You are on page 1of 45

กาลังอัดประลัยที่ 28 วัน คอนกรีตผสมเสร็จ

(กก./ซม.2) ค่ายุบตัว วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด –


ทรงลูกบาศก์ ทรงกระบอก (ซม.) รูปทรงของชิ้ นทดสอบ
15x15x15 ซม. 15x30 ซม.
180 140 7.5 + 2.5
210 180 7.5 + 2.5
240 210 7.5 + 2.5
280 240 7.5 + 2.5
320 280 7.5 + 2.5 = 0.875x
350 300 7.5 + 2.5
380 320 7.5 + 2.5
กระบอก ลูกบาศก์
400 350 7.5 + 2.5
420 380 7.5 + 2.5 พบว่ากาลังของชิ้ นทดสอบแบบกระบอกมีค่าน้อย
450 400 7.5 + 2.5 กว่าแบบลูกบาศก์ ประมาณ 12.5%
210 180 10 + 2.5
240 210 10 + 2.5
280 240 10 + 2.5
320 280 10 + 2.5
350 300 10 + 2.5
380 320 10 + 2.5
400 350 10 + 2.5
420 380 10 + 2.5 ใช้ค่าการยุบตัว (slump) เป็ นตัวควบคุม
450 400 10 + 2.5
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การทดสอบการไหล

การวัดการยุบตัว (slump test), การทดสอบการไหล


(flow test), การจมของลูกบอล (ball penetration test) และ
การอัดแน่ น (compaction test) เป็ นวิธีที่ใช้โดยทัว่ ไป

อย่างไรก็ดี 2 วิธีที่เป็ นที่นิยม คือ (1) slump test และ


(2) flow test เนื่ องจากทาได้ง่าย
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– Slump Test

• ปริมาณน้ าและความสามารถในการทางานได้ของคอนกรีตสามารถ
ทดสอบได้จาก “การยุบตัวหรือ slump test”
กรวยสูง 30 ซม.

วัด slump
เครื่องมือ
ชัก slump
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– Slump Test
• ปริมาณน้ าและความสามารถในการทางานได้ของคอนกรีตสามารถ
ทดสอบได้จาก “การยุบตัวหรือ slump test”
ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2

เติมคอนกรีตในกรายประมาณ 1/3 เติมอีก 1/3 (= 2/3) แล้ว


โดยปริมาตรแล้วกระทุง้ 25 ครั้ง กระทุง้ 25 ครั้ง
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– Slump Test

ขั้นที่ 3 ขั้นที่ 4

เติมคอนกรีตจนล้นแล้ว หลังจากนั้นปาดคอนกรีตที่ล้น
กระทุ้ง 25 ครั้ง ออกให้สะอาด
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– Slump Test

ขั้นที่ 5 ขั้นที่ 6

ดึงกรายขึ้นตรงๆช้าๆ วัดระยะการยุบตัว
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– Slump Test

หากคอนกรี ตตั้งอยู่ดีจะสามารถวัดการยุบตัวได้ (รูป ก) แต่ หาก


คอนกรีตเปี ยกและเกาะกันไม่ได้ กองก็จะค่อยๆพังลงมาข้างใดข้างหนึ่ ง (รูป
ข) และถ้ามีน้ าผสมมากกองนั้ นก็จะยุบตัวไปกองกับพื้ น (รูป ค) การยุบตัว
2 แบบหลังไม่ถูกต้องและไม่เป็ นที่ตอ้ งการ

(ก) (ข) (ค)


วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– Slump Test

ค่าการยุบตัวยิ่งมากกาลังของคอนกรีตก็จะยิ่งน้อย แต่
หากคอนกรีตแห้งมากไปก็จะทาให้คอนกรีตเทเข้าแบบยาก

ทั้งนี้ คอนกรีตที่มีหินหรือกรวดที่มีขนาดโตกว่า 2 นิ้ ว


การวัดค่าความข้นเหลวด้วยวิธีนี้จะไม่ค่อยมีประสิทธิภาพ

การเริ่ มก่ อ ตั ว ของคอนกรี ตตรวจสอบได้ จ าก


“ความสามารถในการเทได้ที่สูญเสียไป” หรือ “slump loss”
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– Slump Test

(นวมิตร ลิ่วธนมงคล, คู่มือรวมข้อมูลก่อสร้าง, 2538)


วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การเยิ้มและการแยกตัว
การแยกตัวสัมพันธ์กับการลาเลียงและการเท โดย
แนวโน้ ม การแยกตั ว จะเพิ่ ม ขึ้ นเมื่ อ ขนาดของมวลรวม ,
ปริมาณของมวลรวมและปริมาณน้ าเพิ่มขึ้ น

ในกรณี ที่ ส่ ว นผสมมี ค วามเหมาะสม การแยกตั ว


สามารถลดลงได้ โดย

1. หลีกเลี่ยงการเทคอนกรีตจากที่สูง
2. จี้ เขย่าอย่างถูกวิธี และ
3. อย่าจี้ เขย่านานเกินไป
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การเยิ้มและการแยกตัว

เป็ นรูปแบบหนึ่ งของการแยกตัว เนื่ องจากน้ าที่ม ากเกินไป


ท าให้ค อนกรี ต มี พ ฤติ ก รรมเป็ นสารแขวนลอย มวลหนั ก (หิ น
ทรายและซีเมนต์) จะตกลงล่างและน้ าจะลอยขึ้ นบน

สภาพน้ าที่เยิ้ม ผิวบนหลุดร่อนเนื่องจากมีแต่น้ า


วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– ผลจากการเยิ้ม

โครงสร้าง
คอนกรีตล้วน

จาลองการเกิด bleeding ในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก


วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– ผลจากการเยิ้ม

ทั้งน้ าที่ไหลขึ้ นบน (ซึ่งผ่านรอยต่อของหินและซีเมนต์เพลสต์)


จะสร้างร่องและทาให้แรงยึดหน่ วงตกลงและเป็ นผลให้กาลังตกลงได้

ร่องน้ าระหว่างหินและซีเมนต์

Shear-bond failure
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– ปั ญหาสูก่ ารออกแบบ

เพื่ อ แก้ไ ขปั ญ หาข้า งต้น จึ ง ควรท าการ


ออกแบบส่ ว นผสมคอนกรี ต อย่ า งถู ก ต้อ ง โดย
คานึ งถึงปริมาณน้ าในธรรมชาติของหินและทราย

ปั ญหาการหดตัว
ปั ญหาการแยกตัว
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด –การ
ขนส่งและการลาเลียง

สายส่ง รถส่ง
การขนส่งคอนกรีตสามารถ
ท าได้ห ลายวิ ธี แ ละด้ว ยเครื่ อ งมื อ
หลายชนิ ด ไม่ว่าจะเป็ น รถเข็น รถ
ผสม ท่อ สายพานและปั๊ ม
shotcrete tremie

pump
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
–การขนส่งและการลาเลียง

1. การแยกตัว ซึ่ ง มัก จะเกิ ด ณ จุ ด ที่ ค อนกรี ต เปลี่ ย น


ภาชนะจากอันหนึ่ งไปอีกอันหนึ่ ง

ดังนั้ นในจุดดังกล่าวจาเป็ นต้องมีอุปกรณ์ที่จะช่วย


ให้ค อนกรี ต รวมตัว และควรหลี ก เลี่ ย งท่ อ เหลี่ ย มเนื่ อง
อาจจะเกิดการติดค้างตามมุม

2. การสูญเสียน้ า หรือ w/C ลดลง ซึ่งอาจเกิดกจากการ


ล าเลี ย งที่ มี ร ะยะทางไกล ในกรณี ข องสายส่ ง ควรมี
หลังคา
วิวิศศวกรรมคอนกรี
วกรรมคอนกรีตต: :คอนกรี
คอนกรีตตสด
สด
–แบบหล่
– การล้าองทาความสะอาด
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
–ระยะหุม้ - GOOD
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
–ระยะหุม้ - GOOD
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
–ระยะหุม้ - POOR
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
–ระยะหุม้ - POOR
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
–ระยะหุม้
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
–ระยะหุม้
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
–ระยะหุม้
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การเทคอนกรีต

คอนกรีตที่มีคุณภาพดีแต่หากเทคอนกรีตลงแบบ
ไม่ดีอาจทาให้กาลังตกลงได้ โดยก่อนที่จะเทคอนกรีต

ต้องเตรียมพื้ นที่ให้สะอาด โดยเฉพาะในกรณีที่จะ


เทคอนกรีตใหม่ลงบนคอนกรีตเก่า ต้องมีการเตรียมพื้ นที่
ให้มีความหยาบ เพื่อให้เกิดแรงเสียดทาน ทั้งนี้ พื้ นที่ควร
มีความชื้ นที่เพียงพอเพิ่มเสริมการยึดเกาะ

โดยข้อปฏิบตั ิในการเทมีดงั นี้


วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การเทคอนกรีต

จุดที่ concrete อยูค่ วรจะวางใว้ให้ใกล้กบั แบบหล่อ


มากที่สุด
ต้องไม่เทในลักษณะที่จะทาให้คอนกรีตไหลไปเอง
ทางข้าง เพราะจะทาให้เกิดการแยกตัวได้ง่าย

ควรเทคอนกรีตตรงและไม่มีมุม เพื่อป้ องกันการ


แยกตัว ในกรณีที่ใช้ท่อช่วยเทอย่าดึงจนท่อเอียงแล้วค่อยเท
ควรแน่ ใจว่าท่ออยูใ่ นแนวดิ่งก่อน
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การเทคอนกรีต

ในกรณี ที่ แ บบมี ค วามลึ ก ใช้ท่ อ หรื อ แผงกั้ น เพื่ อให้


คอนกรีตตกลงตรงๆ

ไม่ ค วรเทให้ค อนกรี ต ให้ก องเป็ นเนิ น สู ง ๆควรแบ่ ง เท


คอนกรีตออกเป็ นชั้นๆให้แผ่ทวั ่ โดยแต่ละชั้นไม่เกิน 45 ซม.
วิศวกรรมปฐพีและฐานราก : คอนกรีตสด
– การเทคอนกรีต

ไม่ควรให้คอนกรีตปะทะกับแบบหล่อโดยตรง

ท่อสั้นอย่างนี้มีโอกาสที่คอนกรีตจะ
กระทบกับแบบหล่อได้
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การทาคอนกรีตให้แน่น

การทาให้คอนกรีตแน่ นสามารถทาได้โดยการ (1) กระทุง้ ด้วยมือ


(2) การเคาะไม้แบบ และ (3) ใช้เครื่องมือสัน่ โดยวิธีสุดท้ายเป็ นวิธีที่มี
ความเหมายะสมที่สุด
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การทาคอนกรีตให้แน่น

การจี้ ควรจุ่ ม หัว ในแนวดิ่ ง โดยให้ร ะยะระหว่ า งจุ ด ที่ จุ่ ม


ประมาณ 45-75 ซม.

การสัน่ ควรทิ้ งช่วงไว้ประมาณ 5-15 วินาที และดึงหัวจุ่ม


ออกอย่างช้าๆ (ห้ามใช้วิธีลากไปมา)
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การทาคอนกรีตให้แน่น

การสั ่น ต้ อ งท าให้ ต ลอดความหนาของชั้ น


คอนกรี ต และให้จุ่ม ลึ ก ลงไปในชั้นของคอนกรี ตที่ เทไว้
ก่อน (หลายๆเซนติเมตร) ➔ เพื่อให้คอนกรีตเป็ นเนื้ อ
เดียวกัน
หัวสัน่ อาจจะกระทบกับเหล็กเสริมได้ (ต้องผูก
เหล็กเสริมให้แน่ นก่อน) แต่ไม่ควรให้หวั จี้ ไปโดนไม้แบบ
เพราะจะทาให้เป็ นรอยถายหลังจากการถอดไม้แบบแล้ว
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– ผลจากคอนกรีตที่แน่น

• เครื่ อ งสั น่ ไม่ ใ ช่ ตั ว ที่ ท าให้


ค อ น ก รี ต แ ข็ ง แ ร ง ขึ้ น
เพียงแต่ช่วยให้ผสมคอนกรีต
ไ ด้ ข ้ น ก ว่ า ซึ่ ง จ ะ ท า ใ ห้
คอนกรีตมีกาลังสูงและและ
มีคุณภาพดี
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– ผลจากคอนกรีตที่แน่น

คอนกรีตที่มีการสัน่ จะมีค่า slump จะลดลง


ได้เกือบครึ่งหนึ่ งของคอนกรีตที่ยงั ไม่สนั ่

การสัน่ ที่ ถูก ต้องจะไม่ท าให้เกิ ดการแยกตัว


การเยิ้ มแต่ ตอ้ งส่งผลให้เกิ ด การความเน่ นและเพิ่ม
แรงยึดหน่ วงระหว่างเหล็กเสริมและคอนกรีต
Honeycombing
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การบ่มคอนกรีต

คือ การบารุงรักษาคอนกรีตให้มีคุณภาพดี โดยการ


ป้ องกันไม่ให้ปริมาณน้ าที่ตอ้ งใช้ในการทาปฏิก ริยาไฮเดรชัน่
สูญเสียไวเกิน

การสู ญ เสี ย ดัง กล่ า วเป็ นผลให้ค อนกรี ต หดตัว และ


แตกร้าวได้

การบ่มน้ าทันที่คอนกรีตควรจะกระทาทันที่ หลังจาก


การเทและเมื่อคอนกรีตเริ่มมีสภาพหมาดๆ ไปจนคอนกรี ต
ได้กาลังซึ่งแล้วแต่ประเภทของซีเมนต์
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การบ่มคอนกรีต

เพื่ อ ให้ค อนกรี ต มี คุ ณ ภาพ ต้อ งบ่ ม


โดยพยามยามให้มี อุ ณ หภู มิ ป ระมาณ 22
องศา เป็ นเวลาอย่ า งน้ อ ย 3 วัน และบ่ ม
ต่อเนื่ องไป 7 วัน

วิธีการบ่มโดยทัว่ ไป มีดงั นี้

1. การขัง น้ า หรื อ หล่ อ น้ า จากการใช้ ดิ น


เหนี ย วและอิ ฐ ก่ อ โดยให้น้ า มี ค วามสู ง
ประมาณ 2 ซม. ทั้งนี้ ต้องระวังการรัว่ ซึม
และต้องแน่ ใจว่าพื้ นมีความราบ
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การบ่มคอนกรีต

2. การใช้ วั ส ดุ เ ปี ยกชื้ นคลุ ม โดยมากใช้


กระสอบป่ านและพรมน้ าให้ชุ่ม วิธีนี้ นิ ยม
เนื่ องจากง่ายและมีราคาถูก
3. การใช้ทราย ขี้ เลี่อย ฟางข้าวหรือดิน ที่ชื้น
คลุม วิธีนี้ง่ายแต่ค่อนข้างสกปรก
4. การใช้กระดาษกันซึมคลุมไว้ โดยกระดาษนี้
ต้องพรมน้ าให้เปี ยกอยูต่ ลอดเวลา ค่ อนข้าง
มีราคาแพงเพราะเป็ นกระดาษกาวเหนี ยว
2 ชั้นที่ยดึ ด้วยกาว
กระสอบคลุม
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การบ่มคอนกรีต

5. การใช้พ ลาสติ ก คลุ ม เพื่ อ ป้ อ งกัน การระเหยของน้ า ใน


คอนกรี ต (คล้ายกับใช้กระดาษ) มีน้ าหนั กเบา ท าง่าย
ราคาไม่แพงและไม่ตอ้ งคอยรดน้ า แต่ ตอ้ งระวังการฉี ก
ขาดและปลิว
6. การฉี ด น้ า พรมน้ า หรื อ รด
น้ า เพื่ อ ท าให้ค อนกรี ต ชุ่ ม
ตลอดเวลา แต่ตอ้ งไม่ให้เกิด
การเปี ยกแห้ง สลับ กัน ไปมิ
เช่นนั้นจะเกิดรอบร้าวได้
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การบ่มคอนกรีต

7. การใช้สารเคมี (curing compound) ใช้พ่นลงบนพื้ นผิวคอนกรีต เพื่อป้ องกัน


ไม่ให้น้ าระเหย ให้ผลดี ง่ายแต่คอนข้างมีราคาแพง
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การบ่มคอนกรีต

8. การใช้ไอน้ า (steam curing) เป็ น


การให้ค วามร้อ นและความชื้ นแก่
คอนกรี ต จึ ง ช่ ว ยเร่ ง ปฏิ ก ริ ย าไฮ
เดรชัน่ แต่ตอ้ งมีเนื้ อที่ในการบ่ม จึง
ไม่เหมาะกับคอนกรีตในสนามแต่จะ
เหมาะกับคอนกรีตแบบหล่อสาเร็จ
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– ระยะเวลาในการบ่ม

ระยะเวลาในการบ่ ม ขึ้ นอยู่กับ ประเภทของ


ซีเมนต์และส่วนผสมของคอนกรีต กาลังของคอนกรีต
ที่ตอ้ งการ ขนาดและรูปร่างของโครงสร้างคอนกรี ต
อุณหภูมิและความชื้ นขณะที่ทาการบ่ม

สาหรับโครงสร้า งทัว่ ไป ไม่ ค วรน้ อ ยกว่ า 7


วัน และอาจจะเป็ น 28 วัน หรื อมากกว่า นี้ สาหรับ
คอนกรีตที่มีความหนามากๆ เช่น คอนกรีตหลา ฯ
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– ความรวดเร็วในการบ่ม vs. Strength

เมื่อมีการบ่มคอนกรีต
ทันที จะพบว่ากาลังรับแรงอัด
สู ง กว่ า คอนกรี ตที่ เพิ่ ม บ่ ม
หลังจากปล่อยทิ้ งไว้หลายวัน
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– ระยะเวลาในการถอดแบบ

สาหรับปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1

(วิทวัส สิทธิกูล, เทคนิคก่อสร้าง, 2544)


ขอบคุณครับ

http://physdo.op.swu.ac.th/
เอกสารอ้างอิง
1. ภาณุ วฒ ั น์ จ้อยกลัด, เอกสารประกอบการสอน วิชา วศย
๓๒๑ การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก, ภาควิชาวิศวกรรม
โยธาและสิ่งแวดล้อม, มศว, 2558.
2. วิทวัส สิทธิกูล, เทคนิคก่อสร้าง (Construction Technique),
2544.
3. วินิ ต ช่ อ วิ เ ชี ย ร, การออกแบบโครงสร้า งคอนกรี ต เสริ ม
เหล็ก ด้วยวิธีกาลัง (Reinforced Concrete Design :
Strength Design Method), 2545.
4. นวมิตร ลิ่วธนมงคล, คู่มือรวมข้อมูลก่อสร้าง, 2538.
5. สมศักดิ์ คาปลิว, การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ ก,
2535.
6. สุขสม เสนานาญ, เขียนแบบก่อสร้าง, สานั กพิมพ์ ส.ส.ท.,
2537.

You might also like