวคอนกรี ตมิให้
แตกต่างกับอุณหภูมิภายในใจกลางเนื อคอนกรี ตมากกว่า 20 - 25 c มิฉะนั นจะทําให้ เกิดรอยร้ าว ทีผิวคอนกรี ตได้ การบ่มทีถกู ต้ องคือ การคลุมผิวคอนกรี ต
ด้ วยพลาสติกบางๆ เพือมิให้ ความชื นสูญเสียออกไป และจะต้ องคลุมทับด้ วยกระสอบอย่างมิดชิดอีกชั นหนึง เพือป้องกันการสูญเสียความร้ อนทีผิวคอน
กรี ตอย่างรวดเร็ว การใช้ นํ าฉีดเป็ นสิงต้ องห้ าม เนืองจากจะทําให้ คอนกรี ตมีอณ
ุ หภูมิแตกต่างกันมาก ระหว่างภายในและผิวคอนกรี ต กลับจะทําให้
คอนกรี ตแตกร้ าวได้ ง่าย

การเก็บตัวอย่ างลูกปูนทํายังไง ? อธิบาย


1.เก็บตัวอย่างคอนกรี ตไม่น้อยกว่า 1 ครั ง ในแต่ละวันทีมีการเทคอนกรี ต
2.เก็บตัวอย่างคอนกรี ตเมือมีการเทคอนกรี ตในแต่ละโครงสร้ าง
3.เก็บตัวอย่าง 1 ครั งเมือมีการเทคอนกรี ตทุกๆ50 ลูกบาศก์เมตร กรณีเทพื นหรื อกําแพง ให้ เก็บทุกๆ250 ตารางเมตร
4.เก็บตัวอย่างทุกครั งมีการเปลียนแหล่งวัสดุ เช่น ทราย หิน หรื อกรวด
5.การเก็บลูกปูนปกติจะเก็บจํานวน 3 ชุด ต่อการเก็บตัวอย่าง 1 ครั ง คืออายุคอนกรี ตระหว่าง 7 วัน 14 วัน และ 28 วัน เพือหาค่าเฉลียน
และดูพฤติกรรมของกลังอัดคอนกรี ต ใน 3 ช่วงอายุของคอนกรี ต หากเป็ นพื นPost เก็บทีอายุ 3 วัน เพือทดสอบก่อนการดึงลวด โดยกําลังอัดประลัย
ไม่ตํากว่า 70% Ksc. ทีอายุ 28 วัน
6.การถอดแบบแทงตัวอย่างลูกปูน ให้ ถอดอย่างน้ อง 24 ชัวโมงหลังจากการเก็บตัวอย่างหรื อเทคอนกรี ตเสร็จ เพื อให้ แทงตัวอย่างสมบูรณ์

ค่ าความต่ างระหว่ าง Cube กับ Cylender ? อธิบาย


คอนกรี ตทีหน้ างานกรณีทที ดสอบแล้ วได้ ผลตํากว่ า Fc' ทีกาํ หนดจะทํายังไงต่ อ? อธิบาย
ต้ องมีการบ่มคอนกรี ตเพิมและรอให้ ได้ อายุเพิมขึ นเพือจะให้ ได้ มีค่ากําลังเพิมขึ นและทําการทดสอบกําลังของคอนกรี ตอีกครั งก่อนทีเราจะทํางานใน
ส่วนอืนๆต่อไป หรื อถ้ าหากจําเป็ นจะต้ องเดินงานต่ออาจจะใช้ วิธีการ ปรับขนาดหรื อความหนาโครงสร้ างเพิ มขึ นอีก ถ้ าสามารถทําได้ โดยไม่กระทบต่อ
งานสถาปั ตย์

กรณีเทคอนกรี ตผนังแล้ วเกิดปั ญหาเทไม่ จบ จะทํายังงัย ? อธิบาย


หยุดเท ทิ งไว้ สกั 2 -3 วัน ถอดแบบสกัดเอาผิวคอนกรี ตทีไม่ดีออก เอามอตาหรื อนํ ายาประสานคอนกรี ตทาและ เข้ าแบบเทคอนกรี ตส่วนที เหลือ
ระยะ Covering. ระยะเท่ าไรบ้ างใช้ งานกับประเภทไหน ? อธิบาย
งานคอนกรี ตหล่อติดกับผิวดินตลอดเวลา จะใช้ ระยะหุ้มตํ าสุดที 7 - 7.5 Cm
งานคอนกรี ตหล่อทีสมั ผัสถูกแดดถูกฝน จะใช้ ระยะหุ้มตําสุดที 5 Cm
งานคอนกรี ตหล่อทีไม่สมั ผัสถูกแดดถูกฝน จะใช้ ระยะหุ้มตําสุดที 2.5 Cm

ถ้ ามีคานยืน Cantilever beam ควรถอดคํ ายันท้ องพื นยังไง? อธิบาย


ถ้ถอดไล่
ามีคจากขาวไปซ้
านยืน าCantilever
ย เพือให้ เหล็กบนยืbeam
นอยู่เสมอเพืควรถอดคํ
อทําหน้ าทีรับ moment.
ายันท้ อ งพื นยังไง ? อธิบาย

ถอดไรจากขาวไปซ้ า ย เพือให้ เหล็ก บนยืนอยู่เสมอเพือทํา

การ CRACK เนืองจาก SHEAR เป็ นยังงัย ? อธิบาย


เกิดจากแรงเฉือนทีเกิดขึ นเกินนํ าหนักบรรทุกของโครงส้ าง จะมีลกั ษณะแตกเฉียนตรงบริ เวณคานไก้ ลๆเสาของอาคาร หรื อพื นบริ เวณรอบเสาโครงสร้ าง
หรื อแรงเฉือนทะลุ
การ CRACK เนืองจาก moment เป็ นยังงัย ? อธิบาย
เกิดจากแรงอัดทีเกิดขึ นเกินนํ าหนักบรรทุกของโครงส้ าง เช่นถ้ าเป็ นคาน คานจะมีลกั ษณะแตกร้ าวใต้ ท้องคานซึงเกิดจากแรงอัดของคอนกรี ตทําให้ ใต้
ท้ องคานเกิดแรงดึงจน CRACK

อธิบายขั นตอนในการทําพื น Post-Tension


เคลียแบบโครงสร้ างพื นและDetesl.เหล็กขนาด,ความยาว,ตําแหน่งเสริ มเหล็กต่างๆ และขอบเขตพื นโครงสร้ างตามระยะ
1.ติดตั งคํ ายัน,แบบพื น และแบบข้ าง
2.วางเหล็กเสริ มล่าง
3.ติดตั ง Pocket Former & Anchorage
4.วางท่อ Sheath และร้ อยลวด Strand ตามตําแหน่งทีระบุในแบบพร้ อมทั งยึดแน่นกับ Barchair
5.ติดตั งท่อสําหรับอัดนํ าปูนทีAnchorage และทีจดุ สูงสุดของตําแหน่ง Tendon โดยมีระยะห่างประมาณ 30 เมตร
6.วางเหล็กเสริ มบน
7.เทคอนกรี ต
8.บ่มคอนกรี ตและถอดแบบข้ าง
9.ถอด Pocket Former
10.ดึงลวดเมือคอนกรี ตได้ กําลังตามทีกําหนด พร้ อมบันทึกผลการดึงลวดทุกเส้ น
11.ตัดปลายลวดหลักจากตรวจผลการวัด
12.อุดปิ ด Anchorage ด้ วยปูนทราย
13.ถอดแบบพื น และคํ ายัน
14.อัดนํ าปูน

ปกติพื น Post. ต้ องดึงลวดกีวัน และใช้ คอนกรี ต Fc' เท่ าไร ? อธิบาย


ปกติจะใช้ เวลา 3 วันดึง และ 7 วันดึง แต่ทั งนี ก็สามารถดึงได้ ก็ขึ นอยู่กําลังของคอนกรี ตทีเรานําไปทดสอบ ถ้ ามีกําลังมากว่า70% ก็สามารถดึงลวดได้
ขึ นอยู่กบั การเลือกใช้ กําลังคอนกรี ตและอายุคอนกรี ต คอนกรี ต Post. จะใช้ กําลังอัดคอนกรี ต 350 Ksc. Cylinder ที 28 วัน Siump ปั ม ที 10 +- 2.5 Cm.
ในการเทคอนกรี ตพื น Post. บริ เวณไหนทีคิดว่ าสําคัญทีสุดในการคํานึงถึงการจี คอนกรี ต
1.บริ เวณโคนเสา ซึงจะมีปริ มาณเหล็กหนาแน่น ซึงจะทําให้ คอนกรี ตเป็ นโพงได้
2.บริ เวณคอลิฟต์ ซึงจะมีปริ มาณเหล็กรับ Shear หนาแน่นโดยรอบคอลิฟต์ ซึงอาจจะทําให้ คอนกรี ตเป็ นโพงได้
3.บริ เวณหัว Anchorage. ซึงหากบริ เวณนี เกิดปั ญหาคอนกรี ตเป็ นโผงอาจเกิดการระเบิดในการดึงลวดได้ เนื องจากกําลังของคอนกรี ตลดลงตามพื นที
4.บริ เวณทีเป็ นมุมต่างๆของพื นอาคาร

ดึงลวด post ยังไง / ดึงลวดผ่ านเสา ได้ มั ย / ถ้ าดึงที 80 % fpu แล้ ว ไม่ ได้ ทํายังไง ? อธิบาย
วิธีการดึงลวด post
1.ดีงลวดด้ าน Band ก่อน 50% ของจํานวนลวดทั งหมด ยกเว้ นลวดExtra
2.ดึงลวดด้ าน Uniform 100% ทั งหมด ยกเว้ นลวดExtra
3.ดีงลวดด้ าน Band ส่วนทีเหลือ 50% ให้ ครบทั งหมด
4.ดีงลวด Extra ของด้ าน Band ให้ ครบทั งหมด
5.ดีงลวด Extra ของด้ าน Uniform ให้ ครบทั งหมด
ถ้ าดึงที 80 % fpu แล้ ว ไม่ ได้ ทํายังไง
กรณีค่าระยะยืดจริงของลวดกับ Elongation แตกต่ างกันเกิน 5% ให้ ทาํ การตรวจสอบแก้ ไขเป็ นกรีณีคือ
กรณี -5% ระยะยืดจริ งของลวดน้ อยกว่ารายการคํานวณ Elongation
1.ให้ เพิมแรงดึงแต่ต้องไม่เกิน 80% Fpu (15 ตัน) แล้ ววัดระยะยืดของลวดทีเพิมขึ น
2.กรณีเพิมแรงดึง 80% Fpu แล้ ว ระยะยืดของลวดเกิน -5% ให้ ทําการคํานวณเฉพาะส่วนนั นๆโดยใช้ ค่าแรงดีงลวดทีเกิดขึ นจริ งกับลวดนั นๆ
แล้ วส่งวิศวกรผู้ออกแบบพิจารณา

กรณี +5% ระยะยืดจริงของลวดมากกว่ ารายการคํานวณ Elongation


1.ตรวจสอบแรงดึง โดย Re-Strssing ด้ วยแรง 75% Fpu (14 ตัน) สังเกตุระยะยืดของลวดแล้ วอ่านค่า Pressure Gage จะได้ ค่าแรงในลวดนั นๆ
ตรวจสอบว่าเกิน 80% Fpu หรื อไม่ ถ้ าไม่เกินถือว่าผ่าน กรณีดึงได้ 50% Fpu ให้ รายงานผู้ออกแบบเพือแก้ ไข
ดึงลวด Post ผ่ านเสาได้ มั ย
การดึงลวดผ่านเสาสามารถทําได้ ตามข้ อกําหนด ACI318 เกียวกับข้ อกําหนดของลวดอัดแรงผ่านเสา ว่าต้ องมีลวดอย่างน้ อยสองเส้ นวิ งผ่านภายในพื น
ทีหน้ าตัดวิกฤติเหนือเสาแต่ก็ไม่ได้ ระบุขนาดของลวดอัดแรงและสามารถอยู่นอกเสาได้ แต่ต้องอยู่ในหน้ าตัดวิกฤติ และในกรณีที ไม่สามารถวางลวดตาม
ทีกําหนดไว้ ได้ จะต้ องมีเหล็กเสริ มล่างวางในพื นทีทีล้อมรอบด้ วยเหล็กเสริ มยืนของเสาทั งสองทิศทางทีตั งฉากกันโดยปริ มาณเหล็กเสริ มมีค่าเท่ากับ1.5เท่า
ของเหล็กเสริ มตําสุดตามข้ อกําหนด

การควบคุมตรวจสอบและออกแบบนังร้ านในงานพื นและคํ ายัน ? อธิบาย


1.หานํ าบรรทุกตายตัว DL เช่น นน.คอนกรี ค วัสดุทีฝังในคอนกรี ต และนํ าหนักแบบของนังร้ าน
2.หานํ าหนักบรรทุกจรLL เช่น คนงาน เครื องจักร วัสดุหน้ างานต่างๆ หรื อก็จะใช้ นํ าหนักประมาณ365 - 400 กก/m2
3.รวมนํ าหนัก DL + LL
4.คําณวนหาความหนาไม้ อดั คําณวนหาขนาดเหล็กตงและระย ขนาดเหล็กคานและระยะขนาดเหล็กคํ ายัน
5.รวมนํ าหนักทั งหมดและเทียบกับความสามารถการรับนํ าหนักของนังร้ าน ของแต่ละขนาดและเลือกใช้ ให้ เหมาะสมตามาตฐาน
6.ตรวจสอบหน้ างานก่อนเทคอนกรี ต ตรวจสอบโดยการใช้ สายตาและการความถูกต้ องของวัสดุคํ ายันต่างๆ ว่ามีความแข็งแรงไม่ชํารุด การยึดติดคบถ้ วน
7.และในการเทคอนกรี ตห้ ามแรงงานอยู่ด้านล่างของนังร้ านในขณะเทคอนกรี ตจนถึงคอนกรี ตเริ ม Setting ตัว
8.ในการคํ ายันนังร้ านให้ คิดเป็ น % ของคํ ายันแต่ละชั น ชั นเทคอนกรี ต คํ ายัน100% ชั น 2 คํ ายัน 50% ชั น 3 คํ ายัน 25%
Cold joint. คืออะไร แก้ ไขแบบไหน ? อธิบาย
เป็ นรอยต่อจากการเทคอนกรี ตสดต่อจากคอนกรี ตทีแข็งตัวแล้ วรวมถึงคอนกรี ตสดทีเลยเวลาการก่อตัวไปแล้ ว Cold joint.จะทําให้ เกิดระนาบทีออ่ นแอ
ความต้ านทานต่อแรงเฉือนลดลง และอีกทั งนํ ายังมีโอกาศจะซึมผ่านได้ และทําให้ ความนทานของคอนกรี ตในระยะยาวลดลง หากมีความจําเป็ นที ไม่
สามารถหลีกเลียงการเกิด Cold joint.ควรเสียบ Dowel ทีรอยต่อของคอนกรี ตทีจะหยุดเท เพือทีจะได้ ช่วยเพิมแรงยึดเหนียวและเพิมความต้ านทานแรง
เฉือนระหว่างคอนกรี คเก่าและคอนกรี ตใหม่ให้ มรประสิธ์ภาพมากขึ น และควรจี เขย่าบริ เวณคอนกรี ตเก่ากับคอนกนรี ตใหม่ให้ เพิมมากขึ นเพือป้องกันรูโพง
และช่องอากาศในบริ เวณรอยต่อของโครงสร้ าง

ถ้ ามีการหยุดเทคอนกรี ตจะหยุดเทตรงไหน เพราะอะไร เช่ น คาน หรื อพื น


การหยุดเทคอนกรี ตให้ หยุดเทบริ เวณ L/3 ระหว่างกลางคานหรื อช่วงพื นเสาถึงเสา ซึงบรเวณดังกล่าวจะเกิดแรงเฉือนหรื อShear น้ อยทีสดุ และให้ หยุด
เทคอนกรี ตเป็ นแนวเส้ นตรงและตั งฉาก และเสียบDowel ทีรอยต่อของคอนกรี ตทีจะหยุดเท เพือทีจะได้ ช่วยเพิมแรงยึดเหนียวและเพิมความต้ านทานแรง
เฉือนระหว่างคอนกรี คเก่าและคอนกรี ตใหม่ให้ มรประสิธ์ภาพมากขึ น และควรจี เขย่าบริ เวณคอนกรี ตเก่ากับคอนกนรี ตใหม่ให้ เพิมมากขึ นเพือป้องกันรูโพง
และช่องอากาศในบริ เวณรอยต่อ

การทดสอบกําลังอัดคอนกรี ตหน้ างานมีแบบไหนบ้ าง เคยทดสอบไหม ทดสอบแบบไหน ? อธิบาย


Rebound Hammer Tes
การทดสอบกําลังอัดของคอนกรี ตด้ วยวิธี Rebound Hammer Test (Schmidt Hammer Test) เป็ นการทดสอบ เพือประเมินค่ากําลังอัดของคอนกรี ต
ในโครงสร้ างแบบไม่ทําลาย โดยประเมินค่ากําลังอัดประลัย หรื อค่า Fc' ของคอนกรี ต
1. ตรวจสอบสภาพผิวตัวอย่างทดสอบ ขัดผิวทีต้องการทดสอบให้ เรี ยบ ถ้ าผิวโค้ งนูน หริ อ ผิวเว้ าจะมีผลต่อการRebound ของ Rebound Hammer
เนืองจากผิวทีโค้ งนูนจะทําให้ ค่าทีอา่ นได้ ตํากว่าค่าความเป็ นจริ ง ส่วนผิวทีเว้ าจะทําให้ ค่าทีอา่ นได้ สงู กว่าค่าความเป็ นจริ ง
2. จัดแบ่งพื นทีตวั อย่างทดสอบให้ มีตําแหน่งการยิง 12 ตําแหน่ง และแต่ละตําแหน่งห่างกันอย่างน้ อย 2.5 cm
3. ทําการกด Rebound Hammer ในทิศทางทีตั งฉากกับผิวตัวอย่าง พร้ อมบันทึกค่า Rebound Number และทิศทางการกด ซึงมีด้วยกัน 3 ทิศทาง
ได้ แก่ กดในแนวนอน, แนวตั งแบบยิงขึ น หรื อแนวตั งแบบยิงลง เนืองจากแต่ละทิศทางจะใช้ กราฟในการปรับค่าRebound Number
เป็ นค่า Strength of Concrete ทีแตกต่างกัน
4. นําค่า Rebound Number ทั งหมด มาหาค่าเฉลีย แล้ วดูวา่ ค่าRebound Number ทีตําแหน่งใดมีค่าสูงกว่าหรื อตํากว่าค่าเฉลียเกิน 7 หน่วย
ให้ ทําการทดสอบตําแหน่งนั นใหม่ ถ้ าทดสอบแล้ วยังไม่ได้ ให้ ตดั ค่าทีตําแหน่งนั นทิ ง แล้ วหาค่าเฉลียใหม่ นําค่าเฉลียทีได้ มาหาค่าStrength of Concrete
จากกราฟทีใช้ ในการปรับค่า

การเจาะคานควรเจาะช่ วงไหนของคาน เพราะอะไร? อธิบาย


ควรเจาะบริ เวณช่วงคาน ที Span L/3 และอยู่ในบริ เวณกึงกลางความลึกคาน ขนาดไม่เกิน 1:3 ของความลึก ที D/3
พฤติกรรมในการรับแรงของคานในช่วงทีเจาะทุลนุ ี เมือคานมีแรงมากระทํา
คานจะเกิดการแอ่นตัวในช่วง L/3 ซึงจะเป็ นแรงดัดในคานซึงเหล็กจะทําหน้ า
ทีรับแรงของโมเมนต์ดดั ซึงการทําหน้ าทีรับแรงอัดของคอนกรี ตสามารถรับ
ได้ และเกิดแรงเฉือนในคานน้ อย และอย่างไรก็ตามควรปรึกษาและแจ้ ง
กับทางผู้ออกแบบพิจารณาและควรหลีกเลียงหากไม่จําเป็ น

ให้ เขียนกราฟ ระหว่ างความเค้ นและความเคียด ของคอนรี ต


คอนกรี ตอัดแรง คือ อะไร ? รู้ จกั ไหม ใช้ ทาํ งานประเภทไหน
Prestressed concrete เป็ นกระบวนการผลิตและเสริ มแรงให้ ชิ นส่วน หรื อองค์อาคารคอนกรี ตให้ สามารถรับนํ าหนักได้ สงู มากขึ น แบ่งได้ เป็ น2 ประเภทคือ
1. Pre-tensioning ประเภทอัดแรงก่อน การอัดแรงประเภทนี จะทําการดึงลวดอัดแรงก่อน แล้ วจึงหล่อคอนกรี ต ตัวอย่างการอัดแรงประเภทนี ได้ แก่ เสาเข็ม
คานสําเร็จรูป พื นสําเร็จรูป เป็ นต้ น
2. Post-tensioning ประเภทอัดแรงภายหลัง การอัดแรงประเภทนี จะหล่อคอนกรี ตก่อนแล้ วจึงทําการดึงลวดอัดแรงภายหลัง ตัวอย่างการอัดแรงประเภทนี
ได้ แก่ พื นแผ่นเรี ยบไร้ คาน คานสะพาน เป็ นต้ น

คําถามในงานเหล็กเสริมคอนกรีต

ชนิดของเหล็กมีอะไรบ้ าง ? อธิบาย
1.เหล็กกลมผิวเรียบ SR24 มีกําลังรับแรงดึงทีจดุ ครากไม่น้อยกว่า 2400 ksc.(กก./ตร.ซม.) มีขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลางขนาดต่างๆ เช่น RB6
(หมายถึง Round Bar ขนาด ศก.6 มม.), RB9, RB12, RB15, RB19, RB25 เนืองจากผิวเหล็กทีมีลกั ษณะกลมเรี ยบจึงทําให้ แรงยึดเหนียวระหว่างเหล็ก
กับคอนกรี ตไม่ดีจึงต้ องมีการงอขอเพือทีจะสามารถถ่ายแรงได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
2.เหล็กข้ ออ้ อย SD30, SD40, SD50 มีกําลังรับแรงดึงทีจดุ ครากไม่น้อยกว่า 3000, 4000, 5000 ksc.ตามลําดับ โดยปกติจะมีขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง
เช่น DB10(หาในตลาดทัวไปยาก), DB12(หมายถึง Deformed Bar ขนาด ศก.12มม.), DB16, DB20, DB25, DB28, DB32 ผิวของเหล็กเส้ นจะมี
ลักษณะเป็ นปล้ องเพือเพิมแรงยึดเหนียวให้ เหล็กกับคอนกรี ตมากขึ น
3.เหล็กรูปพรรณขึ นรูปร้ อน ใช้ งานตาม มอก. 1227-2539 มีอยู่ชั นคุณภาพSS400 ของ มอก. และ ชั นคุณภาพSM520 ซึงเป็ นชั นคุณภาพของเหล็ก
กําลังสูง ของ มอก. เป็ นต้ น Fy 2400 Fy 3600 เช่น เหล็กเส้ นกลม-ข้ ออ้ อย, เหล็กเอชบีม, เป็ นต้ น
4.เหล็กรูปพรรณขึ นรูปเย็น ใช้ งานตาม มอก. 1228-2549 มีอยู่ชั นคุณภาพSSC 400 Fy 2400 เช่น เหล็กตัวชี เหล็กกล่อง เหล็กกลม เป็ นต้ น

เหล็กเส้ นถึงหน้ างานเราจะรู้ ได้ งยั ว่ าเหล็กได้ ใตฐานและเป็ นเหล็กเต็ม ? อธิบาย


1.ตรวจสอบด้ วยสายตาเบื องต้ น ความสะอาดของเหล็ก ป้าย มอก.เหล็ก (เหล็กเส้ นกลม มอก. 20-2559 / เหล็กข้ ออ้ อย มอก. 24-2559)
2.วัดขนาดและตัดระยะ 1 เมตร ไปชังนํ าหนักต่อเมตร
3.ทดสอบงอและดัดเหล็กว่าเหล็กมีคณ ุ สมบัติเหนียวหรื อเปราะ
4.ตัดชิ นตัวอย่าง ขนาดละ3 ตัวอย่างนําไปทดสอบ เพือวัดค่าตามมาตฐาน ( ใบ.Calibrate เครื องดึง ไม่เกิน 6 เดือนพร้ อมผลทดสอบ จากสถาบันทียอมรับ)

การทดสอบเหล็กเพือหาค่ าอะไรบ้ าง ? อธิบาย เราจะรู้ ได้ ยังงัยว่ าเหล็กทดสอบผ่ านหรื อใช้ ได้ ไม่ ได้ ยังงัย ? อธิบาย
จุดประสงค์การทดสอบ เพือทดสอบหาคุณสมบัติในการรับแรงดึงของเหล็กเส้ น
1. กําลัง (Strength)
หน่วยแรงทีจดุ คราก (Yield strength) / ค่าทดสอบต้ องไม่น้อยกว่าค่ามาตรฐานกําหนด
หน่วยแรงประลัย (Ultimate strength) / ค่าทดสอบต้ องไม่น้อยกว่าค่ามาตรฐานกําหนด
หน่วยแรงทีพิกดั ยืดหยุ่น (Proportional limit)
2. ความเหนียว (Ductility)
ร้ อยละการยืดในช่วง 5 เท่าของเส้ นผ่านศูนย์กลาง (Elongation) / ค่าทดสอบต้ องไม่น้อยกว่าค่ามาตรฐานกําหนด
3. โมดูลัสยืดหยุ่น (Modulus of elasticity)

ถ้ าไปทดสอบแล้ วค่ าของ Elongation. ไม่ ได้ ตามมาตรฐานเราจะทํายังไง เหล็กสามารถใช้ ได้ หรื อไม่
1.นําเหล็ก loat ทีมีปัญหาไปทดสอบใหม่อีกครั ง และเพิมจํานวนเส้ นในการทดสอบเพือหาค่าเฉลีย ของ%Elongation
2.ถ้ าทดสอบแล้ ว %Elongation ไม่ผ่านเลย อาจจะต้ องเรี ยกผู้ผลิตเข้ ามาปรึกษาและแจ้ งถึงผลที ออกมาเพือหาสาเหตุและตรวจสอบในการผลิตเหล็กชุดนี
3.เหล็กทีไม่ได้ %Elongation สามารถนําไปใช้ ได้ และขึ นอยู่กบั ขนาดของเหล็ก แต่อาจจะนําไปใช้ งานในลักษณะของโครงสร้ งประเภทอื นทีไม่ใช่เหล็กเสริ ม
หลักของโครงสร้ างนั นๆ เช่น นําไปใช้ เป็ นเหล็กกันร้ าวท่อสลิป ขอบพื นPost เป็ นต้ น หรื อนําไปใช้ งานกับโครงสร้ างหลักได้ โดยการเพิ มปริ มาณจํานวณเส้ น
แต่ทั งนี ก่อนทีจะนําไปใช้ งานจะต้ องแจ้ งทางผู้ออกแบบและผู้ควบคุมงานและทุกฝ่ ายรับทราบและให้ เจ้ าของโครงการอนุมตั ิ
% เปอร์ เซ็นต์ การยึดเหล็กมาก ดีหรื อไม่ ดี เพราะอะไร ? อธิบาย
ถ้ า % Elongation.ของเหล็กยิงมาก ค่าYield strength ของเหล็กยิงน้ อยลงจะขึ นอยู่ในการเลือกใช้ ขนาดเหล็กและการจัดเหล็กในการออกแบบของผู้ออกแบบ

การหาค่ า Elongation. หายังไง ?

บอกระยะการงอดัดเหล็กและทาบต่ อเหล็ก ? อธิบาย


1.งอ 45 คิดส่วนงอ 6d
2.งอ 90 คิดส่วนงอ 12d
3.งอ ขอ คิดส่วนงอ 4d
4.ระยะการทาบเหล็กเส้ นกลมต้ องไม่น้อยกว่า 50 เท่าของเส้ นผ่าศูนย์กลางของเหล็ก
5.ระยะการทาบเหล็กเส้ นข้ ออ้ อยต้ องไม่น้อยกว่า 40 เท่าของเส้ นผ่าศูนย์กลางของเหล็ก
6.การดุ้งเหล็ก ยอมให้ ด้ งุ ทีอตั ราส่วน 1:6

เวลาฝั งเหล็ดคิดระยะฝั งของเหล็กเสริ มแบบไหน ? อธิบาย


Development length คือ ระยะฝั งยึดของเหล็กในคอนกรี ตเป็ นการยึดเหนียวระหว่างเหล็กและคอนกรี ต
ปกติจะคิดแบบง่ายๆ คือ 40D - 50D ขึ นอยู่กบั ขนาดเหล็กและลักษณะโครงสร้ างในการคิดตรวจสอบหน้ างาน

อาคารทีสามรถรั บแรงแผ่ นดินไหว จะต้ องต่ อทาบเหล็กบริ เวณไหน เสริ มเหล็กปลอกแบบไหน ? อธิบาย
1.โครงสร้ างเสา ระยะห่างเหล็กปลอก ต้ องไม่เกินกว่า 10 Cm. ตรงบริ เวณโคนเสาและปลายเสา ในระยะประมาณ 50 Cm และเหล็กปลอกในข้ อต่อเสาคาน
ต้ องไม่น้อยกว่า 3 ปลอก ระยะห่างเหล็กปลอก ต้ องไม่เกินกว่า 20 Cm. ตรงบริ เวณกลางเสา และระยะทาบต่อต้ องไม่ตํากว่า 50 Cm
และต้ องต่อทาบในช่วงกลาง L/3
2.โครงสร้ างคาน ระยะห่างเหล็กปลอก ต้ องไม่เกินกว่า 10 Cm. ตรงบริ เวณหัวเสา ในระยะประมาณ 80 Cm และระยะห่างเหล็กปลอก
ต้ องไม่เกินกว่า 20 Cm. ตรงบริ เวณกลางคาน
3.ต่อเหล็กเสาให้ ต่อบริ เวณช่วงกลางเสา รอยต่อห้ ามต่อตรงกัน ให้ ต่อ 50 % ของจํานวนเหล็กเสา

จังหวัดทีอยู่ในบริ เวณเสียง บริ เวณทีเป็ นดินอ่ อน ปริ เวณเฝ้าระวัง มีจงั หวัดไหนบ้ าง ? อธิบาย
กลุ่มรอยเลือนมีพลังทีพาดผ่านประเทศไทย มีรอยเลือนพบในพื นทีทีเคยเกิดแผ่นดินไหว บ่อยครั ง หรื อบริ เวณแนวรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลก ซึงมีแนวโน้ ม
เคลือนตัวได้ ตลอดเวลา จํานวน 14 รอยเลือน ครอบคลุมพื นที 22 จังหวัด พื นทีเสียงแผ่นดินไหวในประเทศไทย แบ่งเป็ น 4 เขตตามความเสียง
ตามสภาพความเสียงภัย และความเสียหายหากเกิดแผ่นดินไหวในพื นที ดังนี
เขต 0 : ไม่มีความเสียง
เขต 1 : มีความเสียงน้ อยแต่อาจมีความเสียหายบ้ าง
เขต 2ก : มีความเสียงต่อการเกิดความเสียหายในระดับน้ อยถึงปานกลาง ( กรุงเทพและปริ มลฑล)
เขต 2ข : มีความเสียงต่อการเกิดความเสียหายในระดับปานกลาง

เหล็กตัว T คืออะไร ? รู้ จกั ไหม

คําถามในงานดิน

คุณมี soil boring log โครงการคุณมั ย ดูอะไรบ้ าง อธิบายทั งหมด / แล้ วทําอะไรไม่ ได้ ทาํ อะไรได้ บ้าง
อธิบาย LL และ PL และให้ บอกการนําไปใช้ ในการพิจารณาข้ อมูล Soil Boring Log
ดิน CH MH อักษร H และ L บอกอะไร ... Hight LL , Low LL บอกความหมายคืออะไร
LL / Liquid limit ขีด จํากัด ของเหลว คือ ความชื นในมวลดินขณะทีมวลดินเริ มเปลียนสภาพจากของเหลวไปเป็ นสารหนืดตัวในสถานภาพพลาสติก
PL / Plastic limit ขีด จํากัด พลาสติก คือ ความชื นในมวลดินขณะทีเปลียนสถานภาพจากพลาสติกเป็ นกึงของแข็ง
PI / Plasticity Index คือผลต่างของ L.L และ P.L เป็ นตัวแสดงถึงความเหนียวของดินและยังแสดงความเปลี ยนสถานภาพต่อความชื นของมวลดินนั น ๆ
SL / Shrinkage limit ขีด จํากัด การหดตัว คือ ความชื น ซึงดินเปลียนจากสภาพกึงของแข็งเป็ นของแข็ง และจะไม่มีการหดตัวต่อไปอีกแล้ ว
G Gravel กรวด
S Sand ทราย
M Silt ตะกรอนทราย
C Clay ดินเหนียว
O Organic ดินทีมีอินทรี ย์ปน
Pt peat ถ่านหิน

ดิน CH MH อักษร H และ L บอกอะไร ... Hight LL , Low LL บอกความหมายคืออะไร


L Low Plastic LL น้ อยกว่าหรื อเท่ากับ 50 % ของดินมีความแข็งปานกลางและมีความเป็ นพลาสติกตํ า
H High Plastic LL มากกว่า 50 % ของดินมีความเป็ นพลาสติกสูงหรื อมีความยืดหยุ่นสูงหรื อเหลวมาก
ML ชนิดดินตะกรอนทรายมีความเป็ นพลาสติก inorganic silts snd very fine sands. rock flour silty or clayey fine sands. or clayey
CL ชนิดดินเหนียวทีมีความเป็ นพลาสติก inorganic clays of low to medium plasticity gravelly clays sandy clays silty clays lean clays
OL ชนิดดินทีมีอินทรี ย์ปนทีมีความเป็ นพลาสติก Organic silts and Organic silty clays of low plastcicity
MH ชนิดดินตะกรอนทรายทีมีความยืดยุ่นสูง inorganic silts micaceous of diatomaceous fine sandy or silty soils elastic silts
CH ชนิดดินเหนียวทีมีความยืดยุ่นสูง inorganic clays of high plasticity fat clays
OH ชนิดดินทีมีอินทรี ย์ปนทีมีความเป็ นพลาสติกปานกลางถึงสูง organic clays of medium to high plasticty organic silts

กราฟสถานะของดินเหนียว
* ถ้ ามีดินค้ างอยู่บนตะแกรงมาตรฐานเบอร์ 200 น้ อยกว่า 50 % ถือว่าเป็ นดินจําพวกเม็ดละเอียดดินจําพวกนี ได้ แก่ ตะกอนทราย(Silt ) หรื อดินเหนียว(Clay )
*ถ้ ามีดินค้ างอยู่บนตะแกรงมาตรฐานเบอร์ 200 เกิน 50 % ถือว่าเป็ นดินจําพวกเม็ดหยาบ ดินจําพวกนี ได้ แก่ Gravelly Soils , Sandy Soils

Atterberg Limit. คืออะไร


เป็ นการหาค่าความชื นทีลิมิตต่างๆ สถานภาพต่าง ๆ ในการทดสอบสถานะของมวลดินเหนียวและจะมีอยู่ 4 สถานนะคือ ของแข็ง กึงของแข็ง
พลาสติก และของเหลว

วัตถุประสงค์ ในการเจาะสํารวจดิน boring log


1. ให้ ทราบถึงลักษณะการวางตัวของชั นดิน ทั งในแนวดิงและแนวราบในสถานทีและบริ เวณนั นๆ
2. ให้ ได้ ข้อมูลคุณสมบัติทีเกียวข้ องของชั นดินหรื อชั นหิน ทั งทางด้ านกายภาพ และทางด้ านวิศวกรรม ที ใช้ ในการวิเคราะห์ออกแบบ และก่อสร้ าง
3. ทราบลักษณะของนํ าใต้ ดินทีเกียวข้ อง และความเปลียนแปลงของระดับนํ าในช่วงเวลาต่าง ๆ
4. ทราบคุณสมบัติเฉพาะทีอาจเกียวข้ องกับการออกแบบ เช่นดินกระจายตัว (Dispersive Clay), ปริ มาณอินทรี ย์วตั ถุหรื อความเข้ มข้ นของเกลือซัลเฟตที
จะทําอันตรายต่อโครงสร้ างคอนกรี ต
5. เพือทราบถึงแหล่งปริ มาณสํารองและคุณสมบัติของดินที ใช้ เป็ นวัสดุก่อสร้ าง
ด้ านการออกแบบ
1.การออกแบบความลึกเสาเข็ม เช่น กําหนดนํ าบรรทุกเสาเข็ม กําหนดความยาวเสาเข็ม กําหนดรอยต่อเสาเข็ม กําหนดชนิดเสาเข็ม
ออกแบบกําแพงกันดิน ออกแบบห้ องชั นใต้ ดิน ออกแบบเขิอน งานวิศวกรรมปฐพี อืนๆ
ด้ านการคุมงานและการก่ อสร้ าง
1.พิจารณาและสังเกตุพฤติกรรมของโครงสร้ างชั นดินขณะทํางาน ศึกษาวิธีการในการก่อสร้ างงานใต้ ดิน เป็ นข้ อมูลในการพิจารณาการแก้ ไขปั ญหา
หากเกิดขึ นในขณะทํางาน

แรงดันดินมีกีประเภท อธิบาย ?
และแรงทีกระดําอืนๆ เช่น Load Surcharge. การไหลของดินหรื อ Hiet

คํานวณหาความลึกของ Sheet pile ได้ ไหม ถ้ าไปตรวจสอบหน้ างาน


คิดแบบเร็วๆ ในการทกสอบหน้ างานของความลึกของ Sheet pile จะคิดที 2 เท่าของความลึกของบ่อทีขดุ หรื อท้ องคลองทีจะทําการกด Sheet pile

รู้ จกั พารามิเตอร์ ทสี าํ คัญของดินไหม มีอะไรบาง ? อธิบาย

SPT คือค่ าอะไร ย่ อมาจากอะไร ? อธิบาย


SPT ย่อมาจากคําว่า STANDARD PENETRATION TEST ค่า SPT คือการทดสอบความแข็งของชั นดินทราย เพือหาค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์
และความแข็งแรงของดิน โดยวิธีการทดสอบด้ วยการตอกโดยการยกตุ้มนํ าหนัก 140 ปอนด์ (63.5 กก) ทีความสูง 30 นิ ว(0.762 ม) แล้ วปล่อยให้ กระแทก
ลงไปทีดินอย่างอิสระ โดยจํานวนครั งทีนบั ได้ ในการตอกให้ ดินยุบ 1 ฟุต เราจะเรี ยกค่าๆ นี ว่าค่า SPT-N โดยทีค่าดังกล่าวจะมีหน่วยเป็ น ครั ง ต่อ ฟุต
หรื อ blows per ft จะนําไปคํานวณ Blow Count. ในการตอกเสาเข็มต่อไป
หน่ วยนํ าหนักของดินหนักเท่ าไรรู้ จกั หรื อไม่ ?
จะหนักอยู่ที 1200 - 2400 Kg/m3 จะขึ นอยู่กบั สภาวะของดนและชนิดดิน

โครงสร้ งป้องกันดินพัง โดยระบบ Sheet Pile.


คําถามในงานเสาเข็ม

เสาเข็มชนิดตอก

เสาเข็มมีกีประเภท ? อธิบาย
เสาเข็มทีใช้ กบั อาคารบ้ านเรื อนทัวไปในปั จจุบนั สามารถแบ่งออกได้ เป็ น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ตามลักษณะของการผลิตและการใช้ งาน ได้ แก่
1. เสาเข็มคอนกรี ตอัดแรง
2. เสาเข็มเจาะ เข็มเจาะแบบระบบเปี ยก และเข็มเจาะแบบระบบแห้ ง
3. เสาเข็มกลมแรงเหวียงอัดแรงหรื อทีเรี ยกกันทัวไปว่าเสาเข็มสปั น
Blow Count คืออะไร ? อธิบาย
Blow Count เป็ นการนับจํานวนครั งทีตอกเสาเข็มจมลง 0.30 ม. หรื อ 1 ฟุต ซึงจะทําระยะในการนับ Blow Count ในกรณีทีตอกเสาเข็มได้ โดยไม่ต้องใช้
เสาส่งให้ ทําเครื องหมายทุกระยะ 1 ฟุต ในช่วง 3 เมตรสุดท้ ายของโคนเสาเข็ม ถ้ าต้ องใช้ เสาส่งให้ ทําเครื องหมายทุกระยะ 1 ฟุต ในช่วง 1.5 เมตรสุดท้ าย
ของโคนเสาเข็ม หรื อขึ นอยู่กบั เสาเข็มทีจะส่งลงไป หากเห็นว่าจํานวนครั งในการตอกสูงเกินไปอาจทําให้ เสาเข็มเสียหายได้ อาจสังให้ ตรวจสอบLast Ten Blow
หากการจมลงของเสาเข็มได้ ตามค่าทีคํานวณได้ ก็ยตุ ิการตอก บางครั งจํานวนครั งในการตอกในช่วง0.30 ม.อาจลดลงผิดปกติ อาจจะเป็ นเพราะเสาเข็มหัก
หรื อเสาเข็มทะลุลงไปถึงชั นดินอ่อน ในกรณีเหล่านี ผู้ควบคุมงานจะต้ องทําการบันทึกแล้ วจึงรายงานให้ วิศวกรผู้รับผิดชอบทราบทันที
last 10 blow คืออะไร เข็มเจาะแบบระบบแห้ ง
การนับการตอก 10 ครั งสุดท้ าย (Last Ten Blow) เป็ นการตรวจสอบระยะจมของเสาเข็ม 10 ครั งสุดท้ ายว่าจมลงไปไม่มากกว่าหรื อเท่ากับค่า ทีคํานวณได้
โดยคํานวณจากสูตรในตารางที หากได้ ตามทีคํานวณก็ให้ ยตุ ิการตอก ในกรณีนี ผู้ควบคุมงานต้ องคอยดูการ ปล่อยลูกตุ้มต้ องปล่อย อย่างเสรี โดยสังเกตจาก
เชือกเวลาลูกตุ้มกระทบหัวเสาเข็ม เชือกจะหย่อน ถ้ าเชือกตึงแสดงว่าไม่ปล่อยลูกตุ้มอย่างเสรี ให้ ทําการนับใหม่จนได้
Last 10 Blows = 8.4 cm หมายความว่ า การตอกเสาเข็ม 10 ครั งสุดท้ าย เสาเข็มต้ องจมไม่ เกิน 8.4 ซม. จึงจะสามารถรับนํ าหนักปลอดภัยได้

การกองเก็บเสาเข็มต้ องกองแบบไหนเวลาไปส่ งหน้ างาน ? อธิบาย และยกทีตาํ แหน่ งไหน เพราะอะไร


ถ้ าเสาเข็มไม่เยอะจะวางเรี ยงบนพื นดินทีเรี ยบทีไกลจุดทีตอกและไม่ติดขัดกับลายตอกเข็มอืน และถ้ าจําเป็ นต้ องกองเรี ยนจะใช้ ไม้ หนุนบริ เวณทีเป็ นหูยก2 ข้ าง
ระยะยก 0.21L กับ 0.58L กับ 0.21L และ 0.71L กับ 0.29L จะทําให้ เสาเข็มเกิดโมเมนต์ บวกและลบมีความสมดุลกัน

การเลือกใช้ ต่ ุมในการตอกเสาเข็มควรเลือกใช้ ต่ ุมทีนํ าหนักเท่ าไร และคิดนํ าหนักตุ้มยังไง? อธิบาย


ตุ้มทีมีนํ าหนักทีอยู่ในระหว่าง 0.70 - 2.5 เท่า ของนํ าหนักเสาเข็ม และระยะในการยกอยู่ที 30 - 80 Cm.
วัดขนาดตุ้ม และ คูณด้ วย ถพ.เหล็ก 7.85 จะเป็ นนํ าหนักตุ้ม และวัดขนาดนํ าหนักเสาเข็มและคูณด้ วย70% ก็จะได้ % ของนํ าหนักตุ้มครับ
เช่น น.น.ลูกตุ้ม = 0.6 x 0.6 x 2.20 x 7.85 = 6.218 Ton.
น.น.เสาเข็ม 0.30 x 0.30 x 21.00 x 2400 = 4.54 Ton.
คิดนํ าหนักลูกตุ้มทีสามารถตอกเสาเข็มได้ = 70% x 4.54 = 3.18 Ton.

เข็มมีรอยร้ าวใช้ ได้ หรื อไม่ ถ้ าใช้ ได้ ยอมให้ ทีเท่ าไร
เสาเข็มทีมีรอยร้ าวตอ่เนืองกันไม่เกินครึ งของเส้ นรอบรูป และทํามุมระหว่าง 80 องศา ถึง 90 องศา กับแนวแกนสะเทิน และรอยร้ าวแตล่ะรอยห่าง
กันเกิน 1 เมตร และกว้ างไม่เกิน 0.2 มิลลิเมตร แล้ วยอมให้ ใช้ ได้ แต่ต้องได้ รับความเห็นชอบจากผู้วา่ จ้ างก่อน
(มทช. 106-2545 มาตรฐานงานเสาเข็ม มาตรฐานกรมทางหลวงชนบท)
บอกขั นตอนในการตอกเสาเข็มเป็ นอย่ างไร ? อธิบาย
ขั นตอนที 1: เตรียมการก่ อนตอกเสาเข็ม
ศึกษาแบบแปลน และผังโครงการ วางแผนการตอกเสาเข็ม (Piling Sequence) จัดเตรี ยมแบบฟอร์ มทีใช้ ในการตอกเข็ม จัดทําเอกสารรายการ
คํานวณเสาเข็ม และ รายการคํานวณ Blow count และต้ องตรวจสอบนํ าหนักของตุ้มตอก และระยะยกของลูกตุ้มให้ ได้ ตามที คํานวณไว้
พร้ อมความแข็งแรงของปั นจัน
ขั นตอนที 2: ตอกเสาเข็มทดสอบ
วางผังโครงการตามพิกดั ค่า Coordinate ทีแบบแปลนกําหนด ทําการตอกเสาเข็มตัวอย่าง (Pilot test pile) เพือหาขนาด และ ความยาวของเสาเข็ม
และเสนอขออนุมตั ิจากเจ้ าของ (Owner) โครงการ เมือ Owner อนุมตั ิขนาดความยาวพร้ อมรายการคํานวณ Blow count ของเสาเข็มเรี ยบร้ อยแล้ ว
ก็เริ มดําเนินการตอกเสาเข็มได้
ขั นตอนที 3: ดําเนินการตอกเสาเข็ม
กําหนดจุด Start ของงานตอกเสาเข็มต้ นแรกและเส้ นทางการเดินปั นจัน ทํา off set ตําแหน่งของเข็ม ทั ง2 แกน ก่อนยกเสาเข็มขึ นและ
Recheck off set โดย Foreman อีกครั งเพือให้ เข็มได้ ตําแหน่งทีถกู ต้ อง ก่อนทําการ Check ดิง ควรตอกเข็มให้ จมลงไปก่อน ประมาณ 30 – 50 cm.
แล้ ว Recheck off set อีกครั งว่าคลาดเคลือนหรื อไม่ แล้ วทําการ Check ดิง โดย Foreman ต้ องตรวจสอบด้ วยเสมอ ซึงการตรวจสอบต้ องตรวจ
สอบทั ง 2 แกน คือ ด้ านหน้ าและด้ านข้ าง
ขั นตอนที 4: การ Check Blow Count
Mark ระยะทีส่วนปลายของเสาเข็มแต่ละต้ นเป็ นช่วงๆละ 30 cm. จํานวน 10 ช่วง หรื อประมาณ 3 เมตร สุดท้ าย ตอกเสาเข็มจนถึงตําแหน่งที Mark
ไว้ (3 m.) เริ มทําการนับจํานวน Blow ในแต่ละช่วง (30 cm.) ทําการบันทึกค่าไว้ ของแต่ละช่วงว่าได้ Blow เท่าไหร่ จนกระทังถึงช่วงๆหนึง
จํานวน Blow จะเพิมขึ นมาก แต่ระยะทีเสาเข็มจมลงน้ อยมาก จึงทําการนับ Blow ทีตอก 10 ครั งสุดท้ าย (Last ten blow) แล้ ววัดระยะทีเสาเข็ม
จมลงในการตอก 10 ครั งสุดท้ าย แล้ วบันทึกค่าไว้ (ทํา 2 ครั ง) (Last ten Blow ต้ องไม่เกินจากค่าทีคํานวณไว้ )
recheck ทิศทางการเยื องศูนย์ของเข็ม บันทึกการเยื องศูนย์

เสาเข็มชนิดเจาะ

เสาเข็มเจาะมีกีประเภท ? อธิบาย
เสาเข็มเจาะหลักๆทีนิยมใช้ กนั จะมีอยู่ 2 ประเภท
1. เข็มเจาะแบบระบบเปี ยก Wet Process มีขนาดตั งแต่ 60 ซม. , 80 ซม. , 1 เมตร , 1.20 เมตร , 1.50 เมตร
2. เข็มเจาะแบบระบบแห้ ง Dry Process Bored มีขนาดตั งแต่ 35 ซม. , 40 ซม. , 50 ซม. , 60 ซม. ,

เหตุผลทีเลือกใช้ เข็มเจาะแห้ ง Dry Porcess ? อธิบาย


คือการเจาะโดยไม่ต้องใช้ นํ าช่วย สําหรับกรณีทีดินข้ างหลุมเจาะแข็งแรง สําหรับการเจาะดินสามารถกระทําได้ หลายวิธี ได้ แก่ การเจาะแบบหมุน แบบขุด
และการเจาะแบบทุ้งกระแทก ซึงเป็ นวิธีทีง่ายทีสดุ เหมาะกับการก่อสร้ างขนาดเล็ก ในพื นทีแคบ เสาเข็มเจาะแบบแห้ ง เป็ นระบบเสาเข็มเจาะขนาดเล็ก
ส่วนใหญ่จะลึกไม่เกิน 20 - 25 เมตร (ขึ นอยู่กบั ระดับชั นของดิน) ทีสามารถรับนํ าหนักได้ 120 ตัน

เหตุผลทีเลือกใช้ เข็มเจาะเปี ยก Wat Porcess ? อธิบาย


การเลือกใช้ เข็มระบบเปี ยกเหมาะสําหรับโครงสร้ างอาคารที มีขนาดใหญ่ ทีสามารถเจาะลึกลงไปได้ เกินกว่า 20 เมตร และสามารถรับนํ าหนักได้ เกินกว่า
120 ตัน ส่วนใหญ่จะลึกเกิน 50 เมตร ขึ นไป และปลายจะอยู่ในชั นชั นดินดาน หรื อชั นทรายแข็ง
บอกขั นตอนในการทําเสาเข็มเจาะ แบบระบบเปี ยก Wet Process ? อธิบาย
1: ใส่แบบเหล็กโดยเครื องสันสะเทือน ไฮโดรลิคความถีสงู
2: เริ มต้ นการเจาะโดยเครื องเจาะจนกว่าจะถึงชั นแรกของดินทราย
3: เทสารละลายลงไปในหลุมเพือป้องกัน การพังทลายด้ านข้ างของหลุมเจาะ
4: ยังคงขุดเจาะต่อไปโดยใช้ ถงั ทีอยู่ภายใต้ สารละลายจนกว่าจะได้ ระดับความลึกทีต้องการ
5: ใส่กรงเหล็กเส้ นลงไปหลังจากทําความสะอาดหลุมเจาะครั งสุดท้ าย
6:ใส่ท่อเทคอนกรี ตใต้ นํ า(tremie pipe) และเทคอนกรี ตลงไป
7: สกัดแบบเสาเข็มออกโดย เครื องสันสะเทือนไฮโดรลิค
8: ได้ เสาเข็มเจาะทีสมบูรณ์แบบ

ใช้ นํ ายาอะไรผสมบ้ าง และทดสอบแบบไหน ทดสอบหาค่ าอะไรเพืออะไร ?


นํ ายาและสารเคมี เบนโทไนท์ โพลิเมอร์
ทดสอบความหนืดของสารละละลายพยุงหลุมเจาะโดยวิธี Marsh Cone Viscosity Test
40-60 sec for Polymer-Bentonite Slurry
30-55 sec for Bentonite Slurry

ทดสอบความเป็ นกรดด่างของสารละละลายพยุงหลุมเจาะโดยใช้ Lismas paper


8-11 for Polymer-Bentonite Slurry
9-11 for Bentonite Slurry

ทดสอบความหนาแน่นของสารละละลายพยุงหลุมเจาะโดยใช้ Mud Balance


1.02 g/ml for Polymer-Bentonite Slurry
1.02-1.15 g/ml for Bentonite Slurry

ทดสอบปริ มาณทรายในสารละละลายพยุงหลุมเจาะโดยใช้ Sand Screen


< 1% for Polymer-Bentonite Slurry
< 4% for Bentonite Slurry

ขั นตอนในการทําเสาเข็มเจาะ แบบระบบแห้ ง Dry Process Bored ? อธิบาย


หลังจากเราตั งสามขาตามตําแหน่งเสาเข็มแล้ ว
1 ลงปลอกเหล็กชัวคราว (Temporary Casing)
2 การขุดดินด้ วยกระเช้ าเก็บดิน (Bucket)
3 ลงเหล็กเสริ มขนาดและความยาวตามทีออกแบบ
4 การเทคอนกรี ต
5 การถอนปลอกเหล็กด้ วยรอกพ่วง
6: เสร็จสิ นขั นตอนการเจาะเสา เมือเราเสร็จสิ นการเจาะเข็มแล้ ว การเจาะเข็มต้ นต่อไปจะต้ องอยู่ห่างจากเข็มที เจาะเสร็จแล้ ว
ไม่น้อยกว่า 6 เท่าของเส้ นผ่าศูนย์กลาง และจะต้ องมีเวลาให้ คอนกรี ตเซ็ทตัวใหม่ไม่ตํ ากว่า 1 วัน
พฤติกรรมดินใต้ เสาเข็ม ... อธิบายพฤติกรรมแรงใต้ เสาเข็ม ? อธิบาย
ชั นดินทีจะทําหน้ าทีรับกําลังตามแนวแกนของเสาเข็ม จะมีอยู่ด้วยกัน 2 รูปแบบหลักๆ ได้ แก่
1. การรับกําลังทีผิวรอบข้ างของตัวเสาเข็ม หรื อ FRICTION
2. การรับกําลังทีผิวล่างสุดของตัวเสาเข็ม หรื อ END BEARING
เมือเสาเข็มฝั งตัวลงไปในดินจะทําให้ รอบๆ ตัวเสาเข็มนั นเกิดการกระจายตัวของแรงเค้ น (STRESS CONTOUR) ออกไปรอบๆ ตัวเสาเข็ม
จะทําให้ ค่าการกระจายตัวประสิทธิผลของความเค้ นนี เกิดขึ น(DEVELOP) ได้ อย่างเต็มที เพราะ ระยะห่างระหว่างเสาเข็มนั นมีมากเพียงพอ
ส่วนสาเหตุวา่ เพราะอะไรเราจึงนิยมใช้ ระยะห่างนี เท่ากับ 3 เท่าของ D ก็เป็ นเพราะว่าระยะดังกล่าวจะเป็ นระยะที เพียงพอต่อการทีเสาเข็มนั นมีกลไกการรับ
กําลังในทั ง2 รูปแบบ

ระยะเอียงทียอมให้ ของเสาเข็ม ? อธิบาย ความคลาดเคลือนของตําแหน่ งเสาเข็ม Pile Deviat ? อธิบาย


ความคลาดเคลือนทียอมให้ (Allowable Deviation) ว.ส.ท.
ความเบียงเบนแนวราบ 5 เซนติเมตร สําหรับเสาตอก ความเบียงเบนแนวดิง 1 : 50 โดยรวม
ความเบียงเบนแนวราบ 7.5 เซนติเมตร สําหรับเสาเข็มเจาะ ความเบียงเบนแนวดิง 1 : 100 โดยรวม
ความเบียงเบนในแนวราบ ไม่จําเป็ นต้ องได้ 5 - 7.5 Cm. เสมอไป จะขึ นอยู่กบั ขนาดหน้ าตัดของเสาเข็มด้ วย โดยใช้ วิธีคิดของระยะMiddle Third L/3
หากจุดศูนย์กลางยังอยู่ในระยะ Middle Third L/3 ถือว่ายอมรับได้ แต่ทั งนี ก็ต้องแจ้ งทางผู้ออกแบบรับทราบ
เสาเข็มเด ียว

L
L/3 L/3 L/3

L/3

L L/3 Middle.
L/3

เสาเข็มกลุ่ม

L
L/3 L/3 L/3

L/3

L L/3 Middle.
L/3

การแก้ ไขปั ญหา Moment ทีเกิดขึ นเนืองจาก Pile Deviat หรื อเข็มเยื องศูนย์ จะแก้ ไขปั ญหาแบบไหน ? อธิบาย
มีวิธีในการแก้ ไขได้ ด้วย 3 หลักการ
(1) การตอกเสาเข็มแซม
(2) การหมุนฐานราก
(3) การทําคานยึดรั ง วิธีการนี จะเหมาะกับกรณีทีเกิดค่าการเยื องศูนย์มากๆ และ พบว่าหากปล่อยให้ ตวั ฐานรากต้ นนั นๆ ต้ องรับโมเมนต์ทีเกิดจากกา
รเยื องศูนย์ไปแล้ วตัวฐานรากอาจจะเกิดการพลิกควําได้
วิธีทดสอบเสาเข็มมีแบบไหนบ้ าง ? อธิบาย
1.Seismic Test การตรวจสอบสภาพความสมบูรณ์ของเสาเข็ม โดยการอาศัยแรงกระแทกกระทําตามแนวแกนที บริ เวณหัวเสาเข็มเป็ นตัวส่งผ่านพลังงาน
วิงผ่านลงไปในตัวเสาเข็ม หากเสาเข็มเกิดความไม่ต่อเนื องของหน้ าตัดของเสาเข็ม เกิดรอยแตกร้ าว หรื อคอนกรี ตอยู่ในสภาพไม่ดี ส่งผลให้ คลื นทีสะท้ อน
กลับขึ นมามีลกั ษณะรูปร่างทีแตกต่างกัน
2.Dynamic Pile Test การทดสอบนํ าหนักบรรทุกของเสาเข็ม โดยวิธีพลศาสตร์ หลักในการทดสอบคือ การใช้ ปั นจันยกตุ้มนํ าหนักแล้ วปล่อยให้ ลกู ตุ้มลง
มากระแทกเสาเข็ม พลังงานจากการกระแทกจะทําให้ เกิดคลื นซึงส่งเข้ าหาอุปกรณ์ทดสอบ ซึงจะแปลผลตามนํ าหนักและความเร็ว
วิธีทดสอบ
1.เปิ ดหน้ าดินหรื อเตรี ยมพื นทีในการทดสอบPile Load Test.
2.ทําการทดสอบ Seismic Test. เพือตรวจสอบสภาพความสมบูรณ์ของเสาเข็ม
3.ทําการแค็บหัวเสาเข็มโดยมีขนาด 1D ขนาดเสาเข็ม และกําลังอัดของคอนกรี ตต้ องไม่น้อยกว่า 70% ก่อนทําการทดสอบ
4.ติดตั งปั นจันและอุปกรณ์ในการทดสอบ โดยให้ ตวั รับเกรดสัญญาณติดกับเสาเข็มตามตําแหน่งที กําหนด จํานวน2 จุด รอบเข็ม
5.ยกตุ้มโดยมีนํ าหนักตุ้มที 20 ตัน ทีระยะตามผู้ออกแบบกําหนด โดยประมาณ 1.00 - 2.00 เมตร ตามขนาดและการรับนํ าหนักของเข็มในการทดสอบ
6.ปล่อยตุ้มอิสระลงบนเสาเข็มและอ่านค่าในเครื องทดสอบและกราฟ เพือประเมิณการรับนํ าของเสาเข็มเบื องต้ อง โดย คิดนํ าหนักFS. ของเข็มที 2.5 เท่า
7.จดบันทึกผลทีได้ นําไปแปลงผลในการทดสอบต่างๆ โดยวิศวกรฝ่ ายการทดสอบและรับรองผล
3.Static Load Test การทดสอบด้ วยวิธีสถิตยศาสตร์ คือการใช้ นํ าหนักบรรทุกของเสาเข็มโดยในการทดสอบจะเพิ มนํ าหนักเป็ นช่วงๆ
พร้ อมกับวัดค่าการทรุดตัวของเสาเข็ม โดยวิธีทดแบบ Static Load Test. จะใช้ เวลาในการทดเป็ นเวลาหลายวันและค่าใช้ จ่ายค้ อนข้ างแพง
โดยมีการทดสอบ 2 แบบคือ 1.การทดสอบแบบยึดสมองโดยใช้ แรงเสียดทานของเสาเข็มสมอง 2.การทดสอบโดยการเพิมนํ าหนักโดยการใช้ วสั ดุ
วิธีทดสอบ
1.เปิ ดหน้ าดินหรื อเตรี ยมพื นทีในการทดสอบPile Load Test.
2.ทําการทดสอบ Seismic Test. เพือตรวจสอบสภาพความสมบูรณ์ของเสาเข็ม
3.ทําการติดตั งเข็มสมอมพร้ อมเครื องทดสอบและอุปกรณืต่างๆ
4.การทดสอบจะแบ่งออกเป็ น 2 ช่วง
ช่ วงที 1 ทําการเพิมนํ าหนักลงบนเสาเข็ม โดยใช้ นํ าเท่ากับSave Load เสาเข็ม โดยเพิมนํ าหนักช่วงละ25% ของ Save Load จนถึง 100% ของนํ าหนัก
ในช่วงเวลา 4 ชัวโมง และให้ คงค้ างนํ าหนักไว้ 12 ชัวโมง และทําการจดบันทึกค่านํ าหนักและการทรุดตัวของเสาเข็ม จากนั นทําการRebound. นํ าหนักกลับ
ช่ วงที 2 ทําการเพิมนํ าหนักลงบนเสาเข็ม โดยใช้ นํ าเท่ากับFS 2.5 เท่า ของ Save Load. โดยเพิมนํ าหนักช่วงละ25% จนถึง 100% ในช่วงเวลา 10 ชัวโมง
และให้ คงค้ างนํ าหนักไว้ 24 ชัวโมง และทําการจดบันทึกค่านํ าหนักและการทรุดตัวของเสาเข็ม จากนั นทําการRebound. นํ าหนักกลับ โดยลดลงทีละ25%
จนถึง 0 ในช่วงเวลา 5 ชัวโมง ในแต่ละช่วงให้ ทําการจดบันทึกค่าทุกครั ง
จากนั นนําผลทีได้ นําไปแปลงผลในการทดสอบต่างๆ โดยวิศวกรฝ่ ายการทดสอบและรับรองผล

พฤติกรรมโครงสร้ าง - คอนกรี ตเสริ มเหล็ก อืนๆ

เขียน Bending Moment Diagram ; BMD / Shear Force Diagram ; SFD


สูตรการหา BMD SFD แบบง่ายๆ พื นตรวจสอบหน้ างาน
และพฤติกรรมโครงสร้ าง
หาพื นที Lode
พื นที Lode เป็ น Shear
พื นที Shear เป็ น Moment
การเสริมเหล็กหลักของฐานราก
การเสริ มเหล็กหลักของฐานราก ให้ เสริ มเหล็กแนวข้ วงแนวยาวกับตัวอาคารเป็ นเหล็กหลักหรื อเหล็กล่ง
S-Curve. คืออะไร
S-Curve. ทําขึ นเพือติดตามงานก่อสร้ าง ตามพฤติกรรมของโครงการ โดยทั วไปแล้ วจะแบ่งออกแป็ น 3 ระยะด้ วยกัน
1.ระยะเริ มโครงการ
2.ระยะกลางโครงการ
3.ระยะปลายโครงการ
S-Curve.จึงถูกนํามาเขียนทับบนแผนงาน และมีอย่างน้ อย 2 เส้ น
1.เส้ นแสดงความก้ าวหน้ าตามแผนงานที กําหนด Plan
2.เส้ นแสดงความกว้ าหน้ าทีได้ จริ ง Actual
S-Curve. เป็ นเครื องมือในการติดตามความก้ าวหน้ าของโครงการ โดยการแปลงค่างานต่างๆให้ อยู่ในหน่วยเดียวกัน คือ เงิน หรื อมูลค่าซึ งทําเป็ นร้ อยละ
จากนั นจึงนํามาเขียนกราฟอ้ างอิงตามแผนงานและเขียนกราฟที ทําได้ จริ งมาเปรี ยบเทียบ เพือประเมินผลของโครงการเพือค้ นหาวิธีการปรับแก้ วิธีการทํางาน
ให้ เป็ นไปตามวัถปุ ระสงค์ซึงจะมีตวั แปรในการทํางาน คือ
Man Power / กําลังพล Material / วัสดุในการทํางาน Machine / เครืองจักรในการทํางาน Method / วิธีในการทํางานเป็ น

หน่ วยนํ าหนัก กับ ความถ่ วงจําเพาะต่ างกันอย่ างไร ? อธิบาย


หน่วยนํ าหนัก unit weight คือ วัสดุทีบรรจุในภาชนะทีมีช่องว่างประกอบอยู่ด้วย เนืองจากวัสดุหลายๆชนิดไม่สามารถอัดแน่นจนไม่มี
อากาศอยู่เลยได้ ความถ่วงจําเพาะ หรื อความหนาแน่ density คือ วัสดุๆล้ วนๆ ซึงไม่มีช่องว่างรวมอยู่ด้วย

แปลงหน่ วย ค่ าวัสดุต่างๆมีหน่ วยเป็ นอะไรบ้ าง ? อธิบาย


Ksc. คือ กิโลกรัม / ตารางเซนติเมตร
kcm. คือ กิโลกรัม / ตารางเมตร
ksi. คือ กิโลกรัม / ตารางนิ ว

สูตรคํานวณ นน.เหล็ก หน้ างาน


หา นน. เหล็กเส้ น D2/4 x น.น. เหล็ก .(0.785)

MOMENT OF INERTIA คืออะไร


โมเมนต์ความเฉือยของพื นที
หาหน้ าตัด สูตรหาค่า I = bh3/12
ลวดเชือมมีกีชนิด แต่ ละชนิดมีกาํ ลังเท่ าไร ? อธิบาย
แบ่งออกได้ เป็ นชนิดใหญ่ๆ 6 ชนิด
1. ลวดเชือมธูป 2. ลวดเชือมไส้ ฟลักซ์ 3. ลวดเชือมมิก 4. ลวดเชือมทิก หรื อลวดเชือมอาร์ กอน 5. ลวดเชือมเซาะร่อง หรื อลวดเชือมเกาจ์
6. ลวดเชือมพิเศษ
โดยทีE 60 รับกําลังประลัยเท่ากับ 60000 Lbs/in2 หรื อ 4200 ksc
โดยทีE 70 รับกําลังประลัยเท่ากับ 70000 Lbs/in2 หรื อ 4900 ksc
โดยทีE 80 รับกําลังประลัยเท่ากับ 80000 Lbs/in2 หรื อ 5600 ksc
การระยะการว่ างแผ่ นพื น ว่ างทีระยะไหน ?
ความหนาของพื นT หาร 2 ( ไม่ ใช่ ทีระย 5 Cm. เสมอไป)

ระยะวางแผ่นพื น

การหยุดเหล็กในช่ วงคาน หยุดทีช่วงไหนของคาน

L/3 - L/4 L/3 - L/4

การทดสอบวัสดุของโครงการ ทดสอบอะไรบาง
1.ทดสอบกําลังอัดคอนกรี ต
2.ทดสอบกําลังรับแรงดึงของเหล็กเสร็จ
3.ทดสอบลวดPost-tension ( 7 Wire Strand )
4.ทดสอบขอต่อเชิงกล ( Coupler )
5.ทดสอบขอต่อเชิงกล ( Splice Sleeve สําหรับงานโครงสร้ าง PC )

ค่ าในการออกแบบ RC.
fc' กําลังอัดประลัยของคอนกรี ต Ec โมดูลสั ความยืดยุ่นของคอนกรี ต
fc หน่วยแรงทียอมให้ ของคอนกรี ต k ค่าแรงอัดในคอนกรี ต
fy กําลังดึงสูงสุดของเหล็ก j ค่าแรงอัดในคอนกรี ตและในเห็กเสริ ม
fs หน่วยแรงทียอมให้ ของเหล็ก R ค่าต้ านทานโมเมนต์ดดั
Es โมดูลสั ความยืดยุ่นของเหล็ก
มาตฐานและกฎกระทรวงและจรรยาบรร
มาตรฐานและกฎกระทรวงทีใช้ มีตัวไหนบ้ าง ? อธิบาย
มาตรฐาน วสท. เป็ นมาตฐานเกณฑ์กําหนดเกีนวกับ วัสดุ ค่าการออกแบบ และการก่อสร้ าง เพื อกําหนดวิธีปฎิบตั ิให้ เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน
มาตรฐาน มอก. เป็ นมาตฐานผลิตภัณฑ์อสุ าหกรรม จะเป็ นมาตฐานเกียวกับวัสดุต่างๆและค่าผลทดสอบต่างๆ เพื อเป็ นมาตฐานในการตรวจสอบ
บและเลือกใช้ ได้ ถกู ต้ องและปลอดภัย
มาตรฐาน มยผ. เเป็ นมาตฐานเกณฑ์กําหนดเกีนวกับ วัสดุ ค่าการออกแบบ และการก่อสร้ าง เพื อกําหนดวิธีปฎิบตั ิให้ เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน
มาตรฐาน มทช. เเป็ นมาตฐานเกณฑ์กําหนดเกีนวกับ วัสดุ การก่อสร้ าง เพือกําหนดวิธีปฎิบตั ิให้ เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน
มาตรฐาน ACI เป็ นมาตฐานสถาบันของอเมริ กา เป็ นข้ อกําหนดในการควบคุมโครงสร้ างและคุณภาะของคอนกรี ตและคอนกรี ตเสริ มเหล็ก
มาตรฐาน ASTM เป็ นมาตฐานสถาบันของอเมริ กา เป็ นข้ อกําหนดในการควบคุมวัสดุและคุณภาพต่างๆ พร้ อมคุณสมบัติต่างๆของวัสดุ
พรบ. จะเป็ นกฎหมายของกําหนดต่างๆ บทลงโทษ และการควบคุมงานเป็ นต้ น เช่น พรบ.2522 ก็จะแยกออกมาเป็ นกฎกระทรวงต่างๆอีกซึงมีหลาย
ฉบับกฏกระทรวง ว่าด้ วยเรื องการออกแบบ นํ าหนักบรรทุก การรวมแรง
กฏกระทรวง ว่าด้ วยเรื องการประเภทอาคาร ระยะร่นอาคาร
และจะแยกออกมาเป็ นเทศบัญญติอีก คือใช้ เฉพาะเขตหรื อพื นทีเทศบาลต่างๆตามต่างจังหวัด

จรรยาบรรณวิชาชีพวิศวกร สภาวิศวกรมีกีข้อ ? อธิบาย


ตามทีประกาศใช้ ใหม่ มี 25 ข้ อ
จรรยาบรรณวิชาชีพวิศวกร เป็ นกฎหมายหรื อไหม
เป็ นข้ อบังคับของสภาวิศวกร ทีวา่ ด้ วยจรรยาบรรณแห่งวิชาวิศวกรรม และการประพฤติผิดจรรยาบรรณ คือมีประกาศในราชกิจจานุเบกษา
และเป็ น พรบ.ของวิศวกร ซึงมีความผิดและมีบทลงโทษทางกฎหมาย ตามมาตราทางกฎหมาย
เช่น โทษยึดใบประกอบวิชาชีพ โทษพักใช้ ประกอบวิชาชีพ และรายแรงจนถึงขั นจําคุกได้ ตามความผิดนั นๆ
บอกมาสัก 3 ข้ อ (แล้ วแต่ เรา) ? อธิบาย
ข้ อ 1.ไม่กระทําการใดๆอันอาจนํามาซึงความเสือมเสียเกียรติศกั ดิของวิศวกร ซึงเป็ นพื นฐานของความซือสัตย์สจุ ริ ต ยืดมันอยู่ในหลักศีลธรรมอันดี
ข้ อ 2.ต้ องปฏิบตั ิงานทีได้ รับทําอย่างถูกต้ องตามหลักปฏับติและวิชาการ
ข้ อ 3.ไม่ลงลายมือซือเป็ นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ในงานทีตวั เองไม่ได้ รับทํา หรื อควบคุม
ข้ อ 4.ไม่แย่งงานจากผู้ประกอบวิชาชีพวิศกรรมควบคุมอืน

You might also like