You are on page 1of 23

รายการประกอบแบบก่ อสร้ างหมวดงานโครงสร้ าง

โครงการ

ชุมชนบ้ านประหยัดพลังงานโดยใช้ พลังงานแสงอาทิตย์

พร้ อมระบบสาธารณูปโภคและภูมิทศั น์

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
ศูนย์แม่ริม อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่

โดย
บริษัท อศณ สถาปนิก จากัด
คาเตือน
1. เอกสารประกอบแบบ เป็ นรายการแสดงรายละเอียดประกอบแบบปลูกสร้ างของงานนี ้ ซึง่ เจ้ าของโครงการและ
ผู้รับเหมาปลูกสร้ างได้ พิจารณาโดยละเอียด ถือเป็ นส่วนหนึง่ ของสัญญาจ้ างเหมาปลูกสร้ าง และยอมรับปฏิบตั ิ
ตามโดยเคร่ งครัด
2. ในกรณีที่แบบและรายการประกอบแบบขัดแย้ ง ไม่ชดั เจน ผู้รับเหมาจะต้ องแจ้ งแก่เจ้ าของโครงการ เพื่อให้ เจ้ าของ
โครงการและสถาปนิกจัดการแก้ ไขข้ อขัดข้ องนันทั้ นทีที่พบ คาวินิจฉัยของเจ้ าของโครงการและสถาปนิกให้ ถือเป็ น
เด็ดขาด
3. การเปลี่ยนแปลงวัสดุที่กาหนดตามแบบ และเอกสารประกอบแบบโดยผู้รับเหมา ด้ วยเหตุจากผู้แทนจาหน่ายวัสดุ
ผู้รับเหมาต้ องแจ้ งอย่างน้ อย 3 เดือน ก่อนกาหนดใช้ วสั ดุตวั นัน้ เพื่อขออนุมตั กิ ารเปลี่ยนวัสดุ
4. การเปลี่ยนแปลงแก้ ไขตามข้ อ (2) และข้ อ (3) จะทาเป็ นหนังสือระหว่างเจ้ าของโครงการ และผู้รับเหมาปลูกสร้ าง
อาคาร
รายการประกอบแบบก่อสร้ าง สารบัญ 0-1
หมวดงานโครงสร้ าง
สารบัญ
หน้ า
หมวดที่ 1 งานฐานราก
1. ทัว่ ไป 1-1
2. ขอบเขตของงาน 1-1
3. งานเกี่ยวกับฐานราก 1-1
4. งานดิน 1-1
หมวดที่ 2 งานแบบหล่อและค ้ายัน
1. ขอบเขตของงาน 2-1
2. ทัว่ ไป 2-1
3. การคานวณออกแบบ 2-1
4. แบบพิมพ์เขียวที่ต้องแสดง 2-2
5. กาหนดระยะเวลาถอดไม้ แบบ 2-2
6. การแต่งผิวคอนกรี ต 2-3
7. การแก้ ไขผิวที่ไม่เรี ยบร้ อย 2-4
8. งานนัง่ ร้ าน 2-4
9. ข้ อกาหนดเพิ่มเติมสาหรับงานคอนกรี ตเปลือย 2-4

หมวดที่ 3 งานเหล็กเส้ นเสริ มคอนกรี ต


1. ขอบเขตของงาน 3-1
2. ทัว่ ไป 3-1
3. ข้ อกาหนดของวัสดุสาหรับเหล็กเส้ นเสริ มคอนกรี ต 3-1
4. การตัดและประกอบสาหรับเหล็กเส้ นเสริ มคอนกรี ต 3-2
5. การต่อเหล็ก 3-3
6. การควบคุมคุณภาพ 3-4
7. ข้ อกาหนดพิเศษของการเสริ มเหล็กบริ เวณช่องเปิ ดของโครงสร้ างอาคาร 3-4

หมวดที่ 4 งานคอนกรี ต
1. ขอบเขตของงาน 4-1
2. ทัว่ ไป 4-1
3. วัสดุ 4-1
รายการประกอบแบบก่อสร้ าง สารบัญ 0-2
หมวดงานโครงสร้ าง
สารบัญ
หน้ า
4. การเก็บวัสดุ 4-2
5. การคานวณออกแบบส่วนผสม 4-2
6. วิธีการผสมคอนกรี ต 4-2
7. คุณสมบัติของคอนกรี ตที่ต้องการ 4-3
8. การเก็บตัวอย่าง การทดสอบและประเมินผล 4-4
9. การขนส่งและการเทคอนกรี ต 4-5
10. รอยต่อและสิ่งที่ต้องฝั งในคอนกรี ต 4-6
11. การซ่อมผิวที่ชารุ ด 4-6
12. การบ่มคอนกรี ต 4-6
13. ความหนาของคอนกรี ตที่ห้ มุ เหล็กเสริ มโดยวัดจากผิวเหล็ก 4-6
14. ข้ อกาหนดเพิ่มเติมสาหรับงานคอนกรี ตหล่อสาเร็ จ 4-7

หมวดที่ 5 งานป้องกันความชื ้น
1. ขอบเขตของงาน 5-1
2. ทัว่ ไป 5-1
3. ข้ อกาหนดสาหรับวัสดุป้องกันความชื ้น 5-1
4. การควบคุมคุณภาพ 5-2
รายการประกอบแบบก่อสร้ าง
หมวดงานโครงสร้ าง 1-1
หมวดที่ 1
งานฐานราก
1. ทัว่ ไป
“กรณีทวั่ ไป และกรณีพิเศษ” ที่ระบุไว้ ในหมวดอื่นให้ นามาใช้ กบั หมวดนี ้ด้ วย

2. ขอบเขตของงาน
ผู้รับจ้ างจะต้ องจัดหาวัสดุ และอุปกรณ์ ทุกชนิดตลอดจนแรงงาน โรงงาน และสิ่งอื่นใดที่จาเป็ นสาหรับ
งานฐานราก

3. งานเกี่ยวกับฐานราก
สภาพของสถานที่ก่อสร้ างการรื อ้ ถอนสิ่งกีดขวางต่าง ๆ ที่อยู่ใต้ ดินซึง่ เกิดขึ ้นในระหว่างปฏิบตั ิงานอันเป็ น
เหตุให้ ทางานฐานรากไม่ได้ หรื อเป็ นอุปสรรคต่อการขุดดิน งานไม้ งานดินถม การกลบดินรอบเข็มและงานอื่น ๆ
ซึง่ จาเป็ นทาเพื่อให้ งานเสร็ จสมบูรณ์ ต้ องเป็ นหน้ าที่ของผู้รับจ้ างที่จะต้ องทาโดยเป็ นผู้ออกค่าใช้ จ่ายเอง

4. งานดิน
4.1 ขอบเขตงาน
4.1.1 ผู้รับจ้ างต้ องจัดหาแรงงานเครื่ องจักรเครื่ องมือ ขนส่ง ที่กองวัสดุ ขุดดิน ถมดิน ปรับเกลี่ย
บดอัด และ สิ่งจาเป็ นต่าง ๆ ตามหลักช่างที่ดี
4.1.2 เครื่ องจักรเครื่ องมือที่นามาใช้ ต้องทันสมัยและอยู่ในสภาพที่ดี มีจานวนเพียงพอ และ
เหมาะสมกับงาน แต่ละประเภท ทังนี ้ ้วิศวกรผู้ควบคุมงาน ต้ องยอมรับว่าเหมาะสม
4.2 การขุดดินตามขนาดและระดับ
4.2.1 การขุดดินเพื่อทาฐานราก หรื อส่วนก่อสร้ าง ผู้รับจ้ างจะต้ องระมัดระวังให้ ขดุ ได้ ขนาด
และได้ ระดับถูกต้ องตามแบบก่อสร้ าง
4.2.2 การขุดต้ องขุดให้ มีขนาดกว้ างพอที่จะทาการก่อสร้ างได้ สะดวก เช่น การประกอบแบบ
การรื อ้ แบบรวมถึง การตรวจงานด้ วย
4.2.3 การเพิ่มเติมในการขุดดิน ในกรณีที่วิศวกรผู้ควบคุมงาน มีความเห็นว่าจาเป็ นต้ องขุด
ดินออกเพื่อสะดวกต่อการวางและถอดไม้ แบบค่าใช้ จ่ายในการดาเนินการนี ้อยู่ในความ
รับผิดชอบของผู้รับจ้ างทังสิ ้ ้น
4.3 การป้องกันเนื่องจากการขุดดิน
4.3.1 การขุดดินออกเพื่อทาการก่อสร้ าง ผู้รับจ้ างต้ องทาการป้องกันดินพัง โดยต้ องเสนอวิธีการ
ก่อสร้ าง พร้ อมทัง้ รายการคานวณโครงสร้ างระบบกันดินที่ถูกต้ องตามหลักวิชาการ และ
คานวณโดยสามัญวิศวกรเป็ นอย่างต่า เพื่อขออนุมตั ิจากวิศวกรผู้ควบคุมงาน ก่อนลงมือ
ปฏิบตั ิงาน
4.3.2 หากการขุดดินมีปัญหา และอาจเกิดอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สิน ผู้รับจ้ างต้ องรี บแจ้ ง
ให้ วิศวกรผู้แทนของผู้วา่ จ้ างทราบทันที
4.3.3 หากเกิดความเสียหายเนื่องจากการปฏิบตั ิงานขุดดิน แม้ วา่ ผู้รับจ้ างจะได้ รับอนุมตั ิจาก
วิศวกรผู้ควบคุมงาน ในหลักการแล้ วก็ตาม ความรับผิดชอบต้ องตกอยู่แก่ผ้ รู ับจ้ างแต่
เพียงผู้เดียว ค่าเสียหายหรื อการฟ้องร้ องใด ๆ ผู้รับจ้ างเป็ นผู้ออกค่าใช้ จ่ายทังสิ
้ ้น
4.4 การขุดดินลึกกว่ากาหนด
4.4.1 ผู้รับจ้ างเป็ นผู้รับผิดชอบในการขุดดินที่ลกึ กว่าระดับที่กาหนด ซึง่ แสดงในแบบที่ ก่ อ สร้ าง
ผู้รับจ้ างจะต้ องใช้ ทรายถมส่วนที่ขดุ เกินออกไป จนได้ ระดับตามที่กาหนดในแบบก่อสร้ าง
รายการประกอบแบบก่อสร้ าง
หมวดงานโครงสร้ าง 1-2
4.4.2 ถ้ าเป็ นงานฐานรากอาคาร หากผู้รับจ้ างขุดดินลึกกว่าระดับที่กาหนด วิศวกรอาจให้ เพิ่ม
ความหนาของฐานรากจนไปถึงก้ นหลุมก็ได้ ค่าใช้ จ่ายในการนี ้เป็ นของผู้รับจ้ างเองทังสิ ้ ้น
4.4.3 การขุดดินผิดตาแหน่งจะต้ องถมด้ วยทราย ดิน ลูกรัง หิน หรื อให้ ถมด้ วยวัสดุที่กาหนดไว้ ใน
แบบแปลนและรายการ แล้ วบดอัดให้ แน่นตามหลักวิชาการช่างที่ดี โดยการบดอัดด้ วยรถ
บดอัด หรื อ เครื่ องตบดิน แล้ วแต่กรณีตามที่วิศวกรผู้ควบคุมงาน พิจารณาเห็นสมควร
4.5 การป้องกันน ้าขัง
4.5.1 ผู้รับจ้ างจะต้ องป้องกันให้ หลุมที่ขดุ ทังหมดให้
้ ปราศจากน ้าขัง อันเกิดจากน ้าใต้ ดิน ฝน
ฯลฯ โดยใช้ เครื่ องสูบน ้า หรื อเครื่ องมืออื่น ๆ ที่เหมาะสม ทังนี
้ ้ผู้รับจ้ างจะต้ องแสดงให้
เห็นว่ามีเครื่ องมือดังกล่าวพร้ อมอยู่ ณ สถานที่ก่อสร้ างก่อนทาการขุด
4.5.2 ผู้รับจ้ างเป็ นผู้รับผิดชอบในการระมัดระวังดูแลให้ มีการระบายน ้าที่ดีในบริ เวณที่ทางาน
และการระบายน ้าต้ องไม่ทาความเสียหายให้ แก่บคุ คลหรื อทรัพย์สินข้ างเคียง
4.6 การกองวัสดุและวัสดุที่ขดุ ได้
4.6.1 ผู้รับจ้ างต้ องขนย้ ายดินและวัสดุที่ขุดได้ จากบริ เวณที่ทาการก่อสร้ างหรื อนาไปกองเก็บไว้
ณ ที่ ๆ ผู้รับจ้ างกาหนด หากผู้ว่าจ้ างประสงค์จะให้ เป็ นที่ อื่น ผู้รับจ้ างจะเป็ นผู้จดั หาการ
ขนส่ง ทังนี ้ ้การขนส่งจะต้ องไม่ทาความเสียหาย หรื อกีดขวางการทางานอื่น ๆ ของการ
ก่อสร้ างตลอดจนชีวิตและทรัพย์สินผู้อื่น
4.6.2 การขนย้ ายวัสดุออกนอกสถานที่ ผู้รับจ้ างจะต้ องจัดเตรี ยมคน และพาหนะ อุปกรณ์ พร้ อม
ทังเสนอแผนงาน
้ ต่อผู้ว่าจ้ างและได้ รับความเห็นชอบแล้ ว ทังนี ้ ้ขึ ้นอยู่กบั ความกีดขวาง
การจราจร
4.6.3 ความเสียหายอัน เกิ ดจากการนี ้ ผู้รั บจ้ างเป็ นผู้รับผิ ดชอบแก้ ไขโดยรวดเร็ ว และด้ วย
ค่าใช้ จ่ายของผู้รับจ้ างเอง
4.6.4 วัสดุที่ขดุ ได้ ให้ ถือเป็ นของผู้รับจ้ าง ยกเว้ นโบราณวัตถุและของมีคา่ อื่น ๆ
4.7 การขุดเพื่อฝั งท่อหรื อคูระบายน ้า
4.7.1 จะต้ องขุดให้ ได้ แนว และมีความลาดตามแบบก่อสร้ าง
4.7.2 ร่ องที่ขดุ จะต้ องกว้ างพอที่จะทางานได้ สะดวก อาทิ เช่น การต่อท่อ ยาท่อ หรื อการ
ตกแต่งบดอัดพื ้นให้ แน่นเพื่อการวางท่อ
4.7.3 ถ้ าบริ เวณนี ้มีเลน เศษวัสดุหรื อวัชพืชอยู่จะต้ องขุดขนย้ ายออกให้ หมดและนาวัสดุที่ดี
และแข็งแรงมาบดอัดให้ ได้ ความหนาแน่นตามกาหนดแทน
4.8 การถมดิน
4.8.1 การถมดินทัว่ ไป วัสดุที่จะนามาถมจะต้ องเป็ นวัสดุที่ปราศจากรากไม้ ขยะ หรื อว่าวัชพืช
อื่น ๆ เจือปน
4.8.2 การถมให้ ถมด้ วยทรายถมที่ทงหมด ั้ ห้ ามใช้ ดินถมโดยเด็ดขาด เมื่อถมทรายแล้ วให้
ใช้ น ้าหล่อจนยุบตัวได้ ที่
4.8.3 ในกรณีที่มิได้ ระบุการถมไว้ เป็ นอย่างอื่น ให้ ถือว่าการสร้ างอาคารต้ องถมดินรอบอาคาร
ด้ วยทุกครัง้
4.9 การบดอัด
4.9.1 การถมและการบดอัดผู้รับจ้ างต้ องถมเป็ นชัน้ ๆ ความหนาไม่เกิน 25 ซม. แต่ละชันต้ ้ อง
ได้ รับการบดอัดให้ ได้ 85%
4.9.2 หากส่วนใดไม่ได้ ความแน่นตามที่กาหนด ผู้รับจ้ างจะต้ องทาการบดอัดส่วนนันใหม่ ้
4.9.3 งานนี ้ไม่รวมถึงงานถนนหรื องานส่วนอื่นที่มีรายการเฉพาะ การถมพื ้นที่ทวั่ ไป ถมหน้ าชันละ ้
ไม่เกิน 30 ซม. แล้ วเกลี่ยและบดอัดด้ วยรถ BULLDOZER มีขนาดไม่น้อยกว่า D 4 ให้ แน่น
4.9.4 ถ้ าวัสดุที่ถมเป็ นทรายที่เลือกแล้ วจะใช้ BULLDOZER บดอัดหรื อจะใช้ วิธีสบู น ้าขังไม่น้อย
กว่า 72 ชัว่ โมงก็ได้ ทังนี้ ้เว้ นแต่ในแบบและรายการกาหนดให้ เป็ นอย่างอื่น
รายการประกอบแบบก่อสร้ าง
หมวดงานโครงสร้ าง 1-3
4.9.5 การที่จะใช้ วิธีอย่างใดนัน้ จะต้ องแจ้ งให้ วิศวกรผู้ควบคุมงานทราบ ก่อนลงมือทาหากเป็ น
ส่วนที่สาคัญ ส่วนที่เกินจะต้ องนาออกแล้ วตกแต่งให้ เรี ยบร้ อย
4.9.6 ความคลาดเคลื่อนของระดับที่ถมไปแล้ วไม่ให้ มากน้ อยกว่า 2 ซม. ส่วนที่ต่ากว่าจะต้ องถม
และบดอัดให้ ได้ ระดับ ส่วนที่เกินจะต้ องนาออกแล้ วตกแต่งให้ เรี ยบร้ อย
4.9.7 การถมดินบนหลังท่อทั่วไป ต้ องกระทาโดยเร็ วที่สุด หลังการตรวจสอบแล้ วให้ ถมใน
แนวราบเป็ นชัน้ ๆ ละไม่เกิน 15 ซม. แล้ วบดอัดหรื อกระทุ้งแน่น และจะต้ องทาอย่าง
ระมัดระวัง
รายการประกอบแบบก่อสร้ าง
หมวดงานโครงสร้ าง 2-1
หมวดที่ 2
งานแบบหล่ อและคา้ ยัน
1. ขอบเขตของงาน
1.1 ผู้รับจ้ างก่อสร้ างจะต้ องเป็ นผู้จดั หา วัสดุ อุปกรณ์ ผู้เชี่ยวชาญ ช่างฝี มือเฉพาะงานมาปฏิบตั ิงาน
เพื่อให้ บรรลุเป้าหมายของงานตามที่กาหนดไว้
1.2 วัสดุและอุปกรณ์ ที่นามาใช้ งาน จะต้ องเป็ นของใหม่ไม่เคยใช้ งานมาก่อน มีคณ ุ ภาพดี ยกเว้ นถ้ า
ในกรณีที่จะนาวัสดุและอุปกรณ์เก่ามาใช้ วัสดุอปุ กรณ์ที่นามาต้ องไม่สกึ หรอ ผุกร่ อน บิด โค้ ง โก่ง
งอ หรื อมีสิ่งที่ไม่ต้องการเคลือบติดมา โดยผู้แทนผู้วา่ จ้ างเห็นชอบแล้ ว

2. ทัว่ ไป
2.1 ไม้ แบบหล่อคอนกรี ตของงานโครงสร้ าง สถาปั ตยกรรม ระบบสุขาภิบาล ระบบไฟฟ้า และระบบ
ปรับอากาศต้ องปฏิบตั ิตามหมวดนี ้
2.2 ผู้รับจ้ างก่อสร้ าง จะต้ องปฏิบตั ิตามกฎหมายควบคุมที่ระบุถงึ หรื อเกี่ยวข้ องกับแบบหล่อ และ
ค ้ายัน สาหรับงานก่อสร้ าง
2.3 ระบบหรื อวิธีการทาแบบหล่อ หรื อค ้ายันที่นอกเหนือจากที่ระบุท้ ายนี ้ ผู้รับจ้ างจะต้ องแจ้ งขอ
อนุมตั ิจากผู้แทนผู้วา่ จ้ างก่อนนามาใช้ งาน

3. การคานวณออกแบบ
3.1 การวิเคราะห์
ผู้รับจ้ างจะต้ องเป็ นฝ่ ายคานวณออกแบบงานหล่อ โดยต้ องคานึงถึงการโก่งตัวขององค์อาคารต่าง
ๆ อย่างระมัดระวัง และจะต้ องจัดส่งรายการคานวณของ นัง่ ร้ าน แบบหล่อ ค ้ายัน พร้ อมแ บ บ
สร้ างจริ งให้ ผ้ แู ทนผู้ว่าจ้ าง จานวน 3 ชุด เพื่ออนุมตั ิ เมื่ออนุมตั ิแล้ วจึงดาเนินการก่อสร้ างได้ อนึ่ง
การจัดส่งรายการคานวณและแบบก่อสร้ างจริ ง ให้ ทาเฉพาะนัง่ ร้ านที่กฎหมายกาหนด และห้ าม
นานัง่ ร้ านไม้ ไผ่มาใช้ งานก่อสร้ างใด ๆ ทังสิ
้ ้น
3.2 แบบหล่อคอนกรี ต
จะต้ องได้ รูปร่ าง แนว และขนาด ตรงตามลักษณะขององค์อาคารที่ปรากฏ ต้ องสนิทแน่นป้องกัน
การรั่วไหลของน ้าปูน และต้ องมีการยึดแน่นหนา เพื่อให้ แบบนันคงทั ้ งรู้ ปร่ าง และตาแหน่ง
3.3 การค ้ายัน
จะต้ องคานวณออกแบบค ้ายัน ทังทางแนวราบและแนวเฉี
้ ยงเมื่อใช้ ค ้ายัน การต่อหรื อวิธีการค ้า
ยัน ซึง่ ได้ จดทะเบียนสิทธิบตั รไว้ จะต้ องปฏิบตั ิตามข้ อแนะนาของผู้ผลิต เกี่ยวกับความสามารถใน
การรับนา้ หนักอย่างเคร่ งครั ด ผู้คานวณออกแบบจะต้ องปฏิบตั ิตามข้ อแนะนาของผู้ผลิตอย่าง
เคร่ งครัดในเรื่ องการยึดโยง และน ้าหนักบรรทุกปลอดภัย สาหรับ ความยาวระหว่างที่ยึดของค ้า
ยันห้ ามใช้ การต่อแบบทาบในสนามเกินกว่าอันสลับอัน สาหรับค ้ายันใต้ พื ้นหรื อไม่เกินทุก ๆ 3 อัน
สาหรับค ้ายันใต้ คาน และไม่เกินกว่า 1 แห่ง นอกจากจะมีการยึดทแยงที่จุดต่อทุก ๆ แห่ง การต่อ
ค ้ายันดังกล่าว จะต้ องกระจายให้ สม่าเสมอทั่วไปเท่าที่จะทาได้ รอยต่อจะต้ องไม่อยู่ใกล้ กับ
กึง่ กลางของตัวค ้ายันจะต้ องคานวณออกแบบรอยต่อให้ ต้านทานการโก่ง และดัดเช่นเดียวกับองค์
อาคารที่รับแรงอัดอื่น ๆ วัสดุที่ใช้ ตอ่ ค ้ายันไม้ จะต้ องไม่สนกว่
ั ้ า 1 เมตร
3.4 การยึดทแยง
ระบบหล่อจะต้ องคานวณออกแบบให้ ถ่ายแรงทางข้ างลงสูพ่ ื ้นดินหรื อบนโครงสร้ างซึง่ เทเรี ยบร้ อย
แล้ ว ในลักษณะปลอดภัยตลอดเวลา จะต้ องจัดให้ มีการยึดทแยงทังในระนาบดิ ้ ่ง ระนาบราบ และ
แนวเฉียงตามความต้ องการ เพื่อให้ มีสติฟเนสสูง และเพื่อป้องกันการโก่งขององค์อาคารเดี่ยว ๆ
รายการประกอบแบบก่อสร้ าง
หมวดงานโครงสร้ าง 2-2
3.5 ฐานรากสาหรับงานหล่อแบบ
จะต้ องคานวณออกแบบฐานราก ซึง่ จะเป็ นแบบวางบนดินฐานแผ่หรื อเสาเข็มให้ ถกู ต้ องเหมาะสม

3.6 การทรุ ดตัว


แบบหล่อจะต้ องสร้ างให้ สามารถปรับระดับทางแนวดิ่งได้ เพื่อเป็ นการชดเชยกับการทรุ ดตัวที่อาจ
เกิดขึ ้น เพื่อให้ เกิดการทรุ ดตัวน้ อยที่สดุ โดยเฉพาะจานวนรอยต่อซึง่ แนวเสี ้ยนบรรจบแนวเสี ้ยน
ด้ านข้ าง ซึง่ อาจใช้ ลิ่มสอดที่ยอดหรื อก้ นของค ้ายันอย่างใดอย่างหนึ่ง แต่จะใช้ ทงั ้ 2 ปลายไม่ได้
ทังนี
้ ้เพื่อให้ สามารถปรับแก้ การทรุ ดตัวที่ไม่สม่าเสมอทางแนวดิ่งได้ หรื อเพื่อสะดวกในการถอด
แบบ

4. แบบพิมพ์เขียวที่ต้องแสดง
แบบหล่อสาหรับงานแบบหล่อจะต้ องมีรายละเอียดต่าง ๆ ดังนี ้
4.1 สมอ ค ้ายัน และการยึดโยง
4.2 การปรับแบบหล่อในที่ระหว่างเทคอนกรี ต
5. กาหนดระยะเวลาถอดไม้ แบบ
5.1 สาหรับโครงสร้ างคอนกรี ตเสริ มเหล็ก
ภายหลังการเทคอนกรี ตช่วงสุดท้ ายของชิ ้นส่วนโครงสร้ าง ห้ ามทาการก่อสร้ างใด ๆ บนชิ ้นส่วน
โครงสร้ างนัน้ ตลอดระยะเวลา 12 ชัว่ โมง การถอดไม้ แบบของโครงสร้ างเหล่านัน้ ให้ ปฏิบตั ิตาม
ตารางที่ 1
ตารางที่ 1
การถอดไม้ แบบและคา้ ยันโครงสร้ าง
ระยะเวลาถอดไม้ ระยะเวลาถอดไม้ การค ้ายัน
โครงสร้ าง % ของการค ้ายัน
แบบด้ านข้ าง แบบด้ านล่าง (วัน)
ฐานราก 2 วัน - - -
เสา 2 วัน - - -
คาน 2 วัน 14 วัน 100% 14 30
พื ้นหล่อในที่ - 14 วัน 100% 14 50
กาแพงรับแรงดันด้ านข้ าง 2 วัน - - -
กาแพง 2 วัน 7 วัน 100% 14 50

ทังนี
้ ้จะต้ องมีผลการทดสอบคอนกรี ตของโครงสร้ างเหล่านันประกอบที
้ ่อายุ 3 วัน โดยผล
การทดสอบจะต้ องไม่น้อยกว่า 75% ของค่าที่กาหนด 28 วัน
ในกรณีที่ไม่มีผลการทดสอบประกอบ ไม้ แบบทุกชนิดจะถอดได้ เมื่อคอนกรี ตอายุไม่น้อย
กว่า 7 วัน และต้ องมี ค ้ายันต่อไปถึงวันที่ 21 นับจากการเทคอนกรี ตครัง้ สุดท้ ายของชิ ้นส่วนนัน้
5.2 สาหรับโครงสร้ างคอนกรี ตรับพื ้นสาเร็ จรู ป
พื ้นสาเร็ จรู ปทัว่ ไปที่กาหนดวางบนหลังคาน ยกเว้ นเฉพาะส่วนย่อยที่กาหนดให้ วางที่บ่าในกรณี
ลดระดับ การถอดไม้ แบบสาหรับคานรองรับพื ้นสาเร็ จรู ปให้ ถือข้ อกาหนดในตารางที่ 2
รายการประกอบแบบก่อสร้ าง
หมวดงานโครงสร้ าง 2-3
ตารางที่ 2
การถอดไม้ แบบและคา้ ยันของโครงสร้ าง
ระยะเวลาถอด ระยะเวลาถอด
การค ้ายัน % ของการคา้
โครงสร้ าง ไม้ ไม้
(วัน) ยัน
แบบด้ านข้ าง แบบด้ านล่าง
คานเฉพาะที่มีพืน้ สาเร็ จรู ปวางบน 2 วัน 14 วัน 7 50
หลังคาน โครงสร้ างอื่น ๆ นอกจาก
ที่กาหนดไว้ ให้ ปฏิบตั ิตามตารางที่ 1
ทัง้ นี จ้ ะต้ องมีผ ลการทดสอบคอนกรี ตของโครงสร้ างเหล่านี ป้ ระกอบ โดยการทดสอบ
จะต้ องไม่น้อยกว่า 75% ของค่าที่กาหนด 28 วัน
ในกรณีที่ไม่มีผลการทดสอบคอนกรี ตประกอบ ไม้ แบบทุกชนิดจะถอดได้ เมื่อคอนกรี ตอายุ
ไม่น้อยกว่า 7 วัน และต้ องมีค ้ายันต่อไปถึงวันที่ 21 นับจากการเทคอนกรี ตครัง้ สุดท้ ายของชิ ้นส่วน
นัน้ พืน้ สาเร็ จรู ปทั่วไปที่กาหนดวางบนบ่าคานการถอดไม้ แบบสาหรั บคานให้ ถือข้ อกาหนดใน
ตารางที่ 3
ตารางที่ 3
การถอดไม้ แบบและคา้ ยันของโครงสร้ าง
ระยะเวลาถอดไม้ ระยะเวลาถอดไม้ การค ้ายัน
โครงสร้ าง % ของการค ้ายัน
แบบด้ านข้ าง แบบด้ านล่าง (วัน)
คานเฉพาะที่มีพื ้นสาเร็ จรู ป 2 วัน 14 วัน จ น ก ว่ า จ ะ เ ท 50
วางอยู่บนบ่าคาน คอ น ก รี ต ทั บ ห ลั ง
โครงสร้ างอื่น ๆ นอกจากที่ ค อ น ก รี ต พื ้ น
ก าหนดไว้ ให้ ปฏิ บั ติ ต าม เ รี ย บ ร้ อ ย แ ล้ วไ ม่
ตารางที่ 1 น้ อยกว่า 5 วัน

ทังนี
้ ้จะต้ องมีผลการทดสอบคอนกรี ตของโครงสร้ างเหล่านันประกอบ
้ โดยผลการทดสอบ
จะต้ องไม่น้อยกว่า 75% ของค่าที่กาหนด 28 วัน
ในกรณีที่ไม่มีผลการทดสอบคอนกรี ตประกอบ ไม้ แบบทุกชนิดถอดได้ เมื่อคอนกรี ตอายุไม่
น้ อยกว่า 7 วัน และต้ องมีค ้ายันต่อไปถึงวันที่ 21 นับจากการเทคอนกรี ตครัง้ สุดท้ ายของชิ ้นส่วน
นัน้
หมายเหตุ การปฏิบตั ิตามตารางที่ 3 หมายถึง การเทคอนกรี ตคานถึงระดับการวางพื ้น
สาเร็ จรู ปแล้ วทาการก่อสร้ าง โดยการวางพื ้นสาเร็ จรู ป การเสริ มเหล็ก และเทคอนกรี ตทับหลัง
เป็ นงานครัง้ สุดท้ ายสาหรับการเทคอนกรี ตคานพร้ อมบ่ารับพื ้นสาเร็ จรู ป การถอดแบบ และค ้ายัน
ดูตามตารางที่ 2

6. การแต่งผิวคอนกรี ต
6.1 การสร้ างแบบหล่อจะต้ องกระทาพอที่เมื่อคอนกรี ตแข็งตัวแล้ วจะอยู่ในตาแหน่งที่ถูกต้ องและ ต้ อง
มีขนาด และผิวตรงตามที่กาหนดให้
6.2 การทาผิวขัดมันพื ้น ให้ ทาไปทันทีที่หลังจากการเทคอนกรี ต ห้ ามทาอีกชันหนึ
้ ง่ ในภายหลัง
รายการประกอบแบบก่อสร้ าง
หมวดงานโครงสร้ าง 2-4
7. การแก้ ไขผิวที่ไม่เรี ยบร้ อย
ทัน ที ที่ ถอดแบบจะต้ องท าการตรวจสอบ หากพบว่าผิ วคอนกรี ตไม่เรี ยบร้ อยจะต้ องแจ้ งให้ วิศวกรผู้
ควบคุมงาน ทราบทันที เมื่อวิศวกรให้ ความเห็นชอบวิธีการแก้ ไขแล้ ว ผู้รับจ้ างต้ องดาเนินการซ่อมในทันทีด้วย
ปูน NON SHRINK หากปรากฏว่ามีการซ่อมแซมผิวคอนกรี ต ก่อนได้ รับการตรวจสอบโดยตัวแทนผู้ว่าจ้ าง
คอนกรี ตส่วนนันอาจถื
้ อเป็ นคอนกรี ตเสียก็ได้

8. งานนัง่ ร้ าน
เพื่อความปลอดภัย ผู้รับจ้ างควรปฏิบตั ิตาม “ข้ อกาหนดนัง่ ร้ านงานก่อสร้ างอาคาร” ในมาตรฐานความ
ปลอดภัยของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย

9. ข้ อกาหนดเพิ่มเติมสาหรับงานคอนกรี ตเปลือย
งานแบบหล่อคอนกรี ตเปลือย ส่วนที่สามารถมองเห็นตามที่ระบุในแบบประกอบด้ านผนังโครงสร้ าง คาน
เสา และพื ้น ให้ ใช้ ไม้ แบบสาเร็ จรู ปตามมาตรฐานเท่านัน้ ซึง่ จะต้ องส่งรายละเอียดขออนุมตั ิจากวิศวกรผู้ควบคุม
งาน
รายการประกอบแบบก่อสร้ าง
หมวดงานโครงสร้ าง 3-1
หมวดที่ 3
งานเหล็กเส้ นเสริมคอนกรี ต
1. ขอบเขตของงาน
1.1 ผู้รับจ้ างก่อสร้ างจะต้ องเป็ นผู้จัดหา วัสดุ อุปกรณ์ ช่างผู้ชานาญงาน คนงาน โรงงาน และ
สิ่งจาเป็ นสาหรับงานเหล็กเส้ นเสริ มคอนกรี ต
1.2 เหล็กเส้ นเสริ มคอนกรี ตทัง้ ปวงที่ระบุ หมายถึง งานป้องกันสนิมด้ วยวิ ธีการที่เหมาะสมและมี
คุณสมบัติเหมาะสมกับการใช้ งานของผู้วา่ จ้ าง
1.3 ผู้รับจ้ างก่อสร้ าง จะต้ องจัดส่งตัวอย่างเหล็ก ข้ อมูลทางเทคนิคของผู้ผลิต ผลการทดสอบจาก
สถาบันที่รัฐรับรองให้ ผ้ แู ทนผู้วา่ จ้ างเพื่อตรวจสอบ
1.4 ผู้รับจ้ างก่อสร้ างจะต้ องจัดทาแบบขยาย เพื่อแสดงรายละเอียดตามที่ผ้ แู ทนผู้วา่ จ้ างแนะนาเพื่อให้
การทางาน และควบคุมคุณภาพถูกต้ อง และไม่ผิดพลาด
1.5 ผู้รับจ้ างก่อสร้ างจะต้ องจัดให้ มีการตรวจสอบคุณภาพงาน โดยทีมงานหรื อที่ปรึ กษาเฉพาะงานที่
มี ประสบการณ์ เป็ นที่ยอมรับของผู้แทนผู้ว่าจ้ าง หากภายหลังจากการทดสอบพบว่า ผลงานที่
ก่อสร้ าง อาจไม่มนั่ คง หรื อมีข้อบกพร่ อง

2. ทัว่ ไป
2.1 เหล็กเส้ นที่ระบุในแบบสถาปั ตยกรรม แบบสุขาภิบาล และแบบโครงสร้ าง จะต้ องมีคณ ุ สมบัติ
สอดคล้ องตามที่กาหนดในหมวดนี ้
2.2 วัสดุที่นามาใช้ งานจะต้ องอยู่ในสภาพที่ดี ใหม่จากโรงงาน คงรู ปตามข้ อมูลทางเทคนิคที่เสนอจะ
เกิดขึ ้นการเก็บเหล็กเส้ นเสริ มคอนกรี ตต้ องเก็บเหนือพื ้นดิน และอยู่ในอาคารหรื อทาหลังคาคลุม
เมื่อจัดเรี ยงเหล็กเส้ นเข้ าที่พร้ อมจะเทคอนกรี ตแล้ วเสร็ จนัน้ จะต้ องสะอาด ปราศจากฝุ่ น น ้ามัน สี
สนิมชุบหรื อสะเก็ด

3. ข้ อกาหนดของวัสดุสาหรับเหล็กเส้ นเสริ มคอนกรี ต


3.1 เหล็กสัญลักษณ์ RB เป็ นเหล็กเส้ นเสริ มกลม เกรด SR-24 ขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 9 มม.
ผลิตตามมาตรฐานอุตสาหกรรมไทย มอก.20-2543 โดยมีกาลังครากที่จุดยืดไม่น้อยกว่า 2,400
กก./ตร.ซม.
3.2 เหล็กสัญลักษณ์ DB เป็ นเหล็กเส้ นเสริ มข้ ออ้ อย เกรด SD-40 โดยมีขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลางตังแต่

10 มม. ขึ ้นไป ผลิตตามมาตรฐานอุตสาหกรรมไทย มอก.24-2548 โดยมีกาลังครากที่จุดยืดไม่
น้ อยกว่า 4,000 กก./ตร.ซม.
3.3 เหล็กตะแกรงสาเร็ จรู ป (WIRE MESH) เป็ นผลิตภัณฑ์มาตรฐาน มอก.737-2549 โดยมีความ
ต้ านทานแรงดึงต่าสุด 5,270 กก./ตร.ซม. และหน่วยแรงพิสจู น์ต่าสุด 4,570 กก./ตร.ซม.
3.4 เหล็กรู ปพรรณ (H-PL-WF-I SECTION) เป็ นผลิตภัณฑ์มาตรฐาน มอก.1227-2539, สาหรับเสา
ประกอบ (COMPOSITE COLUMN) CLASS 4 fy>=4,000 ksc.
3.5 เหล็กเสริ มธรรมดา (MILD STEEL) จะต้ องเป็ นไปตามมาตรฐาน มอก. 24-2548 เกรด SD-40
3.6 เหล็กเสริ มในแนวตังฉาก ้ (SUPPORT BAR) กับเหล็กเสริ มตามแบบ ให้ ใช้ DB 12 @ 0.50m.
ยกเว้ นที่ระบุไว้ เป็ นอย่างอื่น
รายการประกอบแบบก่อสร้ าง
หมวดงานโครงสร้ าง 3-2
4. การตัดและประกอบสาหรับเหล็กเส้ นเสริ มคอนกรี ต
4.1 วิธีการตัดหรื อประกอบเหล็กเส้ นเสริ ม จะต้ องไม่ทาให้ เหล็กชารุ ดเสียหาย หรื อเกิดการยืดตัวของ
เหล็กจากการบิด โค้ ง งอ เหล็ก
4.2 การตัดและการงอเหล็กจะต้ องไม่ตดั หรื องอเหล็กโดยใช้ ความร้ อน ถ้ าจะกระทาวิธีดงั กล่าวจะต้ อง
แจ้ งหรื อได้ รับความเห็นชอบจากผู้แทนผู้วา่ จ้ างก่อนทุกครัง้
4.3 การงอเหล็กที่ปลายสาหรับขอมาตรฐานที่ระบุในแบบ ให้ ปฏิบตั ิตามข้ อกาหนดดังนี ้
- ส่วนที่งอเป็ นครึ่ งวงกลมโดยมีส่วนที่ยื่นต่อออกไปจากแนววงกลมออกไปอีก ไม่น้อยกว่า 4
เท่า ของขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลาง หรื อไม่น้อยกว่า 60 มม.
- ส่วนที่งอเป็ นมุมฉาก จะต้ องมีสว่ นที่งอฉากออกไปไม่น้อยกว่า 12 เท่า ของเส้ นผ่าศูนย์กลาง
ของเหล็ก
- เฉพาะเหล็กยื่นและเหล็กปลอกให้ งอฉากหรื อ 135 องศา โดยมีส่วนที่ยื่นต่อไปจากจุดงอ
ฉากหรื อมุมไม่น้อยกว่า 6 เท่า ของเส้ นผ่าศูนย์กลาง
4.4 ขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลางที่เล็กที่สดุ สาหรับข้ องอ โดยเส้ นผ่าศูนย์กลางของการงอเหล็ก ใช้ ด้านใน
ของเหล็กที่งอ ให้ ถือตามที่กาหนดในตารางที่ 1

ตารางที่ 1
ขนาดเส้ นผ่ าศูนย์ กลางของโค้ งการดัดของอตามขนาดของเหล็กเสริม
ขนาดของเหล็กเสริ ม ขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลางที่เล็กสุดของโค้ งการดัดของอ(D)
6 - 25 มม. 6 เท่าของเส้ นผ่าศูนย์กลางของเหล็กเสริ ม
28 - 36 มม. 8 เท่าของเส้ นผ่าศูนย์กลางของเหล็กเสริ ม

4.5 การเรี ยงเหล็กในตาแหน่งที่ระบุในแบบต้ องมีความแข็งแรง และคงรู ปตลอดเวลาที่เทคอนกรี ตหาก


จาเป็ น ผู้รับจ้ างก่อสร้ างต้ องเสริ มเหล็กพิเศษช่วยยึดที่จดุ ตักกันของเหล็กเส้ นทุกแห่ง จะต้ องผูกให้
แน่นด้ วยลวดเบอร์ 18 SWG. โดยพับรอบ และ พับปลายลวดเข้ าในส่วนที่จะเป็ นเนื ้อคอนกรี ต
ภายในระหว่างเหล็กเส้ นเสริ มกับแบบต้ องยึดด้ วยแท่งคอนกรี ตภายใน ระหว่างเหล็กเส้ นเสริ มกับ
แบบต้ องยึดด้ วยแท่งคอนกรี ต/มอร์ ต้า หรื ออุปกรณ์ อื่นที่ผ้ แู ทนผู้ว่าจ้ างเห็นชอบ ก่อนเทคอนกรี ต
ต้ องทาความสะอาดเหล็กให้ ปราศจากคราบน ้ามัน หรื อเศษที่ตกค้ างภายในแบบออกจากแบบ
4.6 หลังจากผูกเหล็ก จะต้ องให้ ผ้ แู ทนผู้ว่าจ้ างตรวจก่อนเทคอนกรี ตทุกครัง้ หากผูกเหล็กทิ ้งไว้ นาน
เกินควรจะต้ องทาความสะอาดและให้ ผ้ แู ทนผู้วา่ จ้ างตรวจสอบอีกครัง้ หนึง่
รายการประกอบแบบก่อสร้ าง
หมวดงานโครงสร้ าง 3-3

5. การต่อเหล็ก
5.1 การต่อเหล็ก ตาแหน่งที่ตอ่ จะต้ องถูกต้ องตามแบบ รายละเอียดการต่อเหล็กต้ องเหมาะสมกับการ
ใช้ งานจริ ง และได้ รับการเห็นชอบจากผู้แทนผู้วา่ จ้ าง
5.2 สาหรับเหล็กเส้ นเสริ มคอนกรี ต การต่อเหล็กให้ เป็ นไปตามข้ อกาหนดในตารางที่ 2

ตารางที่ 2
ข้ อกาหนดสาหรั บการต่ อเหล็กเส้ นเสริมคอนกรี ต
ชนิดของเหล็กหรื อวิธีการต่ อเหล็ก ข้ อกาหนด
1. การต่อทาบ
- เหล็กกลม SR-24 40 เท่าของเส้ นผ่าศูนย์กลางเหล็ก หรื อเหล็กที่ใหญ่กว่าจานวน
เหล็กที่ต้องต่อไม่เกิน 50% ของจานวนเหล็กในหน้ าตัดนัน้ ๆ

- เหล็กข้ ออ้ อย SD-40 36 เท่าของเส้ นผ่าศูนย์กลางเหล็ก หรื อเหล็กที่ใหญ่กว่าจานวน


เหล็กที่ตอ่ ต้ องไม่เกิน 50% ของจานวนเหล็กในหน้ าตัดนัน้ ๆ

2. การต่อเชื่อม ณ หน้ าตัดใด ๆ จานวน รอยต่อต้ องมีแรงต้ านแรงดึงไม่น้อยกว่า 125% ของแรงต้ านแรง
ดึงสูงสุดของเหล็กเส้ นเสริ มนัน้ จานวนเหล็กที่ต่อต้ องไม่เกินกว่า
75% ของจานวนเหล็กในหน้ าตัดนัน้ ๆ

3. การต่อด้ วยอุปกรณ์พิเศษ กาลังของรอยต่อต้ องไม่น้อยกว่า 125% ของกาลังของเหล็กเส้ น


(MECHANICAL SPLICE) เสริ มนัน้ จานวนเหล็กที่ต่อต้ องไม่เกิน 75% ของจานวนเหล็กใน
หน้ าตัดนัน้ ๆ

5.3 ตาแหน่งของการต่อเหล็กเส้ นเสริ มสาหรั บแต่ละส่วนของโครงการสร้ างให้ ดาเนินการตามที่


กาหนด ในตารางที่ 3
ตารางที่ 3
ตาแหน่ งของการต่ อเหล็กเส้ นเสริมคอนกรี ต
โครงสร้ าง ชนิดของรอยต่ อ ตาแหน่ งของรอยต่ อ
1. เสา ต่อทาบ ต่อเชื่อม สาหรับเหล็ก ตามที่ได้ รับความเห็นชอบจากผู้แทนผู้
ขนาด 25 มม. ขึ ้นไป ต่อด้ วย ว่าจ้ าง หรื อเหนือระดับที่หยุดเท
อุปกรณ์การต่อพิเศษ คอนกรี ตตามแบบ 1 ม.
(MECHANICAL SPLICE)
2. คาน/พื ้น ต่อทาบ ต่อเชื่อม สาหรับเหล็กขนาด ตามที่ได้ รับความเห็นชอบจากผู้แทนผู้
25 มม. ขึ ้นไป ว่าจ้ าง หรื อกลางคานสาหรับเหล็กบน
หรื อที่หน้ าเสาสาหรับเหล็กล่าง
3. ผนังกันดิน หรื อผนังถังเก็บน ้า ต่อทาบ ต่อเชื่อม สาหรับเหล็กขนาด ตามที่ได้ รับความเห็นชอบจากผู้แทนผู้
25 มม. ขึ ้นไป ว่าจ้ าง หรื อเหนือระดับที่หยุดเท
คอนกรี ตระดับฐาน 1 ม.
4. ฐานราก ต่อทาบ ต่อเชื่อม สาหรับเหล็กขนาด ตามที่ได้ รับความเห็นชอบจากผู้แทนผู้
25 มม. ขึ ้นไป ว่าจ้ าง
รายการประกอบแบบก่อสร้ าง
หมวดงานโครงสร้ าง 3-4

6. การควบคุมคุณภาพ
เหล็กเส้ นเสริ มคอนกรี ต ก่อนนามาใช้ ในโครงการนี ้ จะต้ องได้ รับการอนุมตั ิตรวจสอบคุณภาพจากผู้แทนผู้
ว่าจ้ างด้ วยกรรมวิธีสมุ่ ตัวอย่างดังนี ้ :-
6.1 ผู้รับจ้ างจะต้ องจัดส่งเอกสาร ข้ อมูลทางวิชาการของบริ ษัทผู้ผลิตให้ ผ้ แู ทนผู้วา่ จ้ างตรวจสอบ
6.2 ผู้รับจ้ างจะต้ องสุม่ ตัวอย่างจากเหล็กนันทุ ้ ก ๆ ขนาดที่จะนามาใช้ ในโครงการโดยขนาดหนึ่ง ๆ ไม่
น้ อยกว่า 5 ท่อน ยาวไม่น้อยกว่า 1.00 ม.
6.3 ผู้รับจ้ างจะต้ องส่งตัวอย่างผลการทดสอบจากสถาบันที่รัฐรับรองผล และเสนอผลการทดสอบให้
ผู้แทนผู้วา่ จ้ างพิจารณาตรวจสอบตามความเหมาะสมในการนามาใช้ งาน
6.4 หากผลการทดสอบมีค่าใดค่าหนึ่ง ต่ากว่ามาตรฐานอุตสาหกรรมที่อ้างถึง การใช้ เหล็กขนาด
ดังกล่าวจากแหล่งวัสดุ อยู่ในดุลยพินิจของผู้แทนผู้ว่าจ้ างที่จะนามาเปลี่ยนใหม่ทงหมด ั้ หรื อเพิ่ม
จานวนเหล็กเส้ นเสริ มให้ มากขึ ้น หรื อสุ่มตัวอย่าง เพื่อทาการทดสอบใหม่อีกครัง้ หนึ่ง ค่าใช้ จ่าย
ทังสิ
้ ้นเป็ นของผู้รับจ้ างสาหรับเหล็กรี ดซ ้า ห้ ามนามาเสริ มคอนกรี ตในโครงการนี ้

7. ข้ อกาหนดพิเศษของการเสริ มเหล็กบริ เวณช่องเปิ ดของโครงสร้ างอาคาร


บริ เวณช่องเปิ ดที่ไม่ได้ ระบุเหล็กเสริ มไว้ ในแบบก่อสร้ าง ให้ มีการเสริ มเหล็กดังต่อไปนี ้
7.1 ช่องเปิ ดวงกลมขนาดโตกว่าหรื อเท่ากับ 4“ และช่องเปิ ดสี่เหลี่ยมที่มีด้านหนึ่งเท่ากับ หรื อยาวกว่า
4” จะต้ องมีการเสริ มเหล็กพิเศษ ซึง่ ไม่ถือว่าเป็ นส่วนหนึง่ ของโครงสร้ างดังนี ้
1. ช่ อ งเปิ ดวงกลม ใช้ ท่ อ เหล็ ก ด า ขนาดเส้ นผ่ า ศู น ย์ ก ลางของท่ อ ด้ านในเท่ า กั บ
เส้ นผ่ าศูน ย์ ก ลางของช่องเปิ ด ความยาวของท่ อที่ ฝั ง เท่ากับ ความหนาของแผ่น พื น้
กาหนดให้ มีเหล็ก เส้ นผ่าศูนย์กลาง 12 มม. ความยาวไม่น้อยกว่า 0.20 ม. อย่างน้ อย 4
เส้ น เชื่อมติดกับท่อเหล็กในลักษณะรัศมีสี่ทิศที่ความลึกกึง่ กลางของพื ้น
2. ช่องเปิ ดสี่เหลี่ยม ใช้ แผ่นเหล็กหนา 6 มม. ความกว้ างของแผ่นเหล็กที่ฝังเท่ากับความหนา
ของแผ่นพื ้นเชื่อมติดกัน กรุ โดยรอบช่องเปิ ดมีเหล็กเส้ นผ่าศูนย์กลาง 12 มม. ความยาวไม่
น้ อยกว่า 0.20 ม. อย่างน้ อย 4 เส้ น เชื่อมติดกับแผ่นเหล็กในลักษณะเดียวกับข้ อ 1
รายการประกอบแบบก่อสร้ าง
หมวดงานโครงสร้ าง 4-1
หมวดที่ 4
งานคอนกรี ต
1. ขอบเขตของงาน
1.1 ผู้รับจ้ างก่อสร้ าง จะต้ องเป็ นผู้จดั การวัสดุ อุปกรณ์ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะงาน แรงงาน และสิ่งที่
จาเป็ นสาหรับงานคอนกรี ต
1.2 ผู้รับจ้ างก่อสร้ างจะต้ องตรวจสอบรายละเอียดของงานระบบขันตอนการก่ ้ อสร้ าง แนวทางแก้ ไข
ปั ญหาที่อาจจะเกิดขึน้ จากแบบก่อสร้ างที่ไม่ชัดเจน การใช้ เทคโนโลยีและวัสดุชนิดพิเศษหรื อ
นามาจากต่างประเทศ โดยยังไม่เคยมีหรื อใช้ ภายในประเทศมาก่อน จะต้ องมีเอกสารจากสถาบัน
ที่รัฐรับรองและเป็ นที่ยอมรับคุณภาพหรื อวิธีการ จากผู้ออกแบบ
1.3 งานคอนกรี ตที่เทในที่ทงสิ ั ้ ้นที่ปรากฏใน แบบสถาปั ตยกรรม แบบโครงสร้ าง และสุขาภิบาลเป็ น
งานที่ควบคุมคุณภาพตามงานหมวดนี ้

2. ทัว่ ไป
2.1 คอนกรี ตที่ต้องควบคุมคุณภาพตามที่กาหนดท้ ายนี ้ หมายถึงส่วนของคอนกรี ตทีเทในที่ของ ฐาน
ราก เสา คาน พื ้น บันได คสล. ถังเก็บน ้า รางระบายน ้า บ่อพักน ้าหรื ออื่น ๆ ที่ได้ แสดงไว้ ในแบบ
สถาปั ตยกรรม โครงสร้ าง และสุขาภิบาล
2.2 สารผสมเพิ่มหรื อสารเคมีที่ต้องนามาใช้ เป็ นพิเศษ จะต้ องได้ รับการอนุมตั ิจากผู้แทนผู้วา่ จ้ าง
2.3 วัสดุ อุปกรณ์ เพื่อการทางานสาหรับงานคอนกรี ต จะต้ องได้ รับการตรวจสอบ ลักษณะการ
ใช้ งาน ความแข็งแรง เพื่อความปลอดภัยต่อการปฏิบตั ิงานจากผู้แทนผู้วา่ จ้ าง
2.4 การแก้ ไขข้ อบกพร่ องของงานคอนกรี ตที่เกิดขึ ้น จะต้ องได้ รับการอนุมตั ิจากผู้แทนผู้ว่าจ้ าง ทังวั
้ สดุ
ที่จะนามาซ่อมแซม หรื ออุปกรณ์ที่จะนามาประกอบการแก้ ไข
2.5 วิธีการทดสอบและการเตรี ยมข้ อมูล ต้ องปฏิบตั ิตามมาตรฐานที่อ้างถึง
2.6 บรรดาเอกสาร หรื อข้ อมูลทางเทคนิคทังปวง ้ ที่เกี่ยวข้ องกับวัสดุที่เลือกใช้ เช่น คุณภาพทราย หิน
น ้าซีเมนต์ อัตราส่วนผสมคอนกรี ต ผลการทดสอบมาตรฐานจากสถาบันที่รัฐรับรองสารผสมเพิ่ม
วัสดุเพื่อการอุดซ่อม วัสดุอปุ กรณ์ เพื่อการก่อสร้ างจะต้ อ งส่งให้ ผ้ ูแทนผู้ว่าจ้ าง เพื่อเก็บไว้ เป็ น
หลักฐาน และตรวจสอบในแต่ละช่วง
2.7 หากมิได้ ระบุในแบบและ/หรื อบทกาหนดนี ้ รายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับองค์อาคารคอนกรี ต เสริ ม
เหล็ก และงานคอนกรี ตทังหมดให้
้ เป็ นไปตาม “มาตรฐานสาหรับอาคารคอนกรี ตเสริ มเหล็ก ” ของ
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยที่ 1006-16 ทุกประการ

3. วัสดุ
วัสดุตา่ ง ๆ ที่เป็ นส่วนผสมของคอนกรี ตจะต้ องเป็ นไปตามบทกาหนด และเกณฑ์กาหนดอื่น ๆ ดังนี ้:-
3.1 ปูนซีเมนต์ จะต้ องเป็ นปูนซีเมนต์ปอร์ ตแลนด์ ตามมาตรฐานอุตสาหกรรมชนิดที่เหมาะสมกับงาน
หากมิได้ ระบุเป็ นพิเศษสาหรั บโครงสร้ างเฉพาะ ให้ ใช้ ปูนซีเมนต์ประเภทที่ 1 ตามมาตรฐาน
อุตสาหกรรมไทย มอก.15 เล่ม 1-2555 หรื อปูนซีเมนต์ประเภทที่ 3 ตามมาตรฐานอุตสาหกรรม
ไทย มอก.15 เล่ม 1-2555 ให้ ใช้ ผลิตภัณฑ์ของ บริ ษัท ปูนซีเมนต์ไทย จากัด, บริ ษัท ชลประทาน
ซีเมนต์ จากัด หรื อบริ ษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จากัด
3.2 น ้าที่ใช้ ผสมคอนกรี ต ให้ ใช้ น ้าประปาหรื อน ้าสะอาดที่ใช้ ดื่มได้
3.3 มวลรวม
1. มวลรวมละเอียด ได้ แก่ ทราย จะต้ องเป็ นทรายนา้ จืดเม็ดหยาบคม แข็งแรงและสะอาด
ปราศจากวัสดุอื่นผสม หรื อสารประกอบทางเคมีที่ผลต่อความแข็งแรงของคอนกรี ต เช่น
เกลือคลอไรด์
รายการประกอบแบบก่อสร้ าง
หมวดงานโครงสร้ าง 4-2
2. มวลรวมหยาบ ได้ แก่ หิน หรื อกรวด จะต้ องแข็งแกร่ ง มีลกั ษณะเป็ นก้ อนสี่เหลี่ยม ไม่แบนใน
ระนาบใด ๆ ไม่ทาปฏิกิริยากับปูนซีเมนต์ ไม่ผุ สะอาด ปราศจากผงของ อิ น ทรี ย์ วั ต ถุ ห รื อ
สารเคมีที่มีผลต่อความแข็งแรงของคอนกรี ต เช่น เกลือคลอไรด์
3.4 สารผสมเพิ่ มเพื่ อให้ คอนกรี ตมีคุณสมบัติพิเศษ ต้ องได้ รับการอนุมัติจากผู้แทนผู้ว่าจ้ างก่อน
นามาใช้ งานรั บจ้ างก่อสร้ างจะต้ องส่งตัวอย่างสารผสมเพิ่มที่ จะนามาใช้ ต้องบรรจุในภาชนะที่
เหมาะสม เพื่อให้ สงั เกตสีหรื อคุณลักษณะทางกายภาพได้ โดยง่าย

4. การเก็บวัสดุ
4.1 ให้ เก็บปูนซีเมนต์ไว้ ในอาคาร ถังเก็บ หรื อไซโล หรื อในอาคารโดยวางสูงจากพื ้นประมาณ 0.10 ม.
เพื่อป้องกันความชื ้นและความสกปรกได้ และในการขนส่งให้ ขนส่งในปริ มาณเพียงพอที่จะไม่ทา
ให้ งานคอนกรี ตต้ องชะงัก หรื อล่าช้ าไม่วา่ กรณีใดจะต้ องแยกวัสดุที่ส่งมาแต่ละครัง้ ให้ เป็ นสัด ส่วน
ไม่ปะปนกัน
4.2 การขนส่งมวลรวมหยาบ ให้ ขนส่งโดยแยกขนาดไปยังสถานที่ก่อสร้ าง นอกจากจะได้ รับอนุมตั ิ
จากผู้แทนผู้วา่ จ้ างให้ เป็ นอย่างอื่น
4.3 การกองมวลรวมจะต้ องกองในลักษณะ ที่ จะป้องกันมิ ให้ ปะปนกับมวลรวมกองอื่นที่ มีขนาด
ต่างกัน เพื่อให้ เป็ นไปตามนี ้อาจจะต้ องทาการทดสอบว่า ส่วนขนาดคละตลอดจนความสะอาด
ของมวลรวมตรงตามเกณฑ์กาหนดหรื อไม่ โดยเก็บตัวอย่าง ณ ที่ทาการผสมคอนกรี ต
4.4 ในการเก็บสารผสมเพิ่ ม ต้ องระวังอย่างให้ เกิ ดการเปรอะเปื ้อนการระเหยหรื อเสื่อมคุณภาพ
สาหรับสารผสม เพิ่มชนิดที่อยู่ในรู ปสารลอยตัว หรื อสารละลายที่ไม่คงตัว จะต้ องจัดหาอุปกรณ์
สาหรับกวน เพื่อให้ ตวั ยากระจายโดยสม่าเสมอ ถ้ าเป็ นสารผสมเพิ่มชนิดเหลวจะต้ องป้องกันมิให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิมาก

5. การคานวณออกแบบส่วนผสม
5.1 ห้ ามมิให้ นาคอนกรี ตมาเทส่วนที่เป็ นโครงสร้ างใด ๆ จนกว่าส่วนผสมของคอนกรี ตที่จะนามาใช้ นนั ้
ได้ รับความเห็นชอบจากผู้แทนผู้วา่ จ้ าง
5.2 ก่อนเทคอนกรี ตอย่างน้ อย 30 วัน ผู้รับจ้ างจะต้ องเตรี ยมส่วนผสมคอนกรี ตต่าง ๆ เพื่อให้ ผ้ แู ทน
ผู้วา่ จ้ างตรวจสอบ และให้ ความเห็นชอบก่อน
5.3 การที่ผ้ แู ทนผู้วา่ จ้ างให้ ความเห็นชอบต่อส่วนที่เสนอมาหรื อที่แก้ ไข (หากมี) นันมิ
้ ได้ หมายความว่า
จะลดความรับผิดชอบของผู้รับจ้ างที่มีตอ่ คุณสมบัติของคอนกรี ตที่ได้ จากส่วนผสมนัน้

6. วิธีการผสมคอนกรี ต
6.1 การผสมคอนกรี ตด้ วยเครื่ อง ณ สถานที่ก่อสร้ าง จะต้ องได้ รับการเห็นชอบจากผู้แทนผู้ว่าจ้ างต่อ
อุปกรณ์ เครื่ องมือ วิธีการชัง่ ตวง วัดและช่างที่ควบคุมคุณภาพ ขันตอนการผสมมวลคอนกรี
้ ตต้ อง
กระทาตามลาดับขันในการใส่
้ มวลคอนกรี ตแต่ละประเภท รวมถึงการใช้ น ้ายาผสมคอนกรี ต
ระยะเวลาที่ใช้ ผสมมวลคอนกรี ตนับจากใส่ซีเมนต์ ต้ องไม่น้อยกว่า 2 นาที และนับจากเวลาที่เริ่ ม
ใส่ซีเมนต์ภายใน 45 นาที จะต้ องเทคอนกรี ตส่วนที่ผสมแล้ วเกินกว่า 45 นาที ห้ ามนามาใช้
ยกเว้ นกรณีที่เลือกใช้ สารผสมเพิ่มชนิดหน่วงเวลาก่อตัว ตามปริ มาณของสารผสมที่ใช้
6.2 การผสมคอนกรี ตแบบผสมเสร็ จ วิธีการผสม และการขนส่งคอนกรี ตให้ ปฏิบตั ิตาม “บทกาหนด
สาหรับคอนกรี ตผสม” (ASTM C 94)
รายการประกอบแบบก่อสร้ าง
หมวดงานโครงสร้ าง 4-3
7. คุณสมบัติของคอนกรี ตที่ต้องการ
7.1 กาลังอัดของคอนกรี ตทุกส่วนโครงสร้ างของอาคารหล่อในที่จะต้ องมีกาลังอัดของคอนกรี ต ตามที่
แสดงไว้ ในตารางที่ 1 กาลังอัดสูงสุดให้ พิจารณาที่อายุ 28 วัน สาหรับซีเมนต์ประเภทที่ 1 และที่ 7
วัน สาหรับซีเมนต์ประเภทที่ 3
ทังนี
้ ้แท่งคอนกรี ตมาตรฐานมีเส้ นผ่าศูนย์ กลาง 15 ซม. สูง 30 ซม. วิธีการทาและบ่มชิ ้นตัวอย่าง
คอนกรี ต สาหรับทดสอบแรงอัดตามมาตรฐาน ASTM C192 วิธีการทดสอบกาลังอัดของแท่ง
กระบอกคอนกรี ต ตามมาตรฐาน ASTM C39

ตารางที่ 1
กาลังอัดของคอนกรี ตโครงสร้ าง ชนิดของโครงสร้ าง
อาคาร ค่าต่าสุดของกาลังอัดของคอนกรี ตโดยแท่งทรงกระบอก
ที่ 28 วัน (กก./ตร. ซม.)
ฐานราก 210
เสา 210
คาน 210
พื ้น คสล. – บันได 210
ผนังกาแพงรับน ้าหนัก 210
ถังเก็บน ้า 210
ผนังคอนกรี ตไม่ได้ รับน ้าหนัก 180
เคาน์เตอร์ ห้องน ้า 180
ครี บ คสล. 180
บ่อพัก รางระบายน ้าวางบนดิน 180
เสาเอ็น 180
คานเอ็น 180
คอนกรี ตหยาบ 100

7.2 การยุบตัวของคอนกรี ตก่อนเทลงในแบบ โดยวิธีทดสอบค่าการยุบตัวมาตรฐาน ASTM C143


ต้ อง เป็ นไปตามค่าที่ยอมให้ ในตารางที่ 2

ตารางที่ 2
ค่ าการยุบตัวที่ยอมให้ สาหรั บงานก่ อสร้ าง (เมื่อใช้ เครื่ องสั่นสะเทือน)
ค่าการยุบตัว (ซม.)
ส่วนของโครงสร้ าง
สูงสุด ต่าสุด
ฐานราก 7.5 5.0
แผ่นพื ้น คาน ผนัง คสล. 10.0 5.0
เสา 12.5 5.0
ครี บ คสล. และผนังบาง ๆ 15.0 5.0
รายการประกอบแบบก่อสร้ าง
หมวดงานโครงสร้ าง 4-4
7.3 ขนาดใหญ่สดุ ของมวลรวมหยาบในส่วนผสมคอนกรี ตจะต้ องเป็ นไปตามตารางที่ 3

ตารางที่ 3
ขนาดใหญ่ สุดของมวลรวมหยาบที่ใช้ กับคอนกรี ต
ส่วนของโครงสร้ าง ขนาดไม่เกิน (ซม.)
ฐานราก,เสาและคาน 4
ผนัง คสล. หนาตังแต่้ 12.5 ซม. ขึ ้นไป 4
ผนัง คสล. หนาน้ อยกว่า 12.5 ซม. 2.5
แผ่นพื ้น ครี บ คสล. 2.5

8. การเก็บตัวอย่าง การทดสอบและการประเมินผล
8.1 จานวนแท่งทดสอบในแต่ละครัง้ ที่มีการเทคอนกรี ต เกินกว่า 5 ลบ.ม. จะต้ องไม่น้อยกว่า 3 แท่ง
ทดสอบ ทังนี ้ ้ผู้แทนผู้วา่ จ้ างอาจตกลงกับผู้วา่ จ้ างก่อสร้ างในการเก็บตัวอย่างเพื่อควบคุมคุณภาพ
เป็ นพิเศษก็ได้ ในการทดสอบเพื่อประเมินคุณภาพในแต่ละครัง้ ที่เทคอนกรี ตจานวนแท่งทดสอบ
จะต้ องไม่น้อยกว่า 3 แท่งทดสอบ การทดสอบอายุที่ 7 วัน หรื อ 28 วัน เป็ นการประเมินผลที่จะ
ยอมรั บได้ ตามกราฟมาตรฐานวิธีการทา และบ่มแท่งทดสอบตัวอย่างคอนกรี ตรั บแรงอัดตาม
มาตรฐาน ASTM C31 และวิธีการทดสอบกาลังอัดของแท่งกระกอบคอนกรี ต ASTM C 39
8.2 ผู้รับจ้ างก่อสร้ างจะต้ องส่งรายงานผลการทดสอบแสดงรายละเอียดของคอนกรี ตที่ทดสอบดังนี ้
- วันที่หล่อ
- วันที่ทดสอบ
- ประเภทของคอนกรี ตจากส่วนโครงสร้ าง
- ค่าการยุบตัว
- สารผสมเพิ่ม
- น ้าหนักของแท่งทดสอบ
- กาลังที่จดุ เริ่ มร้ าว
- สถานที่ทดสอบ
- วิศวกรผู้ควบคุมการทดสอบและรับรองผล
8.3 กาลังอัดของแท่งทดสอบไม่น้อยกว่า 3 ตัวอย่าง จะต้ องมีค่ากาลังโดยเฉลี่ยไม่น้อยกว่าที่ระบุใน
ตารางที่ 1 โดยค่าต่าสุดของแท่งทดสอบดังกล่าว จะต้ องไม่น้อยกว่า 85% ของค่าที่กาหนด
8.4 หากผลการทดสอบค่าเฉลี่ยที่ค่าน้ อยกว่าที่กาหนดไม่เกิน 15% ต้ องทาการทดสอบโดยการเจาะ
แท่งคอนกรี ตจากบริ เวณโครงสร้ างที่เก็บตัวอย่างมาทดสอบ หากผลการทดสอบมีค่าเฉลี่ยน้ อย
กว่าที่กาหนดเกินกว่า 15% ให้ สกัดคอนกรี ตบริ เวณดังกล่าวออกและเทคอนกรี ตขึ ้นมาใหม่
8.5 วิธีการเจาะแท่งคอนกรี ต ให้ ปฏิบตั ิตามมาตรฐาน ASTM C 24 การทดสอบแท่งคอนกรี ตดังกล่าว
จะต้ องกระทาในสภาพผิวแห้ งในอากาศ
8.6 หากผลการทดสอบโดยค่าเฉลี่ยของแท่งทดสอบได้ ตามที่กาหนด แต่ในสภาพการก่อสร้ างจริ ง
คอนกรี ตโครงสร้ างบริ เวณดังกล่าวมีลกั ษณะที่ไม่แข็งแรงพอที่จะรับน ้าหนัก หรื อเป็ นอันตรายต่อ
ส่วนของโครงสร้ างอื่น ผู้รับจ้ างก่อสร้ างจะต้ อง ทาการเจาะแท่งคอนกรี ตอย่างน้ อย 3 แท่ง
ทดสอบนาไปทดสอบ โดยตัวแทนผู้วาจ้ างจะเป็ นผู้กาหนดตาแหน่ง
8.7 กาลังอัดโดยเฉลี่ยของแท่งทดสอบ โดยวิธีการเจาะจะต้ องเท่ากันหรื อสูงกว่ากาลังอัดที่กาหนด
8.8 บริ เวณที่ทาการเจาะแท่งคอนกรี ต จะต้ องทาการอุดซ่อมโดยใช้ ซีเมนต์พิเศษ
8.9 โดยวิธีการเจาะแท่งคอนกรี ต หากผลการทดสอบยังไม่ผ่านตามที่กาหนด ผู้รับจ้ างก่อสร้ าง จะต้ อง
สกัดเอาคอนกรี ตของโครงสร้ างส่วนนันออก ้ และเทหล่อใหม่ตามแบบโดยมีผ้ แู ทนผู้ว่าจ้ างเป็ นผู้
รายการประกอบแบบก่อสร้ าง
หมวดงานโครงสร้ าง 4-5
กาหนดขอบเขต หรื อบริ เวณที่จะต้ องสกัดออก และในการเทคอนกรี ตใหม่ต้องใช้ วสั ดุประสาน
คอนกรี ตที่ระบุ
8.10 สาหรับกรณีแผ่นพื ้น เมื่อมีข้อสรุ ปให้ ทาการทดสอบความแข็งแรง และความสามารถในการรั บ
น ้าหนัก ผู้รับจ้ างก่อสร้ างจะต้ องเสนอวิธีการทดสอบให้ ผ้ แู ทนผู้ว่าจ้ างพิจารณา การทดสอบโดย
วิธีนี ้จะต้ องกระทาโดยสถาบัน หรื อบริ ษัทที่ทางานการทดสอบเป็ นบริ การวิชาชีพ มีบุคลากรที่มี
ประสบการณ์ ทังนี ้ ้ ผลการทดสอบจะต้ องมีคา่ ส่วนปลอดภัยไม่น้อยกว่า 3 และมีการโก่งของส่วน
โครงสร้ างไม่เกิน 1:720

9. การขนส่งและการเทคอนกรี ต
9.1 อุปกรณ์การขนส่งคอนกรี ตต้ องสะอาดปราศจากคราบน ้ามันหรื อเศษปูนติด
9.2 ต้ องมีการป้องกันการแยกแยะของมวลคอนกรี ตขณะขนส่ง
9.3 ส่วนโครงสร้ างที่จะเทคอนกรี ต ต้ องเตรี ยมพื ้นที่ให้ สะอาด จัดเตรี ยมรอยต่อระหว่างคอนกรี ตใหม่
กับของเดิมวัสดุ หรื ออุปกรณ์ที่จาเป็ นต้ องฝั งในคอนกรี ตต้ องยึดให้ อยู่ในตาแหน่ง
9.4 วิธีการลาเลียงคอนกรี ตไปยังจุดเทคอนกรี ตจะต้ องได้ รับความเห็นชอบจากผู้แทนผู้วา่ จ้ างก่อน
9.5 การเทคอนกรี ตจะต้ องกระทาอย่างต่อเนื่อง การหยุดเทด้ วยเหตุใดก็ตามเกินกว่า 30 นาที ให้ หยุด
การเทบริ เวณนันโดยให้
้ เทคอนกรี ตใหม่ต่อไปได้ ภายหลัง 24 ชม. โดยตาแหน่งของการหยุดเท
คอนกรี ตที่เกินกว่าที่กาหนดในตารางที่ 4 ผู้รับจ้ างก่อสร้ างจะต้ องสกัดแต่งแนวให้ ได้ ตามที่กาหนด
หรื อใช้ อปุ กรณ์พิเศษ เช่น EXPAMET HY-RIB กันเป็ ้ นแนวต่อให้ ได้ ตามที่กาหนด

ตารางที่ 4
ตาแหน่ งการหยุดเทคอนกรี ต
ส่วนของโครงสร้ าง ตาแหน่งการหยุดเทคอนกรี ต
- พื ้น แนวกึง่ กลางของแผ่นพื ้น
- คาน แนวกึ่ ง กลางของคาน ส าหรั บ คานยื่ น ต้ องเทคอนกรี ต
ต่อเนื่องกัน
- เสา ตลอดความยาวที่ระบุ ระยะต่ากว่าท้ องคาน 7.5 ซม. หรื อ
เสมอท้ องคาน
- บันได เทต่อเนื่องกันทังผื
้ น
- ถังเก็บน ้า ณ ตาแหน่ งที่ ร ะบุ ใ ห้ ห รื อ กึ่งกลางความลึก โดยมี แ ผ่ น ยาง
PVC. คัน่ รอยต่อตามขนาดที่ระบุ
- กาแพง สูงไม่เกินช่วงละ 3 ม. สาหรั บแบบที่ มีการควบคุมที่ ดี โดย
ผู้แทนผู้ว่าจ้ างควบคุมอย่างใกล้ ชิดหรื อไม่เกินช่วงละ 2 ม.
โดยมีร่องความหนามาตรฐานของความหนาของกาแพง

ทังนี
้ ้ให้ ผ้ รู ับจ้ างก่อสร้ างต้ องพิจารณาความแข็งแรงของโครงสร้ างเป็ นหลัก โดยป้องกันการ
เกิดรอยร้ าวของรอยต่อ การยึด หรื อหดตัวของส่วนโครงสร้ างจากความคลาดเคลื่อนของรอยต่อ
จากที่แนะนาในตาราง และวิธีการเลือกใช้ วสั ดุพิเศษเป็ นตัวประสานรอยต่อ เป็ นต้ น
9.6 ขณะเทคอนกรี ตต้ องควบคุมการเทคอนกรี ตให้ แน่ นตลอดเวลา โดยใช้ เครื่ องสั่นคอนกรี ต ที่
เหมาะสมกับชนิดของโครงสร้ าง
รายการประกอบแบบก่อสร้ าง
หมวดงานโครงสร้ าง 4-6
10. รอยต่อและสิ่งที่ต้องฝั งในคอนกรี ต
10.1 รอยต่อของโครงสร้ างคอนกรี ตต่อเนื่อง จะต้ องเตรี ยมผิวก่อนเทคอนกรี ต ดังนี ้
- ทางแนวราบ คอนกรี ตที่จะเททับเหนือรอยต่อจะต้ องไม่ใช่คอนกรี ตส่วนแรกที่ออกมาจาก
เครื่ องผสม
- ทางแนวตัง้ ให้ ใช้ ปนู ทราย 1:1 ผสมน ้าไล้ ที่ผิวให้ ทวั่ ก่อนที่จะเทคอนกรี ต
- สาหรับกาแพงหรื อผนัง คสล. จะต้ องจัดให้ มีสลักยาวลึกอย่างน้ อย 5 ซม. ตลอดแนวยาว
10.2 ก่อนเทคอนกรี ต บรรดาวัสดุอปุ กรณ์ทงปวงที
ั้ ่เกี่ยวข้ องในการก่อสร้ าง เช่น ท่อร้ อยสายไฟ แผ่นกัน
น ้า PVC. แนวฝั งปลอกท่อต้ องยึดในตาแหน่งที่มนั่ คง และอุดช่องว่างไม่ให้ คอนกรี ตไหลเข้ าไปใน
ท่อได้

11. การซ่อมผิวที่ชารุ ด
11.1 เมื่อถอดแบบผิวคอนกรี ตที่ไม่สมบูรณ์ มีโพรง หรื อรู พรุ น หรื อน ้าปูนไม่เกาะกับหิน ก่อนซ่อมแซม
จะต้ องขออนุมตั ิตอ่ ผู้แทนผู้วา่ จ้ าง
11.2 ให้ ผ้ รู ับจ้ างก่อสร้ างเสนอวิธีการ วัสดุ อุปกรณ์ หรื อมาตรการ การตรวจสอบต่อผู้แทนผู้ว่าจ้ างใน
การ ซ่อมแซมคอนกรี ตที่ไม่สมบูรณ์ข้างต้ น
11.3 มาตรการในการซ่อมแซมคอนกรี ต ตามลาดับชันที ้ ่ผ้ แู ทนผู้วา่ จ้ างจะพิจารณาตามความเหมาะสม
กับชนิดของโครงสร้ างและลักษณะของความเสียหายที่เกิดขึ ้น:
- ใช้ ซีเมนต์พิเศษทาการอุดซ่อม โดยปฏิบตั ิตามคาแนะนาของผู้ผลิต
- ทาการสกัดคอนกรี ตเดิมออก และหล่อขึ ้นมาใหม่แทน โดยใช้ น ้ายาประสานคอนกรี ต

12. การบ่มคอนกรี ต
12.1 คอนกรี ตที่ทาการถอดแบบออก จะต้ องทาการบ่มคอนกรี ตโดยทันที โดยกรรมวิธีใดวิธีหนึ่งที่
เหมาะสม เช่น ใช้ น ้ายาบ่มคอนกรี ต ขังน ้ามัน, ลงทรายแห้ งราดน ้าให้ ช่มุ เป็ นต้ น
12.2 เวลาในการบ่มคอนกรี ตไม่น้อยกว่า 7 วัน หรื อตามคุณสมบัติของน ้ายาบ่มคอนกรี ตที่เลือกใช้ การ
บ่มคอนกรี ตต้ องกระทาอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 24 ชัว่ โมง ตลอดระยะเวลาที่กาหนด

13. ความหนาของคอนกรี ตที่ห้ มุ เหล็กเสริ มโดยวัดจากผิวเหล็ก


หากมิได้ ระบุไว้ ในแบบก่อสร้ าง ระยะหุ้มเหล็กเสริ มของคอนกรี ตต้ องไม่ต่ากว่าระยะในตารางที่ 5

ตารางที่ 5
ระยะหุ้มเหล็กเสริมสาหรั บการก่ อสร้ างคอนกรี ตหล่ อในที่
สภาพแวดล้ อมของผิวสัมผัส
ส่วนโครงสร้ าง
ปกติ (ซม.) จมน ้า (ซม.)
คอนกรี ตใต้ ดิน 7.5 10.0
สัมผัสดิน 5.0 10.0
คานและเสา 4.0 10.0
ผนัง 2.0 10.0
พื ้น 2.0 10.0
รายการประกอบแบบก่อสร้ าง
หมวดงานโครงสร้ าง 4-7
14. ข้ อกาหนดเพิ่มเติมสาหรับงานคอนกรี ตหล่อสาเร็ จ
ให้ ผ้ รู ับจ้ างทาแบบ SHOP DRAWING แสดงความละเอียดของผิว ส่วนผสมคอนกรี ต รายละเอียดการ
เสริ ม เหล็ก และการเชื่อมต่อระหว่างแผ่น พร้ อมทัง้ กรรมวิธีในการขนย้ ายเพื่อติดตัง้ เพื่ อขออนุมตั ิให้ ทา
ตัวอย่างเมื่อตัวอย่างได้ รับการอนุมตั ิฯ ให้ ผ้ รู ับจ้ างเสนอแผนการดาเนินการผลิต จนถึงการติดตัง้ เพื่ออนุมตั ิก่อน
การดาเนินการ ผิวของคอนกรี ตหล่อสาเร็ จไม่ว่าจะเป็ นผิวเรี ยบมัน หรื อ ขรุ ขระ จะต้ องเป็ นผิวสม่าเสมอ ไม่มี
ตะเข็บ ขอบไม่ปิ่น หรื อมีคอนกรี ตส่วนเกิน การเชื่อมต่อระหว่างแผ่น หากเป็ นการเชื่อมของเหล็กจะต้ องได้ รับ
การเกร้ าท์ (GROUT) ด้ วยซีเมนต์ไม่หดตัว (NON-SHRINKAGE) หรื อ SEALANT ที่เหมาะสม โดยมิดชิด อัตรา
การเบี่ยงเบน(TOLERANCE) ไม่ควรเกิน ½ นิ ้ว ต่อ 2 LINEAR METER ในทุกทิศทาง การแต่งผิวคอนกรี ตหล่อ
สาเร็ จ ที่เสียหายนัน้ ให้ ขออนุมตั ิแต่ละแห่ง หากการแต่งผิวมีความลึกไม่ถึง 1 นิ ้ว ให้ เจาะรู เส้ นผ่าศูนย์กลาง 6
มม. ลึก 1 นิ ้ว ทุกระยะ 5 ซม. ทุกทิศทาง เพื่อเพิ่มการยึดเกาะ ทาความสะอาดด้ วยการฉีดน ้าเช็ดให้ หมาด ก่อน
ฉาบปูนตกแต่ง ให้ เสริ มตะแกรงเหล็กหากจาเป็ น ปูนตกแต่งควรเป็ นปูนที่มีคณ ุ สมบัติเฉพาะ อาจผสมน ้ายาที่
จาเป็ นให้ ฉาบแต่งโดยเว้ นจากผิวหน้ าไว้ อย่างน้ อย 2 มม. ทิ ้งให้ หมาด แล้ วใช้ น ้าปูนราด แล้ วทิ ้งไว้ ให้ หมาดอีก
ครัง้ แล้ วแต่งด้ วยเกรี ยงผิวมัน เพื่อให้ ผิวของบริ เวณที่แต่งผิวที่มีความละเอียด ความมันเหมือนผิวเดิม
รายการประกอบแบบก่อสร้ าง
หมวดงานโครงสร้ าง 5-1
หมวดที่ 5
งานป้องกันความชืน้
1. ขอบเขตของงาน
1.1 ผู้รับจ้ างจะต้ องเป็ นผู้จดั หาวัสดุ อุปกรณ์ ช่างผู้ชานาญงาน เพื่อดาเนินการทาการป้องกัน
ความชื ้น ให้ ถกู ต้ องและครบสมบูรณ์
1.2 งานคอนงานคอนกรี ตสาหรับโครงสร้ าง พื ้นผนังห้ องใต้ ดิน ถังเก็บน ้าใต้ ดินหรื อบนดิน หรื อ
บนหลังคา หลังคาห้ องน ้า ระเบียง อยู่ในขอบเขตของงานนี ้
1.3 ผู้รับจ้ างจะต้ องส่งตัวอย่าง และจัดทารายละเอียด ขันตอน ้ วิธีการ การติดตัง้ ตามข้ อ 3.6 ให้
วิศวกรผู้ควบคุมงาน อนุมตั ิเพื่อให้ การทางานและการควบคุมคุณภาพถูกต้ อง
1.4 การทดสอบ และตรวจสอบคุณภาพภายหลังการติดตังตลอดอายุ ้ การประกันผลงาน เป็ น
ภาระหน้ าที่ ของผู้รับจ้ าง และต้ องแก้ ไขให้ ใช้ งานได้ ตลอดเวลา

2. ทัว่ ไป
2.1 วัสดุสาหรับทาการป้องกันความชื ้น จะต้ องถูกต้ องตรงตามเงื่อนไขที่ระบุในข้ อกาหนด
2.2 วัสดุเทียบเท่า จะต้ องได้ รับการอนุมตั ิจากวิศวกรผู้ควบคุมงาน
2.3 การเก็บวัสดุ จะต้ องปฏิบตั ิตามที่ผ้ ผู ลิตแนะนา

3. ข้ อกาหนดสาหรับวัสดุป้องกันความชื ้น
สาหรับวัสดุที่จะนามาใช้ ในงานป้องกันความชื ้นจะต้ องสอดคล้ องตามข้ อกาหนดในตารางที่ 1 ท้ าย
นี ้
ตารางที่ 1
ข้ อกาหนดสาหรั บวัสดุป้องกันความชืน้
โครงสร้ าง วัสดุป้องกันความชื ้น
1. พื ้นและผนังพื ้นชันใต้
้ ดิน 1. แผ่นกันความชื ้นชนิดติดผนังหรื อพื ้น
FEBIT FLYDROPROF
- TRIPLE PLY CROSS LAMINATED POLYETHELENE SHEET
- BITUMEN RUBBER >= 1.50 MM.
- TENSILE STRESS>=10 KG/SQ.CM
- ELONGATION>=800%
- NON-TOXIC
- 10 YEARS GUARANTEE
- ASTM. E-96, E-156M, D-774,
D-882 D-1228 หรื อ DIN 53-363
DIN 53-122, DIN 18-53
- หรื อเทียบเท่า
2. ภายในถังเก็บนา้ , บ่อลิฟ ต์ ที่สัมผัสดิน 2. ซีเมนต์พิเศษทา – ฉาบกันซึม
ภายในกระถางต้ นไม้ , รางระบายน ้าฝนหลังคา BRUSHCRETE
, ระเบียงเปลือยคอนกรี ต , หลังคาเปลือยที่ - ACRYLIC REINFORCED CEMENTTIOUS
ไม่ได้ ระบุเป็ นพิเศษ - DIN-1048, BS-476 PORT6
- 5 YEARS GUARANTEE
- หรื อเทียบเท่า
รายการประกอบแบบก่อสร้ าง
หมวดงานโครงสร้ าง 5-2
3. หลังคา 3. แผ่นกันความชื ้นชนิดติดผนังหรื อพื ้นตาม
ข้ อ 1 ชนิดทนความร้ อนเป็ นพิเศษ หรื อประกอบการ
ติดตังด้
้ วยวัสดุปกคลุม เช่น กรวด ฯ CEMENT TOPPINGS หรื อ มี
จานวนชัน้ (PLY) ที่สามารถประกันคุณภาพได้ 10 ปี

4. การควบคุมคุณภาพ
4.1 ผู้รับจ้ างจะต้ องจัดเตรี ยมผิวของโครงสร้ างที่จะป้องกันความชื น้ ใหญ่ถูกต้ องตามที่ผ้ ูผลิต
แนะนา
4.2 การติดตังจะต้ ้ องกระทาโดยช่างผู้ชานาญงาน และได้ รับการเห็นชอบในมาตรฐานการทางาน
จากผู้ผลิต สาหรับการป้องกันความชื ้นของพื ้นที่ติดผนัง ให้ ทาบัวเชิงผนัง (CANT) ที่ทามุม
45 ◦ กับพื ้นและผนัง เพื่อป้องกันการแตกร้ าวจากการขยายตัว แผ่นกันซึมนี ้จะต้ องทาบติด
กับผนังให้ สงู จากพื ้นไม่น้อยกว่า 20 ซม. ตลอดแนว ที่ปลายสุดให้ มีบวั ทับหรื อเซาะร่ อง
(REGLET) ให้ แผงกันซึมสามารถซ่อนปลายเพื่อป้องกันแผ่นเผยอจากผนังอันเป็ นเหตุให้
น ้าซึมเข้ าได้

You might also like