You are on page 1of 89

สำรบัญ
หน้ำ
คำนำ ก
สำรบัญ ข
สำรบัญภำพ จ
แผนบริหำรกำรสอนประจำวิชำ ซ
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้หน่วยที่ 1 1
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 1 3
หน่วยที่ 1 กำรเตรียมงำนก่อสร้ำง 5
1.1 การสารวจหลักเขตที่ดิน 5
1.2 การปรับพื้นที่บริเวณก่อสร้างอาคาร 6
1.3 การกาหนดแนวรั้วและที่ดินข้างเคียง 8
1.4 สิ่งอานวยความสะดวกชั่วคราว 9
1.5 เครื่องมือสาหรับงานก่อสร้าง 11
บทสรุป 13
แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 1 14
เฉลยแบบทดสอบ 16
เอกสำรอ้ำงอิง 17
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้หน่วยที่ 2 18
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 2 20
หน่วยที่ 2 กำรศึกษำแบบก่อสร้ำง 21
2.1 รายการประกอบแบบ 21
2.2 แบบผังบริเวณ 22
2.3 แบบแปลน 23
2.4 แบบรูปด้าน 32
2.5 แบบรูปตัดตามยาวและรูปตัดตามขวาง 36
บทสรุป 36
แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 2 37
เฉลยแบบทดสอบ 39
เอกสำรอ้ำงอิง 40

สำรบัญ (ต่อ)
หน้ำ
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้หน่วยที่ 3 41
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 3 43
หน่วยที่ 3 กำรวำงผังอำคำร 45
3.1 การอ่านแบบก่อสร้างเพื่อการวางผังอาคาร 45
3.2 การเตรียมรายการเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ 46
3.3 ขั้นตอนการวางผังอาคาร 49
3.4 การหาศูนย์กลางเสา กาหนดตาแหน่งฐานรากอาคาร 53
บทสรุป 56
แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 3 57
เฉลยแบบทดสอบ 59
เอกสำรอ้ำงอิง 60
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้หน่วยที่ 4 62
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 4 63
หน่วยที่ 4 งำนฐำนรำกอำคำร 65
4.1 ประเภทฐานราก 65
4.2 การเตรียมหลุมฐานราก 68
4.3 งานแบบหล่อคอนกรีตฐานราก 69
4.4 งานเหล็กเสริมฐานราก 72
4.5 งานคอนกรีตฐานราก 74
บทสรุป 76
แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 4 77
เฉลยแบบทดสอบ 79
เอกสำรอ้ำงอิง 80
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้หน่วยที่ 5 81
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 5 83
หน่วยที่ 5 งำนโครงสร้ำงอำคำร 85
5.1 งานเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 85
5.2 งานคานคอนกรีตเสริมเหล็ก 93
5.3 งานพื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก 98
บทสรุป 101

สำรบัญ (ต่อ)
หน้ำ
แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 5 102
เฉลยแบบทดสอบ 104
เอกสำรอ้ำงอิง 105
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้หน่วยที่ 6 106
แบบทดก่อนหลังเรียนหน่วยที่ 6 108
หน่วยที่ 6 งำนโครงสร้ำงหลังคำ 109
6.1 รูปแบบทรงหลังคา 109
6.2 งานโครงสร้างหลังคาไม้ 112
6.3 งานโครงสร้างหลังคาเหล็ก 119
6.4 งานโครงสร้างหลังคาคอนกรีตเสริมเหล็ก 122
บทสรุป 125
แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 6 126
เฉลยแบบทดสอบ 128
เอกสำรอ้ำงอิง 129
บรรณำนุกรม 130

สำรบัญภำพ
หน้ำ
ภาพที่ 1.1 แสดงภาพ ลักษณะของหมุดหลักเขตที่ดิน 5
ภาพที่ 1.2 แสดงภาพ การปักหมุดหลักเขตที่ดิน 5
ภาพที่ 1.3 แสดงภาพ บริเวณพื้นที่เป็นป่าและสวน 6
ภาพที่ 1.4 แสดงภาพ บริเวณพื้นที่เป็นเนิน 7
ภาพที่ 1.5 แสดงภาพ บริเวณเป็นที่ลุ่มน้าขังหรือมีบ่อน้า 7
ภาพที่ 1.6 แสดงแบบ แปลนถนนที่ขออนุญาตเชื่อมกับทางหลวง 8
ภาพที่ 1.7 แสดงแบบ ระยะห่างริมเสาอาคารถึงแนวรั้ว 9
ภาพที่ 1.8 แสดงแบบ ผังสิ่งอานวยความสะดวก 10
ภาพที่ 2.1 แสดงแบบ แปลนผังบริเวณ 23
ภาพที่ 2.2 แสดงแบบ แปลนพื้น 24
ภาพที่ 2.3 แสดงแบบ แปลนฐานราก คานคอดิน พื้น 27
ภาพที่ 2.4 แสดงแบบ รูปตัด ฐานราก 28
ภาพที่ 2.5 แสดงแบบ รูปตัด คาน เสา 28
ภาพที่ 2.6 แสดงแบบ รูปตัด พื้น 29
ภาพที่ 2.7 แสดงแบบ แปลนคานรับโครงหลังคา 30
ภาพที่ 2.8 แสดงแบบ แปลนโครงหลังคา 31
ภาพที่ 2.9 แสดงแบบ รูปด้านหน้า 32
ภาพที่ 2.10 แสดงแบบ รูปด้านหลัง 32
ภาพที่ 2.11 แสดงแบบ รูปด้าน 33
ภาพที่ 2.12 แสดงแบบ รูปด้าน 33
ภาพที่ 2.13 แสดงแบบ รูปตัดตามขวาง 34
ภาพที่ 2.14 แสดงแบบ รูปตัดตามยาว 35
ภาพที่ 3.1 แสดงแบบ แปลนผังบริเวณ 46
ภาพที่ 3.2 แสดงแบบ การวางไม้ผัง 47
ภาพที่ 3.3 แสดงแบบ การวางผังอาคารโดยวิธีการวางเส้นฐาน 50
ภาพที่ 3.4 แสดงแบบ การวางผังอาคารโดยวิธีการตีไม้ผัง 52
ภาพที่ 3.5 แสดงแบบ การหาเส้นแนวแรก 53
ภาพที่ 3.6 แสดงแบบ การหาฉากโดยใช้ฉากจันทัน 54
ภาพที่ 3.7 แสดงแบบ การหาฉากโดยใช้กฎ 3:4:5 ของพิธากอรัส (Pythagors’s) 55

สำรบัญภำพ (ต่อ)
หน้ำ
ภาพที่ 3.8 แสดงแบบ ตาแหน่งศูนย์กลางเสา 56
ภาพที่ 4.1 แสดงแบบ ฐานรากแผ่เดี่ยว 65
ภาพที่ 4.2 แสดงแบบ ฐานรากตีนเป็ด 66
ภาพที่ 4.3 แสดงแบบ ฐานรากร่วม 66
ภาพที่ 4.4 แสดงแบบ ฐานรากแผ่ร่วม 67
ภาพที่ 4.5 แสดงแบบ ฐานรากวางบนเสาเข็มความฝืด 67
ภาพที่ 4.6 แสดงแบบ ฐานรากวางบนเสาเข็มรับน้าหนักปลายเข็ม 68
ภาพที่ 4.7 แสดงแบบ การขุดดินฐานรากแบบปากหลุมมีมุมลาดเอียง 69
ภาพที่ 4.8 แสดงแบบ การตีไม้เคร่าติดไม้แบบฐานราก 71
ภาพที่ 4.9 แสดงแบบ การประกบยึดไม้แบบฐานราก 71
ภาพที่ 4.10 แสดงแบบ การประกอบติดตั้งไม้แบบฐานราก 72
ภาพที่ 4.11 แสดงแบบ การเสริมเหล็กฐานราก 73
ภาพที่ 5.1 แสดงแบบ การตัดเหล็กแกนตอนงอหัวเหล็ก 86
ภาพที่ 5.2 แสดงแบบ การดัดเหล็กปลอกเสา 87
ภาพที่ 5.3 แสดงแบบ การผูกเหล็กเสริม 88
ภาพที่ 5.4 แสดงแบบ การประกอบเหล็กเสริมเสา 89
ภาพที่ 5.5 แสดงแบบ การประกอบไม้แบบเสา 91
ภาพที่ 5.6 แสดงแบบ การติดตั้งแบบเสาและการรัดปากแบบ 92
ภาพที่ 5.7 แสดงแบบ การตั้งเสาตุ๊กตาตอนหัวเสา 95
ภาพที่ 5.8 แสดงแบบ การดัดเหล็กเสริมแกนคาน และเหล็กคอม้า 96
ภาพที่ 5.9 แสดงแบบ เหล็กเสริมแกนบน แกนล่าง และเหล็กคอม้า 97
ภาพที่ 5.10 แสดงแบบ การตั้งแบบหล่อคานและพื้นคอนกรีต 99
ภาพที่ 5.11 แสดงแบบ การเสริมเหล็กพื้นชั้นบน 100
ภาพที่ 6.1 แสดงแบบ หลังคาแบน 104
ภาพที่ 6.2 แสดงแบบ หลังคาเพิงหมาแหงน 105
ภาพที่ 6.3 แสดงแบบ หลังคาปีกผีเสื้อ 105
ภาพที่ 6.4 แสดงแบบ หลังคาทรงจั่ว 106
ภาพที่ 6.5 แสดงแบบ หลังคาปั้นหยา 106
ภาพที่ 6.6 แสดงแบบ รูปตัดโครงหลังคา 107
ภาพที่ 6.7 แสดงแบบ การบากบ่าเสาเพื่อติดตั้งอะเส 109

สำรบัญภำพ (ต่อ)
หน้ำ
ภาพที่ 6.8 แสดงแบบ การบากบ่าเสาติดตั้งจันทันเอก 110
ภาพที่ 6.9 แสดงแบบ แปลนโครงหลังคา การวางอะเส อกไก่ จันทัน 111
ภาพที่ 6.10 แสดงแบบ การติดตั้งจั่วและขื่อคัด 112
ภาพที่ 6.11 แสดงแบบ การติดตั้งระยะห่างแป 112
ภาพที่ 6.12 แสดงแบบ ส่วนประกอบโครงหลังคาเหล็ก 113
ภาพที่ 6.13 แสดงแบบ การติดตั้งเหล็กยึดแป 113
ภาพที่ 6.14 แสดงแบบ คานโครงเหล็กยึดโครงหลังคา 114
ภาพที่ 6.15 แสดงแบบ แปลนการยึดทแยงโครงหลังคา 114
ภาพที่ 6.16 แสดงแบบ รูปตัดส่วนประกอบโครงหลังคาเหล็ก 115
ภาพที่ 6.17 แสดงแบบ การปูพื้นสาเร็จรูป 116
ภาพที่ 6.18 แสดงแบบ คานที่ประกบด้านข้างพื้น 116
ภาพที่ 6.19 แสดงแบบ การยาแนวร่องรอยต่อพื้น 117
ภาพที่ 6.20 แสดงแบบ การเสริมเหล็กตะแกรงและเหล็กเสริม 117
ภาพที่ 6.21 แสดงแบบ การเทคอนกรีตทับหน้า 118

แผนการจัดการเรียนรู้ประจารายวิชา
รหัสวิชา 2106-2001 ชื่อวิชา ปฏิบัติงานโครงสร้างอาคาร จานวน 6 หน่วยกิต 10 ชั่วโมง/สัปดาห์
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ 2556 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาการก่อสร้าง

1. จุดประสงค์รายวิชา
จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้
1. เข้าใจหลักการ ขั้นตอน เทคนิค วิธีการก่อสร้างอาคาร การเลือกใช้เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ปฏิบัติงาน
โครงสร้างอาคาร
2. สามารถปฏิบัติงานโครงสร้างอาคาร วางผัง งานฐานราก งานโครงสร้าง และมุงหลังคาอาคารบ้านพัก
อาศัย
3. ปฏิบัติตามกฎข้อบังคับ ความปลอดภัย สุขภาพ สิ่งแวดล้อม มุ่งประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
4. มีกิจนิสัยในการทางานอย่างมีระเบียบวินัย ความประณีต ความรอบคอบ ความปลอดภัย โดยใช้หลัก
เศรษฐกิจพอเพียง
สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้ เกีย่ วกับขั้นตอนกระบวนการ วิธีการก่ อสร้ างอาคาร
2. เตรียมความพร้อมของร่างกาย เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์งานก่อสร้างโครงสร้างอาคาร
3. ปฏิบัติงาน งานวางผัง งานฐานราก งานโครงสร้างอาคาร

คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ หลักการปฏิบัติงานโครงสร้างอาคาร ขั้นตอน เทคนิค วิธีการก่อสร้างอาคาร การ
เลือกใช้ เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ การทางานวางผัง งานฐานราก งานโครงสร้าง และมุงหลังคาอาคาร บ้านพักอาศัย

2. กาหนดการจัดการเรียนรู้ (โครงการสอน)
รหัสวิชา 2106-2001 ชื่อวิชา ปฏิบัติงานโครงสร้างอาคาร จานวน 4 หน่วยกิต 10 ชั่วโมง/สัปดาห์
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขา งานก่อสร้าง สาขาวิชา การก่อสร้าง
สัปดาห์ที่ เวลา
หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สอนครั้งที่
(ว.ด.ป.) (ชม.)
1 1 การเตรียมงานก่อสร้าง 1-2 10
1.1 การสารวจหมุดหลักเขตที่ดิน
1.2 การปรับพื้นที่บริเวณก่อสร้างอาคาร
1.3 การกาหนดแนวรั้วและเขตที่ดินข้างเคียง
1.4 สิ่งอานวยความสะดวกชั่วคราว
1.5 เครื่องมือสาหรับงานก่อสร้าง
2 2 การศึกษาแบบงานก่อสร้าง 3-4 10
2.1 รายการประกอบแบบก่อสร้าง
2.2 แบบผังบริเวณ
2.3 แบบแปลน
2.4 แบบรูปด้าน
2.5 แบบรูปตัดตามยาวและรูปตัดตามขวาง
3 3 การวางผังอาคาร 5-6 10
3.1 การอ่านแบบก่อสร้างก่อนวางผังอาคาร
3.2 การเตรียมรายการเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์
3.3 ขั้นตอนการวางผังอาคาร
3.4 การหาศูนย์กลางเสา กาหนดตาแหน่งฐานรากอาคาร
4-5 4 งานฐานรากอาคาร 7-10 20
4.1 ประเภทฐานราก
4.2 การเตรียมหลุมฐานราก
4.3 งานแบบหล่อคอนกรีตฐานราก
4.4 งานเหล็กเสริมฐานราก
4.5 งานคอนกรีตฐานราก
6-8 5 งานโครงสร้างอาคาร 11-16 30
5.1 งานเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก
5.2 งานคานคอนกรีตเสริมเหล็ก
5.3 งานพื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก
สัปดาห์ที่ เวลา
หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สอนครั้งที่
(ว.ด.ป.) (ชม.)
9 - 11 6 งานโครงสร้างหลังคา 17-22 30
6.1 รูปทรงหลังคา
6.2 งานโครงสร้างหลังคาไม้
6.3 งานโครงสร้างหลังคาเหล็ก
6.4 งานโครงสร้างหลังคาคอนกรีตเสริมเหล็ก

สัปดาห์ที่ เวลา
หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สอนครั้งที่
(ว.ด.ป.) (ชม.)
12-17 ฝึกปฏิบัติงานก่อสร้างโครงสร้างอาคารไม้ชั้นเดียว 23-34 60
18 การวัดผลประเมินผล 35-36 10
รวม 180

กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน
2. ศึกษาเอกสารประกอบการสอน รายวิชางานปฏิบัติงานก่อสร้างอาคาร
3. แบ่งกลุ่มปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้
4. ฝึกปฏิบัติตามใบงาน ของหน่วยการเรียนรู้
5. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเนื้อหา
6. ทาแบบทดสอบท้ายหน่วย เพื่อทบทวนความความรู้ความเข้าใจของนักศึกษา
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนรายวิชางานก่อสร้างอาคาร 1
2. สื่อ power point ประกอบการสอน
3. แบบก่อสร้างอาคารและรายการประกอบแบบก่อสร้าง
4. อุปกรณ์เครื่องมือฝึก ปฏิบัติงานโครงสร้างอาคาร
5. วัสดุฝึก ปฏิบัติงานโครงสร้างอาคาร
เกณฑ์การวัดและประเมินผล
การวัดผล
1. คะแนนระหว่างเรียน 80 %
1.1 คะแนนเจตคติ คุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 20 %
1.2 คะแนนทาแบบทดสอบหลังเรียน 20 %
1.3 ฝึกภาคปฏิบัติ 40 %
2. สอบปลายภาคเรียน 20 %
การประเมินผล
คะแนนระหว่าง 80 – 100 ได้ระดับ 4.0
คะแนนระหว่าง 75 – 79 ได้ระดับ 3.5
คะแนนระหว่าง 70 – 74 ได้ระดับ 3.0
คะแนนระหว่าง 65 – 69 ได้ระดับ 2.5
คะแนนระหว่าง 60 – 64 ได้ระดับ 2.0
คะแนนระหว่าง 55 – 59 ได้ระดับ 1.5
คะแนนระหว่าง 50 – 54 ได้ระดับ 1.0
คะแนนระหว่าง 0 – 49 ได้ระดับ 0.0
1

แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 1
เรื่อง การเตรียมงานก่อสร้าง
สาระสาคัญ
การเตรียมงานก่อสร้าง เป็นการเตรียมความพร้อมก่อนการก่อสร้าง เริ่มตั้งแต่การสารวจหมุด
หลักเขตที่ดินให้ตรงตามเอกสารสิทธิ์ การปรับพื้นที่บริเวณก่อสร้างให้ได้ระดับตามที่กาหนดไว้ใน
แบบแปลน กาหนดแนวรั้วและเขตที่ดินข้างเคียงเพื่อป้องกันการรบกวนเขตที่ดินข้างเคียงขณะทาการ
ก่อสร้าง การเตรียมสิ่งอานวยความสะดวกในขณะทาการก่อสร้าง และเตรียมเครื่องมือสาหรับงานก่อสร้าง
จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ทั่วไป
1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสารวจหมุดหลักเขตที่ดิน
2. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับพื้นที่บริเวณก่อสร้างอาคาร
3. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องมือสาหรับงานก่อสร้าง
4. เพื่อให้มีทักษะเกี่ยวกับการสารวจหมุดหลักเขตและการกาหนดแนวรั้ว
5. เพื่อให้มีทักษะในการกาหนดตาแหน่งสิ่งอานวยความสะดวกชั่วคราวและการเตรียมเครื่องมือ
6. เพื่อให้มีเจตคติที่ดีในการเรียนและการปฏิบัติงาน
7. เพื่อให้มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. ปฏิบัติงานสารวจหมุดหลักเขตที่ดินได้
2. ปรับพื้นที่บริเวณก่อสร้างอาคารได้
3. กาหนดแนวรั้วและเขตที่ดินข้างเคียงได้
4. อธิบายสิ่งอานวยความสะดวกชั่วคราวได้
5. จาแนกเครื่องมือสาหรับงานก่อสร้างได้
6. มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนและการปฏิบัติงาน
7. ปฏิบัติงานด้วยความรับผิดชอบและมีระเบียบวินัย
8. มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สาระการเรียนรู้
หน่วยที่ 1 ประกอบด้วยหัวข้อสาระการเรียนรู้ ดังนี้
1.1 การสารวจหมุดหลักเขตที่ดิน
1.2 การปรับพื้นที่บริเวณก่อสร้างอาคาร
1.3 การกาหนดแนวรั้วและเขตที่ดินข้างเคียง
1.4 สิ่งอานวยความสะดวกชั่วคราว
1.5 เครื่องมือสาหรับงานก่อสร้าง
2

กิจกรรมการเรียนรู้
1. แจ้งจุดประสงค์ให้ผู้เรียนเข้าใจก่อนเรียน
2. ให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่1
3. ครูบรรยายนาเข้าสู่บทเรียน
4. ผู้เรียนศึกษาเนื้อหาความรู้ในเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่1 เรื่อง การเตรียมงานก่อสร้าง
5. ผู้เรียนและครู ร่วมกันสรุปเนื้อหาประกอบสื่อ
6. การอภิปรายและการซักถามเกี่ยวกับบทเรียนร่วมกัน
7. ผู้เรียนแบ่งกลุ่มๆ ละ 6 คน ปฏิบัติงานตามใบงานที่1- 2
8. ผู้เรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1. เอกสารประกอบการสอนวิชางานก่อสร้างอาคาร 1
2. แผ่นใสประกอบการบรรยาย
3. แผ่นภาพ
4. แบบก่อสร้างอาคารและรายการประกอบแบบก่อสร้าง

การวัดผล ประเมินผล
1 วัดผลตามจุดประสงค์การเรียนรู้
2 วิธีวัด ประเมินผล
2.1 สังเกต เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม ในการเรียนรู้และปฏิบัติงาน
2.2 สังเกต และตรวจผลงาน จากการปฏิบัติงานตามใบงาน
2.3 ประเมินผลจากแบบทดก่อนหลังเรียน
2.4 ประเมินผลจากแบบทดสอบหลังเรียน

3. เครื่องมือวัด ประเมินผล
3.1 แบบประเมิน เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์
3.2 แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน
3.3 แบบทดสอบก่อนเรียน
3.4 แบบทดสอบหลังเรียน
3

แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 1
เรื่องการเตรียมงานก่อสร้าง เวลา 10 นาที
คาชี้แจง 1. แบบทดสอบมีทั้งหมด 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน
2.ให้นักศึกษาทาเครื่องหมาย  ในตัวเลือกที่เห็นว่าถูกต้องที่สุดลงในกระดาษคาตอบ
1. การเตรียมสถานที่ ที่จะก่อสร้างอาคารข้อใดต่อไปนี้มีความสาคัญที่สุด
ก. มีทางเข้า – ออกอยู่ในบริเวณชุมชน
ข. มีที่กองเก็บวัสดุ หิน ทรายจานวนมาก
ค. สถานที่บริเวณงานก่อสร้างมีความกว้าง
ง. ตรวจสอบหมุดหลักเขตที่ดินตรงตามเอกสารสิทธิ์
2. ข้อความต่อไปนี้ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. หมุดหลักเขตที่ดินเจ้าของสามารถเคลื่อนย้ายได้เพื่อความเหมาะสม
ข. การตรวจสอบแนวเขตที่ดินเป็นการตรวจสอบพื้นที่ให้ตรงเอกสารสิทธิ์การถือครอง
ค. การเตรียมสถานที่งานก่อสร้างหมายถึงการศึกษาสภาพสถานที่ ที่จะทาการปลูกสร้างอาคาร
ง. การเตรียมสถานที่ก่อสร้างอาคารควรให้เจ้าของชี้บริเวณที่จะปลูกสร้างป้องกันการสร้างผิดที่
3. งานก่อสร้างอาคารหมายถึง งานก่อสร้างแบบใด
ก. งานก่อสร้างอาคารตามแบบก่อสร้าง
ข. งานก่อสร้างอาคารตามความคิดของเจ้าของอาคาร
ค. งานก่อสร้างอาคารตามความถนัดของช่างผู้ก่อสร้าง
ง. งานก่อสร้างอาคารตามแบบก่อสร้างและรายการประกอบแบบก่อสร้าง
4.งานก่อสร้างติดเขตที่ดินข้างเคียงตามเทศบัญญัติแนวอาคารริมเสา ห่างจากแนวรั้วเท่าไร
ก. ไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร
ข. ไม่น้อยกว่า 2.00 เมตร
ค. ไม่น้อยกว่า 2.50 เมตร
ง. ไม่น้อยกว่า 3.00 เมตร
5. การถมดินบดอัดดินในบริเวณเป็นที่ลุ่มน้าขังฯ การบดอัดดินให้แน่นเป็นชั้นๆละ เท่าไร
ก. 40 เซนติเมตร
ข. 50 เซนติเมตร
ค. 60 เซนติเมตร
ง. 70 เซนติเมตร
6. ในบริเวณงานก่อสร้างข้อใดต่อไปนี้ไม่ได้แสดงอยู่ในผังสิ่งอานวยความสะดวก
ก. บ้านพักคนงาน
ข. โรงเก็บวัสดุ
ค. โรงอาหาร
ง. ห้องน้า ห้องส้วม
4

7. ในกรณีก่อสร้างอาคาร ที่มีบริเวณติดกับเขตที่ดินข้างเคียง ควรใช้ฐานรากแบบใด


ก. ฐานรากเดี่ยว
ข. ฐานรากร่วม
ค. ฐานรากตีนเป็ด
ง. ฐานรากแผ่
8. ระบบไฟฟ้าชั่วคราวที่ใช้ในงานก่อสร้าง เป็นแบบระบบใด
ก. ระบบไฟฟ้ากาลัง
ข. ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง
ค. ระบบไฟฟ้าสาธารณะ
ง. ระบบไฟฟ้ากาลังและระบบไฟฟ้าแสงสว่าง
9. ข้อใดต่อไปนี้คือเครื่องมือประจาตัวช่างไม้
ก. รอก
ข. ค้อนหงอน
ค. ค้อนปอนด์
ง. ประแจดัดเหล็ก
10. เครื่องโม่ผสมคอนกรีต ใช้ผสมคอนกรีตใส่ปูนซิเมนต์ผสมครั้งละเท่าไร
ก. 50 กิโลกรัม
ข. 70 กิโลกรัม
ค. 90 กิโลกรัม
ง. 100 กิโลกรัม
5

หน่วยที่ 1
การเตรียมงานก่อสร้าง
การก่อสร้างอาคาร คืองานก่อสร้างที่ระบุในแบบก่อสร้างอาคาร และรายการประกอบ แบบ
เอกสารแนบสัญญา รวมทั้งงานประกอบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้างอาคาร การทางานจึงต้องมี
ลาดับขั้นในการปฏิบัติงาน เพื่อให้ประหยัดค่าใช้จ่าย ลดเวลาการทางาน เกิดผลงานที่ดี มีคุณภาพ
งานก่อสร้า งเสร็จ ตรงตามเวลาที่กาหนด การเตรียมสถานที่ก่อ สร้างอาคาร และการศึกษาแบบ
ก่อสร้างอาคารรายการประกอบแบบ เอกสารแนบสัญญา เพื่อเตรียมขั้นตอนการก่อสร้างอาคาร
และการจัด เตรียมเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ให้เหมาะสม กับการดาเนินงานก่อสร้างอาคาร
การเตรียมสถานที่ก่อสร้างอาคาร หมายถึง การศึกษาสภาพบริเวณสถานที่ที่จะทาการปลูก
สร้ างอาคาร เพื่อสารวจ ตรวจสอบ แนวเขตที่ดิน ให้ต รงกับ เอกสารสิท ธิ์ถือ ครองที่ดิน โดยขอ
รายละเอีย ดจากเจ้า ของที่จ ะปลูก สร้า งอาคาร เช่น เอกสารสิท ธิ ์ถ ือ ครองที ่ดิน โฉนดที่ด ิน มา
ประกอบกับ แบบการก่อสร้า งอาคาร รายการประกอบแบบ ใบอนุญ าตปลูกสร้า งอาคารและให้
เจ้า ของที่จ ะปลูกสร้า งอาคารมาชี้บ ริเวณและแนวเขตที่ดิน เพื่อ เป็น การยืน ยัน และป้อ งกัน การ
ก่อสร้างอาคารผิดพื้นที่ เมื่อทาการสารวจ ตรวจสอบเรียบร้อยแล้ว ควรดูแลหมุดแนวเขตให้อยู่
ในสภาพเดิมตรงตามรังวัด แล้วจึงทาการปรับสภาพพื้นที่ เช่นการตัดหรือถมดินบริเ วณให้ ไ ด้ ร ะดั บ
ดิ น ตามแบบที่ กาหนดการกาหนดแนวรั้วและที่ดินข้างเคียงตลอดจนสาธารณูปโภคที่มีความจาเป็นใน
การอานวยความสะดวกระหว่างทาการก่อสร้างอาคาร
1.1. การสารวจหลักเขตที่ดิน
การสารวจตรวจสอบแนวหมุดหลักเขตที่ดิน เป็นการตรวจสอบพื้นที่ให้ตรงกับเอกสารสิทธิ์ใน
การถือครองที่ดิน โฉนดที่ดิน ด้วยการตรวจสอบหมุดหลักเขตที่ดินโดยการนาชี้หมุดหลัก เขตของ
เจ้าของที่ดินที่จะปลูกสร้างอาคารว่าหมุดหลักเขตที่ดิน ที่ปักไว้แต่เดิมมีตัวเลขหรือตัวอักษรตรงกับ
ตัวเลขหรือตัวอักษรในเอกสารสิทธิ์การถือครองที่ดิน โฉนดที่ดินหรือไม่ และหมุดหลักเขตที่ดินถูกต้อง
ตรงตามเอกสารสิทธิ์การถือครองที่ดินโฉนดที่ดิน ไม่มีการเคลื่อนย้าย หรือหากไม่แน่ใจควรให้เจ้าของ
ที่ดิน ทาการติดต่อเจ้าพนักงานที่ดิน เพื่อทาการรังวัดตรวจสอบแนวหมุดหลักเขตที่ดิน พร้อมทั้ง
ให้เจ้าของที่ดินข้างเคียงเข้าร่วมทาการ สารวจตรวจสอบแนวเขตที่ดิน และลงนามรับรองแนวเขต
ที่ดิน

ภาพที่ 1.1 แสดงภาพ ลักษณะของหมุดหลักเขตที่ดิน ภาพที่ 1.2 แสดงภาพ การปักหมุดหลักเขตที่ดิน


ที่มา : ภาพถ่ายโดยทะยาน จงณรงค์ชัย
6

การรักษาหมุดหลักเขตที่ดิน เจ้าของที่ดินข้างเคียงเป็นผู้มีผลประโยชน์ร่วมกันในการรักษา
หมุดหลักเขตที่ดิน ไม่ให้มีการเคลื่อนย้ายหมุดหลักเขตที่ดินโดยจะต้องคอยตรวจสอบความมั่นคงของ
หมุดหลั กเขตที่ดินให้อยู่ตรงตามตาแหน่ง ตรงกับเอกสารสิทธิ์ถือครองโฉนดที่ดิน ซึ่งอาจเกิดจาก
คนทาการขุดย้ายหมุดหลักเขตที่ดิน หรือการถมดินทับ และจากธรรมชาติ ฝนตก
กัดเซาะ น้าพัดพาหน้าดิน มาทับถม หรือพัดพาดินที่หมุดหลักเขตที่ดินไปจนหมุดหลักเขตหลุดและ
เคลื่อนย้ายได้ การเคลื่อนย้ายหมุดหลักเขตที่ดิน ที่กระทาโดยคนจะเจตนาหรือไม่ ถือว่ามีความผิด
ตามกฎหมายที่ดินที่กาหนดไว้ว่าหลักเขตหรือหมุดหลักเขตที่ดินเป็นสมบัติของทางราชการ ห้ามบุคคล
ใดรื้อถอน เคลื่อนย้าย หรือทาลาย และตัวหมุดหลักเขตที่ดินต้องปักอยู่บนพื้นดินเท่านั้น
1.2 การปรับพื้นที่บริเวณก่อสร้างอาคาร
ในการก่อ สร้า งอาคารจะต้อ งตรวจสภาพพื ้น ที ่แ ละบริเ วณที ่จ ะท าการก่อ สร้า งอาคา ร
เนื่องจากสภาพพื้นที่ในแต่ละแห่งมีสภาพที่แตกต่างกัน เช่น บริเวณพื้นที่เป็นป่าและสวน ที่รกด้วย
หญ้า วัช พืช ต้น ไม้ใ หญ่ บริเ วณพื้น ที่ ต ามเนิน เขา บริเ วณพื้น ที่ลุ่ม ที่มีน้าขัง หรือ บ่อ น้า ซึ่ง จาก
สภาพบริเ วณพื้น ที่ ที่ต่า งกัน จึง จาเป็น ต้อ งทาการปรับ พื้น ที่ใ ห้ไ ด้ค่า ระดับ ±0.000 ตามแบบ
ก่อสร้างให้พร้อมก่อนที่จะดาเนินการก่อสร้างอาคารต่อไป
1.2.1 บริเวณพื้นที่เป็นป่าและสวน
ส่ ว นมากบริ เวณพื้น ที่เป็น ป่ า และสวนจะเป็น บริเ วณที่มีห ญ้า วัช พืช ปกคลุม พื้นที่ บาง
แห่งเป็นที่ลุ่มมีน้าขังชุ่มชื้นตลอด มีต้นไม้ใหญ่ขึ้นเช่น ต้นมะม่วง ต้นมะขาม ต้นมะขามเทศ ต้นมะพร้าว
ต้นจามจุรี ต้นไม้เบญจพรรณทั่ว ๆ ไปทาให้กีดขวางการปรับพื้นที่และถมดิน จึงจาเป็น ต้องตัดต้นไม้
ใหญ่ออกก่อนทาการถมดิน และเมื่อตัดต้นไม้ใหญ่ออกแล้ว ให้ทาการขุดรากถอนโคนตอต้นไม้ ออกด้วย
ก่อนทาการถมดินปรับพื้นที่ให้ได้ระดับ

ภาพที่ 1.3 แสดงภาพ บริเวณพื้นที่เป็นป่าและสวน


ที่มา : ภาพถ่ายโดยทะยาน จงณรงค์ชัย
1.2.2 บริเวณพื้นที่เป็นเนิน
ในบริเวณพื้นที่ก่อสร้างอาคาร ควรให้คนงานจัดการถางหญ้าและวัชพืชให้เตียนทั่วบริเวณ
เพื่อทาการตรวจสอบค่าระดับพื้นดินว่ามีค่าระดับแตกต่างกันมากน้อยแค่ไหน บางพื้นที่อาจจะเป็นเนิน
สูงกว่าระดับปกติทั่วไปจากธรรมชาติ หรืออาจเป็นเพราะมีการขนเอาเศษวัสดุ เศษหิน เศษปูนมาทิ้งไว้
ในบริเวณพื้นที่ ในการปรับบริเวณที่พื้นที่ ที่มีค่าระดับที่ต่างกันมาก ควรจะนาเครื่องจักรมาช่ว ยใน
7

การปรับพื้นที่ดิน โดยการตัดดินจากบริเวณที่เป็นเนินไปถมบริเวณที่เป็นที่ลุ่ม เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย


ส่วนที่เป็นเศษวัสดุหินปูนถ้ามีขนาดใหญ่จะต้องทาการขนย้ายนาไปทิ้งบริเวณอื่น

ภาพที่ 1.4 แสดงภาพ บริเวณพื้นที่เป็นเนิน


ที่มา : ภาพถ่ายโดยทะยาน จงณรงค์ชัย
1.2.3 บริเวณเป็นที่ลุ่มมีน้าขังหรือบ่อน้า
บริเวณนี้ก่อนที่จะทาการถมดินจะต้องทาการวิดน้าบริเวณที่ลุ่มออกให้หมดก่อน แล้ว
ควรใช้เครื่องจักรกล ขุดลอกโคลนตม เศษหญ้า เศษวัชพืชออกจากบริเวณให้หมด และทาการตาก
และผึ่งหน้าดินบริเวณที่จะถมให้แห้งเสียก่อนจึงทาการถมดิน เพื่อเป็นการป้องกันการทรุดตัวของดิน
บริเวณที่มีน้าขังและการถมดินให้ทา การบดอัดดินเป็นชั้นๆ ละ 40 เซนติเมตร แต่ละชั้นให้ใช้ เครื่อง
จั ก รกล ในการบดอั ด ทาให้ แ น่ น ตามหลั ก วิ ช าการจนได้ ร ะดั บ ดิ น ±0.000ตามแบบก่อสร้าง

ภาพที่ 1.5 แสดงภาพ บริเวณเป็นที่ลุ่มน้าขังหรือมีบ่อน้า


ที่มา : ภาพถ่ายโดยทะยาน จงณรงค์ชัย
1.2.4 บริ เ วณที่ ติ ด กั บ ถนนหรื อ ทางหลวง
งานก่ อ สร้ า งอาคารจาเป็ น ต้ อ งทาการขออนุญาตสร้างถนนเชื่อมกับถนนหรือทาง
หลวงโดยต้องเขียนแบบแปลนแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ของ ตาแหน่งในการขอต่อเชื่อมโดยต้องบอก
ขนาดความกว้า ง ความยาวตามแบบจากริมรั้ว ถึง แนวถนน แสดงชนิดของการสร้างถนน ว่าเป็น
ถนนคอนกรีตหรือแอสฟัลต์ ถ้าเป็นถนนอยู่ในเขตรับผิดชอบของเทศบาลต้อ งทาเรื่อ งขออนุญ าต
เทศบาล แต่ถ ้า เป็น ทางของกรมทางหลวงต้อ งขออนุญ าตกรมทางหลวงก่อ น ที ่จ ะท าการ
8

ก่อ สร้า งทางเชื่อ ม และการที่จ ะทาการสกัด หรือ ขุด ถนนจะต้องขออนุญาตก่อนและต้อ งปฏิบัติ


ตามเงื่อนไขที่หน่วยงานควบคุมกาหนด

บริ เวณพื้นที่ปลูกสร้างอาคาร

ทางที่เชื่อมต่อกับทางหลวง
3.00

6.00

ทางหลวง

มาตราส่ วน 1:100

ภาพที่ 1.6 แสดงแบบ แปลนถนนที่ขออนุญาตเชื่อมกับถนนทางหลวง


1.3 การกาหนดแนวรั้วและเขตที่ดินข้างเคียง
การกาหนดแนวรั้วและการป้องกันเศษวัสดุตก หล่นใส่ในเขตที่ดินข้างเคียง งานก่อสร้างอาคาร
ต้องให้ความสาคัญ ในเรื่องนี้ เพื่อป้องกันเหตุพิพาทกันกับเจ้าของที่ดินข้างเคียง ทั้งในระหว่างงาน
ก่อสร้างและหลังการก่อสร้างแล้วเสร็จ ควรดาเนินการดังนี้
1.3.1 การกาหนดแนวรั้ว เพื่อ ไม่ใ ห้เ กิด กรณีพิพ าทกับ ที่ดิน ข้า งเคีย ง ควรกาหนดแนวรั้ว
และแนวก่อสร้าง ทาการการตรวจสอบแนวหมุดหลักเขตที่ดินให้ตรงกันทั้งสองฝ่ายหรือ และจัดทา
เอกสารไว้หลักฐาน ลงนามรับรองเอกสาร เรื่องทาการตกลงร่วมกัน ถึงการแนวเขตที่ดินข้างเคียง ก่อน
ดาเนินการก่อสร้างแนวรั้วชั่วคราว หรือในงานก่อสร้างรั้วคอนกรีต ตาแหน่งหมุดหลักเขตที่ดินควร
อยู่กึ่งกลางแนวรั้วเพื่อให้ทั้งสองฝ่ายได้ ใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเต็มกรรมสิทธิ์
1.3.2 ที่ดิน ข้า งเคีย ง งานก่อ สร้า งอาคารที่ติด กับ เขตที่ดิน ข้า งเคีย ง ตามเทศบัญ ญัติก าร
ก่อสร้างอาคาร แนวริมเสาของอาคาร จะต้องห่างจากแนวริมรั้วไม่น้อยกว่า 2.00 เมตร เว้น แต่ด้านที่
อยู่ชิดริมรั้ว ไม่มีหน้าต่างซึ่งเป็นเพียงช่องแสงเท่านั้น หากระยะในแบบแปลนผังบริเวณไม่ถูกต้องตาม
เทศบัญ ญัติ จะไม่ไ ด้รับ พิจ ารณาอนุญ าตก่อ สร้า งได้ เจ้า ของอาคารหรือ ผู้ยื่น แบบขออนุญ าต
จะต้องทาการแก้ไขระยะในแบบแปลนให้ถูกต้องก่อน จึงจะได้รับการอนุญาตจากเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น
เว้นแต่กรณีที่เจ้าของเขตที่ดินข้างเคียง เห็นชอบให้ก่อสร้างอาคารได้ และลงนามลายมือชื่ออนุญาต
ให้ก่อสร้างได้ เป็นลายลักษณ์อักษร
9

ข้อควรระวังเกี่ยวกับงานก่อสร้างอาคารที่อยู่ใกล้กับที่ข้างเคียงคือ
1) ฐานรากจะต้องไม่ล้าเข้าไปในเขตที่ข้างเคียง หากจาเป็นที่ต้องทาฐานรากติดกับเขตที่ดิน
ข้างเคียง ควรใช้ฐานรากแบบตีนเป็ด แล้วนาส่วนที่ฐานแผ่เข้าด้านในอาคาร
2) เศษวัส ดุ ไม่ควรทิ้งหรื อให้ล่วงล้าเข้าไปเขตที่ข้างเคียง ควรตีไม้กั้นรั้วรอบบริเวณงาน
ก่อสร้าง หรือการตีคร่าวกรุสังกะสีลาดเอียงรองรับเศษวัสดุ ที่จะตกใส่ที่ข้างเคียง
3) ต้องไม่ทาให้อาคารที่ข้างเคียงได้รับผลกระทบเนื่องจากการถมดิน หรือการตอกเสาเข็ม
ก 4857
2.00 m.
ระยะห่างจากจุดกลางเสา
F GB2 F ต้นริ มถึงแนวรั้ว 2.00
C C
GS GB2
F GB1 F
C C
แนวรั้วที่ดินข้างเคียง
GB1 GS GB2

F GB1 F
C C

มาตราส่วน 1:50

ภาพที่ 1.7 แสดงแบบ ระยะห่างริมเสาอาคารถึงแนวรั้ว


1.4 สิ่งอานวยความสะดวกชั่วคราว
1.4.1 สิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ
1) สานักงานชั่วคราว จะต้องสร้างสานักงานชั่วคราวในบริเวณสถานที่ก่อสร้าง สาหรับ
เป็ น ที่ทางานของผู้ รั บ จ้ างและผู้ ควบคุมงานก่อสร้าง ประกอบด้ว ยอุป กรณ์ป ระกอบ สานักงานที่
จาเป็น เช่น โต๊ะทางาน โต๊ะเขียนแบบ ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง โทรศัพท์ โทรสาร ตู้เอกสาร ห้องน้าห้องส้วม
เป็นต้น
2) บ้านพักคนงาน จะต้องสร้างบ้านพักคนงาน ห้องน้า ห้องส้วมและสิ่งสาธารณูปโภคที่
จาเป็ น ในบริ เ วณที่ ผู้ ค วบคุ ม กาหนด และดู แ ลให้ อ ยู่ ใ นสภาพปลอดภั ย ถู ก สุขลักษณะ มีการขจัด
ขยะมูลฝอยเป็นประจา
3) โรงงาน โรงเก็บวัสดุ จะต้องจัดให้มีโรงงาน โรงเก็บวัสดุอุปกรณ์เพื่อเก็บ และป้องกัน
ความเสียหายของวัสดุและอุปกรณ์ทุกชนิดที่นามาใช้ในการก่อสร้าง โดยให้ มีขนาดและความเหมาะสม
เพีย งพอกับ ความต้อ งการ และไม่ค วรนาวัส ดุ อุป กรณ์ เครื่อ งมือ ต่า ง ๆที่ไ ม่ไ ด้ นามาใช้ในงาน
ก่อสร้างอาคารมาเก็บไว้ในโรงเก็บวัสดุ
10

4) ที่กองเก็บวัสดุ จะต้องจัดเตรียมที่กองเก็บวัสดุต่างๆ ที่จะต้องใช้ในการงาน


ก่อสร้างเพื่อให้เป็นระเบียบเรียบร้อยและเกิดการเสียหายน้อยที่สุดเช่น การกองเก็บหิน ทรายหยาบ
ทรายละเอียด อิฐมอญ อิฐคอนกรีตบล็อก และไม้แบบเป็นต้น

ห้องน้ า ห้องส้วม
บ้านพักคนงาน
ห้องน้ า
อาคารที่ปลูกสร้าง ห้องส้วม
โรงงาน
โรงเก็บ สานัก
วัสดุ งาน
ชัว่ คราว
อุปกรณ์

ที่กองเก็บวัสดุ

ทางเข้า
มาตราส่ วน 1:150

ภาพที่ 1.8 แสดงแบบ ผังสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ


1.4.2 ไฟฟ้าที่ใช้ในงานก่อสร้าง
ควรจัดให้มีระบบการใช้ไฟฟ้าดังนี้
1) ระบบไฟฟ้าชั่ ว คราว ที่ใช้ใ นงานก่อสร้างทั้งในระบบไฟฟ้า กาลังและระบบไฟฟ้า
แสงสว่า งผู้รับ จ้างจะต้อ งขออนุญาตติด ตั้ง ระบบไฟฟ้าชั่ว คราวจากการไฟฟ้าฯ รวมทั้ง ค่าใช้จ่าย
อุปกรณ์ทั้งหลาย ค่ากระแสไฟฟ้า ค่าบารุงรักษา ค่ารื้อถอน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่ต้องจัดหาหรือคิด
เผื่อไว้ การจัดให้ มีระบบไฟฟ้าชั่วคราวที่ใช้ในงานก่อสร้างดังกล่าว รวมไปถึงส่ว นที่เป็น งานของผู้
รับจ้างช่วงและผู้รับจ้างอื่นด้วย
2) ความปลอดภัยจากการใช้ไฟฟ้า ควรจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ และดาเนินการติดตั้ง ระบบ
ไฟฟ้าชั่วคราวที่ใช้ในงานก่อสร้าง ให้มีความปลอดภัยแก่ชีวิตและทรัพย์สิน รวมทั้ งระบบการป้องกัน
การลัดวงจรและการตัดตอนไฟฟ้าได้เมื่อเกิดอุบัติเหตุ ทั้งนี้ต้องเป็นไปตามระเบียบและข้อบังคับ
ของการไฟฟ้าฯ และหรือมาตรฐานความปลอดภัยตามกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ด้วย
3) ขนาดของกระแสไฟฟ้าชั่ว คราว ที่ใช้ใ นงานก่อ สร้างให้เป็นความรับผิดชอบของผู้
รับ จ้า งที่จ ะต้อ งจัด ให้มีเ พีย งพอกับ การใช้ ในส่ว นที่เ ป็น งานของผู ้รับ จ้า ง ผู ้รับ จ้า งช่ว ง และ
ผู้รับ เหมารายอื่น ที่ทางานในงานก่อ สร้า งนี้ใ ห้ใ ช้ร่ว มกัน ได้ และอาจจะต้อ งขอเพิ่ม เติม ขนาด
กระแสไฟฟ้าชั่ ว คราวจากการไฟฟ้า ฯ ให้ เหมาะสมได้ตามความจาเป็น โดยผู้ รับจ้างจะเป็น
ผู้ รับภาระค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น
1.4.3 น้าประปาที่ใช้ในการก่อสร้าง
จะต้องจัดให้มีระบบน้าประปาชั่วคราว เพื่อใช้ในงานก่อสร้างตั้งแต่เริ่มงานจนงานแล้ว
เสร็จ รวมทั้งการทดสอบระบบสุขาภิบาลทั้งหมดโดยผู้รับจ้างจะเป็นผู้ออกค่าใช้จ่าย ตั้งแต่การขอ
อนุญาต ติดตั้งระบบน้าประปาจากการประปาฯ รวมทั้งค่าใช้จ่ายอุปกรณ์ทั้งหลาย ค่าน้าประปา ค่า
11

บารุงรักษา ค่ารื้อถอนและค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่ต้องจัดหาหรือคิดเผื่อไว้ การจัดให้มีระบบน้าประปา


ชั่วคราวรวมไปถึงงานที่เป็นงานของผู้รับจ้างเอง และในส่วนของของผู้รับจ้างรายอื่นๆ ด้วย

1.5 เครื่องมือสาหรับงานก่อสร้าง
งานก่อสร้างอาคารนอกจากฝีมือของช่างผู้ที่ปฏิบัติงานก่อสร้างอาคารแล้วเครื่องมือก็เป็น ส่วน
หนึ่งของการทางาน งานก่อสร้างอาคารมีช่างหลายสาขาประกอบกันอยู่ เช่น ช่างไม้แบบ ช่างไม้
โครงสร้าง ช่างปูน ช่างเหล็กเสริมคอนกรีต ช่างเชื่อมเหล็กโครงสร้างฯ จึงได้แบ่ง เครื่องมือที่ใช้ในงาน
ก่อสร้างอาคารเป็น 3 ประเภทดังนี้
1.5.1 เครื่ อ งมื อ ประจางานก่ อ สร้ า ง
เป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ มี ข นาดใหญ่ มี ร าคาแพงหรื อ เป็นเครื่องมือที่ใช้ส่ว นรวม มีการแตก
หัก ช ารุด เสีย หายง่า ย ผู ้ร ับ จ้า งต้อ งเป็น ผู ้จ ัด หาไว้ใ ห้ช ่า ง และคนงานเบิก ใช้ใ นงานก่อ สร้า ง
ค่าใช้จ่ายในส่วนของเครื่องมือนี้ ผู้รับจ้างจะต้องคิดเผื่อไว้ในแต่ล ะงานและสะสมเครื่องมือ และ
ทาการซ่อ มบารุง รัก ษาเครื่อ งมือ ให้พ ร้อ มใช้ง านตลอด เครื่องมือประจางานก่อสร้างที่ควรมีไว้ใช้
ควรมี ดังนี้
1) เครื่องสูบน้า ในงานก่อสร้างจาเป็นต้องมีเครื่องสูบน้าไว้ใช้ เพื่อใช้ในการสูบน้ามาใช้
ในการก่อสร้าง หรือสูบน้าออกจากบริเวณที่ทาการก่อสร้าง กรณีที่ฝนตก หรือมีน้าท่วมในบริเวณ
ที่จะทางาน เครื่องสูบน้ามีหลายรูปแบบ แต่ที่นิยมนามาใช้กันมากเป็นเครื่องสูบน้าแบบไดโวใช้ไฟฟ้า
เป็นเครื่องสูบน้าที่สามารถยกได้ด้วยคนเดียว มีขนาดกะทัดรัด เมื่อเสียบไฟฟ้าเครื่องจะเดินและสูบน้า
ได้ ซึ่งมีขนาด 2- 3 นิ้ว แล้วแต่ขนาดของท่อ เครื่องที่ผลิตจากโรงงานจะป้องกัน ไฟฟ้ารั่ว ได้เป็น
อย่างดี แต่เครื่องที่เสียแล้วนาไปซ่อม อาจจะใช้งานได้ไม่ดีเพราะอาจมีไฟฟ้ารั่ว ไฟฟ้าลัดวงจรทา
ให้เสียชีวิตได้
2) เครื่องโม่ผสมคอนกรีต ในงานก่อสร้างทั่วไปจะต้องมีเครื่องโม่คอนกรีตไว้ใช้ ในการ
ผสมคอนกรีต ใช้ปูนซีเมนต์ 1 ถุง ( 50 กิโ ลกรัม) ผสมกับวัส ดุมวลคละ จะเต็มโม่พอดี เครื่องโม่
จะหมุน เพื่อผสมส่วนผสมคอนกรีตให้เข้ากัน ใช้เวลาประมาณ 3-5 นาที เครื่องโม่ที่นิยมใช้กันอยู่มี 2
แบบ ด้วยกัน คือ แบบที่ใช้เครื่องยนต์เป็นตัวขับเคลื่อนตัวโม่ กับแบบที่ใช้มอเตอร์ไฟฟ้าเป็นตัว ขับ
เคลื่อนตัวโม่
3) เครื่องตัดไม้และซอยไม้ เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้การทางานสะดวกและรวดเร็วช่วยใน
การตัดไม้และซอยไม้แบบ ช่างไม้แบบที่ใช้เครื่องมือตัดไม้และซอยไม้ ต้องใช้อย่างระมั ดระวังเพราะ
อาจเกิด อัน ตรายจากใบเลื่อ ยของเครื่อ งได้ และควรถอดใบมาลับ ปรับ แต่ง ให้ค ม เพื่อ เป็น การ
บารุง รักษาตัวเครื่องฯให้พร้อมใช้งาน
4) กบไฟฟ้า เป็นเครื่องมือไฟฟ้าที่ช่วยในการไสปรับหน้าไม้ให้ได้ขนาด หรือให้หน้าไม้มี
ความเรียบ กบไฟฟ้าที่นิยมใช้ทั่วไปในงานก่อสร้ างมี 2 ขนาดด้วยกัน คือ ขนาด 3 นิ้ว และขนาด 5
นิ้ว (เรียกตามความกว้างของหน้ากบไฟฟ้า) การใช้และบารุงรักษาควรมีการถอดใบมาลับปรับ แต่ง
ใบให้คมอยู่เสมอ และควรศึกษาคู่มือการใช้ด้วย
5) สว่า นไฟฟ้า เป็น เครื่องมือ ที่ช่ว ยในการเจาะรูวัส ดุป ระเภทต่างๆ ตามขนาดที่
ต้องการ โดยการใช้ดอกสว่านเจาะของวัสดุแต่ละประเภท เช่นการเจาะไม้ ใช้ดอกสว่านแบบเจาะไม้
12

เจาะเหล็กใช้ดอกสว่านเจาะเหล็ก และเจาะคอนกรีต ใช้ดอกสว่านเจาะคอนกรีตและใช้ สว่าน แบบ


กระแทกเพื่อช่วยให้การเจาะคอนกรีตได้ดี
6) ค้ อนปอนด์ เป็ นค้ อนที่ มี ขนาดใหญ่ หนั ก 8 ปอนด์ มี ด้ ามยาวประมาณ 75-100
เซนติเมตร ใช้ประโยชน์ในการตอกหลักผัง ตอกหรือทุบแผ่นคอนกรีต หรือ ผนังคอนกรีตของอาคารเก่า
หรือชิ้นงานที่ไม่ใช้แล้ว
7) รถขนล้อเดียวหรือสองล้อ งานก่อสร้างที่ต้องลาเลียงวัสดุ หรือลาเลียงคอนกรีต จาก
โม่ผสมไปยังตาแหน่งที่เทคอนกรีต จาเป็นต้องใช้รถล้อ เดียวหรือสองล้อไว้ใช้เพื่อเป็นการทุนแรงและ
ประหยัดเวลาในการทางาน
8) จอบ สาหรับ งานก่อสร้างจอบที่มีใช้อยู่มีหลายชนิดคือ จอบขุดดิน จอบเกลี่ย ดิน
จอบโกยทราย จอบเกลี่ยหรือโกยคอนกรีต ลักษณะของจอบจุดดินปลายใบของจอบจะโค้ง เล็กน้อย
ถ้าเป็นจอบงานคอนกรีตปลายจอบจะตรงหรือมนที่บริเวณมุมของใบจอบ ทาให้สามารถโกยคอนกรีต
ได้สะดวก แต่ถ้าจะโกยหินควรใช้คาด 4 ฟันโกยแทนเพราะจะไม่ทาให้หนักแรงในการโกยหิน
9) พลั่ว ที่ใช้ในงานก่อสร้างมีหลายแบบด้วยกันคือแบบปลายมน และแบบปลายเหลี่ยม
หรือปลายมน มีหน้ากว้าประมาณ 30 ซม.ใช้ตักทราย ตักคอนกรีตที่ผสมแล้ว ส่ว นพลั่วปลายมน
สามารถนาไปใช้ตักดินอ่อนๆได้ พลั่วกาบกล้วย ใช้ในการ ขุดดินถ้าเป็นดินอ่อนก็ใช้พลั่วแบบหน้า
กว้าง แต่เถ้าเป็นดินแข็ง จะใช้แบบหน้าแคบ แต่เดิมบางทีเรียกว่า เสียม พลั่วหางเหยี่ยว ใช้ขุดดินเสา
หรือเสาไฟฟ้า โดยการกระทุ้งใบพลั่วลงดินตรงบริเวณตาแหน่งของเสาที่กาหนด ใบพลั่วทั้งสองจะคีบ
ดินขึ้นจากหลุมในการบังคับในส่วนของด้ามเป็นการขุดหลุมลึก ๆ ที่คนลงไปเก็บดินขึ้นไม่ได้
10) ชะแลง มีลักษณะเป็นท่อนเหล็กยาว มีความยาวตั้งแต่ 50-150 ซม.ใช้เหล็กเส้น
กลม หรือเหล็กข้ออ้อยทาก็ได้ โดยมีปลายข้างหนึ่งแบน ปลายอีกข้ างคล้ายหงอนค้อน ใช้ในการ
ถอนตะปูได้ เป็นเครื่องมือที่จะต้องจัดหาไว้ เพราะต้องใช้งานมากมาย เช่น การรื้อไม้แบบถอนตะปู
ขุดหลุมในดินแข็งหรือมีก้อนหินขวางอยู่
11) รอก เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการผ่อนแรงขนย้ายสิ่งของ วัสดุ อุปกรณ์ก่อสร้าง ใน
แนวดิ่ง เช่น ใช้ยกอิฐแดง ปูนก่อ ปูนฉาบ และยกไม้แบบจากชั้น1ไปยังชั้น 2 ได้โดยใช้แรงงานคน
1.5.2 เครื่องมือสิ้นเปลือง เป็นเครื่องมือที่มีลักษณะที่เสียหาย แตกหักพังง่าย และสูญหายง่าย
สาหรับเครื่องมือชนิดนี้จะต้องจัดหาให้เพียงพอกับงานทางานของคนงานและช่าง หรืออาจจะต้อง
ทาการซ่อมแซมให้ใช้งานได้ในบางครั้ง เช่น
1) บุ้งกี๋ ลักษณะเดิมเป็นหวายสานยกขอบสามด้านมีหูสานด้านข้าง 2 หู เอาไว้ ใช้มือ
จับ ยก แต่ปัจ จุบัน ใช้พลาสติกเป็น วัส ดุในการทาบุ้งกี๋ นามาใช้ในการขนย้ายดินและวัส ดุ หิน อิฐ
ทราย ที่ใช้แรงงานของคนในการขนย้าย
2) ถัง ปูน ใช้ใ นงานปูน ใส่ปูน ก่อ ปูนฉาบ หรือใส่น้าไว้ใ ช้ใ นงานก่อ อิฐ ฉาบปูน งาน
ผสมและเทคอนกรีต
3) ถังน้ามัน 200 ลิตร มีไว้เพื่อเก็บน้าใช้ในงานก่อสร้าง เช่นในงานก่ออิฐ ฉาบปูน งาน
ผสมคอนกรีต และไว้ใช้ในห้องน้า ห้องส้วมในบริเวณงานก่อสร้าง
13

4) สายยางพลาสติก ขนาด 6 หุนหรือ 1นิ้ว ยาวประมาณ 20-30 เมตร เพื่อใช้ต่อ


น้าประปามาใส่ในถังน้าเก็บไว้ใช้ ในงานก่อสร้างใช้น้าบ่มคอนกรีต และใช้ในอุปโภค บริโภค
5) เชือกมะนิลา ใช้ประกอบกับรอกในการขนย้ายวัส ดุหรือมัดวัส ดุอุปกรณ์ เมื่อใช้
เสร็จแล้วควรจะม้วนและเก็บไว้ในที่ร่มใกล้ๆ กับรอก
6) เชือ กเอ็น ไว้ใ ช้ใ นการขึง ทาแนว ทาเส้น ระดับ และแนวดิ่ง ถือ เป็น วัส ดุที่ใ ช้
สิ้นเปลืองมาก เพราะช่างและคนงานมักจะตัดใช้เฉพาะในส่วนแล้วไม่ค่อยเก็บมาคืน
7) สายไฟฟ้าและอุปกรณ์ สาหรับใช้ ในการเดินระบบไฟฟ้าชั่ ว คราวในบริเวณงาน
ก่อสร้าง เช่น ไฟฟ้าแสงสว่างหรือไฟฟ้าที่ใช้กับเครื่องจักรกลงานก่อสร้างและเครื่องใช้อานวยความสะดวก
ในสานักงานหรือบ้านพักคนงานเป็นต้น
1.5.3 เครื่องมือประจาตัวช่าง เป็นเครื่องมือชนิด ที่มีไว้ประจาตัวช่าง ตามปกติช่างแต่ละคน
จัดเตรีย มและหามาเอง ซึ่งถือว่าเป็นเครื่องมือสาคัญขั้นพื้นฐานเบื้องต้นที่ช่างทุกคนควรต้องมีไว้
ใช้ประจาตัวของช่างแต่ละประเภท ดังนี้
1) ช่างไม้ เป็นช่างที่งานส่วนใหญ่เกี่ยวกับงานไม้ ทั้งงานช่างไม้แบบ ช่างไม้โครงสร้าง ช่าง
ไม้เครื่องเรือน ควรมีเครื่องมือประจาตัวคือ ค้อนหงอน ตลับเมตรยาว 2.00-5.00 เมตร ดินสอเขียนไม้
ฉาก เลื่อยลันดา สิ่ว กบ สว่าน บักเต้า แม่แรงอัดไม้ กระเป๋าคาดเอวสาหรับใส่ตะปู
2) ช่างปูน เป็นช่างที่ทางานเกี่ยวกับงานปูนเช่น งานก่ออิฐ งานฉาบปูน งานเทคอนกรีต
ควรมีเครื่องมือประจาตัวคือ ค้อนหงอน ตลับเมตรยาว 2.00-5.00 เมตร ดินสอเขี ยนไม้ เกรียงก่อ
อิฐ เกรียงฉาบปูน กระบะถือปูน แปรงสลัดน้า ไม้สามเหลี่ยม กระป๋องปู น พลั่ว จอบ สกัด
บรรทัดระดับ ค้อนปอนด์ รถเข็น ลูกดิ่งงานปูน สายยางน้า สว่านคอนกรีต
3) ช่างเหล็ก เป็นช่างที่ต้องทางานเกี่ยวกับงานเหล็กเสริมคอนกรีต และงานเหล็ก
โครงสร้าง โครงหลังคาเหล็ก ควรมีเครื่องประจาตัว คือ เครื่องตัดเหล็ก กรรไกรตัดเหล็ก เครื่อง
เชื่อม สว่านเจาะเหล็ก สว่านเจาะคอนกรีต ค้อน ตลับเมตร(2.00 - 5.00 เมตร)ประแจตัดเหล็ก คีมผูก
เหล็ก ปั๊มลม กาพ่นสี เครื่องขัดหิน

บทสรุป
การเตรียมงานก่อสร้าง เป็นการเตรียมความพร้อมในการก่อสร้างที่เริ่มจากการสถานที่
ก่อสร้าง โดยการสารวจหลักเขตที่ดินให้ตรงตามเอกสารสิทธ์ ทาการปรับพื้นที่บริเวณ โดยศึกษา
สภาพพื้นที่จากพื้นที่จริง ว่าจะต้องทาการ ขุดดิน หรือถมดิน หรือจะต้องทาการตัดไม้และขุดโคนตอ
ไม้ หรือไม่ การขอเชื่อมทางกับ กรมทางลวง หรือ สานักงานเทศบาลฯ มีการกาหนดแนวรั้วและที่ดิน
ข้างเคียง การเตรียมสิ่งอานวยความสะดวกชั่วคราวในการทางาน สาธารณูปโภค และการเตรียม
เครื่องมือสาหรับงานก่อสร้างให้พร้อมก่อนเริ่มงานก่อสร้างในขั้นตอนต่อไป
14

แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยที่ 1
เรื่องการเตรียมงานก่อสร้าง เวลา 10 นาที

คาชี้แจง 1. แบบทดสอบมีทั้งหมด 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน


2. ให้นักศึกษาทาเครื่องหมาย  ในตัวเลือกที่เห็นว่าถูกต้องที่สุดลงในกระดาษคาตอบ
1. งานก่อสร้างอาคารหมายถึง งานก่อสร้างแบบใด
ก. งานก่อสร้างอาคารตามแบบก่อสร้าง
ข. งานก่อสร้างอาคารตามความคิดของเจ้าของอาคาร
ค. งานก่อสร้างอาคารตามความถนัดของช่างผู้ก่อสร้าง
ง. งานก่อสร้างอาคารตามแบบก่อสร้างและรายการประกอบแบบก่อสร้างอาคาร
2. การเตรียมสถานที่ ที่จะก่อสร้างอาคารข้อใดต่อไปนี้มีความสาคัญที่สุด
ก. มีทางเข้า - ออกอยู่ในบริเวณชุมชน
ข. มีที่กองเก็บวัสดุ หิน ทรายจานวนมาก
ค. สถานที่บริเวณงานก่อสร้างมีความกว้าง
ง. ตรวจสอบหมุดหลักเขตที่ดินตรงตามเอกสารสิทธิ์
3. ข้อความต่อไปนี้ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. หมุดหลักเขตที่ดินเจ้าของสามารถเคลื่อนย้ายได้เพื่อความเหมาะสม
ข. การตรวจสอบแนวเขตที่ดินเป็นการตรวจสอบพื้นที่ให้ตรงเอกสารสิทธิ์การถือครอง
ค. การเตรียมสถานที่ก่อสร้างอาคารควรให้เจ้าของชี้บริเวณที่จะปลูกสร้างป้องกันการสร้างผิดที่
ง. การเตรียมสถานที่งานก่อสร้างหมายถึงการศึกษาสภาพสถานที่ ที่จะทาการปลูกสร้างอาคาร
4. การถมดินบดอัดดินในบริเวณเป็นที่ลุ่มน้าขังฯ การบดอัดดินให้แน่นเป็นชั้นๆละ เท่าไร
ก. 40 เซนติเมตร
ข. 50 เซนติเมตร
ค. 60 เซนติเมตร
ง. 70 เซนติเมตร
5. งานก่อสร้างติดเขตที่ดินข้างเคียงตามเทศบัญญัติแนวอาคารริมเสา ห่างจากแนวรั้วเท่าไร
ก. ไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร
ข. ไม่น้อยกว่า 2.00 เมตร
ค. ไม่น้อยกว่า 2.50 เมตร
ง. ไม่น้อยกว่า 3.00 เมตร
6. ในกรณีก่อสร้างอาคาร ที่มีบริเวณติดกับเขตที่ดินข้างเคียง ควรใช้ฐานรากแบบใด
ก. ฐานรากร่วม
ข. ฐานรากแผ่
ค. ฐานรากตีนเป็ด
ง. ฐานรากเดี่ยว
15

7. ในบริเวณงานก่อสร้างข้อใดต่อไปนี้ไม่ได้แสดงอยู่ในผังสิ่งอานวยความสะดวก
ก. ห้องน้า ห้องส้วม
ข. โรงเก็บวัสดุ
ค. โรงอาหาร
ง. บ้านพักคนงาน
8. ระบบไฟฟ้าชั่วคราวที่ใช้ในงานก่อสร้าง เป็นแบบระบบใด
ก. ระบบไฟฟ้ากาลัง
ข. ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง
ค. ระบบไฟฟ้าสาธารณะ
ง. ระบบไฟฟ้ากาลังและระบบไฟฟ้าแสงสว่าง
9. เครื่องโม่ผสมคอนกรีต ใช้ผสมคอนกรีตใส่ปูนซิเมนต์ผสมครั้งละเท่าไร
ก. 50 กิโลกรัม
ข. 70 กิโลกรัม
ค. 90 กิโลกรัม
ง. 100 กิโลกรัม
10. ข้อใดต่อไปนี้คือเครื่องมือประจาตัวช่างไม้
ก. รอก
ข. ค้อนหงอน
ค. ค้อนปอนด์
ง. ประแจดัดเหล็ก
16

เฉลยแบบทดสอบ หน่วยที่ 1
แบบทดสอบก่อนเรียน
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
ง ก ง ข ก ค ค ง ข ก
แบบทดสอบหลังเรียน
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
ง ง ก ก ข ค ค ง ก ข
17

เอกสารอ้างอิง
คณะทางานอาสาสมัคร กรรมการฝ่ายวิชาชีพ สมาคมสถาปนิกฯ. รายการประกอบแบบก่อสร้าง.
กรุงเทพฯ: สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์, 2549.
พิภพ สุนทรสมัย. เทคนิคการก่อสร้างอาคารเบื้องต้น. กรุงเทพฯ:โปรเฟรสชั่นแนล พับลิชชิ่ง, 2524.
มนัส กล่องเพ็ชร. เทคนิคก่อสร้าง 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: เอมพันธ์, 2543.
สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย. เอกสารงานสอนชุดวิชา 31303 งานสนาม. พิมพ์ครั้งที่ 5
กรุงเทพ:มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2542.
18

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
เรื่อง การศึกษาแบบงานก่อสร้าง

สาระสาคัญ
การศึกษาแบบก่อสร้าง เป็นการศึกษารายละเอียดงานก่อสร้างอาคาร จากแบบก่อสร้าง และ
รายการประกอบแบบก่อสร้างอาคาร เพื่อให้ทราบถึงรายการวัสดุ อุปกรณ์ ที่จะนามาใช้ในงานก่อสร้าง
หรือวิธีการเทคนิคการทางาน ทาใหู้้ที่ปิิบัิิงานก่อสร้าง ทาการวางแูนการงาน และกาหนดวิธีการ
ขั้นิอนการทางาน ทารายการวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ พร้อมก่อนปิิบัิิงาน ลดปัญหา อุปสรรค
ประหยัดค่าใช้จ่ายและทันระยะเวลาที่กาหนดในสัญญาการก่อสร้าง
จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ทั่วไป
1. เพื่อให้มีความร้้ความเข้าใจเกี่ยวกับ รายการประกอบก่อสร้างอาคาร
2. เพื่อให้มีความร้้ความเข้าใจเกี่ยวกับการแบบก่อสร้างอาคาร
3. เพื่อให้มีความร้้ความเข้าใจ แยกรายการวัสดุ อุปกรณ์ ในงานก่อสร้างอาคาร
4. เพื่อให้มีทักษะในการอ่านแบบก่อสร้างอาคาร
5. เพื่อให้มีทักษะในจัดเิรียมวัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือ
6. เพื่อให้มีเจิคิิและกิจนิสัยที่ดีในการเรียนและการปิิบัิิงาน
7. เพื่อให้มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. อธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับรายการประกอบแบบก่อสร้างได้
2. บอกสัญญลักษณ์ในแบบก่อสร้างอาคารได้
3. ปิิบัิิงานอ่านแบบก่อสร้างได้
4. จัดทารายการวัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือก่อสร้างอาคารได้
5. มีเจิคิิที่ดีิ่อการเรียนและการปิิบัิิงาน
6. ปิิบัิิงานด้วยความรับูิดชอบและมีระเบียบวินัย
7. มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
19

สาระการเรียนรู้
หน่วยที่ 2 ประกอบด้วยหัวข้อสาระการเรียนร้้ ดังนี้
2.1 รายการประกอบแบบก่อสร้าง
2.2 แบบูังบริเวณ
2.3 แบบแปลน
2.4 แบบร้ปด้าน
2.5 แบบร้ปิัดิามยาวและร้ปิัดิามขวาง
กิจกรรมการเรียนการสอน
1. แจ้งจุดประสงค์ใหู้้เรียนเข้าใจก่อนเรียน
2. ใหู้้เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 2
3. คร้บรรยายนาเข้าส้่บทเรียน
4. ู้้เรียนศึกษาเนื้อหาความร้้ในเอกสารประกอบการสอน เรื่อง การศึกษาแบบก่อสร้าง
5. การอภิปรายและการซักถามเกี่ยวกับบทเรียนร่วมกัน
6. ู้้เรียนแบ่งกลุ่มๆ ละ 6 คน ฝึกปิิบัิิงานิามใบงานที่ 3
7. ู้้เรียนและคร้ ร่วมกันสรุปเนื้อหาประกอบสื่อ
8. ู้้เรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนวิชางานก่อสร้างอาคาร 1
2. แู่นใสประกอบการบรรยาย
3. แู่นภาพ
4. แบบก่อสร้างอาคารและรายการประกอบแบบ
5. ชุดฝึกปิิบัิิงาน งานก่อสร้างอาคาร 1
การวัดผล ประเมินผล
1 วัดผลตามจุดประสงค์การเรียนรู้
2 วิธีวัด ประเมินผล
2.1 สังเกิ เจิคิิ คุณธรรม จริยธรรม ในการเรียนร้้และปิิบัิิงาน
2.2 สังเกิ และิรวจูลงาน จากการปิิบัิิงานิามใบงาน
2.3 ประเมินูลจากแบบทดก่อนหลังเรียน
2.4 ประเมินูลจากแบบทดสอบหลังเรียน

3. เครื่องมือวัด ประเมินผล
3.1 แบบประเมิน เจิคิิ คุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์
3.2 แบบประเมินูลการปิิบัิิงาน
3.3 แบบทดสอบก่อนเรียน
3.4 แบบทดสอบหลังเรียน
20

แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 2
เรื่องการศึกษาแบบก่อสร้างอาคาร เวลา 10 นาที

คาชี้แจง 1. แบบทดสอบมีทั้งหมด 10 ข้อ คะแนนเิ็ม 10 คะแนน


2. ให้นักศึกษาทาเครื่องหมาย  ในิัวเลือกที่เห็นว่าถ้กิ้องที่สุดลงในกระดาษคาิอบ
1. ข้อใดไมใช่รายละเอียดในรายการประกอบแบบก่อสร้างอาคาร
ก. เทคนิคและข้อิกลงิ่างๆ
ข. การเบิกจ่ายเงินิามสัญญาการก่อสร้าง
ค. เพื่อควบคุมคุณภาพวัสดุ อุปกรณ์
ง. แสดงรายละเอียดประกอบแบบก่อสร้าง
2. ข้อความใดิ่อไปนี้กล่าวไม่ถ้กิ้อง
ก. แบบก่อสร้างเป็นส่วนหนึ่งของสัญญา
ข. การศึกษาแบบก่อสร้างเป็นการศึกษารายการประกอบแบบก่อสร้างและแบบก่อสร้าง
ค. งานก่อสร้างควรทางานิามรายการประกอบแบบและแบบก่อสร้างทุกขั้นิอน
ง. งานก่อสร้างอาคารู้้รับจ้างสามารถเปลี่ยนแปลงแบบได้ถ้างานมีปัญหาและอุปสรรค
3. แบบวิศวกรรม ที่แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับโครงสร้างคือแบบแปลนใด
ก. แบบแปลนพื้น
ข. แบบแปลนูังบริเวณ
ค. แบบแปลนงานวางูัง
ง. แบบแปลนฐานราก คานคอดิน และพื้น
4. แบบแูนที่แสดงลักษณะ ที่ิั้ง ขอบเขิที่ดินและอาคารที่ก่อสร้าง
ก. แบบแปลนพื้น
ข. แบบแปลนูังบริเวณ
ค. แบบแปลนงานวางูัง
ง. แบบแปลนฐานราก คานคอดิน และพื้น
5. แบบที่แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับการใช้พื้นที่ของอาคารในแนวราบคือ
ก. แบบแปลนพื้น
ข. แบบแปลนูังบริเวณ
ค. แบบแปลนงานวางูัง
ง. แบบแปลนฐานราก คานคอดิน และพื้น
6. ข้อใดคือสัญลักษณ์ของคานรับโครงหลังคา ในแบบแปลนโครงหลังคา
ก. B
ข. S
ค. RB
ง. GB
21

7. ข้อใดคือสัญลักษณ์ของพื้นบนดิน ในแบบแปลนฐานราก คานคอดินและพื้น


ก. B
ข. S
ง. GB
ค. RB
8. ข้อใดคือสัญลักษณ์ของคานคอดิน ในแบบแปลนฐานราก คานคอดินและพื้น
ก. B
ข. S
ค. RB
ง. GB
9. สัญลักษณ์ ที่แสดงในแบบแปลนพื้นหมายถึงส่วนประกอบใดของอาคาร
ก. ูนัง
ข. หน้าิ่าง
ค. ประิ้
ง. ช่องแสง
10. สัญลักษณ์ ที่แสดงในแบบแปลนพื้นหมายถึงส่วนประกอบใดของอาคาร
ก. ช่องแสง
ข. หน้าิ่าง
ค. ประิ้
ง. ูนัง
22

หน่วยที่ 2
การศึกษาแบบก่อสร้างอาคาร
การศึกษาแบบก่อสร้างอาคาร เป็นการศึกษารายการประกอบแบบ และแบบก่อสร้าง
เพื่อเิรียมขั้นิอน วิธีการก่อสร้างและเิรียมวัสดุ อุปกรณ์เครื่องมือให้พร้อมก่อนเริ่มทาการก่อสร้าง
อาคาร รายละเอียดของรายการประกอบแบบและแบบก่อสร้าง ถือว่าเป็นส่วนหนึ่ง ของสัญญาการ
ก่อสร้างอาคาร ู้้ที่จะทาการก่อสร้างควรปิิบัิิงานให้เป็นไปิามรายการประกอบแบบและแบบก่อสร้าง ที่
แสดงไว้ในแบบแปลนทุกขั้นิอนการทางาน ซึ่งมีรายละเอียดเกี่ยวกับแบบก่อสร้างไว้ดังนี้
2.1 รายการประกอบแบบก่อสร้าง
รายการประกอบแบบ คือ เอกสารรายการ แสดงรายละเอียดประกอบแบบก่อสร้าง เพื่อ
ควบคุมคุณภาพของวัสดุอุปกรณ์ เทคนิคและข้อิกลงิ่างๆ ที่เกี่ยวกับงานก่อสร้าง ที่มีปรากิหรือ
ไม่มีป รากิในแบบก่อสร้างิามสัญญานี้ เพื่อให้การก่อสร้างเป็นไปิามแบบการก่อสร้างรวมถึง
รายละเอียดิ่างๆ ของงานก่อสร้างที่เจ้าของบ้านิ้องการดังิัวอย่าง ิ่อไปนี้
ตัวอย่าง รายการประกอบแบบก่อสร้าง
งานปักผัง
งานปักูังและระดับกาหนดให้ระดับ ± 0.00 เท่ากับระดับดิน
งานโครงสร้าง

1. คอนกรีิโครงสร้างใช้ส่วนูสม1:2: 2 1 กรณีูสมมือโดยมีแรงอัดประลัยของคอนกรีิ
2
ที่อายุ 28 วัน มีค่าไม่น้อยกว่า 240 กิโลกรัม / ิารางเซนิิเมิร
2. คอนกรีิโครงสร้างใช้ส่วนูสม 1:2:4 กรณีูสมเสร็จโดยมีแรงอัดประลัยของคอนกรีิ
ที่ 28 วัน มีค่าไม่น้อยกว่า 240 กิโลกรัม / ิารางเซนิิเมิร
3. เหล็กเส้นธรรมดา ิ้องมีกาลังจุดคลากไม่น้อยกว่า 2,400 กิโลกรัม / ิารางเซนิิเมิร
4. เหล็กข้ออ้อย ิ้องมีกาลังจุดคลากไม่น้อยกว่า 3,000 กิโลกรัม / ิารางเซนิิเมิร
5. เหล็กเส้นร้ปพรรณ ิ้องมีกาลังจุดคลากไม่น้อยกว่า 2,400 กิโลกรัม / ิารางเซนิิเมิร
งานสถาปัตยกรรม งานูนังอาคาร (ให้ด้ิามสัญลักษณ์ของูัง)
1. ูนังก่ออิฐแดง ฉาบเรียบทาสีภายนอก
2. ูนังก่ออิฐแดง ฉาบเรียบทาสีภายใน
3. ูนังก่ออิฐแดง กรุกระเบื้อง 8"  8" ส้ง 1.80 ม.
งานวัสดุผิวพื้น งานวัสดุูิวพื้น (ให้ด้ิามสัญลักษณ์ของพื้น)
1. พื้นป้กระเบื้อง 12"  12"
2. พื้นป้กระเบื้อง 8"  8"
3. พื้นขัดหยาบ
23

งานฝ้าเพดาน
1. ฝ้าภายใน ฝ้ายิบซั่มฉาบเรียบ โครงเคร่า C - Line @ 0.60  0.60 ม.
2. ฝ้าภายนอก ฝ้ากระเบื้องแู่นเรียบ 4 มม. โครงเคร่า C - Line @ 0.60  0.60 ม.
งานหลังคา
1. โครงสร้างเป็นไปิามที่กาหนดไว้ในแบบ
2. วัสดุมุง ใช้กระเบื้องลอนค้่ ขนาด 0.50  1.20 เมิร
งานทาสี
1. สีรองพื้น ใช้สีน้าพลาสิิก
2. สีทาภายนอก ใช้สีน้าพลาสิิก
3. สีทาวงกบ ไม้เชิงชาย ใช้น้ามัน
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้าให้ิิดิั้งิามมาิรฐานการไฟฟ้าส่วนภ้มิภาค
งานประปา
งานประปาให้ิิดิั้งิามมาิรฐานการประปาส่วนภ้มิภาค
2.2 แบบผังบริเวณ
แบบูังบริเวณ คือ แูนที่แสดงลักษณะที่ิั้ง และขอบเขิของที่ดินและอาคารก่อสร้างที่บ อก
ิาแหน่งหมุดหลักเขิที่ดิน ระยะห่างอาคารกับถนนใหญ่ แสดงิาแหน่งแนวรั้ว ประิ้รั้ว มีทางเข้า-
ออก แนวท่อระบายน้าเสีย ที่ระบายลงส้่ท่อน้าสาธารณะ มีการแสดงิาแหน่งทิศเหนือว่ามีทิศทาง
อย่างไรกับิาแหน่งที่ดิน ูังบริเวณจานวนมากยัง มีการกาหนดค่าระดับของดินเดิม เอาไว้ พร้อมทั้ง
การกาหนดบริเวณที่จะจัดสวนิกแิ่งบริเวณด้วย ดังภาพที่ 2.1
ทิศเหนื อ
ก 1385
แนวรั้ว

แนวชายคา ก 4857
แนวรั้ว 5.50

ชายค

11.00
แนว


ชายค
แนว

แนว แนวรั้ว
8.00 ชาย
ก 3451 3.50 คา
แนว
ท่อร
ะบาย
3.50
นา้ เท
ศบา
ลเมอื แนว
4.00
ง ประ
ตูร้ ัว
ถนน ก 1452
เทศา
2

แปลนผังบริ เวณ 1:200

ภาพที่ 2.1 แสดงแบบ แปลนูังบริเวณ


24

2.3 แบบแปลน
แบบแปลน คือ แบบร้ป ิัดิามแนวระดับที่ความส้งของหน้าิ่าง โดยิัดในแนวนี้ิ ลอดทั้ง
อาคาร แล้วยกส่วนบนของอาคารออก เมื่อมองลงมาิรง ๆ จากข้างบน ิามแนวการิัดกลางช่วง
อาคารนี้ จะทาให้มองเห็นส่วนประกอบของอาคาร ิามแบบแปลนิ่างๆ
2.3.1 แบบแปลนพื้น เป็นแบบสถาปัิยกรรมที่แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับพื้นที่ การใช้ สอย
อาคาร ดังนี้

1 2 3
7.00

1.00 3.50 3.50 1.00


1.50

1.00 1 ฟุตบาท 1. เสาของอาคาร


A
1 2 ครัว ซักล้าง
2.00 2 +0.30 ม. 2 +0.20 ม.
2 2 1 1 2. สัญลักษณ์ของผนัง
B 2 1 2 2 1
ห้2 องน้ า นอน 2
2.25 +0.25 ม.

3.50 1 2 1 +0.30 ม. 1

C 11.00 1 2 5. ค่าระดับพื้น 1 2 2 1
1 2 รับแขก 1 2 2 1
1 +0.30 ม.
นอน 1 3. สัญลักษณ์ของหน้าต่าง
3.50 1 2 2 1 +0.30 ม. 1
1 2 2 2 1
D 1
1 1 1
2.00 เฉี ยง 4. สัญลักษณ์ของประตู
2 +0.20 ม.
E ฟุตบาท
3 +0.10 ม.
2 ข
3 4 แปลนพื้น 1:100
1

ภาพที่ 2.2 แสดงแบบ แปลนพื้น


25

ส่วนประกอบของแบบแปลนพื้น มีรายละเอียดดังิ่อไปนี้
1) หน้าตัดเสา จากแบบแปลนพื้น (ภาพที่ 2.2) จะเห็นว่ามีเสาจานวน 14 ิ้น แสดงอย้่ในส่วน
ที่อย้่ิรงมุมของห้องและิอนกลางห้องเป็นหน้าิัดสี่เหลี่ยม
ด้านหน้า มีความกว้าง 7.00 เมิร มีระยะห่าง 2 ช่วงเสา
วัดระยะห่าง Line 1 - 2 จากศ้นย์กลางเสาถึงศ้นย์กลางเสาได้ 3.50 เมิร
วัดระยะห่าง Line 2 - 3 จากศ้นย์กลางเสาถึงศ้นย์กลางเสาได้ 3.50 เมิร
ด้านข้าง มีความยาว 11.00 เมิร มีระยะห่าง 4 ช่วงเสา
วัดระยะห่าง Line A-B จากศ้นย์กลางเสาถึงศ้นย์กลางเสาได้ 2.00 เมิร
วัดระยะห่าง Line B-C จากศ้นย์กลางเสาถึงศ้นย์กลางเสาได้ 3.50 เมิร
วัดระยะห่าง Line C-D จากศ้นย์กลางเสาถึงศ้นย์กลางเสาได้ 3.50 เมิร
วัดระยะห่าง Line D-E จากศ้นย์กลางเสาถึงศ้นย์กลางเสาได้ 2.00 เมิร
2) ผนัง ก่อ อิฐ ฉาบปูน จากแบบแปลนพื้น (ภาพที่ 2.2) จะเห็น ว่า มีแ นวูนัง ของอาคาร
ที่อ ย้่ร ะหว่า งเสาถึง เสา ิามร้ป แบบสัญลักษณ์ข องูนังอาคารที่แสดงในแปลนพื้น และรายการ
ประกอบแบบ มีรายละเอียดที่อ่านได้ดังนี้
ผนังมีสัญลักษณ์ ครอบิัวเลข เพื่อกากับชนิดของูนังในแบบแปลนพื้นมีูนัง
3 ชนิด คือ
1 ูนังก่ออิฐแดง ฉาบเรียบทาสีภายนอก
2 ูนังก่ออิฐแดง ฉาบเรียบทาสีภายใน
3 ูนังก่ออิฐแดง กรุกระเบื้อง 8"  8" ส้ง1.80 เมิร
3) รูปตัด ประตู หน้าต่าง จากแบบแปลนพื้น (ภาพที่ 2.2) จะเห็นว่ามีหน้าิ่าง ประิ้ที่ อย้่
ระหว่างช่วงเสาและูนังก่ออิฐฉาบป้นในแบบแปลนหน้าิัดวงกบประิ้ วงกบหน้าิ่าง อาจจะไม่ได้
ขนาดิามสเกล แิ่ระยะความกว้างของประิ้ หน้าิ่าง จะิ้องเข้าสเกลเสมอ ส่ว นรายละเอียดของ
หน้าิ่าง ประิ้ให้ด้ได้จากแบบขยาย ประิ้ หน้าิ่าง และรายการประกอบแบบมีรายละเอียดที่อ่าน
แบบได้ ดังนี้
ประตู มีสัญลักษณ์ ป ในแบบแปลนพื้นมีประิ้จานวน 2 ชนิด คือ
ป1 วงกบไม้เนื้อแข็ง 2"  4" บานไม้สักขนาด 0.90  2.00 เมิร
ป2 วงกบ PVC. 2"  4" บาน PVC. ขนาด 0.70  1.80 เมิร

หน้าต่างมีสัญลักษณ์ น ในแบบแปลนพื้นมีหน้าิ่างจานวน 2 ชนิด คือ


น1 วงกบอล้มิเนียม 2"  4" กรอบบานอล้มิเนียมล้กฟักกระจกหนา 4 มิลลิเมิร
น2 วงกบไม้เนื้อแข็ง 2"  4" บานเกล็ดซ้อน กระจกหนา 4 มิลลิเมิร
4) ค่าระดับของพื้น จากแบบแปลนพื้น (ภาพที่ 2.2) จะเห็นว่ามีค่าระดับของพื้นห้องและ
ค่าระดับพื้นทางเท้ารอบๆ ิัวอาคารมีค่าระดับที่ิ่างกันวัสดุที่ใช้ของพื้นก็ิ่างกันไปิามที่กาหนดใน
แบบแปลนพื้น และรายการประกอบแบบมีรายละเอียดที่อ่านแบบได้ ดังนี้
26

พื้น มีสัญลักษณ์ พ ในแบบแปลนพื้น มีพื้น 3 ชนิด คือ


พ1 พื้นป้กระเบื้อง 12"  12"
ิามแบบ พ1
มีพื้นที่ใช้สอยเป็นพื้นห้องนอนและพื้นห้องรับแขกมีค่าระดับที่ + 0.30 เมิร
(หมายถึงระดับพื้นห้องนอนและพื้นห้องรับแขกส้งกว่าระดับดินเดิม 0.30 เมิร)
พ2 พื้นป้กระเบื้อง 8"  8"
ิามแบบ พ2
มีพื้นที่ใช้ส อยเป็นพื้นเฉลี ยงและพื้นซัก - ล้าง มีค่าระดับที่ + 0.20 เมิร
(หมายถึงระดับพื้นเฉลียงและพื้นซัก -ล้างส้งกว่าระดับดินเดิม 0.20 เมิร)
พื้นห้องน้ามีค่าระดับที่ + 0.25 เมิร (หมายถึงระดับส้งกว่าระดับดินเดิม 0.25 เมิร)
พื้นห้องครัวมีค่าระดับที่ + 0.30 เมิร (หมายถึงระดับส้งกว่าระดับดินเดิม 0.30 เมิร)
พ3 พื้นขัดหยาบ
ิามแบบ พ3
มีพื้นที่ใช้สอยเป็นพื้นฟุิบาททางเท้ารอบอาคาร มีค่าระดับที่ + 0.10 เมิร
(หมายถึงระดับพื้นฟุิบาททางเท้ารอบอาคารส้งกว่าระดับดินเดิม 0.10 เมิร)
27

2.3.2 แบบแปลนฐานราก คานคอดินและพื้น เป็นแบบวิศวกรรมที่แสดงรายละเอียด


เกี่ยวกับโครงสร้างของอาคารที่มีรายละเอียด ดังนี้

ภาพที่ 2.3 แสดงแบบ แปลนฐานราก คานคอดิน พื้น

ภาพที่ 2.3 แบบแปลนฐานราก คานคอดิน พื้น


28

ส่วนประกอบของแบบแปลนฐานราก คานคอดิน และพื้น มีรายละเอียดดัง ิ่อไปนี้


1) ฐานราก มีสัญลักษณ์ F (หมายเลข 1) จากแบบแปลนฐานราก คานคอดิน จะเห็น
ว่ามีฐานราก 1 ชนิดคือ F จานวน 14 ฐานราก ซึ่งมีรายละเอียดิามแบบร้ปขยายฐานราก (ภาพที่
2.4)
2) เสาตอม่อ มีสัญลักษณ์ C (หมายเลข 2) จากแบบแปลนฐานราก คานคอดิน จะเห็น
ว่ามีเสาิอม่อ 1ชนิดคือ C จานวน 14 ิ้น ซึ่งมีรายละเอียดิามแบบร้ปขยาย (ภาพที่ 2.4)

0.15
4 - RB 12 mm.
0.15
ป - RB 6 mm. @ 0.20 m.
ตอม่อ , C

ป - RB 6 mm. @ 0.20 m.
0.80
4 - RB 12 mm.
RB 12 mm. @ 0.20 m.
0.20
1.00 X 1.00
F
ขยายฐานราก 1:20

ภาพที่ 2.4 แสดงแบบ ร้ปขยาย ฐานราก เสา


3) คานคอดิน มีสัญลักษณ์ GB (หมายเลข 3) จากแบบแปลนฐานราก คานคอดินจะ
เห็นว่ามีคานคอดิน 4 ชนิด คือ GB0,GB1,GB2,GB3 ซึ่งมีรายละเอียดิามร้ปขยายฐานราก (ภาพที่ 2.5)

ภาพที่ 2.5 แสดงแบบ ร้ปขยายคาน เสา


29

4) พื้น มีสัญลักษณ์ GS (หมายเลข 4) จากแบบแปลน ฐานราก คานคอดิน (ภาพที่ 2.3)


จะเห็นว่ามีพื้นGS เป็นพื้นอาคารและพื้นทางเท้าซึ่งมีรายละเอียด ิามร้ปขยายพื้น (ภาพที่ 2.6)

0.30 0.30
RB 6 mm. @ 0.15 m. RB 6 mm. @ 0.30 m.
0.08 0.08
ทรายหยาบ RB 6 mm. @ 0.15 m.
คอม้า เส้นเว้นเส้น
GS 1.50
S1

ขยาย พื้น 1:20

ภาพที่ 2.6 แสดงแบบ ร้ปขยายพื้น


30

2.3.3 แบบแปลนคานรับโครงหลังคา และแปลนโครงหลังคา เป็นแบบวิศวกรรมที่แสดง


รายละเอียดเกี่ยวกับแปลนคานรับโครงสร้างของหลังคาที่มีรายละเอียดดังนี้
1) แปลนโครงหลังคา มีสัญลักษณ์ RB จากแบบแปลนคานรับโครงหลังคาจะเห็น
ว่ามีคานรับโครงหลังคา 1 ชนิดคือ RB1ซึ่งมีรายละเอียดิามแบบแปลนคานรับโครงหลังคา (ภาพที่ 2.7)

1 2 3
7.00

3.50 3.50

RB1 RB1
A
2.00 RB1 RB1
B
1.50 RB1
3.50 RB1 RB1
RB1
C 11.00

3.50 RB1 RB1 RB1


RB1 RB1
D
1.00
2.00 RB1 RB1 RB1
RB1
E 0.50
RB1 RB1
2
3 4 แปลนคานโครงหลังคา 1:100
1

ภาพที่ 2.7 แสดงแบบแปลนคานโครงหลังคา


31

1 2 3
7.00

3.50 3.50
1.00 1.00
1.00

1.00
A
2.00
B 4
1.50 ตะเข้สนั เหล็กคู่ 100X50X20X3.2 mm.
3.50
5 ระแนงเหล็ก 25X25X1.6mm.@ 0.32m.
อกไก่เหล็กคู่ 150X50X20X3.2 mm.
C 11.00 2
3.50 3 จันทันเหล็ก 100X50X20X3.2 mm.
ดั้ง ค.ส.ล. 1
D
1.00
2.00 6
E เชิงชายไม้ 1"X6" และปิ ดทับเชิงชาย 1"X4"
0.50 7 ปั้นลมไม้ 1"X6" และปิ ดทับปั้ นลม 1"X4"
2
3 4
1 แปลนโครงหลังคา 1:100

ภาพที่ 2.8 แสดงแบบแปลนโครงหลังคา


จากแบบแปลนโครงหลังคา (ภาพที่ 2.8)
1) ดั้ง คสล. จากแปลนโครงหลังคาจะเห็นว่ามีดั้ง คสล.จานวน 5 ิัว
2) อกไก่เหล็กคู่ จากแปลนโครงหลังคาจะเห็นว่ามี อกไก่เหล็กค้่ ขนาด 150 50 20 3.2 มม.
3) จันทันเหล็ก จากแปลนโครงหลังคาจะเห็นว่าจันทันเหล็กขนาด100  50  20  3.2 มม.
4) ตะเข้สันเหล็กคู่ จากแปลนโครงหลังคาจะเห็นว่าิะเข้สันค้่ขนาด100  50  20 3.2 มม.
5) ระแนงเหล็ก จากแปลนโครงหลังคาจะเห็นว่าระแนงเหล็กขนาด25  25  1.6  .32 มม.
6) ไม้เชิงชาย จากแปลนโครงหลังคาจะเห็นว่าไม้เชิงชายขนาด 1”  6”
8) ไม้ปั้นลม จากแปลนโครงหลังคาจะเห็นว่าไม้ปั้นลมขนาด 1”  6”
32

2.4 แบบรูปด้าน
ร้ ปด้านเป็ นแบบสถาปั ิยกรรมที่แสดงร้ปด้านของอาคารในแนวดิ่งจะเห็ น ส่ วนประกอบของ
อาคารในแิ่ละด้าน การอ่านแบบร้ปด้านจะิ้องนาแบบแปลนพื้น มาประกอบเพราะจะแสดงให้เห็น
ิาแหน่งการมองร้ปด้านทั้ง 4 ด้าน
2.4.1 รูปด้านหน้า ด้จากแบบแปลนพื้น (ร้ปที่ 2.2) และร้ปด้านหน้า (ร้ปที่ 2.9) ประกอบจะ
เห็นว่ามีอาคารมีความกว้าง 7.00 เมิร แบ่งเป็น 2 ช่วงๆ ละ 3.50 เมิร จากห้องซ้ายมือ มีบาน
หน้าิ่าง น1 1ชุด และมีประิ้ ป1 1 บาน ห้องขวามือ มีบานหน้าิ่าง น1 1 ชุด มีูนังก่ออิฐ
ฉาบป้นเรียบทาสีภายนอก

ภาพที่ 2.9 แสดงแบบ ร้ปด้านหน้า

ภาพที่ 2.10 แสดงแบบ ร้ปด้านหลัง


2.4.2 รูป ด้า นข้า ง ด้จ ากแบบแปลนพื้น (ภาพที่ 2.2) และร้ป ด้า นข้า งซ้า ย (ภาพที่
2.11) ประกอบจะเห็นว่า อาคารมีความยาว 11.00 เมิร แบ่งเป็น 4 ช่วงๆ จากทางด้านซ้ายมือของ
ร้ปด้าน เป็นห้องครัว กว้าง 2.00 เมิร ห้องถัดมา 2 ช่วงเป็นห้องรับแขกกว้าง ช่วงละ 3.50 เมิร
33

ช่วงสุดท้าย กว้าง 2.00 ม.เป็นเฉลียงด้านหน้า มีหน้าิ่าง น1 2 ชุด และมีูนังก่ออิฐฉาบป้นเรียบ


ทาสีภายนอก

ภาพที่ 2.11 แสดงแบบ ร้ปด้านข้าง

ภาพที่ 2.12 แสดงแบบ ร้ปด้านข้าง


34

ภาพที่ 2.13 แสดงแบบ ร้ปิัดิามขวาง


35

ภาพที่ 2.14 แสดงแบบ ร้ปิัดิามยาว


36

2.5 แบบรูปตัดทางยาวและรูปตัดทางขวาง
แบบร้ปิัดทางยาวและร้ ปิัดทางขวาง เป็นร้ป แบบที่แ สดงให้ท ราบรายละเอียดและ
ชิ้นส่วนโครงสร้างภายในของอาคารที่มองจากร้ปด้านไม่เห็น ลักษณะของร้ปิัดจะแสดงความส้ง
ความกว้างของอาคาร แสดงโครงสร้างิั้งแิ่ ฐานราก ิอม่อ เสา คานคอดิน พื้น โครงหลังคา การจะ
อ่า นแบบร้ป ิัด ให้เ ข้า ใจ ควรด้แ บบแปลนพื้ น ประกอบ ว่า มีแ นวการิัด ิัด ู่า นชิ ้น ส่ว นใดของ
โครงสร้างในอาคาร คือจากแบบแปลนพื้นและร้ปิัดทางยาวและร้ปิัดทางขวาง จะเห็นว่ามีส่วนประกอบ
ของโครงสร้างอาคารดังนี้
1. ท้องฐานรากลึกจากระดับดินเดิม 1.00 เมิร ระดับท้องฐานราก จากแบบร้ปิัดทางขวาง
และร้ปิัดทางยาว
2. ระดับพื้นอาคารจากแบบร้ปิัดทางยาวและร้ปิัดทางขวาง แสดงค่าระดับพื้นทางเท้า
รอบอาคาร +0.10 เมิร เฉลียง +0.20 เมิร ห้องน้า +0.25 เมิร พื้นห้องรับแขก ห้องนอน +0.30
เมิร
3. ระดับหลังคานรับโครงหลังคาจากแบบร้ปิัดทางยาวและร้ปิัดทางขวาง แสดงค่า
ระดับหลังคานรับโครงหลังคา ที่ระดับ +3.30 เมิร
4. ระดับหลังอกไก่ จากแบบร้ปิัดทางยาวและร้ปิัดทางขวาง แสดงค่าระดับหลังอกไก่
ที่ระดับ + 5.80 เมิร
5. ส่วนประกอบอื่นๆของอาคารเช่น การิิดิั้งเคร่าฝ้า และส่วนประกอบโครงหลังคา
และรายละเอียดของูนังห้องน้า เป็นิ้น
บทสรุป
การศึก ษาแบบก่อ สร้า ง เป็น การศึก ษารายละเอีย ดงานก่อ สร้า งอาคาร เพราะรายการ
ประกอบแบบ และแบบก่อสร้าง จะแสดงรายการงานก่อสร้าง รายการวัสดุ อุปกรณ์ หรือวิธีการ
เทคนิ คการทางาน เมื่อศึกษาหรื ออ่านแบบแล้ ว ทาให้ ู้ ที่ปิิบัิิงานก่อสร้าง วางแูนการทางาน
กาหนดวิธีการขั้นิอนทางาน จัดทารายการวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ ไว้ให้พร้อมก่อนปิิบัิิงาน ทาให้
งานก่อ สร้า งดาเนินการไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว ลดปัญหา อุปสรรค และถ้กิ้องิรงิามแบบ
ก่อสร้าง ประหยัดค่าใช้จ่ายและทันระยะเวลาที่กาหนดในสัญญาการก่อสร้าง
37

แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยที่ 2
เรื่องการศึกษาแบบก่อสร้างอาคาร เวลา 10 นาที
คาชี้แจง 1. แบบทดสอบมีทั้งหมด 10 ข้อ คะแนนเิ็ม 10 คะแนน
2. ให้นักศึกษาทาเครื่องหมาย  ในิัวเลือกที่เห็นว่าถ้กิ้องที่สุดลงในกระดาษคาิอบ
1. ข้อความใดิ่อไปนี้กล่าวไม่ถ้กิ้อง
ก. แบบก่อสร้างเป็นส่วนหนึ่งของสัญญา
ข. การศึกษาแบบก่อสร้างเป็นการศึกษารายการประกอบแบบก่อสร้างและแบบก่อสร้าง
ค. งานก่อสร้างควรทางานิามรายการประกอบแบบและแบบก่อสร้างทุกขั้นิอน
ง. งานก่อสร้างอาคารู้้รับจ้างสามารถเปลี่ยนแปลงแบบได้ถ้างานมีปัญหาและอุปสรรค
2. ข้อใดไม่ใช่รายละเอียดในรายการประกอบแบบก่อสร้างอาคาร
ก. เทคนิคและข้อิกลงิ่างๆ
ข. เพื่อควบคุมคุณภาพวัสดุ อุปกรณ์
ค. การเบิกจ่ายเงินิามสัญญาการก่อสร้าง
ง. แสดงรายละเอียดประกอบแบบก่อสร้าง
3. แบบแูนที่แสดงลักษณะ ที่ิั้ง ขอบเขิที่ดินและอาคารที่ก่อสร้าง
ก. แบบแปลนงานวางูัง
ข. แบบแปลนูังบริเวณ
ค. แบบแปลนพื้น
ง. แบบแปลนฐานราก คานคอดิน และพื้น
4. แบบที่แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับการใช้พื้นที่ของอาคารในแนวราบคือ
ก. แบบแปลนงานวางูัง
ข. แบบแปลนูังบริเวณ
ค. แบบแปลนพื้น
ง. แบบแปลนฐานราก คานคอดิน และพื้น
5. แบบวิศวกรรม ที่แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับโครงสร้างคือแบบแปลนใด
ก. แบบแปลนงานวางูัง
ข. แบบแปลนูังบริเวณ
ค. แบบแปลนพื้น
ง. แบบแปลนฐานราก คานคอดิน และพื้น
6. ข้อใดคือสัญลักษณ์ของคานคอดิน ในแบบแปลนฐานราก คานคอดินและพื้น
ก. RB
ข. GB
ค. B
ง. S
38

7. ข้อใดคือสัญลักษณ์ของพื้นบนดิน ในแบบแปลนฐานราก คานคอดินและพื้น


ก. RB
ข. GB
ค. B
ง. S
8. ข้อใดคือสัญลักษณ์ของคานรับโครงหลังคา ในแบบแปลนโครงหลังคา
ก. RB
ข. GB
ค. B
ง. S
9. สัญลักษณ์ ที่แสดงในแบบแปลนพื้นหมายถึงส่วนประกอบใดของอาคาร
ก. ช่องแสง
ข. หน้าิ่าง
ค. ประิ้
ง. ูนัง
10. สัญลักษณ์ ที่แสดงในแบบแปลนพื้นหมายถึงส่วนประกอบใดของอาคาร
ก. ช่องแสง
ข. หน้าิ่าง
ค. ประิ้
ง. ูนัง
39

เฉลยแบบทดสอบ หน่วยที่ 2
แบบทดสอบก่อนเรียน
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
ข ง ง ข ก ค ข ง ก ค
แบบทดสอบหลังเรียน
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
ง ค ข ค ง ข ง ก ค ง
40

เอกสารอ้างอิง
คณะทางานอาสาสมัคร กรรมการฝ่ายวิชาชีพ สมาคมสถาปนิกฯ. รายการประกอบแบบก่อสร้าง.
กรุงเทพฯ: สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราช้ปถัมภ์, 2549.
สมโชค เฉิะการ. เอกสารประกอบการสอนวิชา เขียนแบบก่อสร้าง1. ร้อยเอ็ด:
วิทยาลัยเทคนิคร้อยเอ็ด, 2544.
สมศรี กาญจนสุิ. การอ่านแบบ. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จากัด, 2537.
อินทิรา ศิสุข. เขียนแบบช่างเทคนิคสถาปัตยกรรม. กรุงเทพฯ: หจก.สีทองกิจพิศาล, 2526.
41

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
เรื่อง การวางผังอาคาร
สาระสาคัญ
การวางผังอาคาร เป็นงานที่สาคัญที่ต้องปฏิบัติเป็นขั้นตอนแรก ของงานก่อสร้างอาคาร ผู้ที่
จะวางผังอาคาร ควรศึกษารายละเอียด ตาแหน่งของอาคาร ฐานรากและศูนย์กลางเสา จากแบบ
ก่อสร้างและรายการประกอบแบบ เพื่อจั ดเตรียมรายการเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ที่จะใช้ในการวาง
ผังอาคาร และมีการวางแผนการทางาน ลาดับขั้นตอนการทางานซึ่งจะช่วยให้การวางผังอาคารเป็นไปได้
รวดเร็วถูกต้องและมีข้อบกพร่องน้อยที่สุด

จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ทั่วไป
1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแบบผังบริเวณและแปลนฐานราก
2. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์
3. เพื่อให้มีทักษะเกี่ยวกับขั้นตอน และวิธีการ การวางผังอาคาร
4. เพื่อให้มีทักษะเกี่ยวกับการหาศูนย์กลางเสา และกาหนดตาแหน่งฐานราก
5. เพื่อให้มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการเรียนและการปฏิบัติงาน
6. เพื่อให้มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. ปฏิบัติงานอ่านแบบผังบริเวณและแปลนฐานรากได้
2. จัดเตรียมเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ในการวางผังอาคารได้
3. ปฏิบัติงานวางผังอาคารตามตามขั้นตอน และวิธีการ การวางผังอาคารได้
4. ปฏิบัติงานหาศูนย์กลางเสา และกาหนดตาแหน่งฐานรากได้
5. มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนและการปฏิบัติงาน
6. ปฏิบัติงานด้วยความรับผิดชอบและมีระเบียบวินัย
7. มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สาระการเรียนรู้
หน่วยที่ 3 ประกอบด้วยหัวข้อสาระการเรียนรู้ ดังนี้
3.1 การอ่านแบบก่อสร้างก่อนวางผังอาคาร
3.2 การเตรียมรายการเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์
3.3 ขั้นตอนการวางผังอาคาร
3.4 การหาศูนย์กลางเสา กาหนดตาแหน่งฐานรากอาคาร
42

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. แจ้งจุดประสงค์ให้ผู้เรียนเข้าใจก่อนเรียน
2. ให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 3
3. ครูบรรยายนาเข้าสู่บทเรียน
4. ผู้เรียนศึกษาเนื้อหาความรู้ในเอกสารประกอบการสอน เรื่อง การศึกษาแบบก่อสร้าง
5. การอภิปรายและการซักถามเกี่ยวกับบทเรียนร่วมกัน
6. ผู้เรียนแบ่งกลุ่มๆ ละ 6 คน ฝึกปฏิบัติงานตามใบงานที่ 4
7. ผู้เรียนและครู ร่วมกันสรุปเนื้อหาประกอบสื่อ
8. ผู้เรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนวิชางานก่อสร้างอาคาร 1
2. แผ่นใสประกอบการบรรยาย
3. แผ่นภาพ
4. แบบก่อสร้างอาคารและรายการประกอบแบบ
5. ชุดฝึกปฏิบัติงาน งานก่อสร้างอาคาร 1 (งานวางผังอาคาร)
การวัดผล ประเมินผล
1 วัดผลตามจุดประสงค์การเรียนรู้
2 วิธีวัด ประเมินผล
2.1 สังเกต เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม ในการเรียนรู้และปฏิบัติงาน
2.2 สังเกต และตรวจผลงาน จากการปฏิบัติงานตามใบงาน
2.3 ประเมินผลจากแบบทดก่อนหลังเรียน
2.4 ประเมินผลจากแบบทดสอบหลังเรียน
3. เครื่องมือวัด ประเมินผล
3.1 แบบประเมิน เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์
3.2 แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน
3.3 แบบทดสอบก่อนเรียน
3.4 แบบทดสอบหลังเรียน
43

แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 3
เรื่องการวางผังอาคาร เวลา 10 นาที
คาชี้แจง 1. แบบทดสอบมีทั้งหมด 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน
2. ให้นักศึกษาทาเครื่องหมาย  ในตัวเลือกที่เห็นว่าถูกต้องที่สุดลงในกระดาษคาตอบ
1. โดยทั่วไปใครเป็นผู้รับผิดชอบในการวางผังอาคาร
ก. ช่างไม้
ข. ช่างปูน
ค. ช่างเหล็ก
ง. เจ้าของบ้าน
2. แบบที่ใช้ในการประกอบการวางผังอาคารคือ
ก. แบบแปลนพื้น แบบขยายคาน
ข. แบบแปลนพื้น แบบแปลนโครงหลังคา
ค. แบบแปลนผังบริเวณ แบบแปลนฐานราก คานคอดิน
ง. แบบแปลนผังบริเวณ แบบแปลนพื้น
3. ไม้ขนาดใดที่นิยมใช้ทาไม้หลักผัง ในการวางอาคาร
ก. ไม้ 1"  1"
ข. ไม้ 2"  2"
 
1 1
ค. ไม้ 1  1
2 2

1
ง. ไม้ 1  3
2
4. การวางผังอาคารเพื่ออะไร
ก. วางคานคอดิน
ข. ขุดหลุมฐานราก
ค. เทคอนกรีตฐานราก
ง. กาหนดแนวอาคารและตัวอาคาร
5. การวางผังอาคารสามารถทาได้กี่วิธี
ก. 2 วิธี
ข. 3 วิธี
ค. 4 วิธี
ง. 5 วิธี
6. ถ้าต้องการหาค่าระดับหลังผังควรใช้เครื่องมือชนิดใด
ก. ลูกดิ่ง
ข. สายยางระดับ
ค. เทปวัดระยะ
ง. ฉากจันทัน
44

7. เครื่องมือชนิดใดไม่มีความจาเป็นที่ใช้ในการวางผังอาคารโดยวิธีการวางเส้นฐาน
ก. กล้องวัดมุม
ข. เทปวัดระยะ
ค. สายางระดับ
ง. กล้องระดับ
8. การถ่ายตาแหน่งศูนย์กลางเสาลงดิน ใช้เครื่องมือชนิดใด
ก. ลูกดิ่ง
ข. ฉากจันทัน
ค. เทปวัดระยะ
ง. สายยางระดับ
9. การวางผังอาคารโดยวิธีการตีไม้ผัง ควรให้ระดับหลังผังสูงประมาณเท่าใด
ก. 50 เซนติเมตร
ข. 100 เซนติเมตร
ค. 120 เซนติเมตร
ง. 150 เซนติเมตร
10. การวางผังอาคารโดยวิธีการวางเส้นฐาน การกาหนดเส้นฐานควรห่างจากแนวอาคารไม่น้อยกว่าเท่าไร
ก. 1.00 เมตร
ข. 2.00 เมตร
ค. 3.00 เมตร
ง. 4.00 เมตร
45

หน่วยที่ 3
การวางผังอาคาร
การวางผังอาคาร คือการกาหนดแนวอาคาร และวางตัวอาคาร ลงในเขตที่ดินจาก
การกาหนดตาแหน่งของอาคาร ในแบบแปลนผังบริเวณการวางผังอาคาร จึงเป็นการขยายรูปแบบ
ของอาคาร จากแบบแปลน มาเป็นการก่อสร้างอาคารตามขนาดจริงตาม ที่ผู้ออกแบบกาหนด ผู้ที่จะ
ทาการก่อสร้างจะต้องลงมือปฏิบัติงาน วัดระยะตาแหน่งศูนย์กลางเสา และตาแหน่งฐานรากของ
อาคารลงในบริเวณที่จะทาการก่อสร้างโดยใช้ไม้แปตีหมุดหลักผังและผังนอนให้ได้ระดับ ทาการหา
แนวแรก และหาแนวฉากของอาคาร กาหนดศูนย์กลางเสา และกาหนดตาแหน่งฐานรากซึ่งมีขั้นตอน
การทางานดังนี้
3.1 การอ่านแบบก่อสร้างเพื่อการวางผังอาคาร
การอ่านแบบก่อสร้างเพื่อวางผังอาคาร คือการศึกษาแบบที่เกี่ยวกับการวางผั งอาคาร
ก่อนที่จะทาการวางแนวอาคารจะต้องนาแบบแปลนผังบริเวณ แบบแปลนฐานราก คานคอดิน พื้น
และแบบแปลนพื้นชั้น มาประกอบในการที่จะเตรียมงาน เพื่อให้ทราบถึงขนาดของตัวอาคารมีขนาด
เท่าไร ระยะตัว อาคารอยู่ห่างจากแนวเขตที่ดินแต่ล ะด้านเท่าไร อาคารหันหน้าไปไหนของพื้นที่
และการกาหนดระดับพื้นของอาคารอยู่ที่ระดับเท่าไร จึงจะกาหนดความกว้างของแนวผัง และกาหนด
ความสูงของผังนอนได้ด้วย
จากแบบแปลนผังบริเวณ (ภาพที่ 3.1) ด้านหน้าของตัวอาคารหันหน้าไปทางทิศตะวันออก
เฉีย งใต้ ประตูรั้ว ต่อ เชื่อ มกับ ทางเทศบาล มีร างระบายน้าสู่ท่อน้าสาธารณะของเทศบาลเมืองฯ
ตัวอาคารมีขนาดกว้าง 7.00 เมตร ยาว 11.00 เมตร ตัวอาคารห่างจากแนวรั้วด้านหน้าอาคารถึง
ศูนย์กลางเสาต้นแรกของอาคาร 8.00 เมตร ด้านข้างซ้ายของตัวอาคารห่างจากแนวรั้วถึงศูนย์กลาง
เสา 4.00 เมตร และด้านหลังของอาคารห่างจากรั้ว 5.50 เมตร
เมื่อศึกษารายละเอียดในแบบแปลนที่เกี่ยวข้องกับการวางผังอาคารและบันทึกรายละเอียด
ของงานที่จะต้องปฏิบัติลงในสมุดสนามพร้อมทั้งเขียนแบบร่าง แบบขยาย หรือแบบรายละเอียด
(Shop drawing) เรียบร้อยแล้ว จึงนาข้อมูลดังกล่าวไปปฏิบัติงานการวางผังอาคารในบริเวณงาน
ก่อสร้างอาคารต่อไป
46

ภาพที่ 3.1 แสดงแบบ แปลนผังบริเวณ


3.2 การเตรียมรายการเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์
จากการศึกษาแบบแปลนที่เกี่ยวข้องกับการวางผังอาคารและแบบไม้คอกผัง (ภาพที่ 3.2) ทาให้ผู้ที่
จะปฏิบัติงานจัดเตรีย มเครื่องมือ วัส ดุ และอุปกรณ์จาเป็นที่จะใช้ในการปฏิบัติงานให้ พร้อมก่อน
ลงมือปฏิบัติงาน ดังภาพที่ 3.2
47

ภาพที่ 3.2 แสดงแบบ การตีไม้ผัง


3.2.1 เครื่องมือ ในการวางผังอาคาร
ค้อนปอนด์ 8 ปอนด์ ,ค้อนหงอน ,ดินสอช่างไม้ ,ขวานช่างไม้ ,มีดพร้า ,เลื่อยลันดา ,เลื่อยไฟฟ้า
,เทปวัดระยะ ,ฉากจัน ทัน ,ลูกดิ่ง ,สายยางระดับ ,เชือกเอ็น ,กล้ องระดับ ,ไม้สต๊าฟ ,กล้องวัดมุม
(Theodolite) ,จอบ ,เสียม ,ชะแลง
3.2.2 การเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ในการวางผังอาคาร
เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ มี ตะปูขนาด 1",3" และไม้แป คือไม้ที่มีขนาดหน้าตัดไม้

1
1  3 ใช้ทาหลักผัง ไม้ผังนอนและไม้ยึดหลักผังกับผังนอน
2
48

จากแบบแปลนฐานราก คานคอดิน พื้น อาคารมีความกว้าง 7.00 เมตร ความยาว 11.00


เมตร และกาหนดให้ ระยะห่างจากศูนย์กลางเสาถึงแนวผัง 2.00 เมตร
ตัวอย่าง การหาไม้ผัง
ความยาวผังด้านกว้างอาคาร = ความกว้างอาคาร+ (ระยะจากศูนย์กลางฐานรากถึงแนวผัง 2 )
= 7.00+(2.00  2) = 11.00 เมตร
ความกว้างของผังมี 2 ด้าน = 11.00  2 = 22.00 เมตร
ความยาวผังด้านยาวอาคาร = ความยาวอาคาร+ (ระยะจากศูนย์กลางฐานรากถึงแนวผัง  2 )
= 11.00+(2.00  2) = 15.00 เมตร
ความกว้างของผังมี 2 ด้าน = 15.00  2 = 30.00 เมตร
ความยาวรวมผังทั้งหมด = ความยาวผังด้านกว้างอาคาร+ ความยาวผังด้านยาวของอาคาร
= 22.00+30.00
= 52.00 เมตร(สมมุติ ใช้ไม้แปยาว 3.00 ม= 52/3 = 17.33 ท่อน)
การหาจานวนหลักผัง
ความยาวรวมผังทั้งหมด 52.00 เมตร ระยะห่างจากหลักผังถึงหลักผัง 2.00 เมตร หลัก
ผังสูง 1.00 เมตรต่อท่อน
= 52.00
ความยาวรวมผัง +1
จานวนหลักผัง =
ระยะห่างหมุดหลักผัง 2.00 +1 = 27 ท่อน
จะต้องใช้ไม้แปความยาว 1.50 เมตร ทาหลักผังจานวน 27 ท่อน
การหาจานวนไม้ผังนอน
ความยาวรวมผังทั้งหมด 52.00 เมตร ไม้แปมีความยาว 3.50 เมตรต่อท่อน
จานวนไม้ผังนอน = ความยาวรวมผัง = 52.00 = 14.85 = 15 ท่อน
ความของไม้แปต่อท่อน 3.50
จะต้องใช้ไม้แปความยาว 3.50 เมตร ทาไม้ผังนอนจานวน 15 ท่อน

การหาจานวนไม้ยึดหลักผังกับผังนอน
ใช้ไม้แปขนาดความยาว 1.00 เมตร ยึดตามมุมผัง มุมละ 2 ท่อน จานวน 4 มุม
ใช้ไม้แปยาว 1.00 เมตร จานวน 8 ท่อน ยึดหลักผังกับผังนอน
สรุป ประมาณการใช้ วัสดุและอุปกรณ์สาหรับการวางผัง
1) ตะปูขนาด 1", 3"

1
2) ไม้แปขนาด 1  3  1.00 เมตร 35ท่อน
2

1
3) ไม้แปขนาด 1  3  3.50 เมตร 15 ท่อน
2
4) ปูนขาว 3 ถุง (ใช้โรยเพื่อกาหนดตาแหน่งและขนาดของฐานราก)
49

3.3 ขั้นตอนการวางผังอาคาร
จากการศึกษาแบบก่อสร้าง และการจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ในการวางผังแล้ว ลาดับต่อไปจะเป็น
การปฏิบัติงานวางผัง ซึ่งการวางผัง จะกาหนดตาแหน่งศูนย์กลางเสา และกาหนดตาแหน่ง ฐานราก
สามารถทาได้ 2 วิธีคือ
3.3.1 การวางผังโดยวิธีการวางเส้นฐานใช้กล้องวัดมุม (Theodolite) นิยมใช้กับการ
กาหนดตาแหน่งของอาคารขนาดใหญ่ ทาให้ส ะดวกต่อการปฏิบัติง าน ไม่มีแ นวผังขัด ขวางการ
ทางาน และขนย้ายวัสดุ อุปกรณ์เข้าในบริเวณงานก่อสร้าง เช่น พวกปั้นจั่นและเสาเข็ม การกาหนด
ตาแหน่งของอาคารโดยวิธีการวางเส้นฐานที่เป็นคู่ฉาก โดยที่กาหนดเส้นฐานขึ้นอย่างน้อยสองเส้น ให้
ทามุมฉากกัน เพื่อใช้ เป็ น เส้ น บั งคับความกว้ างและความยาวของอาคารเส้ นแนวอาคารหรือเส้ น
ศูนย์กลางเสาจะได้รับการวัดถ่ายออกไปจากเส้นฐานนี้ การกาหนดเส้นฐาน ควรให้ห่างจากแนวอาคารไม่
น้อยกว่า 2.00 เมตร จากภาพ (ภาพที่ 3.3) แสดงถึงการวางเส้นฐานประธาน กับเส้นฐานประกอบ ให้
ตั้งฉากต่อกันเพื่อใช้กาหนดขอบเขตของอาคารและตาแหน่งศูนย์กลางเสา ซึ่งมีขั้นตอนปฏิบัติงานดังนี้
1) การกาหนดเส้นฐานประธานเส้น OX และเส้นประกอบ OY ให้ตั้งฉากระหว่างกัน ที่จุด
O ด้วยกล้องวัดมุม โดยให้แนวอาคารห่างจากเส้น OX และ OY เท่ากับ 2.00 เมตร โดยทั่วไปเส้น
ฐานทั้งสองเส้นนี้ควรกาหนดไว้ก่อนจากแบบแปลนผังบริเวณที่มีทิศทางกาหนดอ้างอิงไว้แน่นอน เช่น
การกาหนดเส้นฐาน OX ให้ห่างหรือขนานกับเขตที่ดินในระยะที่สะดวกต่อการตั้งกล้องส่องเล็งแนว
และส่องระดับได้
2) ตามแนวเส้นฐาน OX ปักหมุดไม้กาหนดจุด A ,B,C,D,E ให้ห่างจากจุด O-A = 2.00
เมตร,A-B = 2.00 เมตร,B-C = 3.50 เมตร,C-D = 3.50 เมตร,D-E = 2.00 เมตร ตามลาดับ และ
ตามแนวเส้นฐาน OY กาหนดจุดที่ O-1 = 2.00 เมตร,1-2 = 3.50 เมตร,2-3 = 3.50 เมตร
ตามลาดับ หมุดที่กาหนดขึ้นคือ ตาแหน่งของแนวเสาอาคาร ที่กาหนดไว้ในแบบแปลนฐานราก
3) ย้ายกล้องตั้งดิ่งที่ตาแหน่งจุด A เปิดมุมกล้องตั้งฉากกับเส้น OX เล็กเป้าและปักหมุด
อ้างอิงที่ A เพื่อที่จะได้เส้นแนวเส้นตรง A-A1 วัดระยะจากเส้นฐานตรงตาแหน่ง A ตามแนวเส้นตรง
A-A1= 2.00 เมตร จะได้ตาแหน่งเสา A-1 วัดจากตาแหน่ง A-1 ถึง A-2 = 3.50 เมตร จะได้
ตาแหน่งเสา A-2 วัดจากตาแหน่ง A-2 ถึง A-3 = 3.50 เมตร จะได้ตาแหน่งเสา A-3 ด้วยวิธีบังคับ
แนวด้วยกล้อง และสอบระยะด้วยเทปตามวิธีปฏิบัติเช่นเดียวกับข้อ 2
4) ย้ายกล้องตั้งดิ่งที่จุด B,C,D และ E ปฏิบัติด้วยวิธีเดียวกัน เพื่อกาหนดตาแหน่ง เสา
ในแนว เส้นตรง B-B1,C-C1,D-D1และ E-E1 ตามลาดับ
5) ตั้งกล้องที่จุด 1,2 ,3 เล็งแนวตรงตั้งฉากกับกับเส้นฐานประกอบ OY ยังหมุดเล็ง
ตาแหน่ง 11 ,2 1 ,31 เส้นเล็งแนวนี้จะต้องผ่านเส้นผ่าศูนย์กลางของหมุดเสาที่ตอกไว้แต่ละแนว
6) ตรวจสอบความถูกต้องของหมุดศูนย์กลางเสาที่ตอกไว้ ด้วยวิธีการใช้วัดเส้น ทแยง
มุม ของรูปสี่เหลี่ยมจตุรัส เส้นทแยงมุมทั้งสองเส้นจะต้องมีความยาวเท่ากัน
7) หมุด A,B,C,D และ E บนเส้นฐาน OX และหมุด 1,2,3 บนเส้นฐาน OY ควรทา
เครื่องหมายแสดงตาแหน่งไว้ให้เห็นชัดเจน เพราะต้องใช้อ้างอิง กรณีที่หมุดศูนย์เสาสูญหาย
50

ภาพที่ 3.3 แสดงแบบ การวางผังอาคารโดยวิธีวางเส้น ฐาน


51

3.3.2 การวางผังโดยวิธีการตีไม้ผัง การกาหนดขอบเขตของอาคารและศูนย์กลางเสาของ


อาคารอีกวิธีหนึ่ง ที่นิยมใช้ในงานปักผัง คือ วิธีสร้างไม้ล้อมบริเวณแนวผังอาคาร ซึ่งอาจจะเรียกว่า
การตีไม้ผัง ตัวไม้ผังนอนจะทาหน้าที่เหมือนเส้นฐาน เครื่องมือ อุปกรณ์ ที่ใช้ทาผัง อาจมีเพียง เทป
วัดระยะ ฉากจันทัน สายยางระดับ เพื่อใช้ในการถ่ายค่าระดับ นอกจากนี้ยั งใช้ไม้ผังนอนเป็นระดับ
อ้างอิงสาหรับ ระดับ กาหนดระดับ ความลึกของฐานราก และตรวจสอบหาศูน ย์กลางเสา โดยไม่
จาเป็นต้องใช้กล้อง
1) หาแนวไม้ผัง พิจารณาแบบแปลนผังบริเวณ แบบแปลนฐานราก คานคอดิน พื้น
เพื่อกาหนดตาแหน่งแนวอาคาร แนวศูนย์กลางเสา เมื่อได้ตาแหน่งแนวอาคาร แนวศูนย์เสาแล้ว ให้วัด
ระยะออกจากตาแหน่งศูนย์กลางเสา ประมาณ 2.00 เมตรโดยรอบแนวอาคาร เพื่อเป็นแนวปักผัง
2) การตอกหลักผัง เป็นการตอกหลักรอบแนวไม้ผัง ที่ได้กาหนดและพิจารณาแนวไม้

1
ผังแล้วโดยนาไม้แปขนาด 1  3 x 1.00 เมตร 35ท่อน ที่เตรียมไว้ในขั้นตอนการจัดเตรียมวัสดุ
2
พร้อมทั้งเสี้ยมปลายหลักผังให้แหลม เพื่อให้ง่ายต่อการตอกหลัก มีขั้นตอนการปฏิบัติดังนี้ (ภาพที่ 3.4)
(1) นาไม้หลักผังตอกด้วยค้อนปอนด์ ตรงตาแหน่งตามมุมของแนวปักผังโดยรอบทั้ง
สี่มุมให้แน่น และได้แนวดิ่ง
(2) ขึงเชือกเอ็นตามแนวหลักที่ตอกไว้ตรงมุมผัง เพื่อเป็นแนวในการตอกหลัก
ในช่วงกลางผัง หลักผังควรมีระยะห่างกันระหว่างหลักผังประมาณ 1.50-2.00 เมตร หลักผังที่ตอก
จะต้องได้แนวเชือกเอ็นและได้ดิ่งด้วย
(3) ระดับหลังผังนอน ปกติทั่วไปจะกาหนดระดับหลังผังนอนสูงกว่าระดับดินเดิม
ประมาณ 50 เซนติเมตร โดยใช้สายยางระดับถ่ายค่าระดับ ± 0.00 (ระดับดินเดิม) จากหมุดระดับ มา
ที่หลั กผั งที่ตอกไว้แล้ว ทาเครื่องหมายระดับดินเดิมที่หลั กผั ง จากนั้นใช้ตลับเมตรวัดค่าระดับจาก
ตาแหน่ง ± 0.00 ขึ้นไป 0.50 เมตรจะได้ระดับหลังผังนอน
(4) เมื่อได้ระดับหลังผังนอนแล้ว หลักแรก ให้ใช้สายยางระกับถ่ายค่าระดับ ไปยัง
หลักผังมุมผังทั้งสี่มุม แล้วให้ใช้เชือกเอ็นให้ตึง ทาเครื่องหมายค่าระดับที่หลักผังต้นกลางทุกต้น
(5) ใช้ตะปู 3" ตอกค่าระดับตรงที่ทาเครื่องหมายค่าระดับตรงหลักผังทุกหลัก
แล้วถอดเชือกออก นาไม้วางตามแนวนอน ยกไม้แปให้ได้ระดับชนกับตัวตะปู จึงตอกยึดติดกับไม้หลัก
ผัง ยึดตะปูให้แน่น ทุกหลักจนรอบแนวผัง
52

ภาพที่ 3.4 แสดงแบบ การวางแนวหลักผัง


3) ความแข็งแรงของไม้ผัง เป็นการยึดไม้หลักผังกับไม้ผังนอนเข้าด้วยกันโดยใช้ไม้แป
ตียึดไขว้ตามมุมผังทุกมุม และหากไม้ผังมีความกว้างและยาวมาก ควรยึดไม้ช่วงกลางของผังดัวย
53

ข้อสังเกต งานวางผัง โดยการตีไม้ผัง จะเป็นการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ธรรมดาในงาน


ช่างไม้ทั่วไป ปฏิบัติงานได้ง่าย เป็นที่ยอมรับ แต่ในงานก่อสร้างบางประเภทอาจไม่เหมาะสม จึง
อาจเลือกใช้วิธีวางเส้นฐานใช้กล้องวัดมุม ที่สะดวกต่อการทางาน แต่ต้องใช้ช่างที่มีความรู้เรื่องกล้อง
ระดับ และกล้องวัดมุม วิธีนี้จะนาไปใช้กับงานปักผังได้ทุกประเภท

3.4 การหาศูนย์กลางเสา กาหนดตาแหน่งฐานรากอาคาร


เมื่อทาการตีไม้ผังเรียบร้อยแล้วก็จะต้องทาการหาศูนย์กลางของเสา หรือศูนย์กลางฐานราก ถึงแม้
จะทราบตาแหน่งก่อนที่จะตีแนวผังแล้วก็ตามแต่ก็เป็นเพียงการประมาณเท่านั้น ซึ่งตอนนี้ต้องหา
ระยะจุดตัดศูนย์กลางเสา ที่ต้องวัดอย่างเที่ยงตรง สาหรับคอกผังที่ตีฉากตอนมุมได้ฉากดี ก็จะทาให้
การวัดระยะบนแนวผังได้ง่ายขึ้น มีขั้นตอนการปฏิบัติงานดังนี้
3.4.1 การกาหนดเส้นแนวแรก คือการกาหนดเส้นฐานหรือเส้นศูนย์กลางเสาด้านความยาวอาคาร
วัดระยะจากผังไม้ถึงจุด1ด้านความกว้างอาคารประมาณ 1.50-2.00 เมตร (ภาพที่ 3.5) บนแนวผังด้าน
ความยาว ใช้ตะปูตอกที่หลังผังด้านความกว้างแล้วขึ งเชือกเอ็นให้ตึง จะได้เส้นแนวแรกของอาคาร
หรือเส้นแนวศูนย์กลางเสาตามความยาวอาคาร

ภาพที่ 3.5 แสดงแบบ การหาเส้นแนวแรก


3.4.2 การหาเส้นฉาก คือการหาเส้นบังคับฉากอาคารหรือแนวศูนย์กลางเสาด้านความกว้าง
อาคารวัดระยะจากแนวผังถึงจุด A ตามความยาวอาคารประมาณ 1.50-2.00 เมตร (ภาพที่ 3.6)
บนแนวผังด้านความยาวอาคารแล้วเปิดแนวให้ทามุมฉากกับเส้นแนวแรก ใช้ตะปูตอกที่หลังผังด้าน
ความยาวผัง แล้วขึงเชือกเอ็นให้ตึงไปตามความกว้าง จะได้เส้นเชือกเอ็นตัดกับเส้นเชือกเอ็นแนวแรกที่
54

จุด A-1 จะได้เส้นแนวฉากของอาคารหรือเส้นแนวศูนย์กลางเสาตามความกว้างอาคาร ซึ่งมีวิธีในการ


หาเส้นฉากได้ 2 วิธีคือ

วิธีที่1 ใช้ฉากจันทัน
1) ขึงเชือกเอ็นเส้นแนวแรก (เส้นแนว1)
2) ขึงเชือกเอ็นหาเส้นฉาก (เส้นแนวA) เชือกเอ็นตัดกับเส้นแนวแรกที่ ตาแหน่ง A-1
(ภาพที่ 3.6)
3) ใช้ฉากจันทันวัดมุมฉากให้ด้านฐานของฉากวางสัมผัส กับเส้นแนวแรก
(เส้นแนว1)
4) ขยับปลายเส้นเชือกเอ็น (เส้นแนวA) ให้เชือกเอ็นขนานกับด้านข้างฉากจันทัน
ก็จะได้มุมฉากที่ต้องการและตาแหน่งศูนย์กลางเสา A-1

ภาพที่ 3.6 แสดงแบบ การหาฉากโดยใช้ฉากจันทัน


วิธีที่2 ใช้กฎ 3 :4 :5 ของพิธากอรัส (Pythagors’s) คือสามเหลี่ยมใดๆที่มีระยะเป็น
สัดส่วนด้าน3 หน่วยต่อ 4 หน่วยต่อ 5 หน่วยสามเหลี่ยมนั้นคือสามเหลี่ยมมุมฉากซึ่งการหาเส้นฉากใน
การวางผัง ได้ดังนี้
1) ขึงเชือกเอ็นเส้นแนวแรก (เส้นแนว1)
2) ขึงเชือกเอ็นหาเส้นฉาก (เส้นแนวA) เชือกเอ็นตัดกับเส้นแนวแรกตาแหน่ง A-1(
ภาพที่ 3.7)
55

3) วัดระยะจากเส้นแนวแรก (เส้นแนว1) 30 เซนติเมตร


4) วัดระยะจากเส้นแนวฉาก (เส้นแนวA) 40 เซนติเมตร
5) วัดระยะจากX-Y ให้ได้ระยะ 50 เซนติเมตร ก็จะได้มุมฉากที่ ต้องการและ
ตาแหน่งศูนย์กลางเสา A-1 (ภาพที่ 3.7)
1.50-2.00 ม. 3.50 ม.
1X 2
1.50-2.00 ม. X

A-1 40 ซม. Y เส้นฉาก


AX
30 ซม.
2.00 ม.

50 ซม.
X
BX
เส้นแนวแรก
3.50 ม.
ไม้ผงั นอน

CX

ภาพที่ 3.7 แสดงแบบ การหาฉากโดยใช้ กฎ 3:4:5 ของพิธากอรัส (Pythagors’s)


4.2.3 การกาหนดตาแหน่งศูนย์กลางเสา จากการได้เส้นแนวแรกและเส้นฉากแล้ว ให้ใช้
เทปวัดระยะบนแนวผังตามยาวอาคารทั้งสองด้านของคอกผัง (ภาพที่ 3.4)
1) ใช้เทปวัดระยะบนไม้ผังด้านความยาวจากจุด A-B = 2.00 เมตร จากจุด B-C=
3.50 เมตร จากจุด C-D= 3.50 เมตรและจากจุด D-E = 2.00 เมตร ตอกตะปูตามตาแหน่งต่างๆ ลง
บนไม้ผังตามระยะที่วัดไว้
2) ใช้เทปวัดระยะบนไม้ผังด้านความกว้าง จากจุด 1-2 = 3.50 เมตร และ จาก 2-3
= 3.50 เมตร ตอกตะปูตามตาแหน่งต่างๆ ลงบนไม้ผังตามระยะที่วัดไว้
3) ใช้เชือกเอ็นขึงให้ตึ ง ตามตะปูที่ตอกไว้ ตาแหน่งที่เชือกเอ็นตัดกัน ในแนวผังคือ
ตาแหน่งศูนย์กลางเสาซึ่งมีตาแหน่งศูนย์กลางดังภาพ (ภาพที่ 3.8)
56

1 2 3

A-1 A-2 A-3


A

B-1 B-2 B-3


B

C-1 C-2 C-3


C

D-1 D-2 D-3


D

E-1 E-2
E

การตาแหน่งศูนย์กลางเสา 1:100

ภาพที่ 3.8 แสดงแบบ ตาแหน่งศูนย์กลางเสา


บทสรุป
การวางผังอาคาร เป็นการกาหนดตาแหน่งของอาคาร ที่จะทาการก่อสร้างอาคารโดยเริ่ม
จากการศึกษาแบบผังบริเวณ แบบแปลนฐานราก ตอม่อ คานคอดิน นารายละเอียดจากแบบมา
ประกอบ การกาหนดแนวการวางผัง ดาเนินการวางผังตามขั้นตอน การวางผัง ทาได้ 2 วิธีคือ การวาง
ผังโดยวิธีการวางเส้นฐานใช้กล้องวัดมุมในการวางผัง ซึ่งนิยมใช้ในงานก่อสร้างขนาดใหญ่ กับการวาง
ผัง โดยวิธ ีก ารตีไ ม้ผ ัง เหมาะส าหรับ งานก่อ สร้า งทั่ว ๆไป เมื ่อ วางผัง แล้ว จะเป็น การกาหนด
ศูนย์กลางเสา กาหนดตาแหน่งฐานราก เพื่อที่จะปฏิบัติงานฐานรากอาคารในขั้นตอนก่อสร้างต่อไป
57

แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยที่ 3
เรื่องการวางผังอาคาร เวลา 10 นาที

คาชี้แจง 1. แบบทดสอบมีทั้งหมด 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน


2. ให้นักศึกษาทาเครื่องหมาย  ในตัวเลือกที่เห็นว่าถูกต้องที่สุดลงในกระดาษคาตอบ
1. แบบที่ใช้ในการประกอบการวางผังอาคารคือ
ก. แบบแปลนพื้น แบบขยายคาน
ข. แบบแปลนผังบริเวณ แบบแปลนพืน้
ค. แบบแปลนพื้น แบบแปลนโครงหลังคา
ง. แบบแปลนผังบริเวณ แบบแปลนฐานราก คานคอดิน
2. ไม้ขนาดใดที่นิยมใช้ทาไม้หลักผัง ในการวางอาคาร
 
1 1
ก. ไม้ 1  1
2 2

1
ข. ไม้ 1  3
2
ค. ไม้ 1"  1"
ง. ไม้ 2"  2"
3. โดยทั่วไปใครเป็นผู้รับผิดชอบในการวางผังอาคาร
ก. ช่างปูน
ข. ช่างไม้
ค. ช่างเหล็ก
ง. เจ้าของบ้าน
4. การวางผังอาคารเพื่ออะไร
ก. เทคอนกรีตฐานราก
ข. ขุดหลุมฐานราก
ค. วางคานคอดิน
ง. กาหนดแนวอาคารและตัวอาคาร
5. การวางผังอาคารสามารถทาได้กี่วิธี
ก. 2 วิธี
ข. 3 วิธี
ค. 4 วิธี
ง. 5 วิธี
6. เครื่องมือชนิดใดไม่มีความจาเป็นที่ใช้ในการวางผังอาคารโดยวิธีการวางเส้นฐาน
ก. เทปวัดระยะ
ข. กล้องระดับ
ค. เสายางระดับ
ง. กล้องวัดมุม
58

7. ถ้าต้องการหาค่าระดับหลังผังควรใช้เครื่องมือชนิดใด
ก. ลูกดิ่ง
ข. สายยางระดับ
ค. ฉากจันทัน
ง. เทปวัดระยะ
8. การถ่ายตาแหน่งศูนย์กลางเสาลงดิน ใช้เครื่องมือชนิดใด
ก. สายยางระดับ
ข. ฉากจันทัน
ค. ลูกดิ่ง
ง. เทปวัดระยะ
9. การวางผังอาคารโดยวิธีการวางเส้นฐาน การกาหนดเส้นฐานควรห่างจากแนวอาคารไม่น้อยกว่า
เท่าไร
ก. 1.00 เมตร
ข. 2.00 เมตร
ค. 3.00 เมตร
ง. 4.00 เมตร
10. การวางผังอาคารโดยวิธีการตีไม้ผัง ควรให้ระดับหลังผังสูงประมาณเท่าใด
ก. 50 เซนติเมตร
ข.100 เซนติเมตร
ค.120 เซนติเมตร
ง.150 เซนติเมตร
59

เฉลยแบบทดสอบ หน่วยที่ 3
แบบทดสอบก่อนเรียน
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
ก ค ง ง ก ข ค ก ก ข
แบบทดสอบหลังเรียน
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
ง ง ข ง ก ค ข ค ข ก
60

เอกสารอ้างอิง
พิภพ สุนทรสมัย. เทคนิคการก่อสร้างอาคารเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: โปรเฟรสชั่นแนลพับลิชชิ่ง, 2524.
พิภพ สุนทรสมัย. การซ่อมและตกแต่งอาคาร. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น),
2534.
มนัส กล่องเพ็ชร. เทคนิคก่อสร้าง 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: เอมพันธ์, 2543.
สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย. เอกสารงานสอนชุดวิชา 31303 งานสนาม. พิมพ์ครั้งที่ 5.
กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2542.
61

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
เรื่อง งานฐานรากอาคาร
สาระสาคัญ
งานฐานรากอาคาร เป็นงานโครงสร้างอาคารที่อยู่ใต้ดิน รับน้าหนักจากโครงสร้างอาคาร
แล้วถ่ายน้าหนักทังหมดลงสู่หัวเสาเข็ม หรือดินท้องฐานราก การปฏิบัติงานฐานรากอาคาร เริ่ม
งานจาก การก้าหนดหลุมฐานราก ขุดหลุมฐานราก ก้าหนดระดับท้องฐานราก เทคอนกรีตหยาบ การ
ก้าหนดศูนย์กลางเสาและฐานราก ประกอบแบบฐานราก การวัด ตัด ดัด เหล็กตะแกรงฐานราก การผูก
เหล็ก การผสมคอนกรีต การล้าเลียง คอนกรีต การเทคอนกรีตฐานราก การถอดแบบฐานรากและบ่ม
คอนกรีต
จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ทั่วไป
1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับฐานรากอาคาร
2. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการงานฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก
3. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ แยกรายการวัสดุ อุปกรณ์ ในงานฐานราก
4. เพื่อให้มีทักษะในงานเตรียมหลุมฐานรากและแบบหล่อคอนกรีตฐานราก
5. เพื่อให้มีทักษะในงานเหล็กเสริมคอนกรีต และงานคอนกรีตฐานราก
6. เพื่อให้มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการเรียนและการปฏิบัติงาน
7. เพื่อให้มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. อธิบายขันตอนการปฏิบัติงานฐานรากอาคารได้
2. จัดเตรียม รายการวัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมืองานฐานราก ได้
3. ปฏิบัติงานเตรียมหลุมฐานรากและงานแบบหล่อคอนกรีตได้
4. ปฏิบัติงานเหล็กเสริมฐานรากและงานคอนกรีตฐานรากอาคารได้
5. มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนและการปฏิบัติงาน
6. ปฏิบัติงานด้วยความรับผิดชอบและมีระเบียบวินัย
7. มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สาระการเรียนรู้
หน่วยที่ 4 ประกอบด้วยหัวข้อสาระการเรียนรู้ ดังนี
4.1 ประเภทฐานราก
4.2 การเตรียมหลุมฐานราก
4.3 งานแบบหล่อคอนกรีตฐานราก
4.4 งานเหล็กเสริมฐานราก
4.5 งานคอนกรีตฐานราก
62

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. แจ้งจุดประสงค์ให้ผู้เรียนเข้าใจก่อนเรียน
2. ให้ผู้เรียนท้าแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 4
3. ครูบรรยายน้าเข้าสู่บทเรียน
4. ผู้เรียนศึกษาเนือหาความรู้ในเอกสารประกอบการสอน เรื่อง การศึกษาแบบก่อสร้าง
5. การอภิปรายและการซักถามเกี่ยวกับบทเรียนร่วมกัน
6. ผู้เรียนแบ่งกลุ่มๆ ละ 6 คน ฝึกปฏิบัติงานตามใบงานที่ 5
7. ผู้เรียนและครู ร่วมกันสรุปเนือหาประกอบสื่อ
8. ผู้เรียนท้าแบบทดสอบหลังเรียน
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนวิชางานก่อสร้างอาคาร 1
2. แผ่นใสประกอบการบรรยาย
3. แผ่นภาพ
4. แบบก่อสร้างอาคารและรายการประกอบแบบ
5. ชุดฝึกปฏิบัติงาน งานก่อสร้างอาคาร 1 (งานฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก)
การวัดผล ประเมินผล
1 วัดผลตามจุดประสงค์การเรียนรู้
2 วิธีวัด ประเมินผล
2.1 สังเกต เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม ในการเรียนรู้และปฏิบัติงาน
2.2 สังเกต และตรวจผลงาน จากการปฏิบัติงานตามใบงาน
2.3 ประเมินผลจากแบบทดก่อนหลังเรียน
2.4 ประเมินผลจากแบบทดสอบหลังเรียน
3. เครื่องมือวัด ประเมินผล
3.1 แบบประเมิน เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์
3.2 แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน
3.3 แบบทดสอบก่อนเรียน
3.4 แบบทดสอบหลังเรียน
63

แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 4
เรื่องงานฐานรากอาคาร เวลา 10 นาที
คาชี้แจง 1. แบบทดสอบมีทังหมด 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน
2. ให้นักศึกษาท้าเครื่องหมาย  ในตัวเลือกที่เห็นว่าถูกต้องที่สุดลงในกระดาษค้าตอบ
1. ฐานรากอาคารมีหน้าที่อะไรในโครงสร้างอาคาร
ก. รับน้าหนักคานคอดิน
ข. รับน้าหนักผนังอาคาร
ค. รับน้าหนักแรงในแนวดิ่งจากเสาตอม่อแล้วกระจายแรงสู่พืนดิน
ง. รับน้าหนักแรงในแนวดิ่งจากพืนอาคารแล้วกระจายแรงสู่พืนดิน
2. งานฐานรากอาคารเป็นงานโครงสร้างประเภทใด
ก. งานโครงสร้างผสม
ข. งานโครงสร้างบนดิน
ค. งานโครงสร้างใกล้ผิวดิน
ง. งานโครงสร้างที่อยู่ใต้ดิน
3. ฐานรากที่มีเสาอยู่ต้นเดียวที่จุดกึ่งกลางเรียกว่า
ก. ฐานรากแผ่
ข. ฐานรากร่วม
ค. ฐานรากแผ่เดี่ยว
ง. ฐานรากแผ่ร่วม
4. ฐานรากแผ่ที่มีเสาสองต้นเรียงชิดติดกันเรียกว่า
ก. ฐานรากแผ่
ข. ฐานรากร่วม
ค. ฐานรากแผ่เดี่ยว
ง. ฐานรากแผ่ร่วม
5. วัสดุที่นิยมใช้ท้าฐานรากอาคารคือ
ก. เสาไม้
ข. คอนกรีตหยาบ
ค. คอนกรีตเสริมเหล็ก
ง. คอนกรีตผสมเสร็จ
6. ไม้แบบปกติทั่วไปจะใช้ไม้หนาขนาดเท่าไร

1
ก.
2
ข. 1

1
ค. 1
2
ง. 2
64

7. การขุดหลุมฐานรากบริเวณที่เป็นดินเหนียวมีมุมลาดเอียงปากหลุมเท่าไร
ก. 15 องศา
ข. 30 องศา
ค. 45 องศา
ง. 60 องศา
8. คอนกรีตหยาบ หมายถึงคอนกรีตที่มีอัตราส่วนผสมเท่าไร
ก. 1:1:2
ข. 1:2:3
ค. 1:2:5
ง. 1:3:5
9. การผูกเหล็กตะแกรงฐานรากให้แน่นควรใช้การผูกเหล็กแบบใด
ก. แบบทแยง
ข. แบบกากบาท
ค. แบบสาแหรก
ง. แบบม้วนเกลียว
10. ลวดผูกเหล็กในงานเหล็กเสริมคอนกรีตใช้ลวดอะไร
ก. ลวดเบอร์ 12
ข. ลวดเบอร์ 14
ค. ลวดเบอร์ 16
ง. ลวดเบอร์ 18
65

หน่วยที่ 4
งานฐานรากอาคาร
ฐานราก เป็นโครงสร้างของอาคารที่อยู่ใต้ผิวดิน ซึ่งนอกจากจะท้าหน้าที่รับน้าหนักแรงในแนวดิ่ง
ของอาคารส่วนบนจากเสาตอม่อ กระจายสู่พืนดินส่วนล่าง ยังช่วยกระจายแรงทางด้านข้างที่เกิดจาก
แรงลม แรงดัน ของดิน แรงดัน ของน้า หรือแรงที่เกิดขึนจากแผ่นดินไหว ที่มากระท้าต่อโครงสร้าง
อาคารไปสู่ดิน ป้องกันไม่ให้อาคารเกิดการลื่นไถลหรือพลิกคว่้า ส้าหรับวัสดุที่ใช้ก่อสร้างของฐานราก
ส่วนมากจะเป็นงานคอนกรีตเสริมเหล็ก
4.1 ประเภทของฐานราก
ฐานรากแบ่งได้เป็น 2 ประเภทตามแบบของการถ่ายน้าหนักของอาคารลงสู่ฐานราก คือ
4.1.1 ฐานรากแผ่ เป็นฐานรากที่ใช้กับอาคารที่ก่อสร้างในบริเวณดินแข็ง เช่น พืนที่ใกล้ภูเขา
ที่ดินเป็นดินลูกรัง มีคุณสมบัติรับแรงกดหรือรับน้าหนักได้ดี งานก่อสร้างอาคารจะวางฐานรากบนพืนดิน
น้าหนักอาคารถ่ายน้าหนักผ่านฐานราก กระจายลงสู่ดิน แบ่งออกเป็น 4 ชนิดคือ
1) ฐานรากแผ่เดี่ยว เป็นฐานรากที่นิยมใช้ทั่วไปในการก่อสร้าง มีลักษณะในหนึ่งฐานราก
จะมีเสาอยู่ต้นเดียวที่จุดศูนย์กลางฐานราก ตัวฐานรากอาจเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมพืนผ้า หรือรูป
อื่นๆ ก็ได้

ภาพที่ 4.1 แสดงแบบ ฐานรากแผ่เดี่ยว


2) ฐานรากตีนเป็ด เป็นฐานรากที่ออกแบบ มาเพื่อรับน้าหนักบรรทุกของเสาตอม่อ หรือ
ก้าแพงที่อยู่ริมขอบฐานราก ท้า ให้น้าหนักที่ถ่ายลงสู่ฐานเยืองศูนย์กับ จุดศูนย์ถ่วงของฐาน เช่นฐาน
รากที่อยู่ใกล้กับแนวเขตที่ดินหรือฐานรากชิดกับแนวอาคารเดิม
66

ภาพที่ 4.2 แสดงแบบ ฐานรากตีนเป็ด


3) ฐานรากร่วม เป็นฐานรากแผ่ที่มีเสาตังแต่ 2 ต้นขึนไปเรียงชิดติด กันเป็นแถวมีเสาอยู่
ใกล้กันมีการถ่ายน้าหนักที่ใกล้เคียงกัน จึงใช้ฐานรากร่วมกันได้

ภาพที่ 4.3 แสดงแบบ ฐานรากร่วม


4) ฐานรากแผ่ร่วม หรือฐานรากแพเป็นฐานรากแผ่ขนาดกว้างให้เต็มพืนที่อาคารเพียงฐาน
รากเดี ย ว มี เ สาหลายๆ ต้ น ฐานรากชนิ ด นี เหมาะส้ า หรั บ อาคารขนาดใหญ่ ใ ช้ ใ นกรณี ที่ ดิ น มี
ความสามารถรับน้าหนักได้น้อย เมื่อเปรียบเทียบระยะห่างระหว่างเสาหลายๆ ต้นที่วางกันอยู่ และ
สะดวกในการขุดดินเป็นหลุมรวมหลุมเดียวทังอาคารหรือกรณีที่เสาตอม่อใกล้กันทังอาคาร
67

ภาพที่ 4.4 แสดงแบบ ฐานรากแผ่ร่วม


4.1.2 ฐานรากแบบเสาเข็ม เป็น ฐานรากที่ใ ช้กับ อาคารที่ก่อ สร้า งในท้อ งที่ดิน
เหนียว หรือที่ลุ่ม คุณภาพของดินไม่มีคุณสมบัติรับน้าหนักของอาคารได้ งานก่อสร้างอาคารจึงต้อง
สร้างให้ฐานรากวางอยู่บนเสาเข็ม เพื่อถ่ายน้าหนักของอาคารผ่า นฐานราก ลงสู่เสาเข็มและกระจาย
น้าหนักลงชันดินแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ
1) เสาเข็มความฝืด คือ เสาเข็มที่ใช้หลักการของแรงพยุงผิวหรือแรงเสียด
ทานรอบตัว ของเสาเข็ม ช่ว ยรับ น้า หนัก จึง ใช้เ สาเข็ม สั นได้ เหมาะส้า หรับ งานก่อ สร้า ง อาคาร
ทั่วไป

ภาพที่ 4.5 แสดงแบบ เข็มความฝืด


2) เสาเข็มรับน้าหนักปลายเข็ม คือเสาเข็มที่ใช้ปลายเสาเข็ม นั่งบนชันระดับ
ดินแข็ง จึงเป็นลักษณะของเสาเข็มยาว เหมาะส้าหรับงานก่อสร้างอาคารสูงและอาคารขนาดใหญ่พิเศษ
68

ภาพที่ 4.6 แสดงแบบ เข็มรับน้าหนักปลายเข็ม


4.2 การเตรียมหลุมฐานราก
เป็นงานขุดดินฐานราก ให้มีขนาดความกว้าง ความยาว ความลึก และปรับดินก้นหลุมรองทราย
หยาบ เทคอนกรีตหยาบรองก้นฐานรากให้พร้อมก่อนงานประกอบไม้แบบ ผูกเหล็ก และเทคอนกรีต
ฐานราก ที่มีขันตอนการปฏิบัติงานดังนี
4.2.1 งานขุดดินหลุมฐานรากอาคาร ที่มีความลึกไม่เกิน 2 เมตรการขุดดินควรใช้วิธีการขุดดิน
แบบปากหลุมมีมุมลาดเอียง ซึ่งมีข้อมูลในการพิจารณาดังนี
1) ชนิดของดิน ขุด ให้พิจารณาว่าบริเวณที่จะขุด ดิน เป็นดิน ชนิดใด เช่น เป็น ดิน ปน
ทรายทั่วๆ ไปการขุดดินต้องมีมุมลาดเอียงประมาณ 30 องศาหรือประมาณ 1:3 ถ้าเป็นดินเหนียวมี
มุมลาดเอียงประมาณ 45 องศา หรือประมาณ 1:1 ดังภาพที่ 4.7
2) การกองเก็บ ดิน ขุด หลุม ฐานราก ปริม าณของดิน ขุด ออกมา มีจ้า นวนมาก น้อ ย
เพียงใด มีที่กองเก็บดินเพียงพอหรือกีดขวางการท้างานหรือไม่ ซึ่งอาจจะก่ออุบัติเหตุได้ หากกองดินติด
กับปากหลุมมากเกินก็จะท้าให้ดินตกลงในก้นหลุมฐานรากขณะปฏิบัติงานได้
3) การเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายงานขุดหลุมฐานราก ระหว่างการท้าระบบป้องกันดินพังโดย
วิธีการอื่น กับการขุดดินแบบมุมลาดเอียง ว่างานขุดหลุมวิธีใดมีความเหมาะสมกว่ากัน ทังค่าใช้จ่าย
และระยะเวลาการท้างาน
69

ภาพที่ 4.7 แสดงแบบ การขุดดินฐานรากแบบปากหลุมมีมุมลาดเอียง


4.2.2 การปรับดินก้นหลุมรองทราย เป็นการท้าให้ก้นหลุมฐานรากมีความเรียบและดินก้นหลุม
แน่น เนื่องจากดินก้นหลุมที่ถูกขุดจะเป็นดินเสียสภาพและเสียก้าลัง จึงต้องปรับสภาพดินก้นหลุม ด้วย
การโกยหรือขุดออก หรือถ้าก้นหลุมมีน้าซึมขังให้วิดน้าออก แล้วใช้ทรายหยาบแห้งใส่แทนดินที่ขุดขึน
ท้าการบดอัดตบทรายให้แน่นปรับระดับทรายให้ได้ระดับที่ท้องคอนกรีตหยาบ
4.2.3 การเทคอนกรีตหยาบ เป็นคอนกรีต ที่มีอัตราส่วนผสมของวัสดุมวลคละหิน และทราย
หยาบ มากกว่าคอนกรีตโครงสร้าง มีอัตราส่วนผสม 1:3:5,1:3:6 ประโยชน์ของการเทคอนกรีตหยาบใต้ฐาน
ราก มีหลายประการ เช่น
1) เพื่อรัดหัวเสาเข็มให้อยู่เป็นกลุ่ม และอยู่ในต้าแหน่ง
2) เพื่อกันไม่ให้คอนกรีตของฐานรากไหลปนกับทรายหยาบก้นหลุมฐานราก
3) เพื่อท้าให้ระดับใต้ฐานราก และสะดวกต่อการท้าไม้แบบ และเหล็กเสริม
4) เพื่อให้การท้างานในฐานรากง่ายขึนเมื่อเทคอนกรีตหยาบแล้ว
4.3 งานแบบหล่อคอนกรีต ฐานราก
งานแบบหล่อคอนกรีตฐานราก คือ แบบหล่อที่ประกอบขึนเพื่อใช้ในการหล่อคอนกรีต ฐานราก
ให้มีรูปร่าง ลักษณะ ขนาด ต้าแหน่งของคอนกรีตตามที่ก้าหนดในแบบงานก่อสร้าง ซึ่งผู้ที่ท้า การ
ก่อ สร้า ง จะต้อ งมีค วามรู้ค วามเข้า ใจในงานแบบหล่อ ตั งแต่ ก ารเตรีย มแบบหล่อ คอนกรีต การ
ประกอบติดตังแบบหล่อ การตรวจสอบต้าแหน่ง ขนาด ระดับ ของฐานราก
4.3.1 การเตรียมแบบหล่อคอนกรีต ในการเตรียมแบบหล่อคอนกรีตผู้ที่มีหน้าที่เตรียมแบบ
หล่อ ต้องมีความรู้เกี่ยวกับแบบหล่อคอนกรีต รู้จักหน้าที่ คุณสมบัติของแบบหล่อ และการเลือก ใช้วัสดุ
ท้าแบบหล่อ ที่จะน้ามาใช้ในงานก่อสร้าง
1) แบบหล่อคอนกรีตมีหน้าที่ส้าคัญดังนี
(1) ท้าหน้าที่ขึนรูปร่างคอนกรีตให้ได้ขนาด ตามแบบก่อสร้างที่ก้าหนด
(2) ท้าหน้าที่เป็นนั่งร้านส้าหรับงานผูกเหล็กเสริมคอนกรีต
70

(3) ท้าหน้าที่เป็นโครงสร้างชั่วคราวรับน้าหนักคอนกรีตขณะท้าการหล่อคอนกรีตและบ่ม
คอนกรีต
2) คุณสมบัติของแบบหล่อ
(1) มีรูปร่างชัดเจน แบบหล่อขึนรูปชัดเจน มีเหลียมมุมหรือส่วนโค้ง
(2) การประกอบแบบหล่อ ถูกต้องตรงตามต้าแหน่งและระดับของอาคาร
(3) มีผิวเรียบ ไม่บิดงอ ไม่มีรอยรั่ว เมื่อประกอบแบบแล้ว
(4) ถอดแบบง่าย ขณะท้าการถอดแบบไม่ท้าให้ผิวคอนกรีตเกิดการเสียหาย สามารถ
น้าไปใช้งานอีกได้
3) การเลือกใช้วัสดุท้าแบบหล่อ วัสดุที่ใช้ท้าแบบหล่อคอนกรีต ปกติจะใช้ แบบไม้ หรือ
แบบเหล็ก แต่ในที่นีจะกล่าวเฉพาะแบบไม้ แต่การเลือกใช้แบบหล่อปกติจะขึนอยู่กับลักษณะอาคาร
และความช้านาญของช่างผู้ท้าการก่อสร้างอาคารไม้แบบ และไม้เคร่า มีลักษณะ และการบอกขนาด
ดังนี
(1) ไม้แบบ มีลักษณะเป็นไม้แผ่น ไม่บิดงอไม่มีตาไม้ รอยแตก รอยแยก ไม่ผุ การ
บอกขนาดไม้แบบจะมีขนาดตามมาตรฐาน หนา 1" หรือ 2.5 เซนติเมตร และความกว้างจะบอกตาม
หน้าไม้ เช่น ไม้แบบหน้า 6" ไม้แบบหน้า 8" และไม้แบบหน้า 10" ส่วนความยาวของไม้แบบจะบอก
เป็นเมตรโดยทั่วไปไม้แบบจะมีความยาวตังแต่ 3.00 เมตร และความยาวเพิ่มครังละ 50 เซนติเมตรจนถึง
5.00 เมตร
(2) ไม้เคร่า มีลักษณะเป็นไม้ท่อนสี่เหลี่ยมพืนผ้า ตรงไม่บิดงอ ไม่ผุ ไม่มีตาไม้ ไม่
ต้องไส เพราะส่วนมากน้ามาท้าเป็นไม้โครงเคร่าของไม้แบบ โดยทั่วไปจะใช้ไม้ยาง เพราะเป็นไม้ที่ดี

1
ไม้เคร่าโดยทั่วไปเขาจะเรียกว่า ไม้แปหรือไม้หน้าสาม ซึ่งมีขนาดตามมาตรฐาน หนา 1  3 ความยาว
2
มีทุกขนาดตังแต่ 1.00 เมตรและความยาวเพิ่มครังละ 50 เซนติเมตร จนถึง 5.00 เมตร
4.3.2 ขั้นตอนการประกอบติดตั้งแบบหล่อ หลังจากเทคอนกรีตหยาบก้นหลุมฐานราก
ท้าความสะอาดล้างผิวคอนกรีตหยาบฐาน ประกอบติดตังไม้แบบฐานรากควรปฏิบัติดังนี
1) การถ่ายแนวศูน ย์ กลางฐานราก วั ด ระยะขนาดฐานราก จากผั งอาคารได้ต้าแหน่ ง
ศูนย์กลางเสา ศูนย์กลางฐานรากแล้ว ตามหมุดตะปูบนไม้หลังผัง การหาศูนย์กลางฐานรากในหลุม
ฐานราก ให้ขึงเชือกเอ็นที่ไม้หลังผัง ทังด้านความกว้างผังและด้านความยาวผัง เชือกเอ็นที่ขึงจะท้า
มุมตัดกัน ต้าแหน่งที่เชือกเอ็นตัดกันทุกจุด เป็นต้าแหน่งศูนย์กลางของฐานราก ให้ท้าการถ่ายแนว
ศูนย์กลางฐานรากใช้ ลูกดิ่ง ทิงดิ่งตามแนวเชือกเอ็นไม้หลังผัง ลงไปที่ก้นหลุมฐานราก ท้าเครื่องหมายตรง
จุดดิ่ง และตีเส้นตามต้าแหน่งดิ่ง ก็จะเกิดจุดตัดเหมือนกับเชือกเอ็นบนผัง จุดตัดผิวคอนกรีตหยาบ เป็น
ต้าแหน่งศูนย์กลางฐานรากที่ก้นหลุม จากจุดศูนย์กลางฐานราก ให้วัดระยะเป็นแนวขอบฐานรากทังสี่
ด้านโดยใช้ระยะครึ่งหนึ่งของความกว้างฐานราก เช่น ฐานรากกว้าง 1.00  1.00 เมตร ระยะจาก
ศูนย์กลางถึง แนวขอบฐานรากเท่ากับ 0.50 เมตรทังสี่ด้าน ใช้บักเต้าตีเส้นให้รอบ จะได้แนวขอบ
ฐานรากที่มีขนาด 1.00  1.00 เมตร ตามที่ก้าหนด
71

2) การประกอบไม้แบบ จากแบบฐานรากมีขนาด 1.00  1.00 เมตร หนา 0.20 เมตร ไม้ที่ใช้ใน


การท้าแบบ คือไม้แบบขนาด 1"  8" ยาว 1.00 เมตร 2 แผ่นไม้แบบ 1"  8" ยาว 1.25 เมตร 2 แผ่น ไม้

เคร่า 1 1  3 ยาว 0.50 เมตร 8 ท่อน มีขันตอนการปฏิบัติงานดังนี
2
(1) น้าไม้แบบ 1"  8" มาตัดให้ได้ความยาว 1.00 เมตรจ้านวน 2 แผ่นแล้วน้าไม้เคร่า มาตี
ตะปูติดไม้แบบทัง 2 แผ่น ดังภาพที่ 4.8

ภาพที่ 4.8 แสดงแบบ การตีไม้เคร่าติดไม้แบบ


(2) น้า ไม้แ บบ 1"  8" มาตัด ให้ไ ด้ค วามยาว 1.25 เมตร จ้า นวน 2 แผ่นน้าไป
ประกอบกับไม้แบบที่ตีไม้เคร่าไว้แล้ว โดยวัดระยะไม้แบบมีความกว้าง 1.00 เมตรซึ่งจะได้ไม้แบบรูป
สี่เหลี่ยมจตุรัสขนาด 1.00  1.00 เมตร ดังภาพที่ 4.9

ภาพที่ 4.9 แสดงแบบ การยึดไม้แบบ


72

(3) น้าไม้แบบฐานรากที่ประกอบไว้แล้วลงไปวางให้ตรงต้าแหน่ง ตามแนวฐานรากที่ตีเส้น


ไว้บนคอนกรีตหยาบก้นหลุม แล้วใช้ไม้เคร่าตอกรัดช่วงกลางไม้แบบให้แน่น ดังภาพที่ 4.10

ภาพที่ 4.10 แสดงแบบ การประกอบติดตังไม้แบบฐานราก


(4) ก้าหนดระดับฐานรากให้วัดระดับจากเชือกเอ็นหลังผัง ถึงระดับไม้แบบฐานราก ใช้
ตะปูตอกระดับหลังฐานรากไว้ที่ด้านข้างไม้แบบ ในกรณีที่ความหนาของคอนกรีตฐานรากเท่ากับขนาด
ความกว้างของไม้แบบ ระดับฐานรากจึงเป็นระดับที่ปากไม้แบบฐานราก
4.4 งานเหล็กเสริมฐานราก
เหล็กเสริมฐานรากเป็นเหล็กที่ใช้เสริมคอนกรีต ฐานรากเพื่อท้าหน้าที่รับน้าหนักจากเสาตอม่อ
และกระจายน้าหนักลงดินหรือเสาเข็มทั่วๆ ไปเรียกว่าเหล็กตะแกรงฐานราก เพราะเมื่อผูกขึนรูปเสร็จ
แล้วมีลักษณะคล้ายรูปตะแกรง
73

ภาพที่ 4.11 แสดงแบบ การเสริมเหล็กฐานราก


4.4.1 หาเหล็กและตะแกรงฐานราก จากรายละเอียดแบบฐานราก ก้าหนดขนาดและระยะห่างของ
เหล็กตะแกรงเอาไว้เช่น Ø 12 มม.@ 0.20 ม. หมายถึงใช้เหล็กเสริมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 12
มิลลิเมตรวางเหล็กเสริมห่างกัน 0.20 ม. วางเหล็กสลับซ้อนทับกันทังสองด้านแถวละ 6 เส้นและผูกยึด
เหล็กให้แน่นโดยใช้ลวดผูกเหล็ก (ลวดเบอร์18) ซึ่งมีวิธีหาจ้านวนเหล็กเสริมฐานราก ดังนี
1) หาจ้านวนเหล็กตะแกรงฐานราก
จ้านวนเหล็กตะแกรง = ความกว้างฐานราก
+1
ระยะห่างเหล็กตะแกรง
=
1.00
= 0..2 +1 = 5 + 1 = 6 ท่อนต่อด้าน
แต่เหล็กตะแกรงมี 2 ด้าน = 6  2 = 12 ท่อน
จะใช้เหล็ก Ø 12 มม. = 12 ท่อนต่อเหล็กตะแกรง 1 ฐานราก
2) หาความยาวเหล็กตะแกรงต่อท่อน จากแบบ ฐานรากมีความกว้าง 1.00 เมตร
การวั ดเหล็ กเสริม คอนกรีต จะต้องเว้นระยะ ให้ คอนกรีตหุ้มเหล็ ก เสริมอย่างน้อย 2.5 เซนติเมตร
โดยรอบ การของอหั ว ท้ า ยเหล็ ก เสริ ม เมื่ อ ดั ด งอขอแล้ ว ให้ มี ส่ ว นยื่ น ขอต่ อ ไปอี ก 4 เท่ า ของ
เส้นผ่าศูนย์กลางเหล็กเสริมแต่ไม่น้อยกว่า 5 เซนติเมตร
ความยาวเหล็กตะแกรง = (ความกว้างฐานราก-ระยะคอนกรีตหุ้มเหล็กหัวท้าย)+(ระยะงอขอ  2)
= (1.00 – 0.05) + (0.05  2)
= 0.95 + 0.10
จะใช้เหล็ก Ø 12 มม. มีความยาว = 1.05 เมตรต่อท่อน
สรุปการวัดตัดเหล็ก และดัดเหล็กได้ ดังนี
1) น้าเหล็กเส้น Ø 12 มม.มายืดออกให้เป็นเส้นตรง
74

2) วัด ตัดเหล็ก ความยาว 1.05 เมตรจ้านวน 12 ท่อนต่อ 1ฐานราก


3) น้าเหล็กท่อนความยาว1.05 เมตรมาดัดงอขอหัวท้าย
4) ตรวจสอบท่อนเหล็กที่งอขอให้ได้ความยาวเท่ากับ 0.95 เมตร/ ท่อน
4.4.2 การผูกเหล็กฐานราก เหล็กฐานราก มีส่วนประกอบของเหล็กเสริม บ่งออก เป็นสองส่วน คือ
ส่วนที่เป็นเหล็กตะแกรงฐานราก กับส่วนที่เป็นเหล็กแกนเสาตอม่อ มีขันตอนการปฏิบัติงานดังนี
1) การผูกเหล็กตะแกรงจากการเตรียมเหล็กตะแกรง การผูกเหล็กตะแกรงจะใช้ลวดผูกเหล็ก
ผูกแบบสาแหรกใช้มือผูกลวดไขว้สาแหรกยึดเหล็กไว้ แล้วบิดด้านปลายลวดพอเป็นเกลียวด้วยมือ
จากนันใช้คีมผูกลวด บิดลวดเป็นเกลียวให้แน่น ซึ่งมีขันตอนการปฏิบัติงานดังนี
(1) ใช้ไม้แปที่ยาวกว่ าเหล็กตะแกรงเล็กน้อยจ้านวน 2 ท่อน มาวางตังให้มีระยะห่างของ
ท่อนไม้แปพอประมาณ
(2) น้าเหล็กตะแกรงด้านความกว้าง และด้านความยาวมาอย่างละ 2 ท่อน วางบนไม้แปโดย
ให้ด้านที่งอขอคว่้าลง ใช้ลวดผูกเหล็กผูกเหล็กให้รอบทังสี่มุมให้แน่น
(3) น้าเหล็กตะแกรงที่เหลือ ด้านกว้างและด้านยาว มาวางเรียงให้ มีระยะ ห่างของเหล็ก
ตะแกรงเฉลี่ยเท่าๆกัน ผูกเหล็กโดยใช้ลวดผูกเหล็กให้ครบทุกรอยตัดของเหล็ก
2) การผูกเหล็กเสาตอม่อมีขันตอนการปฏิบัติงานดังนี
(1) จากแบบหล่อฐานราก หาศูนย์กลางเสาตอม่อ และหาศูนย์กลางฐานรากแล้ว ผูก
เหล็กตะแกรงไว้แล้วแบบฐานราก
(2) น้าเหล็กแกนเสาตอม่อ มาวางติดตังบนเหล็กตะแกรงฐานราก จัดต้าแหน่งเหล็กเสา
ตอม่อให้ตรงกับ ศูนย์กลางเสาตอม่อหรือศูนย์กลางเสาในแบบฐานราก
(3) ใช้ลวดผูกเหล็กผูกยึดเหล็กตะแกรงกับเหล็กเสาตอม่อให้แน่น ครบทุกจุดตัด เก็บเศษ
ลวดในแบบหล่อฐานรากและท้าความสะอาด ให้พร้อมที่จะเทคอนกรีตฐานราก
4.5 งานคอนกรีตฐานราก
งานคอนกรีตฐานราก เป็น ขันตอนของการท้างานคอนกรีตหล่อแบบฐานรากอาคาร ที่เริ่มจาก
การผสมคอนกรีต การล้าเลียงคอนกรีต และการเทคอนกรีตลงในแบบหล่อฐานราก การท้าให้เนือ
คอนกรีตแน่นตัว การบ่มคอนกรีต และการถอดไม้แบบ มีขันตอนการปฏิบัติงาน ดังนี
4.5.1 การผสมคอนกรีต คือ ขั นตอนการผสม น้า ปูน ซิเมนต์ ทรายหยาบ หิน น้า มาผสม
คลุกเคล้าให้เข้าด้วยกัน ตามอัตราส่วนของคอนกรีตโครงสร้าง มีวิธีการผสมคอนกรีต ดังนี
1) การผสมคอนกรีตด้วยมือ ใช้กับงานก่อสร้างขนาดเล็ก ใช้แรงงานคน 3-4 คน ท้าการ
ผสมคอนกรีต เครื่องมือที่ใช้เป็นเครื่องมือพืนฐาน เช่น จอบ พลั่ว ถังปูน บุ้งกี๋ และกระบะผสมปูน
(กระบะผสมปูน ท้ า ด้ว ยไม้แ บบตีกั นยกขอบสี ่ด ้า น ความกว้า งพอประมาณ) ซึ ่ง มีขั นตอนการ
ปฏิบัติงาน ดังนี
(1) เริ่มจากการตวงทรายหยาบในอัตราส่วนผสมต่อปูนซิเมนต์ 1 ถุง
(2) น้าปูนซิเมนต์ 1 ถุง มาเทลงกองรวมกับทรายหยาบ
(3) ใช้จอบ โกยปูนซิเมนต์กับทรายหยาบคลุกเคล้า ให้ เข้ากัน
(4) เปิดกองปูนทราย ตรงกลางเป็นให้เป็นแอ่ง
(5) ตวงหินในอัตราส่วนผสมต่อปูนซิเมนต์ 1 ถุงลงในกองปูนทรายให้ทั่ว
(6) ตักน้าพอประมาณราดให้ทั่วกองวัสดุผสมบ่มแช่ไว้ประมาณ 10 นาที
75

(7) ใช้จอบโกยวัสดุผสม คลุกเคล้าให้เข้ากันดี


(8) ตักคอนกรีตใส่ถังปูนด้วยพลั่วและล้าเลียง และเทคอนกรีต
2) การผสมคอนกรีตด้วยโม่ผสมปูน ใช้กับงานก่อสร้างอาคารคอนกรีตขนาดเล็ก ถึง
ปานกลาง นอกจากจะใช้ผ สมคอนกรีตแล้วยังใช้ผสมปูนก่อ ปูนฉาบได้ด้วย โม่ผสมปูนมีขนาดความ
จุในการผสมคอนกรีต ต่อปูนซิเมนต์ 1 ถุงโม่ผสมปูนมีทังชนิดที่เครื่องยนต์ดีเซลและชนิดที่ใช้มอเตอร์
ไฟฟ้า การผสมคอนกรีต มีขันตอนการปฏิบัติงาน ดังนี
(1) ใส่น้าลงจ้านวนหนึ่งและใส่หินลงไป ครึ่งหนึ่งของ
(2) ใส่ปูนซิเมนต์ จ้านวน 1 ถุง
(3) ใส่ทรายลงไป จ้านวนครึ่งหนึ่งของ อัตราส่วนผสม
(4) สังเกตความข้นเหลวของคอนกรีต
(5) ใส่หินและทรายให้ครบตามอัตราส่วนและน้าลงไป
(6) สังเกตความข้นเหลว การคลุกเคล้าเข้ากันของคอนกรีต
(7) เทคอนกรีตลงกระบะ ตักคอนกรีตใส่ถังปูน ล้าเลียงและเทคอนกรีต
4.5.2 การเทคอนกรีต เป็นงานที่ต้องน้าคอนกรีตที่ผสมแล้วมาเทลงในแบบหล่อ และมีการท้าให้
คอนกรีตแน่น ป้องกันไม่ให้คอนกรีตแยกตัว ในการเทคอนกรีตฐานรากมีขันตอนการปฏิบัติงานดังนี
1) ราดน้าไม้แบบฐานรากให้ชุ่มโดยทั่ว ตรวจดูรอยรั่วของไม้แบบ
2) เทคอนกรีตลงในแบบหล่อฐานราก ทีละชันอย่างสม่้าเสมอ
3) การเทคอนกรีตฐานราก ควรเทคอนกรีตจากมุมแบบฐานราก
4) กระทุ้งหรือใช้เครื่องสั่นคอนกรีต เพื่อไล่ฟองอากาศ
5) ใช้เกรียงไม้ปาดแต่งหน้าคอนกรีตฐานรากให้ได้ระดับ
4.5.3 การถอดแบบหล่อคอนกรีต เป็นงานที่ท้าต่อจากการเทคอนกรีตแล้วงานถอดแบบหล่อ
ต้องค้านึงถึงอายุของคอนกรีต หลังจากเทคอนกรีตแล้ว 12 ชั่วโมงให้ใช้น้าราดหรือน้ากระสอบปอป่าน
ชุบน้าคลุมปิดไว้ ทิงคอนกรีตอยู่ในแบบหล่ออย่างน้อยเป็นเวลา 2 วัน จึงท้าการถอดแบบด้านข้างออกได้
การถอดแบบควรท้าเป็นล้าดับ โดยเริ่มจากการถอดไม้รัดแบบโดยรอบออกก่อน ระวังอย่าให้ค้อน
หรือชะแลงที่ใช้งัดไม้แบบ กระทบกระเทือนกับคอนกรีตฐานรากที่เทคอนกรีตไว้ และถอนตะปูที่ตอกยึด
ตอนมุมไม้แบบออก ไม้แบบก็จะหลุดจากการประกอบเพียงสองด้านที่ฝั่งตรงข้ามเท่านัน ให้ใช้ค้อน
เคาะข้างบนของไม้แบบที่เหลือ ไม้แบบก็จะหลุดออกมาทังหมด เก็บไม้แบบขึนจากหลุมฐานราก ท้า
การขนย้ายไม้แบบไปประกอบแบบฐานรากต้นต่อไป
4.5.4 การบ่มคอนกรีต หมายถึง การป้องกันรักษาความชืนของเนือคอนกรีต ไม่ให้ความชืนระเหย
เร็วเกินไป เพราะคอนกรีตที่ผสมและเทลงในแบบหล่อ ก้าลังท้าปฏิกิริยาทางเคมี ระหว่างปูนซิเมนต์
กับน้า จึงจ้าเป็นต้องมีการบ่มคอนกรีต เพื่อให้คอนกรีตมีคุณสมบัติในการรับแรงตามที่ออกแบบ ในงาน
คอนกรีตโครงสร้างการบ่มคอนกรีตให้กระท้าอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อย 7- 4 วัน ส่วนการบ่มคอนกรีต
ฐานราก หลังจากถอดแบบหล่อแล้ว ใช้วัสดุเปียกชืนปกคลุม เช่น กระสอบปอป่านราดน้าปกคลุมให้
ทั่วฐานราก ฉีดน้าให้ชุ่มตลอดเวลา
76

บทสรุป
งานฐานรากอาคาร เป็นงานโครงสร้างอาคารที่อยู่ใต้ผิวดิน ฐานรากอาคารแบ่งออกเป็น 2
ประเภท คือ ฐานรากแผ่ เป็นฐานรากที่รับน้าหนักจากเสาแล้วถ่ายน้าหนักลงสู่ผิวดินใต้ท้องฐานราก กับ
ฐานรากแบบเสาเข็ม เป็น ฐานรากที่รับ น้า หนัก จากเสาแล้ว ถ่า ยน้า หนัก ลงสู่หัว เสาเข็ม การ
ปฏิบัติงานก่อสร้างฐานรากอาคาร เริ่มจากขันตอน การเตรียมหลุมฐานราก ขุดหลุมฐานราก ก้าหนด
ระดับท้องฐานราก เทคอนกรีตหยาบ การก้าหนดศูนย์กลางเสาและฐานราก ประกอบแบบฐานราก
การวัด ตัด ดัด เหล็กตะแกรงฐานราก การผูกเหล็ก การผสมคอนกรี ต การล้าเลียงคอนกรีต การเท
คอนกรีตฐานราก การถอดแบบฐานรากและบ่มคอนกรีต
77

แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยที่ 4
เรื่องงานฐานรากอาคาร เวลา 10 นาที
คาชี้แจง 1. แบบทดสอบมีทังหมด 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน
2. ให้นักศึกษาท้าเครื่องหมาย  ในตัวเลือกที่เห็นว่าถูกต้องที่สุดลงในกระดาษค้าตอบ
1. งานฐานรากอาคารเป็นงานโครงสร้างประเภทใด
ก. งานโครงสร้างที่อยู่ใต้ดิน
ข. งานโครงสร้างใกล้ผิวดิน
ค. งานโครงสร้างบนดิน
ง. งานโครงสร้างผสม
2. ฐานรากอาคารมีหน้าที่อะไรในโครงสร้างอาคาร
ก. รับน้าหนักผนังอาคาร
ข. รับน้าหนักคานคอดิน
ค. รับน้าหนักแรงในแนวดิ่งจากเสาตอม่อแล้วกระจายแรงสู่พืนดิน
ง. รับน้าหนักแรงในแนวดิ่งจากพืนอาคารแล้วกระจายแรงสู่พืนดิน
3. วัสดุที่นิยมใช้ท้าฐานรากอาคารคือ
ก. เสาไม้
ข. คอนกรีตเสริมเหล็ก
ค. คอนกรีตหยาบ
ง. คอนกรีตผสมเสร็จ
4. ฐานรากที่มีเสาอยู่ต้นเดียวที่จุดกึ่งกลางเรียกว่า
ก. ฐานรากแผ่
ข. ฐานรากแผ่เดี่ยว
ค. ฐานรากร่วม
ง. ฐานรากแผ่ร่วม
5. ฐานรากแผ่ที่มีเสาสองต้นเรียงชิดติดกันเรียกว่า
ก. ฐานรากแผ่
ข. ฐานรากแผ่เดี่ยว
ค. ฐานรากร่วม
ง. ฐานรากแผ่ร่วม
6. การขุดหลุมฐานรากบริเวณที่เป็นดินเหนียวมีมุมลาดเอียงปากหลุมเท่าไร
ก. 15 องศา
ข. 30 องศา
ค. 45 องศา
ง. 60 องศา
78

7. คอนกรีตหยาบ หมายถึงคอนกรีตที่มีอัตราส่วนผสมเท่าไร
ก. 1:1:2
ข. 1:2:3
ค. 1:2:5
ง. 1:3:5
8. ไม้แบบปกติทั่วไปจะใช้ไม้หนาขนาดเท่าไร

1
ก.
2
ข. 1

1
ค. 1
2
ง. 2
9. ลวดผูกเหล็กในงานเหล็กเสริมคอนกรีตใช้ลวดอะไร
ก. ลวดเบอร์ 12
ข. ลวดเบอร์ 14
ค. ลวดเบอร์ 16
ง. ลวดเบอร์ 18
10. การผูกเหล็กตะแกรงฐานรากให้แน่นควรใช้การผูกเหล็กแบบใด
ก. แบบทแยง
ข. แบบม้วนเกลียว
ค. แบบสาแหรก
ง. แบบกากบาท
79

เฉลยแบบทดสอบ หน่วยที่ 4
แบบทดสอบก่อนเรียน
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
ค ง ค ข ค ข ค ง ค ง
แบบทดสอบหลังเรียน
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
ก ค ข ข ง ค ง ข ง ค
80

เอกสารอ้างอิง
พิภพ สุนทรสมัย. เทคนิคการก่อสร้างอาคารเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: โปรเฟรสชั่นแนล พับลิชชิ่ง, 2524.
พิภพ สุนทรสมัย. เทคนิคการก่อสร้างอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก(ปรับปรุง). พิมพ์ครังที่ 2.
กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2538.
บุญเลิศ น้อยสระและประเสริฐ ธงไชย. เทคนิคงานคอนกรีตเสริมเหล็ก. พิมพ์ครังที่ 1. กรุงเทพฯ:
เอมพันธ์,2544.
มนัส กล่องเพ็ชร. เทคนิคก่อสร้าง 1. พิมพ์ครังที่ 1. กรุงเทพฯ: เอมพันธ์, 2543.
เริงศักดิ์ นนทิเมธากุลและอภิศักดิ์ จุฑาศิริวงศ์. ปูนซิเมนต์และการประยุกต์ใช้งาน. พิมพ์ครังที่ 2.
กรุงเทพฯ: ปูนซิเมนต์ไทยอุตสาหกรรม, 2548.
วินิต ช่อวิเชียร.คอนกรีตเทคโนโลยี.กรุงเทพฯ: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2544.
สิทธิโชค สุนทรโอภาส. เทคโนโลยีอาคาร. กรุงเทพฯ: สกายบุ๊กส์, 2543.
เอกสิทธิ์ ลิมสุวรรณ. แบบหล่อคอนกรีต.กรุงเทพฯ: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย,
2529.

You might also like