You are on page 1of 36

ข 

สำรบัญ 

เรื่ อง หน้า
คำนำ........................................................................................................................................................ก 

สำรบัญ.....................................................................................................................................................ข 

สำรบัญภำพ..............................................................................................................................................ค 

บทนำ........................................................................................................................................................1 

คอนกรีตสำหรับงำนโครงสร้ำงท่ำเทียบเรือ ...............................................................................................2-25 

งำนคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรง..................................................................................................................26-30 

งำนเหล็กเสริมคอนกรีต............................................................................................................................30 ­34 

สรุป...........................................................................................................................................................35 

บรรณนุกรม................................................................................................................................................36

 
 
ค 

บทนา 
              กำรจะได้อำคำรคอนกรีตที่ดี จำเป็ นอย่ำงยิ่งที่จะต้องมี  กำรวิเครำะห์และออกแบบอย่ำงถูกต้องตำมหลัก
วิชำกำร มีกำร ออกแบบส่วนผสมและเลือกใช้วสั ดุที่มีคณ
ุ ภำพตำมมำตรฐำนและ  เหมำะสมกับสภำพแวดล้อมของ
โครงสร้ำง ตลอดจนมีกำรก่อสร้ำง ให้เป็ นไปตำมแบบและมีกำรควบคุมกำรก่อสร้ำงที่ดีกำร  ดำเนินกำรเพื่อให้ได้
ุ ภำพตำมต้องกำร  ข้ำงต้นนัน้ เป็ นสิ่งที่ไม่ง่ำยนัก เพรำะต้องอำศัยควำมรูเ้ กี่ยวกับ  
โครงสร้ำงคอนกรีตที่มีคณ
คอนกรีตและวัสดุ ตลอดจนวิธีกำรก่อสร้ำงที่เกี่ยวข้องเป็ นอย่ำง มำก กำรเทคอนกรีตใต้นำ้ (tremie concrete) ที่
ผ่ำนมำเป็ นกำร เทคอนกรีตโดยป้อนจำกภำชนะที่บรรจุ (hopper) ให้ไหลไปโดย นำ้ หนักของตัวเองด้วยแรงดึงดูด
ของโลกลงไปตำมท่อในแนวดิ่ง โดยทั่วไปใช้ท่อขนำด 20 เซนติเมตร ซึ่งต่อลงไปจนถึงพืน้ ใต้นำ้  ก่อนเริ่มต้นเท
คอนกรีตในนำ้ จะต้องอุดปลำยท่อ เพื่อมิให้นำ้ เข้ำ  เสียก่อน ซึ่งเมื่อคอนกรีตไหลลงไปในท่อแล้วจะดันให้ตวั อุดหลุด  
ออกไปเอง ต้องระวังให้คอนกรีตเต็มท่ออยู่เสมอ และปลำยล่ำง  ของท่อจะต้องจมอยู่ในเนือ้ คอนกรีตซึ่งยังไม่แข็งตัว
30 ถึง 50 เซนติเมตรตลอดเวลำ ทัง้ นีเ้ พื่อมิให้นำ้ ไหลเข้ำไปในท่อ กำรไหล  ของคอนกรีตควบคุมโดยกำรเลื่อนท่อ
ขึน้ ลงในแนวดิ่ง เมื่อเริ่มต้น เทคอนกรีตแล้วต้องเทให้ติดต่อไปจนแล้วเสร็จ ถ้ำมีเหตุอนั ทำให้ กำรเทคอนกรีตต้อง
ขำดตอน จะต้องตัง้ ต้นใหม่เช่นเดียวกับกำร  เริ่มต้นเทคอนกรีต ในที่ๆ มีกระแสนำ้ ไหลต้องทำแบบให้ดีไม่ให้ร่วั  เพือ่
ป้องกันมิให้นำ้ ปูนไหลออกไปนอกแบบ ต้องระวังมิให้คอนกรีต  ลงไปในนำ้ โดยตรง เพรำะจะทำให้ปริมำณ
ปูนซีเมนต์ในส่วนผสม ถูกชะล้ำงออกไป หรือทำให้ส่วนผสมเปลี่ยนไป หรือทำให้คอนกรีต  แยกตัว กำรเทคอนกรีต
ต้องควบคุมให้คอนกรีตแผ่ตวั ออกไปทำง ด้ำนข้ำง ซึ่งจะขึน้ อยู่กบั ควำมสูงของระยะที่เทและควำมข้นเหลว  ของ
คอนกรีตด้วย และพยำยำมเทให้คอนกรีตเพิ่มขึน้ มำเป็ นระดับ  เท่ำๆ กันทั้งหน้ำตัดที่เท จำกที่กล่ำวมำข้ำงต้น ทำให้
เห็นว่ำปัจจัยสำคัญอันดับ ต้นๆ ที่มีผลต่อกำรเสื่อมสภำพ หรือกำรถูกทำลำยของโครงสร้ำง  คอนกรีตเสริมเหล็กใต้
นำ้ หรือที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมทะเลนัน้ คือ  สัดส่วนผสมหรือวัสดุที่ใช้ผสมคอนกรีต ซึ่งจะมีผลต่อกำรถูก ทำลำยจำก
สิ่งแวดล้อมทะเลเมื่อคอนกรีตแข็งตัวแล้ว (กำลัง และ  ควำมคงทน เป็ นต้น) และมีผลต่อสมบัติและกำรทำงำนของ  
คอนกรีตสด (ควำมสม่ำเสมอ ควำมยำกง่ำยในกำรเท และกำร  แยกตัว เป็ นต้น) และที่ไม่สำมำรถมองข้ำมไปได้
สำหรับคอนกรีตใต้ นำ้ นัน้ ปัญหำหรืออุปสรรคหลักอยู่ที่ขนั้ ตอนวิธีกำรของกำรเท  คอนกรีตใต้นำ้ โดยเฉพำะอย่ำง
ยิ่งคอนกรีตใต้นำ้ ในทะเลที่ระดับ นำ้ ลึก และไกลจำกชำยฝั่ง ซึ่งจะต้องเผชิญทัง้ สภำพนำ้ ลึก ลมแรง  และกระแสนำ้
ไหลแรง เป็ นต้น ดังนัน้ กำรศึกษำนวัตกรรมคอนกรีต ใต้นำ้ ในครัง้ นี ้ จะเน้นไปที่กำรพัฒนำสัดส่วนผสมของคอนกรีต
ที ่ นำมำใช้ และขัน้ ตอน วิธีกำร ตลอดถึงเทคนิคต่ำงๆ ของกำรเท  คอนกรีตใต้นำ้ ซึ่งต่ำงก็เป็ นปัญหำหลักของ
คอนกรีตใต้นำ้  โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในกำรศึกษำในครัง้ นี ้ ทั้งสัดส่วนผสมของ คอนกรีต และ/หรือขัน้ ตอนวิธีกำรใน
กำรทำงำนของคอนกรีตสด เป็ นกำรนำมำใช้กบั โครงสร้ำงที่อยู่ในสถำนที่ใต้นำ้ จริง นั่นคือใช้กบั  กำรซ่อมแซม
โครงสร้ำงอำคำรคอนกรีตส่วนที่อยู่ใต้นำ้ ของ

 

งำนโครสร้ำงคอนกรีตใต้นำ้ เทคนิกและวิธีกำร  
 

1.1 คอนกรีตสำหรับงำนโครงสร้ำงท่ำเทียบเรือ  

         1.1.1 ทั่วไป  

                     (1) “คอนกรีต” ที่ระบุในหมวดนีห


้ มำยถึงคอนกรีตทะเล ใช้สำหรับก่อสร้ำงโครงสร้ำงท่ำเทียบเรือ  

และงำนคอนกรีตโครงสร้ำงปิ ดทับหน้ำลำดตลิ่ง ซึ่งต้องเสร็จสมบูรณ์และเป็ นไปตำมแบบรำยละเอียดก่อสร้ำงและ  

ข้อกำหนดอย่ำงเคร่งครัด และเป็ นไปตำมข้อกำหนดและสภำวะต่ำงๆ ของสัญญำ  

                     (2)       หำกมิได้ระบุในแบบรำยละเอียดก่อสร้ำงและข้อกำหนดรำยละเอียดต่ำงๆ เกี่ยวกับองค์อำคำร  

คอนกรีตเสริมเหล็กและงำนคอนกรีตทัง้ หมดให้เป็ นไปตำม “มำตรฐำนสำหรับอำคำรคอนกรีตเสริมเหล็ก” ของ  

AMERICAN  CONCRETE  INSTITUTE  ACI  318 และตำมเงื่อนไขข้อกำหนดงำนก่อสร้ำง ถ้ำมีขอ้ กำหนดขัดแย้งกันให้  

อ้ำงอิงข้อกำหนดงำนก่อสร้ำงเป็ นหลัก  

กำรเก็บตัวอย่ำงและทดสอบคอนกรีตให้เป็ นไปตำมมำตรฐำน ดังนี้  

                     (1)       วิธีทดสอบกำลังอัดของแท่งทรงกระบอกคอนกรีต  ASTM C39   

                     (2)       วิธีทำและกำรบ่มชิน้ ตัวอย่ำงคอนกรีตรับแรงดันในสนำม ASTM C31   

                     (3)       กำรทดสอบ OBTAINING AND TESTING DRILLED CORES AND    

                                 SAWED BEAMS OF CONCRETE                                                    ASTM C42   

                     (4)       คุณภำพนำ้ ในคอนกรีต AASHTO T26   

                     (5)       กำรวิเครำะห์ขนำด (SIEVE ANALYSIS) ของมวลรวมหยำบและละเอียด ASTM C136   

                       (6)       ค่ำควำมถ่วงจำเพำะ (SPECIFIC GRAVITY) และกำรดูดนำ้ มวลละเอียด ASTM C128   

                     (7)       ค่ำควำมถ่วงจำเพำะ (SPECIFIC GRAVITY) และกำรดูดนำ้ มวลหยำบ ASTM C127   

                     (8)       วิธีทดสอบค่ำยุบตัวของคอนกรีต ASTM C143   

                     (9)       หน่วยนำ้ หนัก และปริมำณอำกำศในคอนกรีต ASTM C138   

                     (10)      วิธีทำและบ่มชิน้ ตัวอย่ำงคอนกรีตสำหรับใช้ทดสอบแรงอัดและแรงดัด ASTM C192   

                      
 
                        2 

   (11)      กำรเก็บตัวอย่ำงคอนกรีตสด ASTM C172   

                   

   (12)      ปริมำณอำกำศในคอนกรีตที่ผสมใหม่ดว้ ยวิธีบีบอัด ASTM C231   

         

  1.1.2 วัสดุที่ใช้ผสมคอนกรีต  

จะต้องมีคณ
ุ สมบัติดงั นี้  

                     (1)       ปูนซีเมนต์  

ปูนซีเมนต์ที่จะนำมำใช้ในกำรผสมคอนกรีต จะต้องเป็ นปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภท 1   

แทนที่ดว้ ย FLY ASH และ/หรือ SILICA FUME ร้อยละ 25 ถึงร้อยละ 40 ของนำ้ หนักปูนซีเมนต์ ตำมมำตรฐำนวัสดุและ  

กำรก่อสร้ำงของ วสท. (1014­46) ชัน้ คุณภำพ 2ก หรือชัน้ คุณภำพ 2ข ที่ผลิตขึน้ ตำมมำตรฐำนผลิตภัณฑ์อตุ สำหกรรม  

ที่ มอก. 15­2514 เป็ นปูนซีเมนต์ที่ใหม่และแห้ง ไม่จบั ตัวเป็ นก้อนปูน ซีเมนต์ที่นำมำส่งถึงที่ก่อสร้ำงแล้วจะต้องนำไป  

เก็บไว้ในโรงเก็บ ยกพืน้ สูงจำกพืน้ ดิน มีหลังคำคลุมเรียบร้อย เพื่อป้องกันฝนและควำมชืน้  


 

                     (2)        ทรำย  

ทรำยที่ ใช้ ให้ใช้ท รำยธรรมชำติ ได้แ ก่ ทรำยน้ำ จืด หรือ ทรำยบกที่ ห ยำบคม แข็ง แกร่ง สะอำด

ปรำศจำกผง ฝุ่ น ดิน เถ้ำถ่ำน เปลือกหอย หรืออินทรียส์ ำรอื่นๆ และจะต้องไม่มีกรด ด่ำงหรือเกลือเจือปน โดยเมล็ดทรำย  

ต้องแข็งแกร่งมีแง่มมุ และมี GRADATION ดังนี้  

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
                        3 
 
 
 
                     (3)        หิน  

หิน ที่จ ะนำไปใช้ในกำรผสมคอนกรีต จะใช้ขนำด 2 ขนำดคื อ หิ นหนึ่งและหิน สอง กำรใช้หิ นแต่

ละขนำดนีใ้ ห้เลือกใช้ให้เหมำะสมกับลักษณะและขนำดของงำน โดย “ผูค้ วบคุมงำน” จะเป็ นผูพ้ ิจำรณำและกำหนดให้ใช้  

หินที่จะนำมำใช้ตอ้ งเป็ นหินที่แกร่ง มีเหลี่ยมคม สะอำด ไม่เป็ นหินหยำบ ดูดซึมนำ้ ได้เกินกว่ำร้อยละ 10 โดยนำ้ หนักหลัก  

จำกแช่ทงิ ้ เป็ นเวลำ 24 ชั่วโมง และหินทัง้ สองขนำดนีจ้ ะต้องมี GRADATION ดังนี้  

 
 
 
 
 
 
 
   
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
                     (4)        นำ้  

นำ้ ที่ใช้ผสมคอนกรีต เป็ นนำ้ ดี ใสสะอำด ปรำศจำกนำ้ มัน กรด ด่ำง เกลือ และสิ่งสกปรก ห้ำม  

ใช้นำ้ ทะเล นำ้ จำกคู คลอง หรือแหล่งนำ้ อื่นใดๆก่อนได้รบั อนุญำต โดยผ่ำนกำรทดสอบมำตรฐำน AASHTO T26    

อัตรำส่วนนำ้ ต่อปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภท 1 แทนที่ดว้ ย FLY  ASH  และ/หรือ SILICA   

FUME เท่ำกับ 0.5    

                      (5)       สำรผสมเพิ่ม (ADMIXTURES)   

สำรผสม หมำยถึง สำรที่ผสมเพิ่มเติมเข้ำไปในคอนกรีต นอกเหนือไปจำกปูน ทรำย หิน และ  


 
 

นำ้ เพื่อเพิ่มคุณสมบัติบำงประกำรให้กบั คอนกรีตเพื่อให้เหมำะสมกับงำนที่ตอ้ งกำร  

สำรผสมเพิ่มไม่ควรใส่นอกจำกได้รบั กำรอนุมตั ิจำก “ผูค้ วบคุมงำน” โดย “ผูร้ บั จ้ำง” ต้อง  

เสนอตัวอย่ำงสำรผสมเพิ่มต่อ “ผูค้ วบคุมงำน” ก่อนจะทดสอบส่วนผสมคอนกรีต  

                                   สำรผสมเพื่อลดปริมำณควำมร้อน  

เนื่องจำกกำรเทคอนกรีตโครงสร้ำงขนำดใหญ่ที่มีควำมหนำมำกหรือมีปริมำณกำรเทในแต่ละ  

ครัง้ เป็ นจำนวนมำก จะทำให้ควำมร้อนที่เกิดจำกปฏิกิริยำ HYDRATION  มีปริมำณสูงมำก ซึ่งจะเป็ นสำเหตุให้เกิดกำร  

แตกร้ำวได้ จึงจำเป็ นต้องมีกำรผสมสำรพิเศษเพิ่มในคอนกรีตนอกเหนือจำกส่วนผสมตำมปกติแล้วเพื่อลดควำมร้อน สำร  

ผสมดังกล่ำวที่นิยมใช้ในประเทศไทย คือ PFA (PULVERIZED FUEL ASH) สำรผสมดังกล่ำวจะใช้ผสมแทนปูนซีเมนต์ใน  

สัดส่วนที่เหมำะสมแล้วแต่ควำมต้องกำรในด้ำนอุณหภูมิ  

สำหรับคอนกรีตควำมร้อนต่ำ (LOW  HEAT CONCRETE) ที่จะนำมำใช้ในโครงกำรนีก้ ำหนดให้ใช้

กับกำรเทคอนกรีตโครงสร้ำงที่มีควำมหนำมำกหรือมีปริมำณกำรเทครัง้ ละมำกๆ โดย “ผูร้ บั จ้ำง” จะต้อง เสนอชนิดและ

ปริมำณสำรผสมเพิ่มพร้อมกรรมวิธีอื่นๆ ในกำรผสมคอนกรีต ให้ “ผูค้ วบคุมงำน” พิจำรณำอนุมตั ิก่อนจึงจะดำเนินกำรได้  

                                 นำ้ ยำกันซึม  

นำ้ ยำกันซึมเป็ นนำ้ ยำที่ใช้ผสมคอนกรีตเพื่อเพิ่มคุณสมบัติของคอนกรีตไม่ให้ดดู ซึมนำ้ งำนคอนกรีต

ในส่วนของอำคำรที่ระบุไว้ขำ้ งล่ำงนีจ้ ะต้องผสมด้วยนำ้ ยำกันซึม  

                                           ­          คอนกรีตที่ใช้กบ
ั พืน้ ห้องนำ้ ระเบียง กันสำด รำงนำ้ หลังคำ ดำดฟ้ำและ  

อื่นๆ ที่ตอ้ งถูกฝนหรือเปี ยกนำ้ ในขณะใช้งำน  

                                           ­          พืน้ ชัน
้ ล่ำงภำยในอำคำร ในส่วนที่พนื ้ ต้องสัมผัสกับดินยก เว้นพืน้ ที่มีควำม  

หนำเกินกว่ำ 25 ซม.  

                                           ­          คอนกรีตที่ใช้เทถังนำ้ ทัง้ ถังนำ้ ใต้ดิน บนดิน และบนหลังคำ  

                                           ­          คอนกรีตที่ใช้เทสถำนีสบ
ู นำ้  

                                           ­          ส่วนอื่นๆ ของอำคำรที่ได้ระบุไว้ในแบบ หรือรำยกำรก่อสร้ำงว่ำให้ผสม  

นำ้ ยำกันซึม  

นำ้ ยำกันซึมที่นำมำใช้จะต้องมีคณ
ุ ภำพได้มำตรฐำนเป็ นที่ยอมรับ เช่น ASTM,   BS   

 CODE หรือ มำตรฐำนอื่นๆ เทียบเท่ำ  


                        5 

นำ้ ยำเร่งกำลังคอนกรีต  

นำ้ ยำเร่งกำลังคอนกรีตเป็ นนำ้ ยำที่ใช้ในกรณีที่ตอ้ งกำรถอดแบบให้เร็วกว่ำกำหนด  

หรือต้องกำรใช้งำนโครงสร้ำงคอนกรีตส่วนนัน้ เร็วกว่ำปกติ นำ้ ยำที่จะใช้เป็ นตัวเร่งกำลังนีจ้ ะต้องมีคณ


ุ ภำพได้มำตรฐำนเป็ น  

ที่เชื่อถือได้เช่น ASTM หรือ BS CODE หรือมำตรฐำนอื่นๆ เทียบเท่ำ  

                                 นำ้ ยำชะลอกำรแข็งตัวของคอนกรีต  

นำ้ ยำชะลอกำรแข็งตัวของคอนกรีตเป็ นนำ้ ยำที่ใช้ผสมคอนกรีต เพื่อยึดระยะเวลำ  

กำรแข็งตัวของคอนกรีต ซึ่งจะใช้ในกรณีที่ตอ้ งขนส่งคอนกรีตเป็ นระยะทำงไกลๆ หรือใช้สำหรับกำรเทคอนกรีตในจุดที่กำร  

เทค่อนข้ำงลำบำกและต้องสิน้ เปลืองเวลำในกำรเทมำก นำ้ ยำที่ใช้ชะลอกำรแข็งตัวนีจ้ ะต้องมีคณ


ุ ภำพได้มำตรฐำนเป็ นที่  

เชื่อถือได้ และได้รบั อนุมตั ิจำก “ผูค้ วบคุม”  

                              สำรผสมอื่นๆ  

สำรผสมอื่นๆ ที่ใช้ผสมคอนกรีตเพื่อเพิ่มคุณ สมบัติอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งของคอนกรีต โดยเฉพำะก่อนที่

“ผูร้ บ
ั จ้ำง” จะนำมำใช้จะต้องได้รบั อนุมตั ิจำก “ผูค้ วบคุมงำน”  

           1.1.3 อัตรำส่วนผสมของคอนกรีต  

คอนกรีตสำหรับโครงสร้ำง เช่น รำกฐำน เสำ คำน พืน้ และอื่นๆ “ผูร้ บั จ้ำง” จะใช้คอนกรีตผสมเสร็จ  

(READY  MIX  CONCRETE)   ซึ่งผลิตโดยบริษัทที่เชื่อถือได้ หรือจะใช้คอนกรีตที่ “ผูร้ บ


ั จ้ำง” ผสมเอง โดยใช้เครื่องผสม  

คอนกรีตซึ่งอัตรำส่วนผสมของคอนกรีตจะต้องสำมำรถควบคุมได้ถกู ต้องและสะดวกต่อกำรตรวจสอบของ “ผูค้ วบคุมงำน”  

                      “ผูร้ บ
ั จ้ำง” จะต้องส่งรำยกำรคำนวณส่วนผสมของคอนกรีต (MIXED  DESIGN)  ให้ “ผูค้ วบคุมงำน”  

พิจำรณำตรวจสอบเสียก่อนจึงจะทำงำนคอนกรีตได้ ในรำยกำรคำนวณนัน้ ให้คำนวณโดยให้คอนกรีตสำมำรถรับกำลังอัด  

ได้ไม่นอ้ ยกว่ำระบุในแบบรูปหรือรำยกำรละเอียดเฉพำะงำน และในคอนกรีต 1 ลูกบำสก์เมตร จะต้องมีส่วนผสมของ  

ปูนซีเมนต์ไม่นอ้ ยกว่ำ 325 กิโลกรัม ถ้ำมิได้กำหนดไว้เป็ นอย่ำงอื่น (เช่น กรณี LOW   HEAT   CONCRETE   เป็ นต้น)  

อัตรำส่วนของคอนกรีตหยำบให้ใช้ส่วนผสมที่มีปนู ซีเมนต์ไม่นอ้ ยกว่ำ 300 กิโลกรัม ต่อคอนกรีตหยำบ 1 ลูกบำศก์เมตร  

           1.1.4 ควำมแข็งแรงของคอนกรีต (STRENGTH OF CONCRETE)   

กำลังต้ำนทำนแรงอัด (CONPRESSIVE STRENGTH) ของคอนกรีตที่จะใช้สำหรับโครงกำรนี้  

สำหรับคอนกรีตโครงสร้ำงส่วนต่ำงๆ ของอำคำรและงำนโยธำ ถ้ำแบบรำยละเอียดไม่ได้ระบุไว้เป็ นอย่ำง  

อื่น ให้ใช้คอนกรีตที่มีกำลังอัดดังนี้  
6  

พืน้ คอนกรีตอัดแรง (PRE TENSION)                                             350 กก./ซม.2     

โครงสร้ำงหน้ำท่ำ คำน พืน้ คอนกรีตทับหน้ำพืน้ สำเร็จรูป 280 กก./ซม.2     

คอนกรีตทับหน้ำลำดตลิ่ง และ Transition Slab   

กำรทดสอบก ำลั ง ต้ำ นแรงอั ด ให้ท ดสอบจำกตั ว อย่ ำ งแท่ ง คอนกรี ต รู ป ทรงกระบอก ( CYLINDER)          

ขนำด  0.15 ม. x 0.30 ม. ที่มีอำยุ 28 วัน สำหรับคอนกรีตธรรมดำ และที่อำยุ 56 วันสำหรับ LOW HEAT CONCRETE   

กำรทดสอบให้กระทำมำตรฐำน ASTM C39   

           1.1.5 ควำมข้นเหลวของคอนกรีต  

                      “ผูร้ บ
ั จ้ำง” จะต้องควบคุมปริมำณนำ้ ที่ใช้ในกำรผสมคอนกรีต ให้คอนกรีตมีควำมข้นเหลวที่สม่ำ เสมอ  

ตำมที่กำหนดไว้ ห้ำมเติมนำ้ ลงในคอนกรีตระหว่ำงกำรเทแบบเพื่อเพิ่มควำมเหลว กำรทดสอบควำมข้นเหลวให้กระทำโดย  

วิธี SLUMP  TEST  ตำมมำตรฐำน ASTM  C143 เครื่องมือที่จะทำ SLUMP  TEST  นี้ “ผูร้ บั จ้ำง” จะต้องเป็ นผูจ้ ดั ให้  

ทดสอบ ตรวจสอบโดย “ผูค้ วบคุมงำน” และจะกระทำกำรทดสอบเมื่อไรก็ได้ตำมต้องกำร ควำมข้นเหลวของคอนกรีตจะ  

กำหนดได้ตำมลักษณะของงำนดังนี้ :-  

เกณฑ์กำรยุบตัวของคอนกรีต  

ชนิดของงำน สูงสุด (ซม.) ต่ำสุด (ซม.)  

ฐำนรำกคอนกรีตเสริมเหล็ก 7.5                           2.5   

คำน พืน้ และก ำแพง คสล. 10.0                          5.0   

เสำอำคำร ครีบ และผนังบำงๆ 12.5                        7.5   

พืน้ ดิน ถนน ทำงเท้ำ 7.5                         2.5   

           1.1.6 กำรควบคุมคุณภำพของคอนกรีต  

                      “ผูร้ บ
ั จ้ำง” จะต้องทำกำรควบคุมคุณภำพของคอนกรีตตำมข้อกำหนดข้ำงล่ำง เพื่อให้กำรดำเนินงำน  

เป็ นไปด้วยควำมเรียบร้อย โดย “ผูร้ บั จ้ำง” เป็ นผูอ้ อกค่ำใช้จ่ำยเองทัง้ สิน้  

                     (1)        ทั่วๆ ไป  

                                “ผูร้ บ
ั จ้ำง” จะต้องรับผิดชอบอย่ำงเต็มที่ต่อคุณภำพของคอนกรีตตำมที่ระบุไว้ในข้อกำหนดนี้  

แม้ “ผูค้ วบคุมงำน” จะได้ทำกำรทดสอบและยอมรับคอนกรีตนัน้ แล้ว ก็จะไม่เป็ นสำเหตุที่จะให้ “ผูร้ บั จ้ำง” พ้นจำกควำม  

รับผิดชอบนัน้ ได้  

ฉะนัน้ “ผูร้ บั จ้ำง” จะต้องหำวิธีทดสอบที่จำเป็ นเพิ่มเติม เพื่อควบคุมคุณภำพของคอนกรีตให้ มีควำม

สม่ำเสมอด้วยดุลยพินิจของ “ผูร้ บั จ้ำง” เอง  

                     (2)        กำรควบคุมกำรผลิตคอนกรีต  

                                ­         วัสดุที่ใช้จะต้องทำตำมวิธีในข้อ 2.1.2   

                                ­         โรงงำนและอุปกรณ์ โรงงำนผสมคอนกรีตจะต้องทำกำรทดสอบต่อหน้ำ “ผูค้ วบคุม  

งำน” ทุกครัง้ เมื่อผลิตคอนกรีตได้ประมำณ 1,000 ลูกบำศก์เมตร หรือก่อนที่จะทำ  

กำรเทคอนกรีตครัง้ สำคัญ หรือ ณ เวลำใดๆ เมื่อ “ผูค้ วบคุมงำน ” เห็นสมควร  

เครื่องชั่งมวลรวมและปูนซีเมนต์ อุปกรณ์สำหรับเติมนำ้ และสำรผสมเพิ่มจะต้องทำ  

กำรตรวจสอบ เพื่อให้เป็ นไปตำมข้อกำหนดซึ่งอธิบำยไว้ในข้อ 2.1.7   

                                ­         คอนกรีต กำรทดสอบกำรยุบตัวของคอนกรีตจะต้องทำทุกครัง้ ที่ “ผูค้ วบคุมงำน” สั่ง  

และอย่ำงน้อย 1 ครัง้ ต่อคอนกรีต 25 ลูกบำศก์เมตร หรือทุกครัง้ ที่ทำกำรหล่อก้อน  

ทรงกระบอก“ผูร้ บั จ้ำง” จะต้องจัดหำอุปกรณ์และแรงงำนสำหรับกำรทดสอบนี้ และ  

ให้ทำกำรทดสอบต่อหน้ำ “ผูค้ วบคุมงำน”  

                     (3)        กำรควบคุมกำลังอัด  

                                “ผูร้ บ
ั จ้ำง” จะต้องทำกำรชักตัวอย่ำงเพื่อทดสอบ “ผูค้ วบคุมงำน” จะเป็ นผูก้ ำหนดจำนวน  

ตัวอย่ำง จำนวนครัง้ ในเก็บตัวอย่ำงและสถำนที่ให้ “ผูร้ บั จ้ำง” ต้องจัดหำอุปกรณ์ (เช่น แบบหล่อทรงกระบอก)และ  

แรงงำนในกำรชักตัวอย่ำงให้เพียงพอกับกำรดำเนินงำน กำรชักตัวอย่ำงให้กระทำต่อหน้ำ “ผูค้ วบคุมงำน”  

                     (4)        เกณฑ์ท่วั ไป  

กำลังคอนกรีตที่ระบุค่ำกำลังอัดของก้อนทรงกระบอกที่อำยุ 28 วัน สำหรับปูนซีเมนต์ปอร์ต แลนด์

ประเภท 1 แทนที่ดว้ ย FLY ASH และ/หรือ SILICA FUME ร้อยละ 25 ถึงร้อยละ 40 ผลกำรทดสอบ ที่มีค่ำต่ำ กว่ำที่ระบุไว้

จะต้องมีจำนวนไม่มำกกว่ำร้อยละ 5 ของผลกำรทดสอบทัง้ สิน้  

                     (5)        แผนกำรทดสอบ  

กำรชักตัวอย่ำงเพื่อทดสอบกำลังของคอนกรีต จะต้องดำเนินกำรไม่นอ้ ยกว่ำ 1 ครัง้ ต่อวันหรือไม่

น้อยกว่ำ 1 ครัง้ ต่อปริมำณคอนกรีต 25 ลูกบำศก์เมตร หรือไม่นอ้ ยกว่ำ 1 ครัง้ ในกำรเทคอนกรีตแต่ละครำว  


ก้อนทรงกระบอก 1 ก้อน จะต้องหล่อจำกตัวอย่ำง 1 ตัวอย่ำง ซึ่งสุ่มจำกคอนกรีตในกำรเทครัง้ เดียวหรือ ณ สถำนที่แห่งเดียว  

ค่ำกำลังอัดทดสอบ จะต้องเป็ นค่ำเฉลี่ยของก้อนทรงกระบอกอย่ำงน้อย 4 ก้อน จำกสถำนที่  

เดียวกัน ทำกำรทดสอบเมื่ออำยุครบ 28 วัน หรือเทียบเท่ำ “ผูค้ วบคุมงำน” จะวินิจฉัยยอมรับค่ำกำลังอัดของคอนกรีต ก็  

ต่อเมื่อค่ำกำลังอัดเฉลี่ยที่ได้จำกกำรทดสอบต้องเท่ำกับหรือมำกกว่ำค่ำกำลังอัดของก้อนทรงกระบอกที่กำหนดในข้อ  

2.1.4 และค่ำกำลังอัดของก้อนทรงกระบอกแต่ละก้อนจะต้องไม่นอ้ ยกว่ำร้อยละ 85 ของค่ำกำลังอัดต่ำสุดที่กำหนดให้  

เพื่อเป็ นกำรเสริมข้อกำหนดดังกล่ำวข้ำงต้น จะต้องใช้วีธีทำงสถิติเขียนรูปแสดงและบันทึกค่ำผลกำรทดสอบ

สำหรับคอนกรีตที่จะใช้ในโครงสร้ำงคอนกรีตอัดแรง กำลังอัดค่ำเฉลี่ยตำมเป้ำหมำยจะต้องมีค่ำมำกกว่ำค่ำกำลังอัดที่ระบุ

ไว้ไม่นอ้ ยกว่ำ 1.64 เท่ำของค่ำเบี่ยงเบนมำตรฐำน ยกเว้นในกรณีที่ไม่ใช้กำรทดสอบทำงสถิติ (กำรทดสอบทำงสถิติ จะใช้ก็

ต่อเมื่อมีผลกำรทดสอบก้อนทรงกระบอกมำกกว่ำ 40 ค่ำ)  

                      “ผูร้ บ
ั จ้ำง” อำจหล่อก้อนทรงกระบอกเพิ่มเติมสำหรับทำกำรทดสอบคอนกรีตที่อำยุ 3 วันหรือ 7 วัน  

เพื่อให้ได้ขอ้ มูลทำงด้ำนกำลังอัดก่อนอำยุ 28 วัน ไม่ว่ำ “ผูร้ บั จ้ำง” จะตีควำมจำกผลกำรทดลองนี้ (ที่ 3 วัน และ 7 วัน)  

เป็ นอย่ำงไร หรือว่ำ “ผูค้ วบคุมงำน” จะได้อนุญำตให้กระทำกำรใดหลังจำกนัน้ ก็ตำม ให้ถือว่ำค่ำกำลังอัดที่ 28 วันหรือ  

เทียบเท่ำเท่ำนัน้ เป็ นค่ำที่ยอมรับในกำรวัดกำลังอัดของคอนกรีต งำนใดที่ช ำรุดเสียหำยเนื่องมำจำกกำรปฏิบัติดว้ ยวิธีกำร  

ดังกล่ำวจะต้องได้รบั กำรแก้ไขถูกต้อง โดย “ผูร้ บั จ้ำง” ต้องออกค่ำใช้จ่ำยเองและ “ผูร้ บั จ้ำง” จะไม่ได้รบั อนุญำตให้ต่อ  

เวลำในสัญญำจำกกำรนี้  

                     (1)        คำสั่งให้ปฏิบต
ั ิในกรณีที่ไม่เป็ นไปตำมแผนกำรทดสอบ  

เมื่อค่ำกำลังอัดเฉลี่ยของก้อนทรงกระบอก 4 ก้อนไม่เป็ นไปตำมข้อกำหนดดังกล่ำวข้ำงต้น  

“ผูร้ บ
ั จ้ำง” จะต้องทำกำรเปลี่ยนแปลงปฏิภำคของส่วนผสมของคอนกรีตที่ตำมมำ เพื่อเป็ นกำรเพิ่มกำลังอัด  

                                “ผูค้ วบคุมงำน” จะพิจำรณำสั่งกำรในกรณีที่คอนกรีต (ซึ่งแทนด้วยก้อนทรงกระบอก) ไม่  

เป็ นไปตำมข้อกำหนด (หรือจำกกำรพิสจู น์ดว้ ยวิธีทำงสถิติอนั เป็ นที่เชื่อถือได้ว่ำค่ำกำลังอัดไม่ได้ตำมที่กำหนด) คำสั่งอำจ  

เป็ นไปได้ระหว่ำงกำรยอมรับในกรณีที่ไม่เกิดควำมเสียหำย ไปจนถึงกำรปฏิเสธไม่ยอมรับและให้ทำกำรรือ้ ถอนในกรณีที่จะ  

เกิดควำมเสียหำยแก่โครงสร้ำง  

                                 “ผูค้ วบคุมงำน” อำจสั่งให้ “ผูร้ บ


ั จ้ำง” พิสจู น์กำลังอัดด้วยวิธีทำงสถิติ โดยเจำะเอำแท่ง  

คอนกรีตออกมำจำกโครงสร้ำง และทำกำรทดสอบตำมวิธีกำรมำตรฐำนใดที่ “ผูค้ วบคุมงำน” เห็นชอบ ทัง้ นี้ “ผูร้ บั จ้ำง”  


                        9 

ต้องออกค่ำใช้จ่ำยในกำรนีเ้ องทัง้ สิน้ และจะต้องพิจำรณำอำยุและสภำพกำรแข็งตัวของคอนกรีตขณะทำกำรทดสอบ

ครัง้  

ใหม่นี้  

                      (2)        กำรควบคุมกำรแข็งตัว  

ถ้ำ “ผูร้ บั จ้ำง” ต้องกำรถอดแบบหล่อและคำ้ ยันก่อนกำหนดเวลำที่ระบุไว้ในข้อ 5.1.7 ข้อ  

11 “ผูร้ บ
ั จ้ำง” จะต้องหล่อตัวอย่ำงทดสอบเพิ่มตำมที่ “ผูค้ วบคุมงำน” สั่ง และต้องทดสอบตัวอย่ำงนีก้ ่อนทำกำรถอด  

แบบหล่อ จำกผลกำรทดสอบ “ผูค้ วบคุมงำน” จะเป็ นผูว้ ินิจฉัยกำหนดเวลำที่จะให้ถอดแบบหล่อ  

           1.1.7 วิธีกำรก่อสร้ำง  

                      (1)        ทั่วๆ ไป  

ภำยในเวลำอันควรก่อนกำรเริ่มงำน “ผูร้ บั จ้ำง” จะต้องเสนอวิธีกำรก่อสร้ำงและแผนงำน  

พร้อมทัง้ ปรึกษำหำรือกับ “ผูค้ วบคุมงำน” เพื่อขอรับควำมเห็นชอบก่อน  

                                 “ผูร้ บ
ั จ้ำง ” จะต้องจัดหำผูค้ วบคุมดูแลงำน และหัวหน้ำงำนซึ่งมีคว ำมสำมำรถ และ  

ประสบกำรณ์สำหรับดูแลและควบคุมงำนในจำนวนที่พอเพียงเหมำะสมกับสภำพงำน  

                      (2)        คำ้ ยันและแบบหล่อ  

                                (ก) คำ้ ยัน  

                                            “ผูร้ บ
ั จ้ำง” จะต้องส่งรำยละเอียด แบบแปลน รำยกำรคำนวณด้ำนโครงสร้ำง และ  

ควำมยืดหยุ่นต่อ “ผูค้ วบคุมงำน” เพื่อตรวจสอบ และไม่ว่ำกรณีใดๆ ก็ตำม “ผูร้ บั จ้ำง” จะไม่พน้ จำกควำมรับผิดชอบในผล  

ที่ได้รบั จำกกำรใช้แบบแปลน ฯลฯ นี้  

                                            “ผูร้ บ
ั จ้ำง” จะต้องออกแบบ และสร้ำงคำ้ ยันเพื่อให้ได้ควำมแข็งแกร่งที่พอเหมำะ  

ทัง้ นีจ้ ะต้องรับนำ้ หนักบรรทุกได้ในเกณฑ์ที่ได้รบั ควำมเห็นชอบจำก “ผูค้ วบคุมงำน” อำจสั่งให้ “ผูร้ บั จ้ำง” ใช้แม่แรงหรือ  

ลิ่มไม้เนือ้ แข็งยกส่วนที่ทรุดของแบบหล่อหรือปรับระดับเพิ่มเติมก่อนในระหว่ำงกำรเทคอนกรีต  

ถ้ำไม่สำมำรถตัง้ คำ้ ยันบนพืน้ ธรรมดำได้ จะต้องทำกำรรองรับคำ้ ยันนัน้ ด้วยฐำนทรำย  

อัดแน่นอย่ำงน้อย 1.0 เมตร หรือรองรับด้วยเสำเข็มซึ่งจะต้องให้ “ผูค้ วบคุมงำน” ให้ควำมเห็นชอบก่อนกำรตั้งคำ้ ยัน ใน  

บำงกรณีอำจรองรับคำ้ ยันด้วยโครงสร้ำงซึ่งก่อสร้ำงแล้ว ในกรณีเช่นนี้ “ผูร้ บั จ้ำง” จะต้องส่งข้อมูลด้ำนนำ้ หนักบรรทุกนัน้  

เพื่อให้ควำมเห็นชอบเป็ นลำยลักษณ์อกั ษร                                           


                        10 

   “ผูร้ บ
ั จ้ำง ” จะต้องตัง้ คำ้ ยันเผื่อกำรตกท้องช้ำง โดย “ผูค้ วบคุมงำน ” เป็ นผู้  

กำหนดค่ำให้ ในระหว่ำงกำรเทคอนกรีต หำกปรำกฏว่ำคำ้ ยันไม่แข็งแรงพอเกิดกำรทรุดตัวขึน้ “ผูร้ บั จ้ำง” จะต้องหยุดงำน  

นัน้ และทำกำรรือ้ ถอนโครงสร้ำงที่ได้รบั ผลกระทบกระเทือน แล้วเสริมคำ้ ยันให้แข็งแรงก่อนที่จะเริ่มงำนต่อไป  

วัสดุทกุ อย่ำงที่ใช้ในกำรสร้ำงคำ้ ยันจะต้องเป็ นไปตำมมำตรฐำน AASHTO   ที่เกี่ยวข้อง “ผู้

ควบคุมงำน” อำจต้องกำรให้มีกำรทดสอบวัสดุและให้ส่งใบรับรองผลกำรทดสอบนัน้ ด้วย และอำจสั่งให้มีกำร ตรวจตรำ

กำรเชื่อม กำรทดสอบกำรรับนำ้ หนักบรรทุกของคำ้ ยัน เพื่อหำควำมยืดหยุ่นและควำมแข็งแรง ค่ำใช้จ่ำยทัง้ สิน้ ใน           

กำรทดสอบและตรวจตรำคำ้ ยันดังกล่ำวจะต้องตกเป็ นของ “ผูร้ บั จ้ำง” ทัง้ สิน้ เมื่อใช้คำ้ ยันเหล็ก สีที่ทำไว้กบั คำ้ ยันจะต้อง  

ไม่เปื ้อนหรือกัดกร่อนโครงสร้ำงคอนกรีต “ผูค้ วบคุมงำน” จะเป็ นผูก้ ำหนดเวลำในกำรรือ้ ถอนคำ้ ยัน  

                                (ข) แบบหล่อ  

แบบหล่อหมำยถึง แบบหล่อชั่วครำวและแบบหล่อถำวรที่ใช้ในกำรหล่อคอนกรีต  

เพื่อให้ได้รูปร่ำงตำมกำหนด แบบหล่อจะต้องทำจำกไม้หรือโลหะ ป้องกันปูนสอไม่ให้ร่วั ซึมออกมำได้ และต้องแข็งแรงพอ  

เพื่อรักษำคอนกรีตให้อยู่ในที่ระหว่ำงกำรเท กำรอัดแน่น กำรก่อตัว และกำรแข็งตัว  

แบบหล่อสำหรับคอนกรีตเปลือย(ชนิดผิวเรียบ)ที่โครงสร้ำงหน้ำท่ำ ทำจำกโลหะที่มี  

ควำมแข็งเกร็งในตัวพอ ปรำศจำกรอยตำหนิที่ผิวอันจะทำลำยคุณภำพผิวของคอนกรีต จะต้องไม่ใช้แบบโลหะที่เป็ นสนิม  

หรือโก่งงอให้ลบมุมที่คำนพืน้ ทุกด้ำนของแบบหล่อ (Chamfer) ขนำด 2x2 ซม.  

แบบหล่อสำหรับคอนกรีตผิวหยำบสำหรับงำนโครงสร้ำงอำคำรที่มีกำรก่อฉำบ  

ไม้ที่ใช้ทำแบบจะต้องอยู่ในสภำพที่ดีปรำศจำกกำรโก่งงอหรือบิด และไม่มีต ำหนิอื่นใดอันจะทำให้ควำมแข็งแรงหรือ  

ลักษณะของโครงสร้ำงที่หล่อแล้วเสร็จเกิดควำมเสียหำยได้  

แบบหล่อจะต้องตัง้ อยู่ในที่จนกระทั่งคอนกรีตแข็งตัว “ผูค้ วบคุมงำน ” จะเป็ น  

ผูก้ ำหนดเวลำในกำรถอดแบบหล่อให้ ถ้ำปรำกฏว่ำแบบหล่อมีสภำพไม่ดีพอไม่ว่ำจะก่อนหรือระหว่ำงกำรเทคอนกรีต  

“ผูค้ วบคุมงำน” อำจสั่งให้หยุดงำนนัน


้ จนกระทั่ง “ผูร้ บั จ้ำง” ได้แก้ไขส่วนบกพร่องนัน้ แล้วเสร็จ  

                                           “ผูร้ บ
ั จ้ำง” ต้องส่งแบบแปลนแสดงรำยละอียด และรำยกำรคำนวณแบบหล่อให้ “ผู้  

ควบคุมงำน” ตรวจสอบก่อนทำกำรก่อสร้ำง  

                                           “ผูร้ บ
ั จ้ำง” จะต้องบ ำรุงรักษำแบบหล่อที่นำมำใช้ซ ้ ำให้คงรูปร่ำง กำลัง และควำม  

แข็งแกร่ง ควำมกันนำ้ และควำมเรียบของผิวแบบอยู่เสมอ ไม้ที่โก่งหรือบวมเกินขนำดห้ำมนำมำใช้เป็ นแบบหล่ออีก “ผูร้ บั  


11

จ้ำง” จะต้องไม่นำแบบหล่อซึ่งไม่อยู่ในสภำพที่ดีพอมำใช้อีกไม่ว่ำกรณีใดๆ  

แท่นยึดโลหะที่ใช้ยึดแบบหล่อจะต้องติดตัง้ ให้ถกู ต ำแหน่ง ให้อยู่ในเนือ้ คอนกรีตลึก  

เกินกว่ำ 5 เซนติเมตร รูหรือร่องที่เกิดจำกจ้อต่อหรือน๊อตยึดจะต้องออกแบบให้มีขนำดเล็ก และจะต้องอุดรูหรือร่องนีด้ ว้ ย  

ปูนสอผิวที่อดุ แล้วจะต้องอยู่ในสภำพที่เรียบร้อย สม่ำเสมอ และมีสีกลมกลืนกับผิวคอนกรีตข้ำงเคียง  

                                           “ผูร้ บ
ั จ้ำง”จะต้องตัง้ แบบหล่อให้สะดวกต่อกำรทำควำมสะอำด สำมำรถขจัดเศษ  

วัสดุออกได้ง่ำย กำรทำควำมสะอำดก่อนกำรเทคอนกรีตต้องไม่กระทบกระเทือนต่อแบบหล่อ ซึ่ง “ผูค้ วบคุมงำน” ได้  

ตรวจสอบและให้ควำมเห็นชอบแล้ว  

เมื่อ “ผูค้ วบคุมงำน” ตรวจสอบแบบหล่อนัน้ แล้ว “ผูร้ บั จ้ำง” จะต้องทำแบบหล่อด้วยนำ้ มัน

ทำแบบ “ผูค้ วบคุมงำน” อำจสั่งให้ทดลองทำนำ้ มันแบบหล่อก่อนจะอนุญำตให้ใช้ เพื่อให้แน่ใจว่ำนำ้ มันทำแบบที่

“ผูร้ บ
ั จ้ำง” เสนอใช้นนั้ จะไม่ทำให้สีผิวของคอนกรีตเปลี่ยนไป หรือทำลำยผิวของคอนกรีตที่หล่อ  

ก่อนเทคอนกรีต “ผูร้ บั จ้ำง” จะต้องเก็บกวำดเศษไม้ เศษลวดผูกเหล็ก ดิน ขยะ และ  

วัตถุไม่พึงประสงค์อย่ำงอื่นออกจำกแบบหล่อ และจะต้องล้ำงแบบหล่ออย่ำงระมัดระวังให้ท่วั ด้วยนำ้ ถ้ำไม่ระบุเป็ นอย่ำง  

อื่น ควำมคลำดเคลื่อนของโครงสร้ำงคอนกรีตที่หล่อแล้วจะต้องมีค่ำ ดังนี้  

ฐำนรำก ทำงแนวรำบ ± 30 มิลลิเมตร  

ทำงแนวดิ่ง ± 20 มิลลิเมตร  

กำแพง ผนัง ทำงแนวรำบ ± 10 มิลลิเมตร  

ทำงแนวดิ่ง ± 10 มิลลิเมตร  

ควำมเอียงไม่เกิน 1:400    

มิติขององค์อำคำร ± 10 มิลลิเมตร และพืน้ ที่ภำคตัดขวำงไม่  

คลำดเคลื่อนไปจำกแบบร้อยละ 30   

                                (ค) คอนกรีตหยำบและทรำยรองพืน้  

สำหรับงำนฐำนรำกทุกชนิดจะต้องมีชนั้ ปรับระดับรองคอนกรีตหยำบอยู่ใต้สดุ เพื่อทำหน้ำที่

แทนแบบหล่อชัน้ ปรับระดับนีจ้ ะต้องมีควำมหนำไม่นอ้ ยกว่ำ 10 เซนติเมตร และจะต้องตัง้ อยู่บนชัน้ ทรำยซึ่งมี ควำมหนำ

ไม่นอ้ ยกว่ำ 10 เซนติเมตร เช่นกัน ในกรณีที่เทคอนกรีตหยำบบนชัน้ ที่กลบแต่งด้วยวัสดุคดั เลือกอยู่แล้ว ไม่จำเป็ นต้องมีชนั้  


12 

ทรำยนีก้ ็ได้  

                                (ง) กำรให้ควำมเห็นชอบคำ้ ยันและแบบหล่อ  

ก่อนจะประกอบติดตัง้ คำ้ ยันและแบบหล่อ “ผูร้ บั จ้ำง” จะต้องได้รบั ควำมเห็นชอบ  

แบบแปลนและรำยกำรคำนวณเป็ นลำยลักษณ์อกั ษรจำก “ผูค้ วบคุมงำน” ควำมเห็นชอบที่แสดงออกนัน้ จะไม่ทำให้ “ผูร้ บั  

จ้ำง” พ้นควำมรับผิดชอบต่องำนคอนกรีตส่วนนัน้  

                                “ผูค้ วบคุมงำน” จะใช้ระยะเวลำอันควรในกำรตรวจแบบแปลนและรำยกำรคำนวณโดยเฉพำะ  

กรณีเมื่อจะมีกำรวำงคำ้ ยันลงบนโครงสร้ำงที่เพิ่งแล้วเสร็จ “ผูร้ บั จ้ำง” จะไม่ได้รบั อนุญำตให้ต่ออำยุสญ


ั ญำเนื่องจำกกำรรอ  

คอยเพื่อกำรให้ควำมเห็นชอบนี้  

                                “ผูค้ วบคุมงำน ” จะตรวจสอบแบบหล่อและคำ้ ยันก่อนกำรเทคอนกรีต ห้ำม “ผูร้ บ


ั จ้ำง” เท  

คอนกรีตจนกว่ำ “ผูค้ วบคุมงำน” จะได้ตรวจสอบและให้ควำมเห็นชอบแบบหล่อหรือคำ้ ยันนัน้ แล้ว กำรให้ควำมเห็นชอบ  

ดังกล่ำว จะไม่ทำให้ “ผูร้ บั จ้ำง” พ้นจำกควำมรับผิดชอบต่อกำรก่อสร้ำงงำนส่วนนัน้ ให้แล้วเสร็จสมบูรณ์และถูกต้องภำยใต้  

สัญญำนี้  

                     (3)        กำรดูแลและกำรเก็บวัสดุสำหรับคอนกรีต  

วัสดุสำหรับผลิตคอนกรีต ปูนซีเมนต์ สำรผสมเพิ่ม นำ้ และมวลรวม จะต้องมีปริมำณสำรอง  

(ณ สถำนที่ทำงำน) อย่ำงเพียงพอ ในกำรหล่อคอนกรีตแต่ละครัง้ ถ้ำมีไม่พอ “ผูร้ บ


ั จ้ำง” จะต้องแจ้งให้ “ผูค้ วบคุมงำน”  

ทรำบและ “ผูร้ บั จ้ำง” ต้องรับรองว่ำจะหำปริมำณที่ตอ้ งกำรมำเพิ่มได้ทนั กำร  

                                (ก) กำรเก็บปูนซีเมนต์  

ปูนซีเมนต์ที่ใช้จะต้องเก็บไว้ในอำคำรหรือถังเก็บ ซึ่งได้รบั กำรป้องกันจำกสภำพลม ฟ้ำ

อำกำศมิให้ปนู ซีเมนต์ถกู ควำมชืน้ ได้ อำคำรหรือถังเก็บจะต้องตัง้ อยู่ในที่ซึ่ง “ผูค้ วบคุมงำน” เห็นชอบ “ผูร้ บั จ้ำง” จะต้อง

เก็บปูนซีเมนต์ไว้ใช้อย่ำงพอเพียง ปูนซีเมนต์ที่ส่งมำแต่ละครัง้ จะต้องแยกเก็บเพื่อให้ง่ำยต่อกำรเข้ำตรวจสอบได้อำคำรที่

เก็บจะต้องมีควำมจุพอเพียงสำหรับกำรใช้งำน ปูนซีเมนต์ในถังเก็บเมื่อทดสอบแล้วจะต้องได้คณ
ุ สมบัติตำม ข้อกำหนด  

                                (ข) กำรเก็บมวลรวม  

                                           “ผูร้ บ
ั จ้ำง” จะต้องเก็บมวลรวมโดยป้องกันมิให้ปนกับวัสดุที่ไม่พึงประสงค์ และต้อง  

ไม่กองมวลรวมไว้บนคันทำงที่ได้ระดับแล้ว มวลรวมต่ำงขนำดและชนิดจะต้องกองแยกกัน กองของมวลรวมหยำบที่ จัด  

ขนำดคละแล้วจะต้องวำงเป็ นชัน้ ๆ ตำมแนวรำบ มีควำมหนำชัน้ ละไม่เกิน 1 เมตร โดยจะต้องกองมวลรวมชัน้ หนึ่งชัน้ ใดให้  


13 

เสร็จไปก่อน จึงจะเริ่มชัน้ ใหม่หรือวีธีกำรอื่นที่เหมำะสม ถ้ำมีกำรแยกแยะของมวลรวมเกิดขึน้ จะต้องนำมวลรวมนัน้ มำจัด  

ขนำดคละอีกครัง้ ให้ได้ตำมข้อกำหนด  

หำกมีกำรทำควำมสะอำดมวลรวมโดยกำรล้ำงนำ้ แล้ว จะต้องปล่อยให้ระบำยนำ้ ออกอย่ำงน้อย  

เป็ นเวลำ 12 ชั่วโมงก่อนนำไปใช้ผสมคอนกรีต  

                      (4)        กำรตระเตรียมงำนก่อนกำรเทคอนกรีต  

ก่อนกำรเทคอนกรีตแต่ละครัง้ “ผูร้ บั จ้ำง ” จะต้องทำ “แผนงำนเทคอนกรีต ” แสดง  

รำยละเอียดทำงด้ำนพนักงำนผูเ้ กี่ยวข้อง คนงำน กำรใช้วสั ดุ เครื่องมือและอุปกรณ์ กำรสำรองคนงำนและวัสดุ วิธีกำร  

ลำเลียงและเทคอนกรีต กำรควบคุมงำน ฯลฯ และได้รบั อนุมตั ิจำก “ผูค้ วบคุมงำน” ก่อนเริ่มงำนเทคอนกรีต  

อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในกำรลำเลียงวัสดุและคอนกรีต ต้องมีแบบ สมรรถนะ และสภำพ  

ทำงกลเป็ นที่พอใจของ “ผูค้ วบคุมงำน”  

อุปกรณ์ไม่ได้รบั กำรบ ำรุงรักษำให้อยู่ในสภำพกำรใช้งำนได้เต็มที่ หรือไม่สำมำรถให้ผลงำน  

ตำมที่ระบุไว้ “ผูร้ บั จ้ำง” จะต้องปรับปรุงให้ดีขนึ ้ หรือเปลี่ยนใช้อปุ กรณ์ที่ดีกว่ำ หรือเสริมอุปกรณ์เข้ำไปอีก ทัง้ นีใ้ ห้อยู่ใน  

ดุลยพินิจของ “ผูค้ วบคุมงำน”  

                     (5)        กำรวัดปริมำณวัสดุ  

                                 (ก) ทั่วๆ ไป  

สัดส่วนของวัสดุสำหรับส่วนผสมคอนกรีตให้กระทำด้วยวิธีช่งั นำ้ หนัก โรงงำนผสม  

คอนกรีตจะต้องมีคอกกัน้ ถังปิ ดเปิ ด (สำหรับรับมวลรวมไปชั่ง) และเครื่องชั่ง เพื่อแยกและชั่งมวลรวมละเอียดและมวล  

รวมหยำบแต่ละขนำดถ้ำใช้ปนู ซีเมนต์ถงั จะต้องมีคอกกั้นถังปิ ดเปิ ดและเครื่องชั่งให้ดว้ ย ภำชนะบรรจุปนู ซีเมนต์จะต้องกัน  

นำ้ ได้  

                                            “ผูร้ บ
ั จ้ำง” ต้องจัดหำอุปกรณ์ซึ่งผูค้ วบคุมเห็นว่ำจำเป็ น เพื่อใช้ในกำรตวงวัด  

ส่วนประกอบอื่นๆ ลงในส่วนผสมคอนกรีต โรงงำนผสมคอนกรีตจะเป็ นชนิดผสมอยู่กบั ที่หรือชนิดผสมเคลื่อนที่ก็ได้  

โรงงำนต้องตัง้ ให้ได้ระดับที่ถกู ต้อง เพื่อให้กลไกในกำรชั่งนำ้ หนักทำงำนได้อย่ำงแม่นย ำ  

                                 (ข) คอกกัน้ และถังปิ ดเปิ ด  

คอกกัน้ จะต้องมีชอ่ งแยกเฉพำะเป็ นสัดส่วนสำหรับมวลรวมละเอียดและมวลรวม  

หยำบแต่ละขนำด แต่ละช่องจะต้องปล่อยมวลรวมเข้ำสู่ถงั ปิ ดเปิ ดได้โดยอิสระและอย่ำงมีประสิทธิภำพ โดยมีวิธีควบคุม  


14 

เพื่อให้ได้ปริมำณมวลรวมที่ตกลงสู่ถงั ปิ ดเปิ ดชั่งนำ้ หนักตำมที่ตอ้ งกำร นอกจำกนีจ้ ะต้องมีช่องหรือทำงผ่ำนสำหรับนำเอำ  

มวลรวมส่วนเกินที่หล่นจำกถังปิ ดเปิ ดออกไป ถังปิ ดเปิ ดจะต้องปล่อยมวลรวมที่บรรจุออกได้ทงั้ หมด  

                                 (ค) เครื่องชั่ง  

เครื่องชั่งสำหรับชั่งมวลรวมและปูนซีเมนต์ตอ้ งเป็ นชนิดคำนหรือชนิดเข็มชีไ้ ร้สปริง  

เครื่องชั่งจะต้องอ่ำนค่ำนำ้ หนักได้อย่ำงละเอียด ควำมคลำดเคลื่อนได้ไม่เกินรอยละ 0.5 ทุกครัง้ ขณะใช้งำน “ผูร้ บั จ้ำง”  

จะต้องจัดหำก้อนนำ้ หนักขนำด 25 กิโลกรัม จำนวน 10 ก้อนไว้ เพื่อทำกำรทดสอบควำมละเอียดของเครื่องชั่ง “ผูร้ บั  

จ้ำง” จะต้องหมั่นทำควำมสะอำดจุดหมุนแขน และส่วนประกอบอื่นของเครื่องชั่งที่มองเห็นอย่ำงสม่ำเสมอ ในกรณีที่ใช้  

เครื่องชั่งชนิดคำนจะต้องมีอปุ กรณ์แสดงให้ผคู้ วบคุมเครื่องเห็นค่ำนำ้ หนักของมวลรวมในถังปิ ดเปิ ดอย่ำงน้อยอีก 100   

กิโลกรัมก่อนจะถึงค่ำที่ตอ้ งกำร และแสดงให้เห็นนำ้ หนักที่เลยค่ำที่ตอ้ งกำรไปอีกไม่เกิน 25 กิโลกรัม ผูค้ วบคุมเครื่อง  

จะต้องมองเห็นอุปกรณ์ที่ใช้ในกำรชั่งทั่วทุกชิน้ และต้องสำมำรถเข้ำถึงปุ่มควบคุมกลไกต่ำงๆ ได้อย่ำงสะดวก กำรตวงวัด

ปูนซีเมนต์โดยกำรชั่งนำ้ หนัก อำจใช้กำรนับจำนวนถุงซีเมนต์มำตรฐำนซึ่งมีนำ้ หนักสุทธิ 50 กิโลกรัม เมื่อตวงวัดโดย

นำ้ หนักจะต้องสวมซองที่เครื่องชั่งและถังปิ ดเปิ ดเพื่อใช้ถ่ำยปูนซีเมนต์อย่ำงถูกวิธีไม่ให้ซีเมนต์ตกหล่น นำ้ หนักของ

ปูนซีเมนต์จำกกำรชั่งจะต้องไม่คลำดเคลื่อนกว่ำร้อยละ 1 และนำ้ หนัก ของมวลรวมทุกประเภทจะต้องไม่คลำดเคลื่อน

มำกกว่ำร้อยละ 2   

นอกจำกนีแ้ ล้วค่ำควำมเบี่ยงเบนจำกปริมำณ เฉลี่ยของวัสดุอดั แทรก (วัสดุซึ่งประกอบด้วยปูนซีเมนต์

และอนุภำคที่มีขนำดเล็กกว่ำ 0.25 มิลลิเมตร) โดยคำนวณจำกตัวอย่ำงจำนวน 10 ตัวอย่ำง ซึ่งทำกำรสุ่มจำกรุน่ ผสมของ

คอนกรีตที่แตกต่ำงกันจะต้องไม่มำกกว่ำร้อยละ 6   

                                (1)        กำรผสมคอนกรีต  

                                          (ก) ทั่วๆ ไป  

กำรผสมคอนกรีตให้ทำในเครื่องผสมโดยอำจทำกำรผสมคอนกรีต ณ  

สถำนที่ก่อสร้ำงโรงงำนผสมคอนกรีตกับที่หรือในรถผสมคอนกรีต เครื่องผสมคอนกรีตแต่ละเครื่องจะต้องติดฉลำกโลหะ  

จำกโรงงำนผูผ้ ลิตแสดงควำมจุของโม่เป็ นปริมำตรของคอนกรีตและอัตรำเร็วที่โม่หมุน  

                                          (ข) เครื่องผสมคอนกรีต ณ สถำนที่ก่อสร้ำงย่อย  

เครื่องผสมคอนกรีต ณ สถำนที่ก่อสร้ำงย่อย จะต้องเป็ นชนิดโม่สำมำรถ  

ผสมมวลรวมปูนซีเมนต์และนำ้ เข้ำด้วยกันอย่ำงทั่วถึง และได้มวลคอนกรีตที่สม่ำเสมอภำยในเวลำที่ผสมที่กำหนด และ  


15 

.จะต้องถ่ำยคอนกรีตได้โดยปรำศจำกกำรแยกตัว เครื่องผสมจะต้องติดตัง้ ถังปิ ดเปิ ด (สำหรับเติมส่วนผสม) ถังเก็บนำ้ และ  

เครื่องวัดปริมำณนำ้ ที่มีควำมละเอียดร้อยละ 1 โดยมีอุปกรณ์ควมคุมให้เติมนำ้ ได้ในขณะที่เติมส่วนผสมลงในโม่เท่ำนัน้ ใน  

กำรถ่ำยคอนกรีตจำกโม่จะต้องมีอปุ กรณ์ที่เหมำะสมควบคุมด้วย เครื่องผสมคอนกรีตจะต้องทำควำมสะอำดตำม

ระยะเวลำอันควร เมื่อใบมีดกวำดและใบมีดสำดในโม่สึกหรอมำกกว่ำร้อยละ 10 ของควำมลึกของใบมีดจะต้องเปลี่ยนใส่

ใบมีดใหม่ แทน  

เครื่องผสมจะต้องทำงำนที่อตั รำกำรหมุนของโม่ 15­20 รอบ/นำที ในกำรผสม  

จะต้องเติมนำ้ ส่วนหนึ่งก่อนแล้วใส่ปนู ซีเมนต์และมวลรวมลงไปในโม่ และให้นำ้ ส่วนที่เหลือไหลต่อเนื่องกับส่วนแรกจนหมด  

จำนวนหลังจำกที่เติมปูนซีเมนต์และมวลรวมทัง้ หมดลงไปแล้วไม่นอ้ ยกว่ำ 5 วินำที กำรนับเวลำที่ใช้ผสมให้เริ่มนับตัง้ แต่  

ปูนซีเมนต์และมวลรวมลงสู่โม่ (ไม่นบั เวลำที่ใช้เติมนำ้ ) เวลำที่ใช้ผสมสำหรับโม่ที่มีควำมจุ 1 ลูกบำศก์เมตรหรือน้อยกว่ำ  

ต้องไม่ต่ำกว่ำ 50 วินำที หรือเกินกว่ำ 70 วินำที คอนกรีตที่ใช้เวลำผสมน้อยกว่ำที่กำหนดจะไม่เป็ นที่ยอมรับ และ “ผูร้ บั  

จ้ำง” จะต้องขนออกไปทิง้ โดยออกค่ำใช้จ่ำยเอง  

ปริมำตรของคอนกรีตที่ผสมในแต่ละรุน่ จะต้องไม่เกินคววำมจุที่ระบุของเครื่องผสม  

(ลูกบำศก์เมตรหรือลูกบำศก์ฟุต) ดังแสดงไว้บนฉลำกกำหนดพิกด
ั ควำมจุมำตรฐำนจำกโรงงำนผูผ้ ลิตเครื่องผสม เว้นใน

บำง กรณีอำจอนุญำตให้ปริมำตรผสมมำกกว่ำควำมจุที่ระบุไว้ได้ แต่ตอ้ งไม่มำกกว่ำร้อยละ 20 โดยพิจำรณำว่ำค่ำกำลัง

อัด กำรไม่แยกตัวของมวลรวม และควำมขันเหลวของคอนกรีตต้องเป็ นไปตำมมำตรฐำนที่เกี่ยวข้อง ดังได้กล่ำวมำแล้วและ  

คอนกรีตจะต้องไม่ลน้ ออกจำกโม่  

ห้ำมมิให้เพิ่มนำ้ ในคอนกรีตหรือใช้วิธีอื่นใดเพื่อเป็ นกำรเพิ่มควำมข้นเหลวแก่  

คอนกรีต ห้ำมเทคอนกรีตซึ่งไม่ได้ควำมเข้มข้นเหลวตำมที่กำหนด  

 
 

                                           (ค) เครื่องผสมคอนกรีตสำหรับโรงงำนผสมกับที่  

เครื่องผสมคอนกรีตนีจ้ ะต้องเป็ นชนิดโม่ สำมำรถผสมมวลรวม ปูนซีเมนต์  

และนำ้ เข้ำด้วยกันอย่ำงทั่วถึง ได้มวลคอนกรีตที่สม่ำเสมอภำยในเวลำผสมที่กำหนด กำรถ่ำยคอนกรีตต้องไม่ให้เกิดกำร  

แยกตัวและมีอปุ กรณ์ตงั้ เวลำเพื่อบังคับมิให้เครื่องผสมถ่ำยคอนกรีตก่อนครบกำหนดเวลำผสม ระบบกำรเติมนำ้ ให้เครื่อง  

ผสม อำจเป็ นถังตวงวัดที่เปรียบเทียบปริมำตรแล้ว หรือเป็ นมำตรวัดติดกับเครื่องผสมหรือจะเป็ นชนิดที่แยกส่วนออกจำก  

เครื่องผสมก็ได้  
16 

เครื่องผสมจะต้องทำควำมสะอำดตำมระยะเวลำอันควร มีกำรสำรวจตรวจมำตรฐำน  

ดูควำมเปลี่ยนแปลงสภำพภำยในของโม่ผสมเป็ นประจำทุกวัน เมื่อใบมีดกวำด และใบมีดสำดในโม่สึกหรอเกินร้อยละ 10   

ของควำมลึกของใบมีดจะต้องเปลี่ยนใส่ใบมีดใหม่แทน  

เครื่องผสมคอนกรีตในโรงงำนผสมกับที่ใช้เวลำผสมไม่นอ้ ยกว่ำ 90 วินำที สำหรับโม่  

ที่มีควำมจุระหว่ำง 2 ถึง 5 ลูกบำศก์เมตร และไม่นอ้ ยกว่ำ 120 วินำที สำหรับโม่ที่มีควำมจุเกินกว่ำ 5 ลูกบำศก์เมตร  

ทัง้ นีเ้ มื่อได้วิเครำะห์และทดสอบคอนกรีตที่ใช้แล้ว จะต้องได้กำลังและควำมสม่ำเสมอตำมที่กล่ำวไว้ในข้อ (ข) คอนกรีตที่  

ผสมแล้วจะต้องขนส่งจำกโรงงำนผสมไปยังหน้ำงำน โดยรถขนส่งชนิดติดตัง้ เครื่องกวน หรือจะใช้ขนส่งชนิดไม่ติดตัง้ เครื่อง  

กวนก็ได้ ตำมควำมเห็นชอบของ “ผูค้ วบคุมงำน” เป็ นลำยลักษณ์อกั ษร กำรส่งคอนกรีตต้องควบคุม เพื่อให้กำรเทเป็ นไป  

อย่ำงต่อเนื่อง (เว้นแต่ว่ำกำรเทนัน้ จะหยุดชะงักหรือล่ำช้ำเอง) ระยะเวลำในกำรขนส่งคอนกรีตแต่ละครัง้ จะต้องไม่นำนจน  

ทำให้คอนกรีตที่เทแข็งตัวในส่วนหนึ่งส่วนใด และไม่ว่ำในกรณีใดๆ ระยะเวลำดังกล่ำวจะต้องไม่มำกกว่ำ 30 นำที ยกเว้น  

เมื่อได้รบั ควำมเห็นชอบจำก “ผูค้ วบคุมงำน” เมื่อมีกำรปรับกรุงแก้ไขส่วนผสมของคอนกรีต  

                                           (ง) รถขนส่งชนิดใช้เครื่องกวน  

เว้นแต่ว่ำ “ผูค้ วบคุมงำน” ได้ให้ควำมเห็นชอบเป็ นลำยลักษณ์อกั ษรให้เป็ น  

อย่ำงอื่น รถขนส่งชนิดใช้เครื่องกวนจะต้องมีโม่หมุนชนิดกันนำ้ รั่วได้ ติดตัง้ ในตำแหน่งที่เหมำะสม รถต้องสำมำรถขนส่ง  

และถ่ำยคอนกรีตได้โดยไม่เกิดกำรแยกแยะ อัตรำเร็วในกำรกวนของโม่จะต้องไม่นอ้ ยกว่ำ 2 รอบต่อนำที และไม่มำกกว่ำ  

6 รอบต่อนำที ปริมำตรของคอนกรีตที่ให้ผสมในโม่ตอ้ งไม่เกินค่ำที่โรงงำนผูผ้ ลิตกำหนดไว้ หรือไม่มำ กกว่ำร้อยละ 80   

ของปริมำตรรวมในโม่  

                                           “ผูค้ วบคุมงำน” อำจอนุญำตให้ใช้รถผสมชนิดใบมีดหมุนแบบเปิ ดส่วนบน แทนรถ  

ขนส่งชนิดเครื่องกวน เพื่อใช้ในกำรขนส่งคอนกรีตจำกโรงงำนผสมกับที่ก็ได้ ปริมำตรภำยในของเครื่องกวนจะต้องระบุเป็ น  

ลูกบำศก์เมตรหรือลูกบำศก์ฟุต ระยะเวลำตัง้ แต่เริ่มเติมนำ้ ลงสู่โม่ของเครื่องผสม (ณ โรงงำนผสมคอนกรีต) จนกระทัง้ ถ่ำย  

คอนกรีตออกจำกเครื่องกวน (บนรถขนส่ง) จะต้องไม่เกิน 45 นำที (ยกเว้นเมื่อได้รบั ควำมเห็นชอบจำก “ผูค้ วบคุมงำน”  

เมื่อมีกำรปรับปรุงแก้ไขส่วนผสมของคอนกรีต) ในระหว่ำงระยะเวลำดังกล่ำวจะต้องกวนส่วนผสมอย่ำงต่อเนื่อง  

                                           (จ) รถขนส่งชนิดไม่มีเครื่องกวน  

อุปกรณ์ขนส่งคอนกรีตชนิดไม่กวนจะต้องเป็ นถังโลหะผิวเรียบ กันนำ้ รั่วได้  

มีช่องปิ ดเปิ ดเพื่อควบคุมกำรถ่ำยคอนกรีต และมีฝำปิ ดเปิ ดป้องกันแดดและฝน ถังอุปกรณ์นจี้ ะต้องถ่ำยคอนกรีตที่หน้ำงำน  


17 

ในอัตรำที่เหมำะสม และได้มวลคอนกรีตที่สม่ำเสมอ  

ควำมสม่ำเสมอของมวลคอนกรีต จะเป็ นที่ยอมรับได้ก็ต่อเมื่อค่ำควำม  

ยุบตัวของตัวอย่ำงที่ส่มุ เมื่อถ่ำยคอนกรีตออก ¼              และ ¾       ของมวลคอนกรีตจำกถังมีควำมแตกต่ำงกันไม่

มำกกว่ำ 3  เซนติเมตร คอนกรีตจะต้องถ่ำยออกจำกถังให้หมดภำยในเวลำ 30 นำที (ยกเว้นเมื่อได้รบ


ั ควำมเห็นจำก “ผู้

ควบคุมงำน” เมื่อมีกำรปรับปรุงแก้ไขส่วนผสมของคอนกรีต) นับตัง้ แต่เริ่มเติมนำ้ ให้ส่วนผสมของปูนซีเมนต์และมวลรวมที่

โรงงำนผสม  

                                          (ฉ) รถผสม  

เครื่องผสมบนรถผสมจะต้องติดตัง้ เครื่องนับจำนวนรอบกำรหมุนของโม่  

หรือใบมีดชนิดทำงำนด้วยพลังไฟฟ้ำ เครื่องนับจะต้องทำงำนตัง้ แต่เริ่มผสม ปริมำตรของส่วนผสมคอนกรีตภำยในโม่  

จะต้องไม่มำกกว่ำร้อยละ 60 ของปริมำตรรวมของโม่ เครื่องผสมจะต้องสำมำรถผสมส่วนประกอบต่ำงๆ ของคอนกรีตเข้ำ  

ด้วยกันอย่ำงทั่วถึง ได้มวลที่สม่ำเสมอและต้องถ่ำยคอนกรีตออกโดยไม่มีกำรแยกตัว  

นอกเสียจำกว่ำจะประสงค์ใช้เป็ นเครื่องกวนเพียงอย่ำงเดียว รถผสมจะต้อง  

มีอปุ กรณ์วดั ปริมำณนำ้ ได้อย่ำงละเอียด ปริมำณนำ้ ที่เติมจะต้องไม่คลำดเคลื่อนจำกปริมำณที่กำหนดไว้เกินร้อยละ 1   

รถผสมอำจใช้ผสมคอนกรีตให้เสร็จสมบูรณ์ที่โรงชั่งวัสดุสำหรับผสม หรือใช้  

เป็ นรถกวนเพื่อส่งคอนกรีตไปหน้ำงำน หรืออำจใช้ผสมคอนกรีตให้เสร็จสมบูรณ์ที่หน้ำงำนก็ได้ รถผสมจะต้องเป็ นชนิดโม่  

ทึบหมุนได้และกันนำ้ รั่วหรือเป็ นชนิดมีใบมีดหรือใบพำยหมุน และส่วนบนของโม่ตอ้ งเปิ ดได้  

ระยะเวลำในกำรผสมให้กำหนดเป็ นจำนวนรอบที่โม่หมุน เมื่อใช้รถผสม  

จะต้องผสมคอนกรีตในแต่ละรุน่ ผสมต่อกำรหมุน 70­100 รอบ ตำมอัตรำกำรหมุนที่โรงงำนผูผ้ ลิตกำหนดให้เป็ น  

“อัตรำเร็วในกำรผสม” ดังแสดงไว้บนฉลำกโลหะ ถ้ำรุน


่ ผสมใดมีปริมำตรต่ำกว่ำควำมจุที่ระบุของโม่ไป 0.5 ลูกบำศก์เมตร  

เป็ นอย่ำงน้อยจำนวนรอบกำรหมุนของโม่อำจเหลือไม่นอ้ ยกว่ำ 50 รอบ  

หำกจะใช้นำ้ ล้ำง (นำ้ ชะโม่) เป็ นส่วนหนึ่งของนำ้ ที่จะใช้ในกำรผสมคอนกรีต  

ครัง้ ต่อไป “ผูร้ บั จ้ำง” จะต้องวัดปริมำณของนำ้ ล้ำงนีอ้ ย่ำงละเอียด แล้วนำไปหำปริมำณนำ้ ที่จะเพิ่มเติมลงในโม่เพื่อให้ครบ  

จำนวนที่กำหนด เมื่อบรรทุกนำ้ ล้ำงไปในรถผสมจะต้องแยกให้อยู่ในภำชนะต่ำงหำกจำกภำชนะที่บรรจุหรือตวงวัดนำ้ ผสม  

คอนกรีต เมื่อ “ผูค้ วบคุมงำน” อนุญำตให้ใช้นำ้ ล้ำงหรือนำ้ ชะโม่ “ผูค้ วบคุมงำน ” จะเป็ นผูก้ ำหนดปริมำณที่จะใช้ ถ้ำหำก  

 
                        18 

“ผูร้ บ
ั จ้ำง” จะใช้ “นำ้ ล้ำง” โดยไม่วดั ปริมำณหรือขำดกำรควบคุม “ผูค้ วบคุมงำน” จะกำหนดให้ใช้ “โม่แห้ง ” (ถ่ำย   “นำ้

ล้ำง” ทิง้ จำกโม่) สำหรับผสมคอนกรีตในรุน่ ต่อไป  

กำรใช้รถผสมทำกำรผสมคอนกรีตเพื่อให้เสร็จสมบูรณ์ที่โรงชั่งวัสดุสำหรับผสม จะต้อง

เริ่มกำรผสมคอนกรีตภำยในเวลำ 30 นำที หลังจำกได้เติมปูนซีเมนต์ลงไปในมวลรวมแล้ว ในระหว่ำงกำร ขนส่งรถผสมจะ

ทำหน้ำที่กวนคอนกรีตในอัตรำเร็วที่โรงงำนผูผ้ ลิตกำหนด และจะต้องถ่ำยคอนกรีตให้เสร็จเรียบร้อย ภำยในเวลำ 45 นำที

หลังจำกเติมปูนซีเมนต์ลงไปในมวลรวม กำรส่งคอนกรีตไปยังหน้ำงำนจะต้องมีใบแสดงเวลำที่ออก จำกโรงชั่งวัสดุผสมติด

มำด้วยทุกครัง้  

                     (2)       กำรลำเลียงและกำรเทคอนกรีต  

อุณหภูมิของคอนกรีตในขณะทำกำรเทจะต้องไม่เกิน 35 องศำเซลเซียส  

ก่อนเทคอนกรีตจะต้องก ำจัดขีเ้ ลื่อย เศษไม้ เศษผง เศษลวดผูกเหล็ก และวัสดุอื่นที่ไม่ตอ้ งกำร  

ออกจำกแบบหล่อ  

ในขณะเทคอนกรีตจะต้องระมัดระวังมิให้เกิดกำรแยกตัว และมิให้เหล็ก เสริมเคลื่อนที่ไปจำก  

ตำแหน่งเดิม กำรใช้กระบะ รำง หรือท่อเพื่อลำเลียงคอนกรีตจำกเครื่องผสมไปยังแบบหล่อที่จะต้องได้รบั ควำมเห็นชอบ  

เป็ นลำยลักษณ์อกั ษรจำก “ผูค้ วบคุมงำน” เท่ำนัน้ ในกรณีที่กำรลำเลียงด้วยวิธีกำรดังกล่ำวทำให้คณ


ุ ภำพของคอนกรีต  

ด้อยไป “ผูค้ วบคุมงำน” จะสั่งให้ระงับกำรใช้วิธีลำเลียงนัน้ แล้วจัดให้ลำเลียงคอนกรีตด้วยวิธีที่เห็นว่ำเหมำะสม  

กระบะหรือรำงแบบเปิ ดจะต้องเป็ นโลหะหรือมีขอบเป็ นโลหะ ถ้ำหำกจำ เป็ นต้องเทคอนกรีต  

ตำมรำงที่ลำดชันและยำวจะต้องติดตัง้ แผ่นกัน้ บนรำง หรือแบ่งรำงเป็ นส่วนสัน้ ๆ สำหรับเบนทิศทำงกำรไหลของคอนกรีต  

                                “ผูร้ บ
ั จ้ำง” จะต้องระวังรักษำกระบะ รำง และท่อ ให้สะอำดมิให้คอนกรีตแข็งติด โดย ทำ  

ควำมสะอำดด้วยนำ้ หลังจำกใช้งำนเสร็จแต่ละครัง้ นำ้ ที่ใช้ทำควำมสะอำดจะต้องเททิง้ ให้ห่ำงจำกโครงสร้ำงคอนกรีต  

ในกรณีที่ระยะเทคอนกรีตสูงกว่ำ 1.5 เมตร ให้ใช้ท่อเทคอนกรีต ขณะทำกำรเทคอนกรีต จะต้อง

ไหลเต็มท่อ และปลำยล่ำงของท่อต้องจมอยู่ในคอนกรีต ห้ำมทุบแบบหล่อหลังจำกที่คอนกรีตเริ่มอยู่ตวั ครัง้ แรก และต้อง

ระมัดระวังไม่ให้ปลำยเหล็กเสริมที่โผล่จำกคอนกรีตถูกกระทบกระเทือน  

ทัง้ นีใ้ นระหว่ำงและภำยหลังกำรเทจะต้องอัดคอนกรีตให้แน่นสม่ำเสมอ โดยตลอดกำรอัด  

แน่นจะต้องกระทำด้วยวิธีทำงกล ดังต่อไปนี้  

 
 
                        19 

                                (ก) กำรสั่นสะเทือนจะต้องกระทำในเนือ้ คอนกรีต เว้นแต่ว่ำ “ผูค้ วบคุมงำน” จะสั่ง  


 

เฉพำะให้เป็ นวิธีอื่น  

                                (ข) เครื่องสั่นจะต้องเป็ นชนิดและแบบที่ “ผูค้ วบคุมงำน” เห็นชอบ ทัง้ นีต้ อ้ งสำมำรถ  

ถ่ำยทอดกำรสั่นสู่คอนกรีตได้ดว้ ยควำมถี่ไม่นอ้ ยกว่ำ 4,500 รอบต่อนำที  

                                (ค) ควำมแรงในกำรสั่นจะต้องกระเทือนอย่ำงเห็นได้ชดั ในรัศมีไม่นอ้ ยกว่ำ 45   

เซนติเมตร จำกจุดที่เครื่องสั่นจี้ เมื่อใช้งำนกับมวลคอนกรีตซึ่งมีค่ำควำมยุบตัว 2 เซนติเมตร  

                                (ง) “ผูร้ บ
ั จ้ำง” จะต้องจัดหำเครื่องสั่นในจำนวนที่เพียงพอ เพื่ออัดแน่นคอนกรีตทันที  

หลังจำกเทลงในแบบหล่อ  

                                (จ) กำรอัดแน่นคอนกรีตจะต้องใช้เครื่องสั่นจีค้ อนกรีตให้ท่วั ทัง้ บริเวณรอบๆ เหล็กเสริม  

และ อุปกรณ์ที่ฝังคอนกรีตและตำมเหลี่ยมตำมมุมของแบบหล่อ  

กำรใช้เครื่องสั่นจีใ้ ห้กระทำใกล้จุดที่คอนกรีตไหลลงสู่แบบหล่อ และในบริเวณที่มีคอนกรีตสด  

ทัง้ นี้ จะต้องแหย่และถอดเครื่องสั่นอย่ำงช้ำๆ กำรสั่นจะต้องใช้ระยะเวลำและควำมแรงพอเพื่ออัดคอนกรีตจนทั่ว แต่  

จะต้องไม่นำนจนทำให้คอนกรีตเกิดกำรแยกตัว ห้ำมแช่เครื่องสั่นที่จุดหนึ่งจุดใดนำนจนเกิดนำ้ ปูนขึน้ ที่ผิวคอนกรีต  

กำรใช้เครื่องสั่นจีต้ ำมจุดต่ำงๆ ให้ดำเนินกำรโดยเว้นระยะห่ำงอย่ำงสม่ำเสมอ แต่ตอ้ งไม่เกิน 2   

เท่ำของค่ำรัศมีกำรสั่น เมื่อสังเกตด้วยตำเปล่ำ  

                                (ฉ) ห้ำมใช้เครื่องสั่นจีบ้ นเหล็กเสริม หรือชัน้ ของคอนกรีตที่แข็งตัว โดยสังเกตได้จำกกำร  

ที่คอนกรีตไม่ไหลแม้จะจีแ้ ล้วก็ตำม และห้ำมใช้เครื่องสั่นจีค้ อนกรีตในแบบหล่อให้ไหลไปไกลจนเกิดกำรแยกตัว หรื อใช้  

เครื่องสั่นในกำรย้ำยมวลคอนกรีตไปยังที่ต่ำงๆ ในแบบหล่อ  

                                (ช) กำรสั่นจะต้องกระทำควบคู่ไปกับกำรใช้พลั่วตักตำมควำมจำเป็ น เพื่อให้ผิวหน้ำของ  

คอนกรีตเรียบ และแน่นตลอดตำมผิวแบบหล่อ มุม และตำแหน่งซึ่งเครื่องสั่นเข้ำไปไม่ถึง  

                                (ซ) ข้อกำหนดในที่นใี้ ช้ได้กบั เสำเข็มหล่อสำเร็จ และองค์อำคำรหล่อสำเร็จอื่นๆ ด้วย  

นอกเสียจำกว่ำโรงงำนผูผ้ ลิตจะใช้วิธีกำรสั่นอย่ำงอื่นที่ “ผูค้ วบคุมงำน” ยอมรับ  

คอนกรีตจะต้องเทเป็ นชัน้ ตำมแนวรำบหน้ำชัน้ ละไม่เกิน 30 เซนติเมตร เว้นแต่ “ผูค้ วบคุม  

งำน” จะกำหนดให้เป็ นอย่ำงอื่น คอนกรีตชัน้ บนจะต้องเทและสั่นให้แน่นก่อนที่คอนกรีตชัน้ ล่ำงจะเริ่มอยู่ตวั ครัง้ แรก ทัง้ นี้  

เพื่อป้องกันควำมเสียหำยต่อคอนกรีตสดหรือกำรแยกตัวระหว่ำงชัน้ คอนกรีตหรือรอยต่อก่อสร้ำงกับคอนกรีตส่วนล่ำง  
20 

เมื่อหยุดกำรเทคอนกรีตชั่วครำวจะต้องรอให้คอนกรีตแข็งพอที่จะรักษำรูปทรงได้ แล้วจึง ทำควำม  

สะอำดผิวคอนกรีตโดยขจัดฝ้ำปูน และวัสดุไม่พึงประสงค์อย่ำงอื่นออกจนเห็นเนือ้ คอนกรีตที่ดี เพื่อป้องกันมิให้เกิดรอย  

แตกที่ผิวคอนกรีตเปลือยจะต้องใช้เกรียงแต่งผิวบนของคอนกรีตที่ติดกับแบบหล่อให้เรียบ  

ทันที่หยุดเทคอนกรีตจะต้องขจัดปูนที่แห้งติดเหล็กเสริมและแบบหล่อออกให้หมด ห้ำมผสมเศษปูนแห้ง  

หรือฝุ่ นเข้ำไปในเนือ้ คอนกรีต ถ้ำจะขจัดเศษผงต่ำงๆ ดังกล่ำวออกหลังจำกที่คอนกรีตก่อตัวแล้ว จะต้องระมัดระวังตัวมิให้  

กำรยึดหน่วงระหว่ำงคอนกรีตกับเหล็กถูกทำลำยไป  

ในกำรเทคอน กรีตบนโครงสร้ำงช่วงเดียว ให้เริ่มเทจำกจุดศูนย์กลำงของช่วงเข้ำสู่ปลำยทัง้ สองข้ำง  

สำหรับคำนหลักให้เทคอนกรีตทีละชัน้ แต่ละชัน้ หนำอย่ำงสม่ำเสมอตลอดควำมยำว ลำดับกำรเทคอนกรีตของโครงสร้ำงที่  

มีช่วงต่อเนื่องจะต้องเป็ นไปตำมที่กำหนดในแบบแปลนหรือตำมที่ “ผูค้ วบคุมงำน” เห็นชอบ  

กำรเทคอนกรีตในส่วนขยำยควำมลึกของพืน้ และคำนหลัก ซึ่งมิติที่ขยำยนั้นมีค่ำน้อยกว่ำ 1.0 เมตร ให้  

ดำเนินกำรไปพร้อมๆ กับกำรเทตัวคำนหลัก  

กำรเทคอนกรีตในคำนให้เทไปพร้อมพืน้ อย่ำงต่อเนื่องจนเสร็จในกำรเทครัง้ เดียว  

กำรเทคอนกรีตในผนัง และตอม่อให้ดำเนินกำรอย่ำงต่อเนื่องจนเสร็จในกำรเทครัง้ เดียว ถ้ำ “ผูค้ วบคุม  

งำน” ไม่กำหนดให้เป็ นอย่ำงอื่น  

เว้นแต่เมื่อ “ผูค้ วบคุมงำน” จะอนุญำตให้เป็ นอย่ำงอื่น “ผูร้ บั จ้ำง”จะต้องไม่เทคอนกรีตในโครงสร้ำง  

ส่วนบนจนกว่ำจะได้ถอดแบบหล่อเสำออกเพื่อดูลกั ษณะของเนือ้ คอนกรีตในผนังแล้ว ห้ำมถ่ำยนำ้ หนักของโครงสร้ำง  

ส่วนบนลงสู่ผนังถ้ำอำยุคอนกรีตในผนังยังไม่ครบ 14 วัน ยกเว้นได้รบั ควำมเห็นชอบจำก “ผูค้ วบคุมงำน”  

กำรเทคอนกรีตโดยใช้แรงดันลม จะกระทำได้ก็ต่อเมื่อได้รบั ควำมเห็นชอบจำก “ผูค้ วบคุมงำน” แล้ว  

เท่ำนัน้ จะต้องติดตัง้ อุปกรณ์ที่ใช้โดยมิให้กำรสั่นสะเทือนของเครื่องไปกระทบกระเทือนต่อคอนกรีตสด  

ในกำรลำเลียงและเทคอนกรีตด้วยวิธีใช้แรงดันลม อุปกรณ์จะต้องเป็ นชนิดที่เหมำะสมแก่กำรใช้งำนและ  

ต้องมีสมรรถนะเพียงพอ เครื่องส่งคอนกรีตจะต้องอยู่ใกล้กบั จุดที่จะเทคอนกรีตให้มำกที่สดุ ปลำยท่อส่งจะต้องอยู่ห่ำงจำก  

จุดที่เทไม่เกิน 3.0 เมตร ท่อส่งจะต้องอยู่ในแนวรำบหรือเอียงขึน้ จำกเครื่องเมื่อกำรเทคอนกรีตสิน้ สุดจะต้องทำควำม  

สะอำดอุปกรณ์ทกุ ชิน้  

กำรเทคอนกรีตโดยใช้เครื่องสูบคอนกรีตจะกระทำได้ก็ต่อเมื่อได้รบั ควำมเห็นชอบจำก “ผูค้ วบคุมงำน”  

แล้วเท่ำนัน้ ทัง้ นีจ้ ะต้องติดตัง้ อุปกรณ์โดยมิให้กำรสั่นของเครื่องไปกระทบกระเทือนต่อคอนกรีต เครื่องสูบคอนกรีตจะต้อง  


21 

เป็ นชนิดที่เหมำะแก่กำรใช้งำน และมีสมรรถนะพอเพียงเพื่อที่จะลำเลียงและเทคอนกรีตด้วยควำมดัน เครื่องสูบจะต้องส่ง  

คอนกรีตให้ไหลไปตำมท่ออย่ำงต่อเนื่องโดยไม่เกิดโพรงอำกำศในท่อ เมื่องำนสูบคอนกรีตแล้วเสร็จและต้องกำรนำเอำ  

คอนกรีตที่คำ้ งอยู่ในท่อไปใช้ต่อ จะต้องดันคอนกรีตที่คำ้ งอยู่ออกอย่ำงระวัดระวังมิให้วสั ดุอื่นมำเจือปน ซึ่งกระทำให้  

คอนกรีตเสียคุณภำพ และต้องระมัดระวังมิให้เกิดกำรแยกตัวของส่วนผสม เมื่อดันคอนกรีตออกจนหมดแล้วให้ทำควำม  

สะอำดอุปกรณ์ทกุ ชิน้  

                     (3)        กำรทำรู และกำรฝั งอุปกรณ์พิเศษ  

ก่อนกำรเทคอนกรีต “ผูร้ บั จ้ำง” จะต้องตรวจดูต ำแหน่งในโครงสร้ำงเพื่อทำรูหรือฝังอุปกรณ์  

พิเศษ เช่น ท่อต่ำงๆ กล่องดึงสำยไฟ ฐำนรองรับท่อนำ้ เย็น รูระบำยนำ้ ท่อระบำยนำ้ รู ระบำยอำกำศ เป็ นต้น ถ้ำเท  

คอนกรีตโดยมิได้จดั เตรียมกำรดังกล่ำวไว้ก่อน “ผูร้ บั จ้ำง” จะต้องทำกำรแก้ไขให้ถกู ต้องโดยต้องออกค่ำใช้จ่ำยเอง  

อุปกรณ์พิเศษที่ตอ้ งฝังในคอนกรีต ได้แก่  

                                ­          สลักเกลียว และอุปกรณ์สำหรับฐำนรองรับท่อนำ้ เย็น และรูระบำยอำกำศ  

                                ­          รอยต่อเพื่อกำรขยำย และแผ่นฐำนรองชนิดเคลื่อนตัวได้  

                                ­          ท่อระบำยนำ้  

                                ­          ท่อร้อยสำยไฟสำหรับเสำไฟฟ้ำแสงสว่ำง (ถ้ำมี)  

                                ­          สลักเกลียว และอุปกรณ์เพื่อวัตถุประสงค์ในกำรตรวจตรำ และบ ำรุงรักษำ  

ตำมที่ “ผูค้ วบคุมงำน” กำหนด  

อุปกรณ์อื่นๆ ที่ไม่ได้กล่ำวไว้ขำ้ งต้นจะต้องฝังไว้ตำมที่แสดงไว้ในแบบแปลนหรือเป็ นไปตำมที่  

“ผูค้ วบคุมงำน” กำหนด  

                      (4)       รอยต่อก่อสร้ำง  

                                (ก) ทั่วๆ ไป  

รอยต่อก่อสร้ำงให้ทำตำมที่กำหนดไว้ในแบบแปลนหรือแผนกำรเทคอนกรีตเท่ำนั้น  

ถ้ำ “ผูค้ วบคุมงำน” ไม่ให้กำรเห็นชอบว่ำเป็ นอย่ำงอื่น  

ถ้ำไม่ได้กำหนดไว้ในแบบแปลนหรือในกรณีฉกุ เฉินจะต้องทำรอยต่อก่อสร้ำงตำมที่  

“ผูค้ วบคุมงำน” กำหนดเหล็กเส้นเอียงให้ทำตำมที่จำเป็ นเพื่อถ่ำยทอดแรงเฉือน หรือยึดหน่วงโครงสร้ำง 2

ส่วนเข้ำด้วยกัน                            
                        22     

                      (ข) กำรยึดหน่วง  

ก่อนจะเทคอนกรีตใหม่ต่อกับคอนกรีตเดิมที่แข็งตัวแล้ว “ผูร้ บั จ้ำง” จะต้องปรับ  

แบบหล่อให้แน่น ทำผิวคอนกรีตเดิมให้ขรุขระตำมที่ “ผูค้ วบคุมงำน” กำหนด ปั ดกวำดเศษมวลรวมหยำบหรือคอนกรีตที่  

ทุบออกให้หมด ขจัดวัตถุไม่พึงประสงค์รวมทัง้ ฝ้ำปูนออก หลังจำกนัน้ ทำผิวให้ชุ่มด้วยนำ้ ขัน้ ต่อไปให้ไล้ผิวคอนกรีตเดิมนัน้  

ด้วยปูนสอหรือปูนซีเมนต์บำงๆ แล้วจึงเทคอนกรีตใหม่ก่อนที่ปนู สอจะก่อตัว  

กำรเทคอนกรีตให้กระทำจำกรอยต่อหนึ่งไปยังรอยต่ออีกหนึ่งอย่ำงต่อเนื่อง เส้นขอบ  

ที่ปรำกฏขึน้ บนผิวรอยต่อทุกแห่งจะต้องได้รบั กำรตกแต่งให้ได้แนวและระดับ  

                      (5)       กำรบ่มคอนกรีต  

ผิวคอนกรีตต้องบ่มให้เปี ยกชืน้ อย่ำงทั่วถึงเป็ นเวลำอย่ำงน้อย 7 วัน หลังจำกเทคอนกรีตให้  

คลุมพืน้ และผิวของคอนกรีตด้วยผ้ำกระสอบชุ่มนำ้ ทันทีที่ตกแต่งผิวคอนกรีตเสร็จ และคลุมผ้ำกระสอบได้ตลอดระยะเวลำ  

ที่บ่มเมื่อผิวคอนกรีตแข็งพอที่จะป้องกันกำรขูดข่วนได้แล้วอำจใช้ทรำยคลุมแทน ตลอดระยะเวลำบ่มจะต้องรักษำผ้ำ  

กระสอบหรือทรำยให้เปี ยกชืน้ อยู่เสมอ ผิวคอนกรีตอื่นๆ ยกเว้นผิวที่ยงั ไม่ได้ถอดแบบหล่อให้ใช้วิธี ฉีดนำ้ หรือคลุมด้วยผ้ำ  

กระสอบให้เปี ยกชืน้ โดยตลอดจนกระทั่งสิน้ สุดกำรบ่ม แบบหล่อที่ยงั ไม่ถอดออกจำกผิวคอนกรีตต้องชุ่มชืน้ อยู่เสมอเพื่อ  

ป้องกันมิให้รอยต่อขอบแบบหล่อเสียหำย  

หลังจำกกำรบ่มได้ 7 วันให้รดนำ้ ผิวคอนกรีตเป็ นประจำทุกวันอย่ำงน้อยวันละ 2 ครัง้ อีก 2   

สัปดำห์หลังจำกกำรบ่ม ทัง้ นีเ้ พื่อป้องกันมิให้ผิวแห้ง  

                                 “ผูร้ บ
ั จ้ำง” อำจเสนอใช้เยื่อบ่มชนิดสำรผสมเหลว แทนกำรบ่มด้วยนำ้ แต่ตอ้ งได้รบั อนุมัติจำก  

“ผูค้ วบคุมงำน” ก่อนนำมำใช้  

กำรบ่มด้วยไอนำ้ จะต้องได้รบั อนุมตั ิจำก “ผูค้ วบคุมงำน”  

                      (6)        กำรรือ้ ถอนคำ้ ยันและแบบหล่อ  

                                 (ก) กำหนดเวลำรือ้ ถอน  

ห้ำมรือ้ ถอนแบบหล่อและคำ้ ยันก่อนได้รบั อนุมตั ิจำก “ผูค้ วบคุมงำน” กำรอนุมัติโดย  

“ผูค้ วบคุมงำน” จะไม่ทำให้ “ผูร้ บ


ั จ้ำง” พ้นจำกควำมรับผิดชอบต่อควำมปลอดภัยในงำนนัน้ เครื่องยึดโยงแบบหล่อให้  

ถอดออกพร้อมกับถอดแบบหล่อ ไม่ว่ำกรณีใดๆ ห้ำมทิง้ แบบหล่อไว้ในเนือ้ คอนกรีต  

ห้ำมถอดแบบหล่อสำหรับผิวคอนกรีตเปลือยในแนวดิ่งก่อนเวลำที่ “ผูค้ วบคุมงำน”  


23 

กำหนดโดยปกติไม่นอ้ ยกว่ำ 2 วัน  

ห้ำมรือ้ ถอนคำ้ ยันและแบบหล่อใต้พนื ้ คำน และคำนหลัก ก่อนคอนกรีตจะได้กำลัง  

ตำมที่กำหนด ถ้ำ “ผูร้ บั จ้ำง” ขอรือ้ ถอนก่อนเวลำ “ผูค้ วบคุมงำน” อำจอนุญำตให้กระทำได้ ทัง้ นีจ้ ะต้องมีผลกำรทดสอบ  

จำกตัวอย่ำง (ตำมข้อ 5.1.6) มำรับรอง  

                                            “ผูร้ บ
ั จ้ำง” จะต้องรือ้ ไม้แบบของโครงสร้ำงนัน้ ให้หมด ก่อนจะเทโครงสร้ำงใหม่  

เชื่อมต่อ  

                      (7)        กำรซ่อมผิวคอนกรีต  

เมื่อถอดแบบหล่อเสร็จ “ผูร้ บั จ้ำง” จะต้องแจ้งให้ “ผูค้ วบคุมงำน” มำทำกำรตรวจตรำผิว  

คอนกรีตก่อนจะทำกำรซ่อมแซมใดๆ เส้นลวดหรืออุปกรณ์โลหะยึดโยงแบบหล่อ ซึ่งโผล่ออกจำกผิวคอนกรีตต้องรือ้ หรือ  

ตัดออกให้ลึกเข้ำไปจำกผิวตกแต่งไม่นอ้ ยกว่ำ 5 เซนติเมตร รูหรือหลุมที่เกิดขึน้ ให้อดุ ด้วยปูนซีเมนต์กบั มวลรวมละเอียดใน  

อัตรำส่วนเดียวกับที่ใช้ผสมคอนกรีตสำหรับโครงสร้ำงนั้น ก่อนอุดรูตอ้ งทำควำมสะอำดผิวให้ท่วั ถ้วน และทำผิวให้ชุ่มด้วย  

นำ้ เสียก่อน  

ในกรณี “ผูค้ วบคุมงำน” เห็นว่ำมีโพรงรังผึง้ เกิดขึน้ ที่ผิวคอนกรีตมำกเกินไป “ผูค้ วบคุมงำน ”  

จะสั่งเป็ นลำยลักษณ์อกั ษรให้ “ผูร้ บั จ้ำง” ทำกำรรือ้ ทุบแล้วหล่อโครงสร้ำงส่วนนัน้ ขึน้ มำใหม่ โดย “ผูร้ บั จ้ำง” ต้องออก  

ค่ำใช้จ่ำยเอง  

                                 “ผูค้ วบคุมงำน” อำจอนุญำตให้ทำกำรซ่อมโพรงรังผึง้ และร่องรอยอื่นๆ ซึ่งมีขนำดเล็กได้แต่  

ทัง้ นีต้ อ้ งพิจำรณำถึงควำมเหมำะสมด้ำนโครงสร้ำง กำรบ ำรุงรักษำและควำมสวยงำมก่อนทำกำรอนุญำตให้กระทำ  

                      (8)        กำรเทคอนกรีต  

ห้ำมเทคอนกรีตใต้นำ้ เว้นแต่ว่ำจะได้รบั ควำมเห็นชอบและอยู่ภำยใต้กำรควบคุมดูแลของ  

“ผูค้ วบคุมงำน” และในกรณีนวี ้ ิธีกำรเทคอนกรีตให้กระทำตำมที่ระบุต่อไปนี ้  

กำรเทคอนกรีตใต้นำ้ โ ดยเทคอนกรีตลงอย่ำงระมัดระวัง เมื่อกำรเทแล้วเสร็จจะต้องได้มวล  

คอนกรีตที่อดั แน่น ภำยหลังจำกกำรเทห้ำมมิให้มีกำรรบกวนต่อคอนกรีตนัน้ และจะต้องระมัดระวังให้นำ้ บริเวณที่จะเท  

คอนกรีตอยู่นิ่ง ห้ำมเทคอนกรีตขณะนำ้ ไหล ต้องควบคุมวิธีกำรเทคอนกรีตเพื่อให้ได้ผิวที่อยู่ในแนวรำบโดยประมำณ  

คอนกรีตต้องเทให้เสร็จภำยในครัง้ เดียว ท่อเทคอนกรีตใต้นำ้ ที่ใช้จะต้องมีขนำดเส้นผ่ำน  

ศูนย์กลำงไม่นอ้ ยกว่ำ 15 เซนติเมตร ข้อต่อทุกต ำแหน่งในท่อจะต้องกันนำ้ รั่วได้ ให้ยึดท่อในลักษณะซึ่งจะทำให้ท่อ  


24 

เคลื่อนที่อย่ำงอิสระเหนือคอนกรีตที่เท และสำมำรถเคลื่อนที่ลงอย่ำงรวดเร็วเมื่อต้องกำรหยุดหรือชะลอกำรไหลของ  

คอนกรีต กำรเติมคอนกรีตลงในท่อต้องใช้วิธีซึ่งสำมำรถป้องกันไม่ให้นำ้ ชะคอนกรีตได้ ปลำยท่อล่ำงต้องให้จมอยู่ใน  

คอนกรีตตลอดเวลำและคอนกรีตต้องอยู่เต็มท่อเสมอ ค่ำควำมยุบตัวของคอนกรีตต้องอยู่ระหว่ำง 15­20 เซนติเมตร  

กำรสูบนำ้ ออกจะทำได้เมื่อคอนกรีตแข็งตัวพอต้ำนทำนต่อแรงดันใดๆ ได้แล้ว หรือให้ได้กำลัง  

รับแรงอัดอย่ำงน้อยร้อยละ 80 ของกำลังรับแรงอัดสูงสุด  

ฝ้ำปูนหรือวัสดุไม่พึงประสงค์อย่ำงอื่นให้ขจัดออกจำกผิวคอนกรีต โดยกำรขูด ฉี ดด้วยนำ้  

กะเทำะออกหรือวีธีอื่นใดซึ่งจะไม่ทำอันตรำยต่อคอนกรีต  

                      (9)        องค์อำคำรคอนกรีตหล่อสำเร็จจำกโรงงำน  

                                 “ผูค้ วบคุมงำน” จะอนุญำตเป็ นลำยลักษณ์อกั ษร ให้ผผ


ู้ ลิตองค์อำคำรคอนกรีตหล่อสำเร็จทำ  

กำรผลิตองค์อำคำรนัน้ ๆ เพื่อใช้ในกำรงำนได้ กำรอนุญำตอำจเพิกถอนได้ในภำยหลัง โดย “ผูค้ วบคุมงำน” จะเป็ นผู้  

วินิจฉัย คอนกรีตที่ใช้ผลิตองค์อำคำรหล่อสำเร็จ จะต้องเป็ นไปตำมข้อกำหนดที่กล่ำวมำแล้วในตอนต้น  

ถ้ำ “ผูค้ วบคุมงำน” ไม่ให้ควำมเห็นชอบเป็ นอย่ำงอื่น ห้ำมเคลื่อนย้ำยองค์อำคำรคอนกรีตหล่อ  

สำเร็จออกจำกที่หล่อถ้ำกำลังอัดของคอนกรีตยังไม่ถึงร้อยละ 80 ของกำลังที่อำยุ 28 วัน หรือห้ำมขนส่งองค์อำคำรนัน้ ถ้ำ  

กำลังอัดไม่ถึงร้อยละ 90 ของกำลังที่อำยุ 28 วัน  

                                 “ผูร้ บ
ั จ้ำง” จะต้องระมัดระวังในกำรลำเลียงและเคลื่อนย้ำยองค์อำคำรคอนกรีต ( Precast 

element) หล่อสำเร็จเป็ นพิเศษ  

ในกำรบรรทุกคำนหลัก และพืน้ หล่อสำเร็จให้วำงด้ำนบนและด้ำนล่ำงของคำ นหรือพืน้ ให้ถกู  

ตำแหน่งขณะขนส่งจะต้องป้องกันมิให้เกิดกำรสะเทือนต่อองค์อำคำร จุดรองรับและทิศทำงของแรงปฏิกิริยำที่เกิดขึน้ กับ  

องค์อำคำรในระหว่ำงขนส่งและเคลื่อนย้ำยให้อยู่ใกล้เคียงกับต ำแหน่งจริงบนโครงสร้ำง หำก “ผูร้ บั จ้ำง” เห็นว่ำมีวิธีอื่น  

เหมำะสมก็อำจใช้วิธีนนั้ ได้ หลังจำกที่ได้แจ้งให้ “ผูค้ วบคุมงำน” ทรำบและได้รบั ควำมเห็นชอบแล้ว ทัง้ นี้ “ผูร้ บั จ้ำง” ต้อง  

รับผิดชอบต่อผลจำกกำรกระทำนัน้ เอง หำกเกิดควำมเสียหำยขึน้ “ผูร้ บั จ้ำง” ต้องจัดหำองค์อำคำรชิน้ ใหม่แทนชิน้ ที่ “ผู้  

ควบคุมงำน” ปฏิเสธไม่ยอมรับ  

                                 “ผูร้ บ
ั จ้ำง” ต้องเสนอรำยละเอียดวิธีกำรลำเลียง และขนส่งองค์อำคำรหล่อสำเร็จ เป็ นลำย  

ลักษณ์อกั ษรต่อ “ผูค้ วบคุมงำน” เพื่อให้เห็นควำมชอบก่อนดำเนินกำร  

                                 “ผูร้ บ
ั จ้ำง” จะต้องทำเครื่องหมำยถำวรบนองค์อำคำรหล่อสำเร็จแสดงถึงประเภท/วัน/เดือน/  
25 

ปี ที่หล่อ  

                      (10)       กำรถ่ำยนำ้ หนัก  

ห้ำมถ่ำยนำ้ หนักโครงสร้ำงส่วนบนลงคำนรัดหัวเสำ เสำ หรือตอม่อ จนกว่ำ “ผูค้ วบคุมงำน”  

จะออกคำสั่งและไม่ว่ำกรณีใดๆ ก็ตำมห้ำมถ่ำยนำ้ หนักใดๆ จนกว่ำจะสิน้ สุดระยะเวลำกำรบ่มคอนกรีตนัน้ ซึ่งโดยทั่วไป  

จะต้องหลังจำกเทคอนกรีตแล้วเสร็จสมบูรณ์เป็ นเวลำอย่ำงน้อย 28 วัน  

                     (11)       กำรถมกลบวัสดุบนโครงสร้ำง  

ที่ว่ำงอันเกิดจำกกำรขุดทำโครงสร้ำงหลังจำกเทหล่อโครงสร้ำงนัน้ แล้วเสร็จ ให้ทำกำรกลบ  

และบดอัดด้วยวัสดุตำมบทที่ 5 และตำมที่ “ผูค้ วบคุมงำน” เห็นชอบ  

                     (12)       กำรทำควำมสะอำด  

เมื่อทำงำนโครงสร้ำงคอนกรีตแล้วเสร็จ ก่อนกำรตรวจรับงำนขัน้ สุดท้ำย “ผูร้ บั จ้ำง” จะต้อง  

ทำกำรรือ้ ถอนแบบหล่อและคำ้ ยันออกจนหมด ภำยในระดับ 0.50 เมตร ต่ำจำกระดับพืน้ ดินซึ่งปรับแล้ว วัสดุที่ขุดขึน้ มำ  

หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วและขยะต่ำงๆ ให้ขจัดออกจำกบริเวณที่ก่อสร้ำงให้หมดจนพืน้ ที่อยู่ในสภำพที่สะอำดเรียบร้อย เป็ นที่  

ยอมรับของ “ผูค้ วบคุมงำน”  

           1.1.8 กำรวัดปริมำณและเงื่อนไขกำรจ่ำยเงินงวด  

กำรวัดปริมำณงำนคอนกรีตให้วดั เป็ นลูกบำศก์เมตรของคอนกรีตแต่ละชนิด ตำมที่ได้ เทและได้รบั ควำม  

เห็นชอบ ในกำรคำนวณหำปริมำณให้คิดจำกแบบแปลน หรือโดยควำมยินยอมของ “ผูค้ วบคุมงำน” แต่ทงั้ นีต้ อ้ งไม่รวม  

สำหรับงำนชั่วครำว หรืองำนซึ่งจ่ำยแยกอยู่ในรำยกำรอื่นๆ แล้ว กำรวัดปริมำณงำนจะไม่หกั ปริมำณของช่องเปิ ดระบำยนำ้  

ท่อซึ่งเส้นผ่ำนศูนย์กลำงน้อยกว่ำ 30 เซนติเมตร ท่อร้อยสำยไฟ ลบมุม เหล็กเส้นเสริม เหล็กอัดแรง รอยต่อขยำย ยำงกัน  

นำ้ ตลอดจนหัวเข็มซึ่งจมอยู่ในคอนกรีต ยกเว้นงำนหล่อสำเร็จ  

งำนหล่อสำเร็จให้วดั ต่อหน่วยซึ่งติดตัง้ ในที่เรียบร้อย และเป็ นที่ยอมรับแล้ว  

รอยต่อรวมทัง้ วัสดุทงั้ วัสดุอดุ รอยต่อ ยกเว้นรอยต่อเพื่อกำรขยำยสำหรับท่อรวมฯ จะไม่วดั ปริมำณงำน  

แยกต่ำงหำกยกเว้นจะระบุบ่งชัดเจนในบัญชีแสดงปริมำณวัสดุ  

 
 
 
 
                        26 

1.2 งำนคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรง  

           1.2.1 คำอธิบำย  

งำนคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรง ครอบคลุมถึงงำนโครงสร้ำงของสิ่งก่อสร้ำงที่เป็ นคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงโดย  

รำยละเอียดแสดงตำมแบบก่อสร้ำงและข้อกำหนดประกอบแบบ ซึ่งกำหนดต้องสอดคล้องกับข้อที่ 5.1 (คอนกรีตสำหรับ  

งำนโครงสร้ำง) ของข้อกำหนดงำนก่อสร้ำงนี้  

           1.2.2 ทั่วไป  

วัสดุงำนคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงจะต้องมีคณ
ุ สมบัติดงั นี้  

           (1)       ปูนซีเมนต์  

ปูนซีเมนต์ที่ใช้ควรสอดคล้องกับข้อ ที่ 5.1.2 ข้อที่ 1 ปูนซีเมนต์ของข้อกำหนดงำนก่อสร้ำงนี้  

           (2)       ทรำย  

ทรำยที่ใช้ ควรสอดคล้องกับข้อที่ 5.1.2 ข้อที่ 2 ทรำยของข้อกำหนดงำนก่อสร้ำงนี้  

           (3)       หิน  

หินที่ใช้ ควรสอดคล้องกับข้อที่ 5.1.2 ข้อที่ 3 หินของข้อกำหนดงำนก่อสร้ำงนี้  

           (4)       นำ้  

นำ้ ที่ใช้ ควรสอดคล้องกับข้อที่ 5.1.2 ข้อที่ 4 นำ้ ของข้อกำหนดงำนก่อสร้ำงนี้  

           (5)       สำรผสมเพิ่ม (ADMIXTURES)   

สำรผสมเพิ่มหรือสิ่งอื่นใดที่ผสมเพิ่มเติม ต้องได้รบั กำรอนุมตั ิเป็ นลำยลักษณ์อกั ษรโดย “ผูค้ วบคุมงำน”  

โดย “ผูร้ บั จ้ำง” ต้องเสนอตัวอย่ำงสำรผสมเพิ่มต่อ “ผูค้ วบคุมงำน” ก่อนที่จะทำกำรทดลองส่วนผสมคอนกรีต  

            (6)       ลวดเหล็ก (PRESTRESSING WIRE)   

ลวดเหล็กที่ใช้ตอ้ งมีสมบัติทำงกลตำมมำตรฐำนผลิตภัณฑ์อตุ สำหกรรม มอก. 95: มำตรฐำนลวดเหล็ก  


 
 
 
 
 
 
 
 
27 

สำหรับงำนคอนกรีตอัดแรง ดังมีรำยละเอียดตำมตำรำงดังนี้  

 
 
 
 
 
 
 
ควำมคลำดเคลื่อนเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของลวดเหล็กที่ยอมให้ตอ้ งเป็ นไปตำมมำตรฐำน  
ผลิตภัณฑ์อตุ สำหกรรม มอก. 95: มำตรฐำนลวดเหล็กสำหรับงำนคอนกรีตอัดแรง ดังมีรำยละเอียดตำมตำรำง
ดังต่อไปนี้  
 

 
 
       
 
                             28 
(1)         ลวดเหล็กตีเกลียวชนิด 7 เส้น (UNCOATED SEVEN­WIRE STRESS­RELIEVED STRAND)    
ลวดเหล็กตีเกลียวที่ใช้ตอ้ งมีคณ
ุ สมบัติทำงกลมำตรฐำนผลิตภัณฑ์อตุ สำหกรรม มอก. 420: มำตรฐำน  
ลวดเหล็กตีเกลียวชนิด 7 เส้น สำหรับงำนคอนกรีตอัดแรง ดังรำยละเอียดตำมตำรำงต่อไปนี้  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
      
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
     
                        29 

 (2)        กำรดึงลวดเหล็กและลวดเหล็กตีเกลียวชนิด 7 เส้น  

ถ้ำไม่ได้กำหนดไว้ในแบบรำยละเอียดเป็ นอย่ำงอื่นแล้ว ลวดเหล็กและลวดเหล็กตีเกลียวจะทำกำรดึง  

หรือตัดได้ก็ต่อเมื่อค่ำแรงอัดของแท่งทรงกระบอกคอนกรีตมำตรฐำน 15 เซนติเมตร x 30 เซนติเมตร ของคอนกรีต  

โครงสร้ำงนัน้ มีค่ำไม่นอ้ ยกว่ำค่ำที่กำหนด  

                     ­         งำนอำคำร ร้อยละ 80 ของแรงอัดประลัยที่กำหนดให้  

                     ­         งำนท่ำเทียบเรือ ร้อยละ 85 ของแรงอัดประลัยที่กำหนดให้  

                     ­         งำนเสำเข็ม ร้อยละ 70 ของแรงอัดประลัยที่กำหนดให้  

แต่ทงั้ นีก้ ำรดึงลวดเหล็กและลวดเหล็กตีเกลียว จะต้องทำให้เกิดค่ำแรงอัดในคอนกรีตไม่เกินร้อยละ 60   

ของค่ำแรงอัดประลัยของคอนกรีตในขณะดึงลวด  

          (3)       ท่อร้อยลวดเหล็กและลวดเหล็กตีเกลียว  

ท่อร้อยต้องไม่ร่วั และไม่ทำปฏิกิริยำกับคอนกรีต เส้นผ่ำนศูนย์กลำงภำยในท่อต้องโตกว่ำเส้นผ่ำน  

ศูนย์กลำงของลวดเหล็ก หรือกลุ่มลวดเหล็กอย่ำงน้อย 6 มิลลิเมตร หรือมีพนื ้ ที่หน้ำตัดภำยในอย่ำงน้อย 2 เท่ำ ของ  

พืน้ ที่หน้ำตัดของลวดเหล็ก หรือกลุ่มลวดเหล็กนัน้  

          (4)        กำรอัดซีเมนต์เหลว  

ซีเมนต์เหลวที่ใช้ในกำรอัดฉีดเข้ำไปในโครงสร้ำงคอนกรีตอัดแรงนัน้ ส่วนผสมของนำ้ ต่อปูนซีเมนต์  

(W/C  RATIO)  จะต้องเหมือนกกับส่วนผสมของคอนกรีตอัดแรง และส่วนผสมของอลูมีเนียมฟลำยแอช หรือวัสดุที่ใช้ใน  

กำรนีโ้ ดยเฉพำะ ซึ่งจะต้องได้รบั ควำมเห็นชอบเสียก่อน  

กำรฉีดซีเมนต์เหลวจะต้องทำด้วยเครื่องอัดใช้แรงดัน ประมำณ 6 กิโลกรัมต่อตำรำงเซนติเมตร และจะ  

เลิกอัดฉีดซีเมนต์เหลวได้ก็ต่อเมื่อที่ปลำยอีกข้ำงหนึ่งมีซีเมนต์เหลวพุ่งไหลออกมำเต็มท่อ และพุ่งไหลสม่ำเสมอแล้วจึงอุด  

ท่อได้  

           (5)       กำรตัดลวดภำยหลังกำรอัดซีเมนต์เหลว  

กำรตัดลวดให้ตดั ได้เมื่อซีเมนต์เหลวแข็งตัวแล้วไม่นอ้ ยกว่ำ 3 วัน โดยกำรตัดทำได้ดงั นี้  

วิธีที่ 1 ใช้เครื่องตัดชนิดควำมเร็วสูง ( HIGH­SPEED  ABRASIVE  CUTTING  WHEEL)  หรือเลื่อยตัด  

(FRICTION SAW) หรือวิธีอื่นใด ที่ได้รบ
ั ควำมเห็นชอบจำก “ผูค้ วบคุมงำน” แล้ว  
                        30 

วิธีที่ 2 ใช้เครื่องตัดโลหะชนิดใส่แก๊ส ACETYLENE­OXYGEN ตัด โดยเพิ่มปริมำณของออกซิเจนเข้ำไป  

ขณะที่โลหะเริ่มหลอมละลำย แต่ควรระวังไม่ให้เปลวไฟกร ะเด็นไปถูกสมอยึด ( ANCHORAGE)     หรือเส้นลวดเหล็ก  

(TENDONS)   

           1.2.3 กำรวัดปริมำณงำน และเงื่อนไขกำรจ่ำยเงินงวด  

กำรวัดปริมำณงำนคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรง ให้วดั เป็ นลูกบำศก์เมตร หรือเมตร ตำมที่ระบุใน BILL   

OF QUANTITIES โดยรวมถึงลวดอัดแรง ท่อ DUCT อุปกรณ์ สำหรับระบบดึงลวด เหล็กเสริมงำนอัดฉีดนำ้ ปูน และงำน  

อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง  

1.3 งำนเหล็กเสริมคอนกรีต  

          1.3.1 ทั่วไป  

มำตรฐำนนีค้ รอบคลุมถึงงำนเหล็กเสริมคอนกรีตทั่วไป ยกเว้นลวดอัดแรงที่ใช้งำนคอนกรีตอัดแรง โดย  

เหล็กเสริมคอนกรีตทัง้ หมดที่จะนำมำใช้ จะต้องเป็ นเหล็กเส้นที่ผลิตโดยโรงงำนที่ได้รบั ใบรับรองคุณภำพสินค้ำตำม  

มำตรฐำนผลิตภัณฑ์อตุ สำหกรรมของกระทรวงอุตสำหกรรม  

           1.3.2 มำตรฐำนของเหล็กเสริมคอนกรีต  

เหล็กเสริมคอนกรีตที่จะนำมำใช้ในโครงกำรจะต้องได้มำตรฐำนดังนี้  

                     (1)        เหล็กเส้นกลม  

เหล็กเส้นกลมที่มีขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงเท่ำกับ 9 มม. หรือเล็กกว่ำให้ใช้เหล็กเส้น-กลมผิว  

เรียบที่ได้มำตรฐำนผลิตภัณฑ์อุตสำหกรรมของกระทรวงอุตสำหกรรมที่ มอก. 20­2543 ชั้นคุณภำพ SR 24 (เหล็กรีดซำ้ ห้ำมใช้)  

                     (2)        เหล็กข้ออ้อย  

เหล็กข้ออ้อยที่มีขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงตัง้ แต่ 10 มม. จนถึง 28 มม. ให้ใช้เป็ นเหล็กเส้นข้อ  

อ้อยที่ได้มำตรฐำนผลิตภัณฑ์อตุ สำหกรรมของกระทรวงอุตสำหกรรมที่ มอก. 24­2548 ชัน้ คุณภำพ SD  40 สำหรับ  

เหล็กข้ออ้อยที่มีขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงใหญ่กว่ำ 28 มม. ให้ใช้เหล็กข้ออ้อยชัน้ คุณภำพ SD 50   

                     (3)        ลวดผูกเหล็ก  

ลวดที่ใช้ผกู เหล็กเสริมคอนกรีตให้ใช้ลวดเหล็กเหนียวขนำดมำตรฐำนเบอร์ 18 (มอก.138­  


2535)   
                          
                  
      
                        31 

         (4)        เหล็กเสริมตำข่ำย  

ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ที่ได้มำตรฐำนอุตสำหกรรมของกระทรวงอุตสำหกรรม ที่ มอก. 737­2549   

           1.3.3 กำรตัดและกำรงอขอ  

                      (1)        เหล็กเสริมจะต้องตัดให้ถกู ขนำดและได้รบ
ั ตวำมยำวตำมที่กำหนดไว้ในแบบ กำรตัดและดัด  

จะต้องไม่ทำให้เหล็กช ำรุดเสียหำยและคุณสมบัติเปลี่ยนไป  

                      (2)       กำรงอ หำกในแบบไม่ได้ระบุถึงรัศมีของกำรงอขอเหล็ก ให้งอตำมเกณฑ์กำหนดต่อไปนี ้  

                                ­  ส่วนที่งอเป็ นครึ่งวงกลม (ใช้เฉพำะเหล็กเส้นกลม) จะต้องมีขำยื่นออกไปอีกอย่ำงน้อย 4   

เท่ำของขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของเหล็กนัน้ แต่ทงั้ นีร้ ะยะนีจ้ ะต้องไม่นอ้ ยกว่ำ 6 ซม.  

                                ­  ส่วนที่งอเป็ นมุมฉำก (ใช้กบ


ั เหล็กข้ออ้อย) จะต้องมีขำยื่นต่อออกไปอีกอย่ำงน้อย 10 เท่ำ  

ของขนำดของเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของเหล็กนัน้  

                                ­  เฉพำะเหล็กลูกตัง้ หรือเหล็กปลอกให้งอ 90 องศำ หรือ 135 องศำ โดยมีส่วนที่ยื่นออกไป  

จำกปลำยส่วนโค้งอีกอย่ำงน้อย 6 เท่ำ ของเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของเหล็ก แต่ทงั้ นีจ้ ะต้องไม่นอ้ ยกว่ำ 6 ชม.  

                                ­  ขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงที่เล็กที่สด
ุ สำหรับกำรงอขอ (วัดที่ดำ้ นในของเหล็กที่งอ) ยกเว้น  

เหล็กปลอก จะต้องไม่นอ้ ยกว่ำที่ระบุไว้ในตำรำงต่อไปนี้  

ขนำดของเหล็ก ขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงที่เล็กที่สดุ  

เหล็กกลมขนำด 6 ถึง 25 มม. 6 เท่ำ ของเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของเหล็กนัน


้  

เหล็กข้ออ้อย ขนำดไม่เกิน 25 มม. 6 เท่ำ ของเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของเหล็กนัน


้  

เหล็กข้ออ้อย ขนำดเกิน 25 มม. 8 เท่ำ ของเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของเหล็กนัน


้  
 

           1.3.4 กำรจัดวำงเหล็กเสริม  

                      (1)       ที่รองรับ  

จะต้องจัดวำงเหล็กเสริมในต ำแหน่งที่ถกู ต้องและมีที่รองรับแข็งแรงและเพียงพอที่จะคงสภำพ  

ของเหล็กให้เป็ นเส้นตรงซึ่งอำจจะเป็ นแท่นคอนกรีต ขำตัง้ โลหะ หรือเหล็กยึดเป็ นระยะ โดยจะต้องมีกำรยึดระหว่ำงที่  

รองรับกับเหล็กเส้นให้แน่นพอซึ่งอำจจะใช้วิธีผกู ด้วยลวด หรือใช้ตวั ล็อก เพื่อไม่ให้เหล็กเส้นเคลื่อนที่ไปจำกต ำ แหน่งเดิม

ในระหว่ำงกำรเทคอนกรีต  

                      
                         32 

                      (2)       ควำมหนำของคอนกรีตที่หม
ุ้ เหล็กเสริม (วัดจำกผิวเหล็ก)  

คอนกรีตที่ห่อหุม้ เหล็กเสริม (เฉพำะคอนกรีตเทในที่) จะต้องมีควำมหนำอย่ำงน้อย 7.5 ซ.ม  

           1.3.5 กำรต่อเหล็กเสริม  

                      (1)       กำรต่อเหล็กเสริมให้กระทำ ณ จุดที่กำหนดไว้ในแบบ หรือ ณ ต ำแหน่งที่กำหนดให้ในตำรำง  

ต่อไปนี้ กำรต่อเหล็กในต ำแหน่งนอกเหนือจำกนี้ ทัง้ ต ำแหน่งและวิธีกำรต่อจะต้องได้รบั ควำมเห็นชอบจำก “ผูค้ วบคุม  

งำน”  

  
 
                    
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
                        33 
   (2)        รอยต่อแบบทำบให้ใช้ระยะทำบตำรำง ดังนี ้  
 
 
 
 
 
                   
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

    (3)        สำหรับกำรต่อเหล็กเสริมถ้ำต่อโดยวิธีเชื่อมกำลังของรอยเชื่อมจะต้องไม่นอ้ ยกว่ำร้อยละ 125   

ของกำลังของเหล็กเสริมนัน้ (ยกเว้นเหล็ก SD50 ไม่อนุญำตให้มีกำรเชื่อม) ก่อนกำรทำกำรต่อด้วยวิธีนจี้ ะต้องทำตัวอย่ำง  

รอยเชื่อมเพื่อทดสอบกำลังของรอยเชื่อมก่อนโดยสถำบันที่เชื่อถือได้ โดย “ผูร้ บั จ้ำง” จะต้องเป็ นผูอ้ อกค่ำใช้จ่ำย  

                      (4)        กำรต่อเหล็ก โดยวิธีกำรอื่นๆ เช่น กำรหลอมละลำย กำรใช้ปลอกรัด หรือวิธีกำรอื่นๆ อนุญำต  

ให้นำมำใช้ได้ต่อเมื่อได้รบั ควำมเห็นชอบจำก “ผูค้ วบคุมงำน” แล้วเท่ำนั้น  

                      (5)        ณ หน้ำตัดใดๆ จะมีรอยต่อของเหล็กเสริมได้ไม่เกินร้อยละ 25 ของจำนวนเหล็กเสริมทั้งหมด  

ที่มีปรำกฏในหน้ำตัดนัน้ ยกเว้นในกรณีที่ระบุไว้ในแบบ  

                      (6)        รอยต่อทุกแห่งจะต้องได้รบ
ั กำรตรวจและอนุมตั ิ โดย “ผูค้ วบคุมงำน” แล้วเท่ำนัน้ จึงจะทำ  

กำรเทคอนกรีตหุม้ ได้  

                      (7)        เหล็กที่นำมำต่อทำบแบบวำงทำบเหลื่อมกัน จะต้องดุง้ ปลำยเหล็กมีระยะดุง้ เท่ำกับระยะทำง  

ดังกล่ำว เพื่อให้แนวศูนย์กลำงของเหล็กที่นำมำต่อกันนั้นอยู่ในแนวเดียวกัน  

                       
                                34             

                      (8)        กำรมัดเหล็กรวมเป็ นก ำต้องเพิ่มควำมยำวอีกร้อยละ 20 สำหรับเหล็กเส้นสำมเส้นมัดรวมเป็ น  

กำและเพิ่มร้อยละ 33 สำหรับเหล็กเส้นสี่เส้นมัดรวมเป็ นกำ  

           1.3.6 กำรเก็บตัวอย่ำงเหล็กเสริมเพื่อกำรทดสอบ  

                      “ผูร้ บ
ั จ้ำง” จะต้องทำกำรตัดเหล็กไม่นอ้ ยกว่ำ 3 ท่อน ยำวท่อนละ 60 ซม. ทุก 200 ตันของเหล็กแต่  

ละขนำดเป็ นอย่ำงน้อย ต่อหน้ำ “ผูค้ วบคุมงำน” แล้วจัดส่งไปทดสอบคุณภำพยังสถำบันที่ “ผูค้ วบคุมงำน” เห็นชอบ ถ้ำ  

ผลกำรทดสอบได้ผลตำมข้อกำหนดแล้วจึงอนุญำตให้ใช้เหล็กจำนวนนัน้ ได้ ค่ำใช้จ่ำยในกำรนำส่งและทดสอบตัวอย่ำง  

“ผูร้ บ
ั จ้ำง” จะต้องเป็ นผูร้ บั ผิดชอบทัง้ สิน้  

           1.3.7 กำรเปลี่ยนขนำดเหล็กเสริม  

กำรเปลี่ยนขนำดเหล็กเสริมต้องได้รบั ควำมเห็นชอบจำก “ผูค้ วบคุมงำน” ก่อน เนือ้ ที่หน้ำตัดของเหล็ก  

เสริมที่นำมำใช้แทนจะต้องเทียบเท่ำหรือมำกกว่ำเนือ้ ที่หน้ำตัดของเหล็กเสริมที่ออกแบบไว้ และในกรณีนจี้ ะนำมำคิดค่ำ  

งำนเพิ่มขึน้ ไม่ได้  

           1.3.8 แบบรำยละเอียดกำรเสริมเหล็ก  

                      “ผูร้ บ
ั จ้ำง” จะต้องจัดทำแบบก่อสร้ำงแสดงรำยละเอียดของกำรเสริมเหล็กที่จะใช้ในกำรทำงำนให้แล้ว  

เสร็จรวมทัง้ กรณีที่จะมีกำรเปลี่ยนขนำดเหล็กเสริม เพื่อขอควำมเห็นชอบจำก “ผูค้ วบคุมงำน” โดย “ผูร้ บั จ้ำง” เป็ นผูอ้ อก  

ค่ำใช้จ่ำยเอง  

 
 
   

You might also like