You are on page 1of 377

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

รายละเอียดด้านวิศวกรรม
(TECHNICAL SPECIFICATIONS)

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ
โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ

สํานักงานก่อสร้างชลประทานขนาดใหญ่ที่ 8
สํานักพัฒนาแหล่งน้ําขนาดใหญ่

ทะเบียนงานเลขที่ ……………….
สํานักพัฒนาแหล่งน้ําขนาดใหญ่
ชุดที่.................................
รายละเอียดด้านวิศวกรรม (Technical Specifications)
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ
โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
สารบัญ
หน้า
บทที่ 1 การเตรียมงานเบื้องต้น
1.1 บทนํา 1-1
1.1.1 ความเข้าใจในเอกสารสัญญา และข้อกําหนดทางเทคนิค 1-1
1.1.2 มาตรฐานที่ใช้ 1-1
1.1.3 คุณภาพวัสดุและฝีมือ 1-3
1.1.4 การสํารวจวางแผนผัง 1-3
1.1.5 การรักษาดูแลพื้นที่กอ่ สร้าง 1-4
1.1.6 การสุขาภิบาลและบริการด้านสุขภาพ 1-4
1.1.7 การป้องกันอุบัติภัย 1-4
1.1.8 การบํารุงรักษาทางสัญจร 1-5
1.1.9 การเก็บรักษาวัสดุที่หน้างานและดูแลงาน 1-6
1.1.10 ผู้ช่วยงานฝ่ายผู้ว่าจ้าง 1-7
1.1.11 แบบหลักฐาน (As-built Drawings) 1-7
1.2 งานชั่วคราว 1-7
1.2.1 การเตรียมพื้นที่ 1-7
1.2.2 การขนย้ายเครื่องจักร – เครื่องมือและวัสดุเข้าไปในบริเวณ 1-8
พื้นที่การก่อสร้าง
1.2.3 ทีท่ ําการ ที่พักชั่วคราว คลังพัสดุ และโรงงานของผู้รับจ้าง 1-9
1.3 การทดสอบวัสดุ 1-9
1.3.1 การทดสอบที่สถาบันที่มีชื่อเสียง หรือหน่วยงานราชการ 1-9
1.3.2 ความล่าช้าในการทดสอบวัสดุ 1-10
1.4 แผนปฏิบัติงาน 1-10
1.5 รายงานความก้าวหน้า และการบันทึกด้วยภาพประจําเดือน 1-10
1.6 การป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 1-11
1.6.1 ขอบเขตของงาน 1-11
1.6.2 การควบคุมคุณภาพน้ํา 1-11

-ก-
สารบัญ
หน้า
1.6.3 การป้องกันป่าไม้และสัตว์ป่า 1-11
1.7 บ่อตกตะกอน 1-12
1.7.1 ความต้องการ 1-12
1.7.2 การทดสอบและบําบัดน้ํา 1-12
1.8 การประชุมที่บริเวณก่อสร้าง 1-12
1.9 การวัดปริมาณงานและการจ่ายเงิน 1-12
บทที่ 2 งานดิน
2.1 ขอบเขตของงาน 2-1
2.2 งานถากถาง 2-1
2.2.1 ทั่วไป 2-1
2.2.2 ขอบเขตของงาน 2-3
2.2.3 ข้อกําหนดและวิธีการปฏิบัติงาน 2-3
2.3 งานขุด 2-3
2.3.1 ทั่วไป 2-3
2.3.2 ขอบเขตของงาน 2-4
2.3.3 ข้อกําหนดและวิธีการปฏิบัติงาน 2-4
2.4 งานถมบดอัดแน่น 2-7
2.4.1 ทั่วไป 2-7
2.4.2 ขอบเขตของงาน 2-7
2.4.3 คุณสมบัติของวัสดุถมบดอัดแน่น 2-8
2.4.4 เครื่องจักร-เครื่องมือในการบดอัด 2-10
2.4.5 ข้อกําหนดและวิธีการปฏิบัติงาน 2-13
2.4.6 การทดสอบความแน่นของการบดอัด 2-15
2.5 การวัดปริมาณงานและการจ่ายเงิน 2-16
2.5.1 งานขุดเปิดหน้าดิน 2-16
2.5.2 งานดินขุดด้วยเครื่องจักร 2-17
2.5.3 งานดินขุดด้วยแรงคน 2-17
2.5.4 งานดินขุดยาก 2-18
2.5.5 งานรื้อย้ายดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักร (งานทั่วไป 85%) 2-18
2.5.6 งานขุดบ่อยืมดิน 2-18
2.5.7 งานดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักรเบา 2-19
2.5.8 งานดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักร (งานทั่วไป 95%) 2-19
-ข-
สารบัญ
หน้า
2.5.9 งานดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักร (งานทั่วไป 85%) 2-19
2.5.10 งานทรายอัดแน่น 2-20
บทที่ 3 งานป้องกันการกัดเซาะ และเพิ่มเสถียรภาพ
3.1 ขอบเขตของงาน 3-1
3.2 คุณสมบัติวัสดุ 3-1
3.2.1 หิน 3-1
3.2.2 วัสดุรองพื้น (Bedding Material) 3-2
3.2.3 แผ่นใยสังเคราะห์ (Geotextile) 3-3
3.2.4 กล่องลวดตาข่าย (GABION) 3-4
3.2.5 กล่องลวดตาข่าย (MATTRESS) 3-6
3.3 ขั้นตอนวิธีการทํางาน 3-9
3.3.1 งานชั้นวัสดุรองพื้น 3-9
3.3.2 งานหินเรียง (Hand-placed Riprap) 3-9
3.3.3 งานหินเรียงยาแนว (Grouted Riprap) 3-10
3.3.4 งานหินก่อ (Stone Masonry) 3-10
3.3.5 งานหินทิ้ง (Dumped Riprap) 3-10
3.3.6 งานกล่องลวดตาข่าย (GABION) 3-11
3.3.7 งานกล่องลวดตาข่าย (MATTRESS) 3-11
3.3.8 งานปูแผ่นใยสังเคราะห์ 3-11
3.3.9 งานปลูกหญ้า 3-11
3.4 งานป้องกันตลิ่งด้วยเข็มพืดเหล็ก 3-12
3.4.1 ขอบเขตของงาน 3-12
3.4.2 รายละเอียดและขั้นตอนการดําเนินงาน 3-12
3.4.3 รายละเอียดเครื่องจักรเครื่องมือ 3-14
3.4.4 การปฏิบัติงาน 3-14
3.5 การวัดปริมาณงานและการจ่ายเงิน 3-15
3.5.1 งานทรายหยาบรองพื้น หนา 0.10 ม. 3-15
3.5.2 งานหินเรียง หนา 0.30 ม. 3-15
3.5.3 งานหินเรียงยาแนว งานหินก่อ งานหินทิ้ง 3-16
3.5.4 งานแผ่นใยสังเคราะห์ หนา 2.2 มม. 3-16
3.5.5 งานจัดหาและติดตั้ง GABION ขนาด 2.00x1.00x0.50 ม. 3-16
3.5.6 งานปลูกหญ้าบน Topsoil หนา 15 ซม. 3-18
-ค-
สารบัญ
หน้า
3.5.7 งานตอกเข็มพืดเหล็ก ขนาด 400x125x13 มม. ยาว 12.00 ม. 3-19
3.5.8 งานถอนเข็มพืดเหล็ก ขนาด 400x125x13 มม. ยาว 12.00 ม. 3-19
บทที่ 4 งานคอนกรีต
4.1 ทั่วไป 4-1
4.2 ขอบเขตของงาน 4-1
4.3 หลักเกณฑ์ทั่วไป 4-1
4.4 ส่วนประกอบของคอนกรีต 4-1
4.4.1 ปูนซีเมนต์ (Cement) 4-2
4.4.2 ทราย (Fine Aggregates) 4-4
4.4.3 กรวดหรือหินย่อย (Coarse Aggregates)- 4-4
4.4.4 น้ํา 4-5
4.4.5 สารเคมีผสมเพิม่ สําหรับคอนกรีต (Chemical Admixture Concretes) 4-5
4.5 เหล็กเส้นเสริมคอนกรีต 4-6
4.5.1 มาตรฐานเหล็กเสริม 4-6
4.5.2 การเก็บตัวอย่างเหล็กเสริมคอนกรีต 4-6
4.5.3 การตัด ดัด วาง ผูก และติดตั้งเหล็กเสริม 4-6
4.5.4 ความคลาดเคลื่อนของการวางเหล็กเสริม 4-7
4.5.5 การต่อเหล็กเสริม 4-7
4.6 การทํางานคอนกรีต 4-8
4.6.1 อัตราส่วนผสม 4-8
4.6.2 ความข้นเหลวของคอนกรีต 4-8
4.6.3 การตรวจสอบคุณภาพคอนกรีต 4-8
4.6.4 การเก็บตัวอย่างคอนกรีต 4-8
4.6.5 การทดสอบหาค่าความยุบตัวของคอนกรีต (Slump Test) 4-9
4.6.6 การหล่อแท่งทดสอบมาตรฐาน 4-10
4.6.7 การทดสอบแท่งทดสอบมาตรฐาน 4-12
4.6.8 การผสมคอนกรีต 4-14
4.6.9 อุณหภูมิของคอนกรีต 4-14
4.6.10 แบบหล่อคอนกรีตและนั่งร้านสําหรับเทคอนกรีต 4-15
4.6.11 การเตรียมการเพื่อเทคอนกรีต 4-16
4.6.12 การเทคอนกรีต และการอัดซีเมนต์เหลว 4-16
4.6.13 การถอดแบบหล่อและไม้ค้ํายัน 4-17
-ง-
สารบัญ
หน้า
4.6.14 การซ่อมคอนกรีต 4-18
4.6.15 การป้องกันผิวหน้าคอนกรีต 4-18
4.6.16 การบ่มคอนกรีต 4-19
4.6.17 น้ํายาบ่มคอนกรีต (Curing Compound) 4-19
4.6.18 การทําเครื่องหมายบนผิวหน้าคอนกรีต 4-20
4.6.19 ความคลาดเคลื่อนของอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 4-20
4.6.20 Blockout 4-21
4.7 งานคอนกรีตดาด 4-21
4.7.1 ขอบเขตของงาน 4-21
4.7.2 วัสดุ 4-22
4.7.3 วิธีการก่อสร้าง 4-22
4.7.4 ความคลาดเคลื่อนและข้อจํากัดของงานคอนกรีตดาด 4-23
4.8 รอยต่อคอนกรีต 4-23
4.8.1 รอยต่อก่อสร้าง (Construction Joint) 4-23
4.8.2 รอยต่อเพื่อควบคุมแรงเค้นส่วนเกิน (Control Joint) 4-23
4.8.3 รอยต่อเผื่อขยายตัว (Expansion Joint) 4-23
4.9 วัสดุรอยต่องานคอนกรีต 4-24
4.9.1 ยางกันน้ํา (Waterstop) 4-24
4.9.2 น้ํายาเคลือบผิว (Sealing Compound) 4-24
4.9.3 แผ่นใยใส่รอยต่อคอนกรีต (Elastic Filler) 4-24
4.10 งานระบายน้ําและลดแรงดันน้ํา 4-25
4.10.1 ทั่วไป 4-25
4.10.2 ขอบเขตของงาน 4-25
4.10.3 วัสดุ 4-25
4.10.4 วิธีการก่อสร้าง 4-26
4.11 การเก็บตัวอย่างวัสดุก่อสร้างเพื่อการทดสอบและกําหนดอัตราส่วนผสม 4-27
4.11.1 จํานวนวัสดุต่อหนึ่งอัตราส่วนผสม 4-27
4.11.2 จํานวนวัสดุสําหรับทดสอบคุณภาพทั่ว ๆ ไป 4-27
4.11.3 จํานวนตัวอย่างเพื่อทําการทดสอบ 4-28
4.12 คอนกรีตหล่อสําเร็จรูป 4-28
4.12.1 ขอบเขตของงาน 4-28
4.12.2 หลักเกณฑ์ทั่วไป 4-28
-จ-
สารบัญ
หน้า
4.12.3 การยอมรับข้อเสนอวิธีการ 4-29
4.12.4 การจัดการ 4-29
4.12.5 ค่าความคลาดเคลื่อน 4-29
4.13 การวัดปริมาณงานและการจ่ายเงิน 4-29
4.13.1 งานคอนกรีตโครงสร้าง 4-29
4.13.2 งานคอนกรีตหยาบ 4-30
4.13.3 งานคอนกรีตล้วน 4-30
4.13.4 งานคอนกรีตดาด 4-31
4.13.5 งานเหล็กเสริมคอนกรีต 4-31
4.13.6 งาน Joint Sealant Compound หนา 3 ซม. 4-32
4.13.7 งาน Sealing Compound 4-32
4.13.8 งาน Elastic Joint Filler หนา 1 ซม. 4-33
4.13.9 งาน Waterstop Type “A” 4-33
4.13.10 งาน Waterstop Type “C” 4-34
4.13.11 งานแผ่นพลาสติก หนา 0.25 มม. 4-34
4.13.12 งานจัดหาและติดตั้ง Side Drain 4-34
4.13.13 งานเสา ค.ส.ล. แสดงแนวท่อส่งน้ํา 4-35
4.13.14 งาน Guard Post 4-35
4.13.15 งาน Guide Post 4-35
4.13.16 งานท่อคอนกรีตเสริมเหล็ก 4-36
บทที่ 5 งานถนน
5.1 ขอบเขตของงาน 5-1
5.2 การจัดทําแบบเพิม่ เติม (Shop Drawings) 5-1
5.3 งานถางป่าและขุดตอ 5-1
5.3.1 ทั่วไป 5-1
5.3.2 ขอบเขตของงาน 5-2
5.3.3 ข้อกําหนดและวิธีการปฏิบัติงาน 5-2
5.3.4 วิธีการก่อสร้าง (Construction Method) 5-3
5.4 งานดินถมคันทาง (Earth Embankment) 5-3
5.4.1 วัสดุ 5-3
5.4.2 เครื่องจักร และเครื่องมือ 5-4
5.4.3 วิธีการก่อสร้าง 5-4
-ฉ-
สารบัญ
หน้า
5.4.4 การตรวจสอบ 5-6
5.5 งานวัสดุคัดเลือก 5-6
5.5.1 งานวัสดุคัดเลือก ข. (SELECTED MATERIAL B) 5-6
5.5.2 งานวัสดุคัดเลือก ก. (SELECTED MATERIAL A) 5-9
5.6 เกณฑ์กําหนด เกณฑ์การตรวจสอบ และการทดลอง 5-13
5.7 งานวัสดุชั้นรองพื้นทาง 5-13
5.7.1 วัสดุ 5-13
5.7.2 วิธีการก่อสร้าง 5-14
5.7.3 การควบคุมคุณภาพขณะก่อสร้าง 5-15
5.7.4 การตรวจสอบ 5-16
5.7.5 ส่วนคลาดเคลื่อน (Tolerances) ของงานชั้นรองพื้นทาง 5-16
(Flexible Subbase)
5.8 งานวัสดุชั้นพื้นทาง (หินคลุก) (Crushed Stone Soil Aggregate Type Base) 5-17
5.8.1 วัสดุ 5-17
5.8.2 เครื่องจักร และเครื่องมือ 5-18
5.8.3 วิธีการก่อสร้าง 5-18
5.8.4 การตรวจสอบ 5-20
5.8.5 ส่วนคลาดเคลื่อน (Tolerances) ของพื้นทางหินย่อย 5-20
หรือกรวดย่อยคละขนาด
5.9 งานลาดแอสฟัลต์ Prime Coat 5-21
5.9.1 วัสดุ 5-21
5.9.2 เครื่องจักรและเครื่องมือ 5-21
5.9.3 ปริมาณแอสฟัลต์ทใี่ ช้ลาด 5-23
5.9.4 วิธีการก่อสร้างการเตรียมการก่อนการลาดแอสฟัลต์ Prime Coat 5-24
5.10 งานผิวทางแบบเซอร์เฟสทรีตเมนต์ (Surface Treatment) 5-26
5.10.1 วัสดุ 5-26
5.10.2 การเลือกใช้ขนาดของหินย่อย หรือหินกรวด 5-29
5.10.3 เครื่องจักรและเครื่องมือ 5-29
5.10.4 ข้อกําหนดในการออกแบบกําหนดปริมาณการใช้วัสดุ 5-32
5.10.5 วิธีการทํางาน 5-34
5.10.6 รายละเอียดเพิ่มเติม 5-40
5.10.7 ข้อควรระวัง 5-41
-ช-
สารบัญ
หน้า
5.11 งานแอสฟัลต์ติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete) 5-42
5.11.1 ลักษณะงาน 5-42
5.11.2 วัสดุ 5-42
5.11.3 การใช้งาน 5-44
5.11.4 เครื่องจักรและเครื่องมือ 5-44
5.11.5 ข้อกําหนดในการออกแบบส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีต 5-51
5.11.6 วิธีการก่อสร้าง 5-54
5.12 งานเส้นจราจรชนิด THERMOPLASTIC PAINT 5-69
5.12.1 วัสดุ 5-69
5.12.2 วิธีการก่อสร้าง 5-69
5.13 แผ่นป้านจราจร (SIGN PLATE) พร้อมเสาป้ายคอนกรีต (R.C.SIGN POST) 5-70
5.13.1 วัสดุ 5-70
5.13.2 รูปร่างและขนาดของป้ายจราจร 5-70
5.13.3 สีของป้ายจราจร 5-71
5.13.4 เส้นขอบป้าย 5-71
5.13.5 วิธีการติดตั้ง 5-72
5.14 การวัดปริมาณงานและการจ่ายเงิน 5-72
5.14.1 งานถางป่าและขุดตอ ขนาดเบา (CLEARING AND GRUBBING) 5-72
5.14.2 งานดินถมคันทาง (EARTH EMBANKMENT) 5-73
5.14.3 งานวัสดุคัดเลือก ข (SELECTED MATERIAL B) 5-73
5.14.4 งานวัสดุคัดเลือก ก (SELECTED MATERIAL A) 5-74
5.14.5 งานรองพื้นทางวัสดุมวลรวม (SOIL AGGREGATE SUBBASE) 5-74
5.14.6 งานพื้นทางหินคลุก (CRUSHED ROCK SOIL AGGREGATE BASE) 5-75
5.14.7 งานลาดแอสฟัลต์ไพรม์โค้ต (PRIME COAT) (พื้นทางหินคลุก) 5-75
5.14.8 งานผิวทาง (Asphaltic Concrete) หนา 5 ซม. 5-76
5.14.9 งานเส้นจราจรชนิด (THERMOPLASTIC PAINT) 5-76
5.14.10 งานทางเบี่ยง 5-77
5.14.11 งานรื้อย้ายทางเบี่ยง (หลังก่อสร้าง) 5-77
บทที่ 6 งานท่อส่งน้ํา
6.1 ขอบเขตของงาน 6-1
6.2 ข้อกําหนดทั่วไป 6-1
6.3 แบบเพิ่มเติม (Shop Drawings) 6-2
-ซ-
สารบัญ
หน้า
6.4 การควบคุมการผลิต 6-3
6.5 ใบรับรองการผลิต 6-3
6.6 การยก ขนส่ง และเก็บรักษาท่อเหล็กกล้า ท่อพีวีซี อุปกรณ์ท่อ 6-3
ประตูน้ํา และอุปกรณ์ประกอบ
6.6.1 ท่อเหล็กกล้าและอุปกรณ์ท่อ 6-3
6.6.2 ท่อพีวีซแี ละอุปกรณ์ทอ่ 6-5
6.6.3 ประตูน้ําเหล็กหล่อและประตูระบายอากาศ 6-5
6.6.4 ประตูน้ําเหล็กหล่อลิ้นปีกผีเสื้อ 6-5
6.6.5 ปะเก็นยางและแหวนยาง 6-6
6.6.6 การบรรจุหีบห่อ 6-6
6.7 การทดสอบวัสดุ 6-6
6.8 รายละเอียดท่อเหล็กกล้า 6-7
6.8.1 มาตรฐานวัสดุ 6-7
6.8.2 การผลิตท่อ 6-8
6.8.3 ขนาดและมิติ 6-8
6.8.4 การเตรียมปลายท่อ 6-10
6.8.5 การทดสอบความดันน้ํา 6-10
6.8.6 การเคลือบผิวท่อเหล็ก 6-11
6.8.7 การทดสอบวัสดุเคลือบผิวท่อเหล็กกล้าและอุปกรณ์ท่อ 6-12
6.8.8 การทําเครื่องหมาย 6-13
6.8.9 การเสนอรายละเอียดประกอบการพิจารณา 6-13
6.9 รายละเอียดท่อพีวีซี และอุปกรณ์ประกอบ 6-13
6.9.1 คุณสมบัติทั่วไป 6-13
6.9.2 ขนาดมิติ วัสดุ ของท่อพีวีซีและอุปกรณ์ท่อ 6-14
6.9.3 คุณสมบัติวัสดุ 6-16
6.9.4 การเก็บตัวอย่างวัสดุ และเกณฑ์การตัดสิน 6-17
6.9.5 การทําเครื่องหมาย 6-18
6.9.6 การป้องกันปลายท่อ 6-19
6.9.7 การตรวจสอบการผลิต และผลิตภัณฑ์สําเร็จรูป 6-19
6.9.8 การทดสอบซ้ําในการตรวจรับ 6-21
6.10 รายละเอียดอุปกรณ์ประกอบอาคาร 6-21
6.11 รายละเอียดชุดขับเปิดปิดประตูน้ําแบบไฟฟ้า (Electric Actuator) 6-24
-ฌ-
สารบัญ
หน้า
6.12 การวางท่อ 6-25
6.12.1 ข้อกําหนดทั่วไป 6-25
6.12.2 การเปิดแนวร่องวางท่อและการกลบและบดอัดวัสดุหลังท่อ 6-26
6.12.3 แนวท่อและระดับของดิน 6-27
6.12.4 การสูบน้ําในร่องดินที่จะทําการวางท่อ 6-28
6.12.5 การซ่อมถนนและทางเท้า 6-28
6.12.6 การเชือ่ มต่อท่อเหล็กกล้าและอุปกรณ์ท่อเหล็กกล้าในงานสนาม 6-28
6.12.7 การติดตั้งอุปกรณ์ประกอบอาคาร 6-29
6.12.8 การทดสอบความดันน้ํา 6-29
6.13 การวัดปริมาณงานและการจ่ายเงิน 6-30
6.13.1 งานท่อเหล็กกล้า ขนาด 1,000 มม. หนา 9.5 มม. (ชนิดใต้ดนิ ) 6-30
6.13.2 งานข้อโค้ง มุม 45-67.5 องศา ขนาด 1,000 มม. หนา 9.50 มม. 6-31
(ชนิดใต้ดิน)
6.13.3 งานแท่นคอนกรีตรับข้อโค้งแนวราบ (Thrust Block) 6-32
6.13.4 งานอุปกรณ์ท่อ ประตูน้ํา และอุปกรณ์เพิ่มเติมต่าง ๆ ที่ต้องมีอปุ กรณ์ 6-32
ประกอบ
บทที่ 7 งานก่อสร้างอาคารประกอบและส่วนประกอบอื่น
7.1 งานปักผัง และงานดิน 7-1
7.1.1 งานปักผัง 7-1
7.1.2 งานขุดดินทั่วไป 7-1
7.1.3 งานดินสําหรับการก่อสร้างฐานราก 7-2
7.1.4 งานดินเพื่อการวางท่อต่าง ๆ 7-3
7.1.5 งานปรับเกลี่ยดิน 7-3
7.1.6 การเก็บตัวอย่าง และการทดสอบดิน 7-3
7.2 งานฐานราก 7-4
7.3 งานลดระดับน้ําระหว่างก่อสร้างอาคาร 7-4
7.3.1 ขอบเขตงาน 7-4
7.3.2 การวางแผน 7-5
7.3.3 การดําเนินการสูบน้ํา 7-5
7.4 งานแบบหล่อ และงานนั่งร้าน 7-5
7.4.1 ข้อกําหนดทั่วไป 7-5
7.4.2 การถอดแบบหล่อ 7-6
-ญ-
สารบัญ
หน้า
7.4.3 งานนั่งร้าน 7-6
7.5 งานคอนกรีตเสริมเหล็ก 7-6
7.5.1 เหล็กเสริมคอนกรีต 7-6
7.5.2 การเก็บรักษาเหล็กเสริมคอนกรีต 7-6
7.5.3 วิธีการก่อสร้างเหล็กเสริมคอนกรีต 7-7
7.5.4 คุณสมบัติของเหล็กเสริม 7-9
7.5.5 การทดสอบและเก็บตัวอย่าง 7-9
7.5.6 งานคอนกรีต 7-9
7.5.7 วัสดุงานคอนกรีต 7-9
7.5.8 การเก็บวัสดุงานคอนกรีต 7-10
7.5.9 คุณสมบัติของคอนกรีต 7-10
7.5.10 การผสมคอนกรีต 7-11
7.5.11 การผสมต่อ 7-11
7.5.12 การออกแบบ และจัดปฏิภาคส่วนผสม 7-11
7.5.13 การขนส่ง และการถ่ายเท 7-12
7.5.14 รอยต่อและสิ่งที่ฝังในคอนกรีต 7-13
7.5.15 การบ่มคอนกรีตและการระวังรักษา 7-13
7.5.16 การทดสอบ 7-14
7.5.17 การประเมินผลการทดสอบกําลังอัด 7-14
7.5.18 การซ่อมปะผิวคอนกรีตที่ชํารุด 7-15
7.6 งานพื้นคอนกรีตสําเร็จรูป 7-16
7.6.1 บททั่วไป 7-16
7.6.2 การเก็บตัวอย่าง และวิธีการทดสอบ 7-17
7.7 งานเหล็กรูปพรรณ 7-17
7.7.1 บทกําหนดทั่วไป 7-17
7.7.2 วัสดุ 7-17
7.7.3 การกองเก็บวัสดุ 7-17
7.7.4 การต่อ 7-17
7.7.5 รู และช่องเปิด 7-18
7.7.6 การประกอบ และยกติดตั้ง 7-18
7.7.7 งานสลักเกลียว 7-19
7.7.8 การต่อ และประกอบในสนาม 7-19
-ฎ-
สารบัญ
หน้า
7.7.9 การป้องกันเหล็กมิให้ผุกร่อน 7-19
7.8 งานระบบไฟฟ้า 7-20
7.9 งานระบบประปา 7-20
7.9.1 หลักเกณฑ์ทั่วไป 7-20
7.9.2 ขอบเขตของงาน 7-20
7.9.3 มาตรฐานของผลิตภัณฑ์ และฝีมืองาน 7-20
7.9.4 แบบรูป รายการ และความขัดแย้ง 7-20
7.9.5 การทดสอบ 7-21
7.9.6 การบํารุงรักษา และรับประกัน 7-21
7.9.7 งานเดินท่อประปาจ่ายน้ํา และท่อประปาภายในอาคาร 7-21
7.9.8 งานระบบท่อสุขาภิบาลภายในอาคาร 7-22
7.10 งานก่ออิฐ 7-23
7.10.1 การก่อผนังอิฐ 7-23
7.10.2 ปูนก่อ 7-26
7.11 งานไม้และงานช่างไม้ 7-27
7.11.1 ขอบเขตของงาน 7-27
7.11.2 ข้อกําหนดทั่วไป 7-27
7.11.3 วัสดุ 7-27
7.11.4 ฝีมืองาน 7-32
7.11.5 งานช่างไม้ 7-32
7.11.6 ข้อยกเว้นพิเศษ 7-34
7.12 งานประตู หน้าต่าง และกระจก 7-34
7.12.1 อุปกรณ์สําเร็จ 7-34
7.12.2 การติดตั้ง 7-37
7.12.3 แบบรูปเพิ่มเติม (Shop Drawings) 7-37
7.12.4 การป้องกันประตู – หน้าต่าง ขณะกําลังก่อสร้าง 7-38
7.13 การดําเนินงานชั้นเสร็จสมบูรณ์ 7-38
7.13.1 การฉาบปูน 7-38
7.13.2 การทําผิวซีเมนต์ขัดมัน 7-39
7.13.3 การทําผิวซีเมนต์ขัดมันผสมสี 7-40
7.13.4 การทําผิวทรายล้าง กรวดล้าง 7-40
7.13.5 งานกระเบื้องเซมิค ( Ceramic) 7-41
-ฏ-
สารบัญ
หน้า
7.13.6 งานกระเบื้องโมเสก 7-42
7.13.7 งานกระเบื้องยางปูพื้น (Vinly Follr Tile) 7-43
7.13.8 การปูพื้นโมเสกไม้ และปูพื้นปาเก้ไม้ 7-43
7.13.9 ฝ้าเพดาน 7-44
7.13.10 การก่อสร้างผนังโครงเหล็กชุบสังกะสี 7-45
7.13.11 งานวัสดุพิเศษ 7-46
7.13.12 การทาสี (Painting) 7-46
7.14 งานมุงหลังคา 7-49
7.14.1 ขอบเขตของงาน 7-49
7.14.2 บทกําหนดทั่วไป 7-49
7.14.3 วัสดุ 7-49
7.14.4 การมุงหลังคา 7-50
7.14.5 รางน้าํ 7-51
7.14.6 ตะเฆ่ราง 7-51
7.14.7 ช่องระบายอากาศ 7-51
7.15 งานสุขภัณฑ์ 7-51
7.15.1 ขอบเขตของงาน 7-51
7.15.2 บทกําหนดทั่วไป 7-52
7.15.3 วัสดุ 7-52
7.15.4 การติดตั้งเครื่องสุขภัณฑ์และอุปกรณ์ประกอบในห้องน้ํา 7-52
7.16 การวัดปริมาณงานและการจ่ายเงิน 7-53
7.16.1 งาน Control House ตั้งแต่ระดับ +122.50 ม.(ร.ท.ก.) ขึ้นไป 7-53
7.16.2 งานท่อลอดถนนแบบขุด กม.0+039 7-54
7.16.3 งานสูบน้ําระหว่างก่อสร้าง 7-54
บทที่ 8 งานฐานรากและเสาเข็ม
8.1 ขอบเขตของงาน 8-1
8.2 ก่อนเริ่มดําเนินการก่อสร้างงานฐานราก 8-1
8.3 การดําเนินงานฐานราก 8-2
8.3.1 ฐานรากแผ่ (Spread Footing Foundation) 8-2
8.3.2 ฐานรากเสาเข็ม (Pile Foundation) 8-3
8.4 งานเสาเข็มคอนกรีต 8-5
8.4.1 งานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กหล่อสําเร็จ 8-5
-ฐ-
สารบัญ
หน้า
8.4.2 งานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสําเร็จ 8-6
8.4.3 การวางตําแหน่ง ให้ระดับ และกําหนดแผนการตอกเสาเข็ม 8-6
8.4.4 เครื่องมือที่ใช้ตอกเสาเข็ม 8-7
8.4.5 การตอกเข็ม 8-7
8.4.6 การถอนเสาเข็มสําหรับการตรวจสอบ 8-9
8.4.7 เสาเข็มที่ชํารุดในระหว่างตอก หรือไม่อยู่ในตําแหน่งตามที่ระบุไว้ 8-9
8.4.8 ระดับของหัวเข็ม 8-9
8.4.9 บันทึกการตอกเสาเข็ม 8-9
8.4.10 การจัดทําผังเสาเข็มที่ได้ตอกไปแล้ว 8-9
8.4.11 การทดสอบน้ําหนักบรรทุกบนเสาเข็ม 8-9
8.4.12 การทดสอบความสามารถในการรับแรงกดของชั้นดิน 8-11
(Bearing Capacity)
8.5 การวัดปริมาณงานและการจ่ายเงิน 8-12
8.5.1 งานเสาเข็ม ค.อ.ร. หน้าตัดสี่เหลี่ยมจัตุรัส 8-12
บทที่ 9 งานระบบเครื่องกล (Mechanical Eorks)
9.1 ขอบเขตของงาน 9-1
9.2 ข้อกําหนดทั่วไป 9-3
9.3 รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ 9-4
9.3.1 เครื่องสูบน้ําชนิดหอยโข่งขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า อัตราการสูบน้ํา 9-4
0.3 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ระยะยกน้ําไม่น้อยกว่า 60 เมตร
พร้อมอุปกรณ์ประกอบ
9.3.2 เครื่องสูบน้ําระบายน้ํา (Submersible Pump) ขนาดไม่น้อยกว่า 9-15
200 ลิตรต่ อนาที ที่ ระยะยกน้ํ าไม่ น้ อ ยกว่า 15 เมตร ขั บ ด้ ว ยมอเตอร์
ไฟฟ้า
9.3.3 เครนไฟฟ้าแบบวิ่งบนรางเดี่ยว (Traveling Crane) ขนาดไม่น้อยกว่า 9-17
7.5 เมตริกตัน
9.3.4 เครื่องอัดอากาศ (Centrifugal Blower) ขนาดไม่นอ้ ยกว่า 2,500 9-20
ลูกบาศก์ฟุตต่อนาที พร้อมอุปกรณ์ประกอบ
9.4 รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของท่อ วาล์วและอุปกรณ์ประกอบ 9-21
9.5 แบบเพิ่มเติม (Shop Drawings) 9-21
9.6 การขนย้ายวัสดุและการเก็บรักษา 9-22
9.6.1 การบรรจุหีบห่อและการทําเครื่องหมาย 9-22
-ฑ-
สารบัญ
หน้า
9.6.2 การส่งของ 9-22
9.6.3 การเก็บรักษาและการติดตั้ง 9-23
9.7 การทดสอบ (Commissioning and Filed Test) 9-23
9.8 การรับประกัน (Guarantee) 9-23
9.9 การให้คําแนะนําและถ่ายทอดวิธีใช้งาน 9-23
9.10 เอกสารคู่มือ (Manual Books) 9-23
9.11 การวัดปริมาณและการจ่ายเงิน 9-24
9.11.1 งานจัดหาและติดตั้งเครื่องสูบน้ําชนิดหอยโข่ง ขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า 9-24
อัตราการสูบน้ํา 0.30 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ระยะยกน้าํ ไม่น้อยกว่า
60 เมตร พร้อมอุปกรณ์ประกอบ
9.11.2 งานจัดหาและติดตั้งท่อเหล็กกล้า ชนิดบนดิน ขนาด Ø 500 มม. 9-25
หนา 7.9 มม. พร้อมวาล์วและอุปกรณ์ประกอบ
9.11.3 งานจัดหาและติดตั้งท่อร่วม วาล์วและอุปกรณ์ประกอบ 9-25
สําหรับเครื่องสูบน้ํา
9.11.4 งานจัดหาและติดตั้งเครื่องสูบน้ําระบายน้ํา (Submersible Pump) 9-26
ขนาดไม่น้อยกว่า 200 ลิตรต่อนาที ที่ระยะยกน้ําไม่น้อยกว่า 15 เมตร
ขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า พร้อมอุปกรณ์ประกอบ
9.11.5 งานจัดหาและติดตั้งเครื่องอัดอากาศ (Centrifugal Blower) 9-27
ขนาดไม่น้อยกว่า 2,500 ลูกบาศก์ฟุตต่อนาที พร้อมท่อและอุปกรณ์
ประกอบ
9.11.6 งานจัดหาและติดตั้งเครนไฟฟ้าแบบวิ่งบนรางเดี่ยว (Traveling Crane) 9-27
ขนาดไม่น้อยกว่า 7.5 เมตริกตัน พร้อมอุปกรณ์ประกอบ
บทที่ 10 งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)
10.1 ขอบเขตของงาน 10-1
10.2 งานระบบไฟฟ้าแรงสูง 10-1
10.3 งานติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้า 10-1
10.4 งานระบบไฟฟ้าแรงต่ํา 10-2
10.5 มาตรฐานการติดตั้ง และผลิตอุปกรณ์ 10-2
10.6 ความรับผิดชอบ 10-2
10.6.1 การตรวจสอบแบบรูปและรายการละเอียด รายการ และข้อกําหนด 10-2
10.6.2 การเสนอรายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์ เพื่อขออนุมัติ 10-3
10.6.3 รายการแก้ไขงานติดตั้ง 10-3
-ฒ-
สารบัญ
หน้า
10.6.4 การทดสอบเครื่องสูบน้ําและระบบไฟฟ้า 10-3
10.6.5 การป้องกันการผุกร่อน 10-3
10.7 แบบรูปและรายการละเอียด และหนังสือคู่มอื 10-3
10.7.1 ระยะ ขนาด และตําแหน่งทีปรากฎในแบบรูปและรายการละเอียด 10-3
10.7.2 ข้อขัดแย้งของแบบรูปและรายการละเอียด 10-4
10.7.3 แบบรูปและรายการละเอียดประกอบสัญญา 10-4
10.7.4 แบบเพิ่มเติม (Shop Drawings) 10-4
10.7.5 แบบหลักฐาน (As-built Drawings) 10-5
10.8 วัสดุและอุปกรณ์ 10-5
10.8.1 ระบบไฟฟ้าแรงสูง 10-5
10.8.2 ล่อฟ้าแรงสูง (Surge Arresters) 10-5
10.8.3 ฟิวส์แรงสูง (Dropout Fuse) 10-6
10.8.4 สายไฟฟ้าแรงสูง 10-6
10.8.5 เสาคอนกรีตอัดแรง 10-6
10.8.6 คอนคอนกรีต 10-6
10.8.7 ฉนวนลูกถ้วย 10-7
10.8.8 การยึดโยง 10-7
10.8.9 วัสดุอนื่ ๆ ที่ใช้ประกอบติดตั้งสายเคเบิลแรงสูง 10-7
10.9 หม้อแปลงไฟฟ้า (Transformer) 10-7
10.9.1 มาตรฐาน 10-7
10.9.2 คุณลักษณะทางไฟฟ้า 10-7
10.9.3 โครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า 10-8
10.9.4 การทดสอบ 10-9
10.10 ระบบไฟฟ้าแรงต่ํา 10-9
10.10.1 สายไฟฟ้า 10-9
10.10.2 ท่อร้อยสาย 10-10
10.10.3 รางเคเบิล 10-10
10.10.4 เสาคอนกรีตอัดแรง 10-10
10.10.5 แรคแรงต่ําและฉนวนลูกรอก 10-10
10.10.6 ชุดสายยึดดยง 10-10
10.10.7 กล่องต่อสาย 10-10
10.10.8 โคมไฟฟ้า 10-11
-ณ-
สารบัญ
หน้า
10.10.9 หลอดไฟฟ้า 10-11
10.10.10 บัลลาสท์ (Ballast) และสตาร์ทเตอร์ 10-12
10.10.11 งานโคมไฟถนนชนิดเสาเหล็กกลมเรียว สูง 6 ม. 10-12
10.10.12 สวิตช์ไฟฟ้า 10-17
10.10.13 เต้ารับไฟฟ้า 10-17
10.10.15 ฝาครอบสวิตช์และเต้ารับไฟฟ้า 10-17
10.10.16 แผงจ่ายไฟฟ้าย่อย (Panel Board) และตู้ Consumer Unit 10-17
10.11 ตู้เมนสวิตช์บอร์ดแรงต่ํา (Main Distribution Board: MDB) 10-18
10.11.1 ความต้องการเบื้องต้น 10-18
10.11.2. ลักษณะและการจัดโครงสร้างตู้ 10-19
10.11.3 ข้อมูลของตู้สวิตช์บอร์ดแรงต่ํา (Main Distribution Board) 10-19
10.11.4 อุปกรณ์ทางด้านไฟฟ้าแรงต่ําภายในตู้สวิตช์บอร์ดแรงต่ํา 10-20
(Main Distribution Board)
10.12 ตู้ควบคุมมอเตอร์สําหรับเครื่องสูบน้ํา (Motor Control Center : 10-22
MCC1,MCC2)
10.12.1 ความต้องการทั่วไป 10-22
10.12.2 การจัดเตรียมเอกสารขออนุมัติ 10-22
10.12.3 ชนิดและขนาดพิกัดตู้ควบคุมมอเตอร์สําหรับเครื่องสูบน้ํา 10-23
((Motor Control Center)
10.12.4 การสร้างตู้ควบคุมมอเตอร์สําหรับเครื่องสูบน้ํา 10-24
10.12.5 ข้อกําหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ 10-28
10.12.6 อุปกรณ์ประกอบ 10-38
10.13 ระบบป้องกันฟ้าผ่า 10-38
10.13.1 ความต้องการ 10-38
10.13.2 ความต้องการด้านเทคนิค 10-39
10.13.3 การติดตั้ง 10-39
10.14 การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า 10-40
10.14.1 การติดตั้งระบบไฟฟ้าแรงสูง 10-40
10.14.2 การติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้า 10-42
10.14.3 การเดินสายสําหรับระบบไฟฟ้าแรงต่ํา 10-42
10.14.4 การติดตั้งและเดินสายร้อยท่อโลหะ 10-43
10.14.5 การติดตั้งและการดินสายในท่อโลหะอ่อน 10-44
-ด-
สารบัญ
หน้า
10.14.6 การติดตั้งและการเดินสายในท่อโลหะอ่อนกันของเหลว 10-44
10.14.7 การติดตั้งและการเดินสายในท่ออโลหะอ่อน 10-44
10.14.8 การติดตั้งและการเดินสายในท่ออโลหะแข็ง 10-44
10.14.9 การติดตั้งกล่อง (BOX) สําหรับงานไฟฟ้า 10-44
10.14.10 การเดินสายในของวงจรสวิตช์ เต้ารับไฟฟ้าและดวงโคม 10-45
10.14.11 การติดตั้งสวิตช์และเต้ารับไฟฟ้า 10-45
10.14.12 การติดตั้งตู้เมนสวิตช์บอร์ดแรงต่ํา (Main Distribution Board) 10-46
และแผงจ่ายไฟฟ้าย่อย (Panel board)
10.14.13 การต่อลงดิน (Grounding) 10-46
10.15 การบริการ (Servicing) 10-47
10.16 การรับประกัน (Guarantee) 10-47
10.17 การวัดปริมาณงานและการจ่ายเงิน 10-47
10.17.1 งานขยายเขตระบบจําหน่าย 22 kV และติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้าระบบ 10-47
3 เฟส ขนาดรวม 2,660 kVA พร้อมอุปกรณ์ประกอบ
10.17.2 ตู้ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้าสําหรับเครื่องสูบน้ํา (Motor Control 10-48
Center) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ
10.17.3 สาย NYY แรงดัน 450/750V 70 ˚C ชนิดสายไฟฟ้าหุ้มฉนวน PVC 10-49
เปลือกในและเปลือกตาม มอก. 11-222553
10.17.4 Cable Ladder 10-50
10.17.5 Grounding System 10-50
10.17.6 เมนบริภัณฑ์ไฟฟ้าแรงต่ํา (MDB) 10-51
10.17.7 สาย IEC 01 แรงดัน 450/750V 70˚C ชนิดสายไฟฟ้าหุ้มฉนวน PVC 10-51
แกนเดี่ยวไม่มีเปลือก ตาม มอก.11-2553
10.17.8 ท่อร้อยสายไฟ ชนิดท่อเหล็กกล้าเคลือบสังกะสีแบบท่อโลหะหนา 10-52
ปานกลาง (IMC) ตาม มอก.770-2533
บทที่ 11 งานโลหะ
11.1 ขอบเขตของงาน 11-1
11.2 ข้อกําหนดทั่วไป 11-1
11.3 มาตรฐานที่ใช้ 11-1
11.4 การเตรียมวัสดุ 11-3
11.5 การเชื่อมโลหะ (Welding Connection) 11-3
11.6 การขันสลักเกลียว และแป้นเกลียว (Bolt Fastener) 11-4
-ต-
สารบัญ
หน้า
11.7 การประกอบและการก่อสร้าง (Assembly and Erection) 11-4
11.8 บานระบายตรง (Slide Gates) 11-4
11.9 การทาสีงานโลหะ (Painting for Metal Work) 11-6
11.9.1 งานทัว่ ไป 11-6
11.9.2 สีทใี่ ช้ (Paint Materials) 11-6
11.9.3 การเตรียมผิวหน้าโลหะก่อนทาสี (Surface Preparation) 11-6
11.9.4 วิธีการทาสี (Application of Paint) 11-6
11.9.5 ชนิดของสีและวัสดุรองพื้น (Coating and Primer) 11-7
11.10 ราวกันตก 11-7
11.11 แผ่นวัดระดับ (Staff Gauge) 11-7
11.11.1 ทั่วไป 11-7
11.11.2 วัสดุ 11-8
11.11.3 การติดตั้ง 11-8
11.12 ตะแกรงกันสวะ (Trashrack) 11-8
11.12.1 ทั่วไป 11-8
11.12.2 วัสดุ 11-8
11.12.3 การติดตั้ง 11-8
11.12.4 การเคลือบผิว (Protective Coating) 11-9
11.13 บันไดลิง 11-9
11.14 บันไดเหล็กและราวบันได 11-9
11.15 งานจัดหาและติดตั้ง Trash Boom ขนาด 400x2000 มม. พร้อมเชือกลวด 11-10
และอุปกรณ์ประกอบ
11.16 การวัดปริมาณงานและการจ่ายเงิน 11-10
11.16.1 งานจัดหาและติดตั้งตะแกรงกันสวะ 11-10
11.16.2 งานฝาตะแกรงเหล็กปิดรางระบายน้ํา ขนาด 1.00x0.38 ม. 11-11
11.16.3 งานเหล็กรูปพรรณ เหล็กฉากขาเท่ากัน (Equal angles) L 11-11
ขนาด 150x150x12 มม.
11.16.4 งานราวกันตก 11-12
11.16.5 งานเหล็กรูปพรรณชนิดต่าง ๆ 11-12
11.16.6 ก้านยกและโครงยกพร้อมอุปกรณ์ประกอบ และบานฝาท่อ 11-12
11.16.7 งานแผ่นวัดระดับน้ํา 11-12
11.16.8 งานบันไดลิง ขนาด Ø 15 มม. และงานบันไดลิง ขนาด Ø 19 มม. 11-13
-ถ-
สารบัญ
หน้า
11.16.9 งานบันไดเหล็กและราวบันได 11-13
11.16.10 งานจัดหาและติดตั้ง Trash Boom ขนาด 400x2000 มม. 11-14
พร้อมเชือกลวดและอุปกรณ์ประกอบ

-ท-
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 1 : การเตรียมงานเบื้องต้น

บทที่ 1
การเตรียมงานเบื้องต้น
1.1 บทนํา
1.1.1 ความเข้าใจในเอกสารสัญญา และข้อกําหนดทางเทคนิค
รายละเอียดด้านวิศวกรรม (Technical Specifications) จะต้องใช้ควบคู่กับเงื่อนไขของสัญญา
(Conditions of Contract) แบบรู ปและรายการละเอี ยด (Construction Drawings) ใบแจ้ งปริ มาณงาน
และราคา (Bill of Quantities) และผู้ รั บ จ้ า งจะต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามเงื่ อ นไขที่ ร ะบุ ใ นเอกสารสั ญ ญาและ
ตามคําแนะนําของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ และผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
ผู ้ร ับ จ้า งต้อ งมีค วามเข้า ใจขอบเขตของงาน และคุ้น เคยกับ สภาพภูมิป ระเทศที่จ ะเข้า ไป
ดําเนินการโดยยึดถือเอกสารสัญญา แบบรูปและรายการละเอียด และรายละเอียดด้านวิศวกรรม รวมทั้ง
ต้องปฏิบัติตามคําแนะนําของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุและผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเป็นเกณฑ์
โดยที ่ผู ้ร ับ จ้า งต้อ งจัด หาเครื ่อ งจัก ร - เครื ่อ งมือ วัส ดุ อุป กรณ์ และบุค ลากรที ่ม ีค วามสามารถและ
มีความชํานาญงาน เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์ตามข้อกําหนดและเงื่อนไขของสัญญา
1.1.2 มาตรฐานที่ใช้
(1) รายละเอี ย ดด้ า นวิ ศ วกรรมนี้ จะมี ก ารอ้ า งถึ ง มาตรฐานต่ า ง ๆ เช่ น มาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก. ตามด้วยเลขที่ที่เหมาะสม ในกรณีนี้การอ้าง มอก. จะรวมถึงข้อความว่า
“หรือมาตรฐานเทียบเท่าซึ่งจะต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ” ก่อนนําไปใช้งาน ทั้งนี้
มาตรฐานต่าง ๆ ที่ใช้ในการอ้างอิงให้ใช้มาตรฐานฉบับปีล่าสุด
ผู้รับจ้างจะไม่คิดค่าใช้จ่ายอันเกิดจากความล่าช้าของงานก่อสร้างเนื่องจากการทดสอบใด ๆ และ
ถือว่าเป็นหน้าที่ของผู้รับจ้างที่จะต้องจัดเวลาไว้อย่างเพียงพอสําหรับการทดสอบวัสดุต่าง ๆ ที่จําเป็นสําหรับ
งานก่อสร้าง
รายชื่อต่อไปนี้คือมาตรฐานที่ยอมรับในระดับนานาชาติ คําย่อที่ได้แสดงไว้สําหรับมาตรฐาน
แต่ละอย่างเป็นการใช้คําเพื่อให้เกิดความเข้าใจสําหรับมาตรฐานต่าง ๆ ดังนี้
TIS (มอก.) Thai Industrial Standards (มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม)
JIS Japanese Industrial Standards
AASHTO American Association of State Highway and Transportation
Officials
ACI American Concrete Institute
AGA American Gas Association
AIJ Architectural Institute of Japan
AGMA American Gear Manufacturers Association
AISC American Institute of Steel Construction

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
1-1 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 1 : การเตรียมงานเบื้องต้น

AISI American Iron & Steel Institute


ANSI American National Standards Institute
API American Petroleum Institute
ARI Air Conditioning and Refrigeration Institute
ASCE American Society of Civil Engineers
ASME American Society of Mechanical Engineers
ASTM American Society for Testing and Materials
AWS American Welding Society
AWWA American Water Works Association
BS British Standard
CIPRA Cast Iron Pipe Research Association
CISPI Cast Iron Soil Pipe Institute
CP British Standards Institution (Code of Practice)
DEMA Diesel Engine Manufacturers Association
DIN German Standards
Fed. Spec United States of America Federal Specification
IEEE Institute of Electrical and Electronics Engineers
ISO International Organization for Standardization
JEC Standard of Japanese Electrical Committee
JEM Standard of Japanese Electrical Manufacturers Association
JRS Japanese Railway Standard
JSCE Japan Society of Civil Engineering
JWWA Japanese Water Works Association
NEMA National Electrical Manufacturer's Association
PWA Provincial Waterworks Authority
PEA Provincial Electricity Authority
SSPC Steel Structures Painting Council
(2) หากผู้รับจ้างประสงค์จะใช้มาตรฐานอื่ น ๆ นอกเหนือจากนี้ เพื่อรั บการพิ จารณาให้เสนอ
มาตรฐานนั้นต่อคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ โดยแสดงข้อมูลยืนยันว่ามาตรฐานที่เสนอนั้นมีมาตรฐานเทียบเท่ากับ
มาตรฐานที่กําหนดไว้ ในการนี้ผู้รับจ้างจะต้องส่งผลการทดสอบ หรือแสดงการทดสอบให้คณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุพิจารณาในเวลาอันควร ผู้รับจ้างจะต้องให้เวลาคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเพียงพอในการ
ตรวจสอบมาตรฐานนั้น ๆ และในการทําการทดสอบตามคําสั่งของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ เพื่อยืนยันว่า
วัสดุที่ส่งมาตามมาตรฐานอื่น นั้นเป็นที่ยอมรับได้ ผู้รับจ้างจะต้องส่งมอบมาตรฐานเป็นภาษาไทย หรือคําแปล

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
1-2 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 1 : การเตรียมงานเบื้องต้น

จากภาษาอั ง กฤษ ให้ ผู้ ค วบคุ ม งานก่ อ สร้ า งของผู้ ว่ า จ้ า ง และคณะกรรมการตรวจรั บ พั ส ดุ ใช้ ร ะหว่ า ง
การก่อสร้างรวม 2 (สอง) ชุดด้วย
1.1.3 คุณภาพวัสดุและฝีมือ
วัสดุก่อสร้างสําคัญทั้งปวง ซึ่งผู้รับจ้างจะนํามาใช้งาน จะต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุเสียก่อน โดยมีหลักเกณฑ์กําหนด ดังนี้
(1) ผู้รับจ้างจะต้องส่งตัวอย่างวัสดุก่อสร้างและแจ้งแหล่งผลิต ชื่อผู้ผลิต ให้คณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุพิจารณาอนุมัติ วัสดุก่อสร้างนี้ให้รวมถึงปูนซีเมนต์ น้ํายาผสมคอนกรีต หินย่อย ทราย น้ําที่ใช้
ผสมคอนกรีต หินใหญ่ เหล็กเสริมคอนกรีต เหล็กโครงสร้างรูปพรรณ เป็นต้น
ผู้รับจ้างจะต้องส่งเอกสารแสดงคุณสมบัติวัสดุที่จะขออนุมัติ หรือแสดงตารางเปรียบเทียบกับ
วัสดุตามข้อกําหนด พร้อมทั้งแนบมาตรฐานที่ใช้ทดสอบวัสดุนั้น ๆ เพื่อประกอบการพิจารณาด้วย
(2) การใช้แรงงานฝีมือจะต้องเป็นงานฝีมือชั้นหนึ่งในประเภทงานชนิดนั้น ๆ นอกจากจะระบุไว้
ในรายละเอียดด้านวิศวกรรม หรือกําหนดโดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ว่าให้ได้ชิ้นงานตามที่กําหนด
เฉพาะงาน หรือตามแบบรูปและรายการละเอียด และมีคุณภาพตามมาตรฐานของสัญญานี้ หรือมาตรฐาน
อื่น ๆ ที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุได้อนุมัติแล้ว
(3) รายการวัสดุก่อสร้างใดที่ไม่ได้แสดงไว้ในบัญชีงาน แต่ผู้รับจ้างต้องนํามาใช้งานให้ถือว่า
รวมอยู่ ใ นราคาต่ อ หน่ ว ยของงานที่ จ ะต้ อ งใช้ วั ส ดุ ก่ อ สร้ า งชนิ ด นั้ น ๆ โดยรวมถึ ง ค่ า ขนส่ ง การจั ด เก็ บ
การเคลื่อนย้ายวัสดุก่อสร้างชนิดนั้น ๆ ด้วย
(4) วัสดุที่เกิดจากการดําเนินการก่อสร้าง อาทิเช่น การขุด การถางป่า การขุดตอและรากไม้
ไม่ว่าจะเป็นวัชพืช ดิน หิน ต้นซุง หรือวัสดุอื่นใด ผู้รับจ้างจะต้องทําการขนย้ายวัสดุเหล่านี้ไปยังตําแหน่งที่
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างกําหนด และต้องทําการปรับเกลี่ย และ
ทําลายตามที่คณะกรรมการตรวจรั บพัสดุ หรือผู้ควบคุมงานก่อสร้ างของผู้ว่าจ้างเห็นสมควร วั ส ดุ เหล่านี้
จะตกเป็นสมบัติของกรมชลประทาน และผู้รับจ้างจะต้องไม่เคลื่อนย้ายวัสดุดังกล่าวออกไปจากหน้างาน
นอกจากได้รับความยินยอมจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
อย่ า งไรก็ ต าม วั ส ดุ ดั ง กล่ า วอาจจะนํ า ไปใช้ ใ นการก่ อ สร้ า งได้ เ มื่ อ ได้ รั บ การอนุ มั ติ จ าก
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ และต้องทําการตกลงอัตราราคางานต่อหน่วยของงานที่จะใช้วัสดุดังกล่าวใหม่
ระหว่างผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้างก่อนนําไปใช้งานแล้วเท่านั้น
1.1.4 การสํารวจวางแผนผัง
(1) ก่อนดําเนินการก่อสร้าง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะส่งมอบหมุดหลักฐานให้ผู้รับจ้าง
ผู้รับจ้างจะต้องตรวจสอบความถูกต้องเที่ยงตรงของค่าพิกัด และค่าระดับที่มอบให้ และยืนยันความถูกต้อง
ต่อคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเสียก่อน และจะต้องรับผิดชอบในการดูแลรักษาหมุดหลักฐานข้างต้นให้อยู่ใน
สภาพดี ไม่ถูกทําลายตลอดการทํางาน
(2) ผู้รับจ้างจะต้องทําการถ่ายค่าระดับ และค่าพิกัดไปยังตําแหน่งต่าง ๆ ของงานที่แสดงไว้ใน
แบบรูปและรายการละเอียด หรือกําหนดโดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือผู้ควบคุมงานก่อสร้างของ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
1-3 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 1 : การเตรียมงานเบื้องต้น

ผู้ว่าจ้าง รวมทั้งทําการสํารวจค่าระดับ เช่น รูปตัดขวาง รูปตัดตามยาว ระดับอาคารต่าง ๆ และคํานวณ


ปริมาณงานเบื้องต้นเสนอคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเพื่อพิจารณาก่อนดําเนินการก่อสร้าง
ข้อมูลที่ได้จากการถ่ายค่าระดับ ค่าพิกัด และการสํารวจอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง จะต้องส่งให้
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุพิจารณาเพื่ออนุมัติทุกครั้งไป แต่ทั้งนี้ การอนุมัติของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ มิได้
ลดความรับผิดชอบของผู้รับจ้างในการสํารวจวางแผนผังและระดับต่าง ๆ หากปรากฏความเสียหาย เนื่องจาก
การสํารวจวางแผนผังและระดับต่าง ๆ แล้ว ผู้รับจ้างจะต้องทําการแก้ไขความผิดพลาดต่าง ๆ ด้วยทุนทรัพย์
ของผู้รับจ้างเอง ผู้รับจ้างจะทําการเรียกร้องค่าใช้จ่ายใด ๆ เพิ่มจากผู้ว่าจ้างมิได้เป็นอันขาด
1.1.5 การรักษาดูแลพื้นที่ก่อสร้าง
(1) ผู้รับจ้างจะต้องดูแลรักษาให้พื้นที่ก่อสร้างทั้งหมดปราศจากน้ําท่วมขัง โดยผู้รับจ้างจะต้อง
จัดให้มีทํานบ คันดิน ร่องน้ํา และจัดหาเครื่องสูบน้ํา โรงสูบน้ํา เพื่อดําเนินการดังกล่าว
(2) ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบในการจัดหาอุปกรณ์เครื่องสูบน้ําให้เพียงพอในการขจัดน้ําท่วมขัง
และน้ําใต้ดิน เพื่อดูแลรักษางานที่ได้ก่อสร้างไปแล้วไม่ให้เสียหาย โดยที่ไม่ยึดถือแต่เพียงขอบเขตในการ
ดูแลรักษา ซึ่งคณะกรรมการตรวจรับพัสดุได้อนุมัติแล้วเท่านั้น
ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับงาน หรือค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมแก้ไขงานให้กลับอยู่ในสภาพที่ดี
หรือค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมที่อาจจะเกิดขึ้นก็ดี ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้รับจ้าง และเป็นความเสี่ยงภัยของ
ผู้รับจ้างเองทั้งสิ้น
1.1.6 การสุขาภิบาลและบริการด้านสุขภาพ
ผู้รับจ้างจะต้องจัดให้มีระบบสุขาภิบาลที่ดีตลอดระยะเวลาก่อสร้าง ในการนี้ ผู้รับจ้างต้อง
จัดหาและบํารุงรักษาด้วยค่าใช้จ่ายของผู้รับจ้างเอง อาทิเช่น ระบบน้ําใช้ น้ําดื่ม ระบบระบายน้ําเสีย ที่ทิ้งขยะ
เป็นต้น ซึ่งจะต้องส่งเรื่องให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุพิจารณาอนุมัติก่อนดําเนินการ
งานสุขาภิบาลจะต้องให้ได้คุณภาพตามข้อกําหนด ตามเทศบัญญัติและกฎกระทรวง และ
สามารถให้บริการพอเพียงแก่บุคคลที่อาศัยและทํางานเกี่ยวข้อง
นอกจากนั้น ผู้รับจ้างจะต้องจัดทําระบบบําบัดน้ําเสีย ระบบระบายน้ําเสีย ก่อนระบายไปทิ้ง
นอกบริเวณโครงการ ไม่ว่าน้ําเสีย น้ําทิ้ง ที่เกิดจากที่พักอาศัยของผู้รับจ้างหรือผู้ว่าจ้าง ระบบดังกล่าวจะต้อง
ได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุก่อนดําเนินการ
1.1.7 การป้องกันอุบัติภัย
(1) บททั่วไป
ผู้รับจ้างจะต้องจัดให้มีคําเตือน เพื่อความปลอดภัยในการทํางานทุก ๆ ชนิด เพื่อป้องกัน
ชีวิตและทรัพย์สินของผู้ปฏิบัติงาน ในการนี้ ผู้รับจ้างต้องจัดทําเสาราวรั้วชั่วคราว แผงกันตก กําแพง
เครื่องหมายเตือน ไฟฟ้าแสงสว่าง สัญญาณเตือน เครื่องมือดับเพลิง และอุปกรณ์ผจญเพลิงไว้ในที่ล่อแหลม
ต่ออุบัติเหตุในบริเวณพื้นที่โครงการ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
1-4 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 1 : การเตรียมงานเบื้องต้น

ผู้รับจ้างจะต้องแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย และเข้าร่วมกับผู้ว่าจ้างในการป้องกัน
อุบัติเหตุอย่างสม่ําเสมอ และผู้รับจ้างต้องประสานแผนสั่งการป้องกันอุบัติเหตุกับลูกจ้าง หัวหน้างานอย่าง
สม่ําเสมอ
(2) แสงสว่างในการปฏิบัตงิ านกลางคืน
ผู้รับจ้างจะต้องติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างให้เพียงพอสําหรับการทํางานในเวลากลางคืนเพื่อให้
- สภาพแวดล้อมในที่ทํางานมีความปลอดภัยอย่างเพียงพอกับลูกจ้างของผู้รับจ้าง และ
เจ้าหน้าที่ของกรมชลประทาน
- งานที่ดําเนินการแล้ว มีคุณภาพดีตรงตามข้อกําหนดของสัญญา
- ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างสามารถทําการตรวจสอบความก้าวหน้าของงานได้
ตลอดเวลา
ถ้าคณะกรรมการตรวจรับพัสดุไม่มีคําสั่งเป็นอย่างอื่น ให้ผู้รับจ้างถือปฏิบัติ จัดให้มีไฟฟ้า
แสงสว่างขั้นต่ําสุด ณ พื้นที่ผิวดินหรืองาน ดังต่อไปนี้
สถานที่/ปฏิบัติงาน ความเข้มของแสงสว่าง
- งานถมดิน ขุดดิน 35 ลักซ์ (Lux)
- งานก่อสร้างสะพาน 35 ลักซ์
- งานถนน ทางลําลองที่จุดตัดกัน มีการจราจร 35 ลักซ์
- โรงผสมคอนกรีต 110 ลักซ์
- งานเทคอนกรีต 55 ลักซ์
- โรงซ่อมและอาคาร 110 ลักซ์
- คลังวัตถุระเบิด 55 ลักซ์
- คลังพัสดุและคลังน้ํามัน 55 ลักซ์
เครื่ องจั กร – เครื่ องมื อที่ กํ าลั งทํ างานและเคลื่ อนที่ ในเวลากลางคื น จะต้ องมี โคมไฟ
ส่องสว่างเพียงพอ และให้ติดแถบสีสะท้อนแสง เพื่อให้เกิดความปลอดภัยอย่างเพียงพอ
ในการทํางานกลางคืน ผู้รับจ้างต้องส่งแผนปฏิบัติงานและแผนการติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง
ให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างทราบล่วงหน้า และเสนอขออนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุก่อน
เริ่มการทํางานอย่างน้อย 15 (สิบห้า) วัน
การอนุมัติของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือการได้ส่งแผนดังกล่าวให้แก่ผู้ว่าจ้า ง
จะไม่ทําให้ผู้รับจ้างต้องพ้นผิดในการชดใช้ค่าเสียหาย หรือความรับผิดชอบตามสัญญาแต่ประการใด
1.1.8 การบํารุงรักษาทางสัญจร
เมื่อผู้รับจ้างจําเป็นต้องทํางานในสถานที่ซึ่งติดกับหรือใกล้เขตทางหลวง หรือทางสาธารณะ
ซึ่งมีการจราจรอยู่ ผู้รับจ้างต้องดูแลบํารุงรักษาผิวทางจราจรอยู่ในสภาพดี และลดฝุ่นละอองโดยการรดน้ํา
อย่างสม่ําเสมอ เพื่อ ให้การสัญจรในทางสาธารณะมี ความปลอดภัยอยู่ เสมอ และเกิดสภาพคล่องตัวอยู่
ตลอดเวลา โดยกําหนดให้มีการควบคุมความเร็วในการขนส่ง และกําหนดช่วงเวลาในการขนส่งวัสดุก่อสร้าง

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
1-5 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 1 : การเตรียมงานเบื้องต้น

เข้าพื้นที่ในเวลาที่เหมาะสม ในกรณีที่เกิดการกีดขวางทาง ผู้รับจ้างต้องจัดให้มี อาทิเช่น ทางเบี่ยง สะพาน


เบี่ยง เป็นต้น เพื่อให้การเข้าและออกไปสู่สถานที่พักอาศัย หรือไปสู่หมู่บ้านนั้นได้โดยสะดวก และเป็นที่พึง
พอใจของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง และส่วนราชการที่เกี่ยวข้องใน
ระหว่างการดําเนินการก่อสร้างใกล้บริเวณดังกล่าว
การสร้างทางเบี่ยงอ้อมบริเวณก่อสร้างจะต้องได้รับอนุมัติจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเสียก่อน
และเมื่อได้รับอนุมั ติให้สร้ างทางเบี่ยงแล้ว ผู้รับจ้างจะต้องสร้างเครื่องปิดกั้น และติดตั้งสัญญาณต่าง ๆ
ที่จําเป็นในการผันการจราจรไปใช้ทางเบี่ยงและขณะที่มีการใช้ทางเบี่ยงนั้นผู้รับจ้างจะต้องเร่งรัดงานก่อสร้าง
ให้เสร็จโดยเร็ว ซึ่งจะอยู่ภายใต้การควบคุมอย่างเข้มงวด โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือผู้ควบคุมงาน
ก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
1.1.9 การเก็บรักษาวัสดุที่หน้างานและดูแลงาน
ผู้รับจ้างจะต้องป้องกันและรักษาคุณภาพของวัสดุที่จัดหา เครื่องจักรกลและอุปกรณ์ที่นํามา
เตรียมติดตั้งทุกรายการให้อยู่ในสภาพดีตลอดเวลา คณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือผู้ควบคุมงานก่อสร้างของ
ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่จะท้วงติงผู้รับจ้างในการจัดเก็บรักษาดูแลวัสดุและงานที่ได้ทําไปแล้วให้ปฏิบัติถูกต้องเหมาะสม
ดังนี้
(1) ผู้รับจ้างจะต้องเก็บรักษาวัสดุมิให้เสื่อมคุณภาพ และคงมีขนาดกระชับพร้อมใช้งานโดย
เก็บไว้ใต้ที่กําบังปกปิดและสะดวกต่อการตรวจสอบและกํากับดูแลความพร้อมใช้งาน วัสดุขณะเก็บไว้หน้างาน
และขณะติดตั้งประกอบยังคงอยู่ในความรับผิดชอบของผู้รับจ้าง
(2) การดํ า เนิ น การเทคอนกรี ต และงานอื่ น อาจจะไม่ อ นุ ญ าตให้ เ ริ่ ม ดํ า เนิ น การ หากเกิ ด
ภาวะอากาศแปรปรวน นอกเสียจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างพิจารณาแล้วเห็นว่าสภาวะนั้นยอมให้
ดําเนินการได้
หากการชะลอการทํางานมีสาเหตุจากสภาวะอากาศ หรือสาเหตุอื่น ผู้รับจ้างจะต้องป้องกัน
รักษาวัสดุก่อสร้างนั้นไม่ให้เสียหาย และรักษาหน้างานให้สะอาดเรียบร้อย โดยค่าใช้จ่ายตกอยู่กับผู้รับจ้าง
หากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นว่าวัสดุหรืองาน
ที่ทํ าขึ้นเสียหาย โดยความบกพร่องของผู้รับจ้าง วัส ดุหรื องานนั้นจะต้ องรื้อย้ ายและทํ าทดแทนขึ้นใหม่
โดยค่าใช้จ่ายตกอยู่กับผู้รับจ้างทั้งสิ้น
(3) ผู้รับจ้างจะต้องเคารพต่อกฎหมาย ประเพณีนิยม กฎและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการ
ทํางานตลอดเวลา เพื่อป้องกันทรัพย์สินบริเวณข้างเคียง และบํารุงรักษาทางผ่าน ราวรั้ว ไฟฟ้าแสงสว่าง
และการป้องกันสาธารณูปโภคอื่น
(4) ผู้รับจ้างจะต้องป้องกันทรัพย์สินของกรมชลประทานมิให้เสื่อมเสียหาย และป้องกันงาน
ของตนเองและทรัพย์สินข้างเคียงจากการถูกทําลาย ความเสียหายที่หากจะพึงมีจะต้องจัดทําขึ้นใหม่ หรือ
ทําให้ดีดังเดิม โดยค่าใช้จ่ายเป็นของผู้รับจ้างทั้งสิ้น

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
1-6 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 1 : การเตรียมงานเบื้องต้น

1.1.10 ผู้ช่วยงานฝ่ายผู้ว่าจ้าง
ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาบุคลากรเพื่อทํางานเป็นผู้ช่วยในงานสํารวจ ผู้ช่วยในห้องทดลอง ผู้ช่วยของ
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง ในการควบคุม ตรวจสอบผลงานก่อสร้าง และการทดสอบคุณสมบัติของ
วัสดุและคุณภาพของงานก่อสร้าง โดยคุณสมบัติของผู้ช่วยในงานสํารวจ ผู้ช่วยในห้องทดลองและผู้ช่วยของ
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง จะต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
1.1.11 แบบหลักฐาน (As-built Drawings)
ผู้รับจ้างจะต้องเตรียมและส่งมอบแบบหลักฐาน (As-built Drawings) ให้แก่คณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุและผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง ก่อนที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุและผู้ควบคุมงาน
ก่อสร้างของผู้ว่าจ้างจะทําการตรวจรับมอบงานงวดสุดท้าย ซึ่งแบบหลักฐาน (As-built Drawings) จะแสดง
สิ่งก่อสร้างจริงทั้งหมดภายใต้สัญญา ดังนั้นจึงรวมถึงการเปลี่ยนแปลงแก้ไขรายละเอียดและการแก้ไขความ
ผิดพลาดคลาดเคลื่อนต่าง ๆ ให้ถูกต้อง และแสดงรายการละเอียดที่ได้มีการเปลี่ยนแปลงและทําการก่อสร้าง
การประกอบหรือติดตั้ง เพื่อที่แบบหลักฐานดังกล่าวจะเป็นตัวแทนที่มีความถูกต้องเที่ยงตรงสําหรับส่วนของ
งานก่อสร้างที่ได้ทําการก่อสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว ทั้งนี้ แบบหลักฐาน (As-built Drawings) จะต้องผ่าน
การพิจารณาอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ โดยขนาด และชื่อของแบบหลักฐาน จะเป็นไปตาม
คําแนะนําของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
ก่อนที่จะส่งมอบแบบหลักฐาน (As-built Drawings) ผู้รับจ้างจะต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุเสียก่อน แบบหลักฐาน (As-built Drawings) แต่ละแผ่นจะต้องประกอบด้วยต้นฉบับ (แบบไข)
ขนาด A1 โดยสมบูรณ์ จํานวน 2 (สอง) ชุด และสําเนาแบบขนาด A1 (พิมพ์ขาว) จํานวน 6 (หก) ชุดพร้อม
บันทึกลงในรูปแบบไฟล์ จํานวน 10 (สิบ) ชุด และส่งมอบให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ภายในวันส่งมอบ
งานงวดสุดท้าย
1.2 งานชั่วคราว
1.2.1 การเตรียมพื้นที่
(1) คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะมอบพื้นที่ที่จะทํางานก่อสร้างตามสัญญา (ต่อไปจะเรียกว่า
“บริเวณงาน”) ซึ่งได้แสดงไว้แล้วตามแบบประกอบสัญญา หรือตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุกําหนดให้ ซึ่ง
ผู้รับจ้างจะต้องเป็นผู้รับภาระให้การดูแลรักษาให้อยู่ในสภาพเรียบร้อยต่อไป
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะเลือกบริเวณ และยินยอมให้ใช้พื้นที่ภายในบริเวณงาน ให้เป็น
พื้นที่ชั่วคราวของผู้รับจ้าง เพื่อจัดสร้างโรงงาน คลังพัสดุ อาคาร และสิ่งอํานวยความสะดวกต่าง ๆ ซึ่ง
ผู้รับจ้างได้เสนอไว้ ถ้าผู้รับจ้างจะต้องการใช้พื้นที่เพิ่มเติมนอกเหนือจากที่ผู้ว่าจ้างจัดเตรียมไว้ให้ผู้รับจ้าง
จะต้องจัดหาเอง ทั้งนี้ บรรดาบ้านเรือน กําแพง รั้ว ต้นไม้ พืชผล หรือสิ่งปลูกสร้างอื่น ๆ ที่มีอยู่แล้วภายนอก
บริ เ วณงาน ผู้ รั บ จ้ า งจะต้ อ งจ่ า ยค่ า ทดแทนด้ ว ยทุ น ทรั พ ย์ ข องผู้ รั บ จ้ า งเอง และต้ อ งได้ รั บ อนุ มั ติ จ าก
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุก่อน
ผู้รับจ้างจะต้องปรับพื้นที่ให้ถูกต้องตามข้อกําหนด หรือตามคําแนะนําของคณะกรรมการตรวจรับ
พัสดุหรือผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
1-7 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 1 : การเตรียมงานเบื้องต้น

(2) บรรดาสิ่ ง ตกค้ า งจากการปรั บ พื้ น ที่ ใ นบริ เ วณงานที่ ค ณะกรรมการตรวจรั บ พั ส ดุ


มอบหมายให้ และใช้ประโยชน์ได้ ยังคงเป็นสมบัติของผู้ว่าจ้าง ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือ
ผู้ ค วบคุ ม งานก่ อ สร้ า งของผู้ ว่ า จ้ า งสั่ ง การให้ เ ก็ บ รวบรวมไว้ ผู้ รั บ จ้ า งจะต้ อ งนํ า ไปรวบรวมไว้ ที่ บ ริ เ วณที่
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างกําหนด ห้ามใช้วิธีเผาทําลายต้นไม้โดย
ไม่ได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง ผู้รับจ้างยังคงจะต้อง
รับผิดชอบต่อการทําลายใด ๆ ที่เกิดจากการเผาไหม้ แม้ว่าจะได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือ
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างแล้วก็ตาม
(3) หลังจากเสร็จงานก่อสร้างตามสัญญา และก่อนที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะออก
หนังสือรับรองผลงานครั้งสุดท้าย ผู้รับจ้างจะต้องรื้อถอนสิ่งปลูกสร้าง และสิ่งอํานวยความสะดวกชั่วคราว
จะต้องเก็บเศษสิ่งของและขยะมูลฝอยออกไปจนหมดสิ้น โดยเศษสิ่งของและขยะจะต้องนําไปทิ้งในสถานที่ที่
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างกําหนด
1.2.2 การขนย้ายเครื่องจักร - เครื่องมือและวัสดุเข้าไปในบริเวณพื้นที่การก่อสร้าง
(1) ผู้ รั บจ้ างจะต้ องจั ดหาเครื่ องจักร - เครื่ องมื อ ให้ มี จํ านวนเพี ยงพอสํ าหรั บงานก่ อสร้าง
ที่มีประสิทธิภาพ และเหมาะสมกับงานที่จะทําการก่อสร้างให้ได้งานที่มีคุณภาพ และแล้วเสร็จภายในกําหนด
ระยะเวลาตามสัญญา
(2) ไม่ว่าเวลาใดก็ตาม ถ้าคณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
เห็นว่าเครื่องจักร – เครื่องมือเหล่านั้นขาดประสิทธิภาพ ไม่เหมาะสม หรือไม่พอเพียงที่จะทํางานให้มีคุณภาพ
หรือไม่สามารถทํางานให้ก้าวหน้าในอัตราที่น่าพอใจ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือผู้ควบคุมงานก่อสร้าง
ของผู้ว่าจ้างมีสิทธิสั่งการให้ผู้รับจ้างเพิ่มประสิทธิภาพ เปลี่ยนชนิด หรือเพิ่มจํานวนเครื่องจักร - เครื่องมือ
ซึ่งผู้รับจ้างจะต้องปฏิบัติตามโดยไม่บิดพลิ้ว ผู้รับจ้างไม่มีสิทธิจะเรียกร้องค่าจ้างเพิ่ม หรือเรียกร้องอื่น ๆ จาก
การกระทําตามคําสั่งของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างดังกล่าว
(3) ภายใน 15 (สิบห้า) วันนับถัดจากวันลงนามในสัญญา ผู้รับจ้างจะต้องยื่นเสนอแผนการ
และวิ ธี ก าร ซึ่ ง แสดงรายละเอี ย ดในการเตรี ย มและขนย้ า ยเครื่ อ งจั ก ร – เครื่ อ งมื อ เข้ า บริ เ วณงานให้
คณะกรรมการตรวจรั บพั ส ดุพิจารณาอนุมัติ เพื่อเป็นการยืนยั นว่ าผู้รับจ้ างสามารถขนย้ายเครื่อ งจักร –
เครื่องมือ ได้ทันภายในระยะเวลา 30 (สามสิบ) วันนับถัดจากวันที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุได้อนุมัติ
แผนการใช้เครื่องจักร - เครื่องมือแล้ว
ผู้รับจ้างจะต้องจัดทําบัญชีแสดงภาพ จํานวน และรายละเอียดทางเทคนิคของเครื่องจักร –
เครื่ องมื อที่ จะใช้ ในงานภายใต้ สั ญญานี้ ทุ กรายการ จะต้ อ งแจ้ ง ลั ก ษณะของทุ ก รายการให้ ถู ก ต้ อ งชั ด เจน
เพียงพอที่จะตัดสินได้ว่า ขนาด ชนิด ความคงทน การใช้งาน ถูกต้องตรงตามข้อกําหนดนี้บัญชีดังกล่าว
ให้มอบให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นต้นฉบับ 1 (หนึ่ง) ชุด และเป็นสําเนาอีก 3 (สาม) ชุด

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
1-8 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 1 : การเตรียมงานเบื้องต้น

(4) ถนนและทางลําเลียงชั่วคราวและทางเบี่ยง ผู้รับจ้างจะต้องทําการก่อสร้างเพื่อลําเลียงวัสดุ


เข้าบริเวณพื้นที่ก่อสร้างที่จะสร้างขึ้นนี้ ให้ผู้รับจ้างเป็นผู้ออกแบบ และต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุเสียก่อน ทั้งนี้ช่วงระหว่างการก่อสร้างให้ผู้รับจ้างดูแลบํารุงรักษา พร้อมรื้อ – ขนย้ายออก
เมื่อแล้วเสร็จ
1.2.3 ที่ทําการ ที่พักชั่วคราว คลังพัสดุ และโรงงานของผู้รับจ้าง
ผู้รับจ้างจะต้องจัดสร้างที่ทําการ ที่พักพนักงาน ที่พักคนงาน คลังพัสดุ ฯลฯ ในบริเวณ
ที่ได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ โดยจะต้องออกแบบและให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
พิจารณาอนุมัติก่อนลงมือก่อสร้าง ทั้งนี้ กําหนดให้ที่ทําการ ที่พักพนักงาน ที่พักคนงาน คลังพัสดุ ฯลฯ
จะต้องก่อสร้างโดยมีระยะห่างจากลําน้ําไม่น้อยกว่า 50 เมตร
(1) ผู้รับจ้างจะต้องจัดให้มี และให้การดูแลรักษาอาคารชั่วคราว เช่น ที่ทําการ โรงงาน
บริเวณกองวัสดุ และบริเวณขนถ่าย ให้มีรั้วกั้นตามความจําเป็น เพื่อการดําเนินการตามสัญญา
(2) ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาและให้การดูแลรักษาบ้านพักชั่วคราว และสิ่งสาธารณูปโภค พร้อม
ทั้งการให้บริการที่จําเป็น เช่น น้ําประปา การระบายน้ํา แสงสว่าง ถนน ที่จอดรถ การกําจัดขยะมูลฝอย
การป้องกันไฟไหม้ ตลาด และที่พักผ่อนหย่อนใจ สําหรับพนักงาน และคนงานของผู้รับจ้าง และผู้รับจ้างย่อย
(3) บรรดาอาคารชั่วคราวต่าง ๆ จะต้องให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขของทางราชการเข้าตรวจได้
ตลอดเวลา ผู้ รั บ จ้ า งจะต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามคํ า แนะนํ า ของเจ้ า หน้ า ที่ ดั ง กล่ า วในการทํ า ความสะอาดสถานที่
การฆ่าเชื้อโรค และการดูแลรักษาโดยทั่วไปเกี่ยวกับการสาธารณสุขและอนามัยขั้นมูลฐานของตัวอาคาร
(4) ถนนชั่วคราว ผู้รับจ้างจะต้องทําการก่อสร้าง และดูแลรักษาถนนชั่วคราวทั้งภายในและ
ภายนอกบริเวณทํางานให้สามารถเข้าได้ถึงบริเวณทิ้งขยะมูลฝอย โรงงาน บ้านพัก โรงเรือน และงาน
ชั่วคราวอื่น ๆ ถนนที่จะสร้างขึ้นนี้ให้ผู้รับจ้างเป็นผู้ออกแบบ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
เสียก่อน
การดูแลรักษาถนนชั่วคราว ประกอบด้วย การกําจัดฝุ่นละอองด้วยการราดน้ําถนนในฤดูแล้ง
การกําจัดโคลนตมในฤดูฝน และการปรับผิวจราจรให้ยานพาหนะสัญจรได้สะดวก
1.3 การทดสอบวัสดุ
1.3.1 การทดสอบที่สถาบันที่มีชื่อเสียง หรือหน่วยงานราชการ
วัสดุที่จะนํามาใช้งานทุกชนิดจะต้องผ่านการทดสอบที่สํานักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน
หรือสถาบันที่มีชื่อเสียง หรือหน่วยงานที่ราชการรับรอง หรือทดสอบที่ห้องทอลองของสํานักงาน เพื่อพิสูจน์
ว่ามีคุณภาพถูกต้องตามข้อกําหนดทางเทคนิค ถ้าวัสดุที่ทดสอบ ณ หน่วยงานที่รับผิดชอบ ผลการทดสอบ
จะต้องส่งให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุพิจารณาอนุมัติก่อนนํามาใช้งาน ค่าใช้จ่ายในการทดสอบวัสดุต่าง ๆ
ที่เกิดขึ้นเป็นของผู้รับจ้างทั้งสิ้น

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
1-9 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 1 : การเตรียมงานเบื้องต้น

1.3.2 ความล่าช้าในการทดสอบวัสดุ
ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบในการเผื่อเวลาไว้ล่วงหน้าในการทดสอบวัสดุ เพื่อป้องกันความล่าช้า
ของงาน และผู้รับจ้างจะไม่ยกเอาเป็นข้ออ้างเรียกร้องเอาผลประโยชน์ใด ๆ จากผู้ว่าจ้าง หากงานต้องล่าช้าไป
เนื่องจากการเสียเวลาไปในการทดลองวัสดุนั้น ๆ
1.4 แผนปฏิบตั ิงาน
1.4.1 ภายใน 15 (สิบห้า) วันนับถัดจากวันลงนามในสัญญา ผู้รับจ้างจะต้องส่งแผนปฏิบัติงาน
แผนการใช้เครื่องจักร – เครื่องมือ แผนบุคลากร และรายชื่อวิศวกรผู้ควบคุมงานหรือตัวแทนของผู้รับจ้าง
ที่อธิบายรายละเอียดชัดเจน แสดงวันเริ่มงาน ความก้าวหน้า และวันสิ้นสุดของการก่อสร้างต่าง ๆ ของงาน
ก่ อสร้างหรื องานติ ดตั้ งเครื่ องจั กรอุ ปกรณ์ที่ คาดการณ์ ไว้ ผู้ รับจ้ างจะต้ องระบุไว้ในแผนปฏิ บั ติ งานถึ งช่ วง
ระยะเวลาเผื่อเหลือเผื่อขาด ซึ่งสมเหตุสมผล และจะต้องระบุความตั้งใจของผู้รับจ้างที่จะให้มีเพิ่มกะการ
ทํางานเป็น 2 (สอง) หรือ 3 (สาม) กะ สําหรับงานส่วนหนึ่งส่วนใด นอกจากจะเสนอแผนปฏิบัติงานที่มี
รายละเอียดแล้ว ผู้รับจ้างจะต้องเตรียมแผนแสดงความก้าวหน้าของงานหลักเป็นรายสัปดาห์หรือรายเดือนต่อ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ซึ่งจะได้ใช้ในการควบคุมความก้าวหน้าของงานตลอดระยะเวลาของการก่อสร้าง
1.4.2 แผนปฏิบัติงานตามข้อ 1.4.1 จะมีการปรับแก้เมื่อใดก็ได้ตามการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขของการ
ก่อสร้างหรือตามคําแนะนําของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ซึ่งผู้รับจ้างจะไม่สามารถเรียกร้องค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น
เนื่องจากการปรับแก้แผนปฏิบัติงานดังกล่าว ซึ่งคณะกรรมการตรวจรับพัสดุได้สั่งว่ามีความจําเป็น เพื่อที่จะ
ทํางานให้แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่ระบุในสัญญาจ้าง สําหรับแผนการแผนปฏิบัติงาน แผนการใช้เครื่องจักร –
เครื่องมือ แผนบุคลากรที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุแล้วนี้ให้ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของ
สัญญานี้ด้วย และมิได้ลดความรับผิดชอบของผู้รับจ้างแต่อย่างใด
1.4.3 ทุก ๆ 30 (สามสิบ) วัน ผู้รับจ้างจะต้องเปรียบเทียบความก้าวหน้าของงานที่เกิดขึ้นจริงกับ
ความก้าวหน้าที่คาดการณ์ไว้ในแผนปฏิบัติงานที่แสดงรายละเอียดไว้ ผลของการเปรียบเทียบจะนํามารายงานใน
แผนปฏิบัติงาน
1.5 รายงานความก้าวหน้า และการบันทึกด้วยภาพประจําเดือน
1.5.1 ผู้ รั บจ้ างต้ องส่ งรายงานแสดงความก้ าวหน้ าของงานให้ คณะกรรมการตรวจรั บพั ส ดุ ทราบ
เป็นระยะทุก ๆ 30 (สามสิบ) วัน ตามแบบฟอร์มที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นผู้กําหนดให้ หากปรากฏว่า
การทํางานล่าช้ากว่าแผนปฏิบัติงานที่ได้เสนอไว้ ผู้รับจ้างต้องชี้แจงถึงสาเหตุที่ล่าช้า รวมทั้งต้องพิจารณา
เปลี่ยนแปลงแผนเร่งรัดการทํางานให้แล้วเสร็จตามแผนปฏิบัติงานที่กําหนดไว้เดิม
1.5.2 ผู้ รั บ จ้ า งจะต้ อ งส่ ง ภาพถ่ า ยให้ ค ณะกรรมการตรวจรั บ พั ส ดุ จํ า นวน 3 (สาม) ชุ ด
ซึ่ งประกอบด้ ว ยภาพที่ มี คุ ณ ภาพดี ใ นส่ ว นการก่ อสร้ า งที่ สํ าคั ญ ทั้ งหมด พร้ อมกั บ รายงานความก้ า วหน้ า
ประจํ าเดื อนของแต่ ล ะเดื อน การบั นทึ กด้ วยภาพถ่ ายประจํ าเดื อนนี้ จะประกอบด้ วยรู ปภาพไม่ น้ อ ยกว่ า
30 (สามสิบ) ภาพ โดยแต่ละภาพมีขนาดความกว้างไม่น้อยกว่า 100 มิลลิเมตร และความยาวไม่น้อยกว่า
150 มิลลิเมตร พร้อมทั้งคําอธิบายย่อ ๆ บริเวณที่ถ่ายภาพและวันที่ถ่ายภาพ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
1 - 10 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 1 : การเตรียมงานเบื้องต้น

1.5.3 รายงานประจํ าวั นและประจํ าสั ปดาห์ ผู้ รับจ้ างจะต้ องจั ดทํ าโดยเสนอแบบฟอร์ ม เพื่ อให้
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุพิจารณาอนุมัติก่อน รายงานดังกล่าวนี้จะต้องส่งให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของ
ผู้ว่าจ้างภายในเวลา 09.00 น. ของวันถัดไปและในวันแรกของสัปดาห์ถัดไป
1.6 การป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
1.6.1 ขอบเขตของงาน
(1) ผู้รับจ้างและผู้รับจ้างช่วงจะต้องจัดให้มีมาตรการป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่าง
เคร่งครัดในงานทุกประเภท
(2) ผู้รับจ้างจะต้องปฏิบัติ ดังนี้
- ดําเนินงานทุกอย่างโดยใส่ใจต่อสภาพแวดล้อม
- ไม่ทําการใด ๆ ที่นอกเหนือจากงานที่ระบุในพื้นที่ก่อสร้าง โดยไม่ได้รับอนุมัติเป็น
หนังสือจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
- ดําเนินงานต่าง ๆ ที่เห็นสมควรว่ามีความจําเป็น เพื่อป้องกันผลกระทบต่อคุณภาพน้ําใน
ลําน้ํา หรืออ่างเก็บน้ํา
- ดูแลรักษาให้พื้นที่ก่อสร้างสะอาด และเป็นระเบียบอยู่ตลอดเวลา
1.6.2 การควบคุมคุณภาพน้ํา
(1) ผู้รับจ้างก่อสร้างจะต้องจัดให้มีห้องน้ํา ห้องส้วมอย่างเพียงพอ พร้อมกับจัดให้มีระบบ
บําบัดน้ําเสีย ซึ่งสามารถบําบัดน้ําเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(2) ระบบบําบัดน้ําเสียที่เป็นบ่อเกรอะบ่อซึม จะต้องห่างจากแหล่งน้ําผิวดิน และบ่อน้ําใต้ดิน
ไม่น้อยกว่า 15 เมตร
(3) ผู้รับจ้างก่อสร้างจะต้องจัดวางถังรองรับขยะมูลฝอยชนิดมีฝาปิด ตั้งกระจายทั่วไปใน
บริเวณสํานักงานก่อสร้าง และบ้านพักคนงานอย่างเพียงพอ แล้วทําการขนขยะไปกําจัดทุกวัน ณ บริเวณ
สถานที่กําจัดขยะ
1.6.3 การป้องกันป่าไม้และสัตว์ป่า
(1) การตัดถนนชั่วคราวเพื่อการขนส่งวัสดุอุปกรณ์ สําหรับการก่อสร้างต้องอยู่เฉพาะในบริเวณ
ที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุอนุมัติแล้วเท่านั้น
(2) ต้องมีข้อห้ามมิให้คนงานก่อสร้าง ลักลอบตัดไม้ ล่าสัตว์ป่าและจับสัตว์น้ํา ในเขตอุทยาน
เขตป่าสงวน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า หรือพื้นที่หวงห้ามอื่น ๆ เป็นอันขาด โดยควรมีการชี้แจงให้ผู้เกี่ยวข้อง
โครงการทุกคนรับทราบก่อน พร้อมทั้งกําหนดโทษอย่างรุนแรงต่อผู้ฝ่าฝืนไว้ด้วย

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
1 - 11 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 1 : การเตรียมงานเบื้องต้น

1.7 บ่อตกตะกอน
1.7.1 ความต้องการ
(1) ผู้รับจ้างจะต้องเสนอตําแหน่งที่ตั้ง และวิธีการก่อสร้างบ่อตกตะกอนและลํารางน้ําล้นจาก
บ่อตกตะกอนก่อนระบายลงสู่ลําน้ํา ให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุพิจารณาอนุมัติ บ่อตกตะกอนจะทําหน้าที่
ชะลอน้ําไว้ชั่วคราวเพื่อให้เกิดการตกตะกอนก่อนระบายลงสู่ลําน้ํา
(2) รายละเอี ยดเงื่ อนไขพื้ นที่ ก่ อสร้ าง และขนาดของบ่ อตกตะกอนให้ ผู้ รั บจ้ างดํ าเนิ นการ
ออกแบบเพื่อขออนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
(3) บ่อตกตะกอนจะต้องมีขนาดเพียงพอและสามารถรับน้ําจากท่อระบายน้ําเพื่อการบําบัดน้ํา
และตรวจสอบคุณภาพน้ําก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน้ํา
(4) ผู้รับจ้างจะต้องขนย้ายตะกอนในบ่อและนําไปทิ้ง กลบหรือฝัง ในบริเวณที่ผู้ควบคุมงาน
ก่อสร้างของผู้ว่าจ้างกําหนด
1.7.2 การทดสอบและบําบัดน้ํา
(1) ใส่สารในน้ําที่เก็บกักในบ่อตกตะกอนเพื่อเร่งการตกตะกอน
(2) กําจัดคราบน้ํามันที่ลอยอยู่บนผิวน้ํา
(3) น้ําที่ระบายจากบ่อตกตะกอนจะต้องไม่เกินปริมาณที่กําหนด และผ่านการทดสอบคุณภาพน้ํา
ตามที่กําหนด
1.8 การประชุมที่บริเวณก่อสร้าง
ผู้รับจ้างจะต้องเข้าร่วมในการประชุมที่บริเวณก่อสร้าง ซึ่งจะจัดเป็นประจําโดยคณะกรรมการตรวจรับ
พัสดุ และทุก ๆ ครั้งที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างขอให้เข้าร่วมประชุม
ทั้งนี้ ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบในการจัดการประชุม การจัดทํารายงานการประชุม และเอกสารประกอบ
การประชุมที่ได้เข้าร่วมประชุมทุกครั้ง
1.9 การวัดปริมาณงานและการจ่ายเงิน
จะไม่มีการจ่ายเงินค่างานสําหรับงานในข้อที่ 1.1 - 1.8 โดยค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ให้ผู้รับจ้างคิดรวมอยู่ใน
ค่าดําเนินการของงานในสัญญานี้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
1 - 12 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 2 : งานดิน

บทที่ 2
งานดิน
2.1 ขอบเขตของงาน
งานในบทนี้มีขอบเขตและความสัมพันธ์กับงานโดยแยกประเภทของงานไว้ ดังนี้
(1) งานถากถาง
(2) งานขุดเปิดหน้าดิน
(3) งานดินขุด
(4) งานถมบดอัดแน่น
ก่อนที่ผู้รับจ้างจะลงมือทํางาน ผู้รับจ้างจะต้องจัดทําแผนที่สํารวจภูมิประเทศ รูปตัดตามยาว รูปตัด
ตามขวาง แสดงระดับดินเดิมไว้ ซึ่งแผนที่สํารวจดังกล่าวผู้รับจ้างและผูค้ วบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างจะต้องลงนาม
ตรวจรับรองความถูกต้อง และถือไว้เป็นหลักฐานร่วมกัน เพื่อใช้เปรียบเทียบคํานวณหาปริมาตรของวัสดุที่จะ
ทําการขุดออก หรือถมตามหลักวิชาช่าง ในกรณีที่แผนที่สํารวจดังกล่าวปรากฏว่า เส้นแสดงระดับดินเดิม
ไม่ถูกต้อง หรือคลาดเคลื่อนตอนใด ให้ผู้รับจ้างทําการคัดค้านเป็นหนังสือต่อคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือ
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างทันที ทั้งนี้ ต้องก่อนลงมือทํางานนั้น ๆ หากผู้รับจ้างได้ลงนามรับรองความ
ถูกต้องของแผนที่สํารวจไปแล้ว หรือลงมือทําการขุดไปก่อนแล้วผู้รับจ้างจะคัดค้านว่าแผนที่นั้นไม่ถูกต้องหรือ
คลาดเคลื่อนไม่ได้เป็นอันขาด
สําหรับการควบคุมจัดทําแผนที่สํารวจดังกล่าวข้างต้น ต้องอยู่ในการควบคุมของผู้ควบคุมงานก่อสร้าง
ของผู้ ว่ า จ้ า งตลอดเวลาที่ จัด เก็บ รายละเอี ย ดภู มิป ระเทศ และเมื่ อ เลิก งานในแต่ ล ะวั นต้ อ งลงนามรั บรอง
สมุดสนามร่วมกันทั้ง 2 ฝ่าย
2.2 งานถากถาง
2.2.1 ทั่วไป
งานถากถาง คือ การขุด ดัน ไถ หรือตัด เอาเศษดิน หญ้า ไม้พุ่ม รากไม้ ตอไม้ และ
เศษวัสดุสิ่งอันไม่พึงประสงค์ออกไปจากบริเวณที่จะทําการก่อสร้างทั้งหมด พร้อมขนย้ายไปทิ้ง ฝัง หรือเผา
ทําลายนอกพื้นที่ก่อสร้าง
งานถากถางครอบคลุม งานถางป่า ขุดตอ และรากไม้ทั้งหมดในการดําเนินการก่อสร้าง
งานถาวร ซึ่งแสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด หรือตามคําแนะนําของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
สําหรับการถางป่าในบริเวณบ่อยืมดิน แหล่งวัสดุ และบริเวณสํานักงานสนามจะไม่รวมอยู่ในงานถาวรนี้แต่
ให้คิดรวมไว้ในงานที่เกี่ยวข้อง
งานถางป่า ขุดตอ และรากไม้ มีรายละเอียด ดังนี้
(1) งานถางป่า
(ก) ภายในอาณาบริเวณที่ต้องทําการก่อสร้างอาคาร และต้องทํางานขุด หรืองานขุดเพื่อถม
บดอัด ผู้รับจ้างต้องทําการถางป่า เช่น ต้นไม้ ตอไม้ หญ้า และสิ่งกีดขวางต่าง ๆ รวมถึงรั้ว ตามดุลพินิจของ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
2-1 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 2 : งานดิน

ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง หรือตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด และต้องมีขอบเขตกว้าง


เพียงพอโดยเฉพาะเมื่อต้องทํางานดินถม
(ข) วั สดุ ทุกประเภทที่ได้จากการถางป่ายั งเป็นสมบั ติของราชการ กรณีผู้ควบคุ มงาน
ก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นว่าวัสดุที่ได้จากการถางป่า สามารถนําไปใช้ประกอบกับงานก่อสร้างได้ การกองเก็บวัสดุ
ต้องกองไว้ตามตําแหน่งที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผูว้ ่าจ้างสั่งการ โดยเฉพาะหน้าดินที่มีอินทรีย์สารสูงให้กองเก็บ
สําหรับใช้คลุมพื้นที่หลังจากปรับแต่งดินแล้ว (Cover on Land Grading) ทั้งนี้ ก่อนจะนําวัสดุที่ได้จากการ
ถางป่านี้นํามาใช้ จะต้องทําการตกลงอัตราราคางานต่อหน่วยของงานที่จะใช้วัสดุดังกล่าวใหม่ระหว่างผู้ว่าจ้าง
และผู้รับจ้างก่อนนําไปใช้งานแล้วเท่านั้น
(ค) วัสดุทุกประเภทที่เกิดขึ้นจากการถางป่า กรณีที่ต้องขนย้ายทิ้งต้องขนย้าย และทิ้งใน
บริเวณที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างกําหนด ผู้รับจ้างต้องไม่ตัดล้ม และทําลายต้นไม้นอกอาณาเขตพื้นที่
ที่กําหนด
(ง) ผู้รับจ้างต้องจัดกองวัสดุที่ต้องการเผาให้เป็นที่ โดยวัสดุที่ต้องการเผาต้องทําการตัด
และแยกเป็ นชิ้ นเล็กเพื่อไม่ ให้เกิดขี้ เถ้ามาก บริเวณกองวัส ดุเพื่อการเผาต้องกองไว้ ในบริเวณที่ปลอดภัย
ไม่เป็นอันตรายอันนําไปสู่การเผาไหม้อย่างรุนแรง โดยผู้รับจ้างต้องเตรียมป้องกันไม่ให้เกิดไฟไหม้รุนแรง
(จ) ผู้รับจ้างต้องไม่ทําการขุดรื้อรากต้นไม้และตอไม้ ยกเว้น กรณีที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของ
ผู้ว่าจ้างสั่งการ
(ฉ) กิ่งไม้หรือส่วนของต้นไม้ที่ยื่นออกกลางอากาศต้องทําการตัดออกอย่างระมัดระวัง
เพื่อเพิ่มทัศนวิสัยในการมอง
(2) งานขุดตอ และรากไม้
(ก) งานขุดตอและรากไม้ประกอบด้วย การรื้อย้ายตอไม้และอื่น ๆ ที่ไม่เหมาะสมตาม
ความเห็นชอบของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง โดยการขุดรื้อลึกจากผิวดินดังแสดงในแบบรูปและ
รายการละเอียด หรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างสั่งการ กรณีแบบรูปและรายการละเอียดไม่ระบุ
ให้ขุดลึกอย่างน้อย 0.30 เมตร
(ข) ในอาณาเขตพื้ นที่ ที่ ไม่ มี งานขุ ด กรณี ที่ ต้ องทํ าการรื้ อถอนรากพื ช และตอไม้ ลึ กจาก
ผิวดินเดิม ผู้รับจ้างต้องทําการถมกลับสู่ระดับเดิมด้วยวัสดุที่เหมาะสมตามความเห็นชอบของผู้ควบคุมงานก่อสร้าง
ของผู้ว่าจ้าง
(ค) อาณาเขตพื้นที่ที่ต้องทํางานขุดตอและรากไม้ จะแสดงในแบบรูปและรายการละเอียด
หรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างสั่งการ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
2-2 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 2 : งานดิน

2.2.2 ขอบเขตของงาน
ผู้รับจ้างจะต้องทําการถากถาง ตัดต้นไม้ ขุดตอไม้และรากไม้ทั้งหมดในบริเวณที่ดําเนินการ
ก่อสร้างงานถาวรตามที่แสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด หรือตามคําแนะนําของผู้ควบคุมงานก่อสร้าง
ของผู้ว่าจ้าง หรือคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
ผู้รับจ้างจะต้องดําเนินการถากถางให้ครอบคลุมพื้นที่ที่จะก่อสร้างทั้งหมด พร้อมทั้งขนย้ายไป
ทิ้ง ฝัง หรือเผาทําลาย นอกพื้นที่ก่อสร้าง
สําหรับการถางป่าในบริเวณบ่อยืมดิน แหล่งวัสดุ ในงานถาวรให้คิดค่าใช้จ่ายรวมไว้ในงานที่
เกี่ยวข้อง ส่วนบริเวณอาคารสํานักงานชั่วคราวให้ผู้รับจ้างคิดรวมอยู่ในค่าดําเนินการของสัญญานี้
2.2.3 ข้อกําหนดและวิธีการปฏิบัตงิ าน
ก่อนที่จะเริ่มปฏิบัติงานถากถาง รวมทั้งในระหว่างที่ปฏิบัติงานถากถาง หากผู้รับจ้างตรวจพบ
สิ่ ง ที่ สมควรจะต้ องอนุ รั กษ์ เช่ น โบราณวั ตถุ ฯลฯ ผู้ รั บจ้ างจะต้ องรายงานให้ ผู้ ควบคุ มงานก่ อสร้ างของ
ผู้ ว่ าจ้ าง หรื อคณะกรรมการตรวจรั บ พั ส ดุ ท ราบทั น ที และห้ า มไม่ ใ ห้ ผู้ รั บ จ้ า งดํ า เนิ น การต่ อ ไป จนกว่า
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุได้พิจารณาและอนุมัติให้ดําเนินการต่อไปได้ หรือกําหนดวิธีการแก้ไขต่าง ๆ เพื่อ ให้
ดําเนินงานต่อไป และห้ามมิให้ผู้รับจ้างนําวัสดุที่ได้จากงานถากถางไปเป็นสมบัติส่วนตัวเป็นอันขาด
(1) ผู้รับจ้างต้องตัดโค่นต้นไม้ พุ่มไม้ ขุดถอนตอไม้ และสิ่งอันไม่พึงประสงค์ที่กีดขวางเป็น
อุปสรรคต่องานก่อสร้างงานถาวรออกให้หมดภายในขอบเขตที่แสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียดหรือ
ตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง หรือคณะกรรมการตรวจรับพัสดุกําหนด
(2) ห้ามมิให้ผู้รับจ้างทําการตัดต้นไม้ที่อยู่นอกเขตงานก่อสร้างงานถาวรโดยเด็ดขาด ถ้ามี
ต้นไม้บางต้นที่กีดขวางเป็นอุปสรรคในการทํางาน ผู้รับจ้างต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
เสียก่อนจึงจะทําการตัดได้ ต้นไม้ทุกต้นผู้รับจ้างจะต้องระมัดระวังมิให้เกิดความเสียหาย
(3) ต้ น ไม้ พุ่ ม ไม้ ตอไม้ และสิ่ ง ที่ ไ ม่ พึ ง ประสงค์ ซึ่ ง ไม่ มี ป ระโยชน์ ใ นการนํ า ไปใช้ ง าน
ให้ขนไปทิ้งหรือทําลาย โดยการเผาหรือฝังในบริเวณที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างกําหนด การกําจัดโดย
วิธีใดวิธีหนึ่งจะต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเสียก่อน
(4) ผู้รับจ้างจะต้องรื้อย้ายอาคารต่าง ๆ ที่กีดขวางในงานก่อสร้าง ตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและ
รายการละเอียด หรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง หรือคณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ
สําหรับวัสดุที่ได้จากงานถากถาง จะต้องขนไปทิ้งหรือทําลายในบริเวณที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง
ของผู้ว่าจ้างกําหนด ส่วนวิธีการกําจัดอาจจะทําโดยฝังกลบหรือเผาทําลายหรือด้วยวิธีการอื่น ๆ ทั้งนี้ให้อยู่ใน
ดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
2.3 งานขุด
2.3.1 ทั่วไป
งานหมวดนี้ ได้แก่ งานขุด (Excavation) คือ งานที่เกี่ยวข้องกับการขุดดิน โดยใช้เครื่องมือ
ขนาดเล็กไปจนถึงเครื่องจักรขนาดใหญ่ เพื่อให้ได้รูปร่างตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด หรือ
เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการออกแบบและข้อกําหนดในการควบคุมงาน

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
2-3 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 2 : งานดิน

งานขุดที่เกี่ยวข้องประกอบไปด้วย
(1) งานขุดเปิดหน้าดิน
(2) งานดินขุดด้วยเครื่องจักร
(3) งานดินขุดด้วยแรงคน
(4) งานดินขุดยาก
(5) งานขุดสกัดหินด้วยเครื่องจักรพิเศษ
(6) งานขุดบ่อยืมดิน
(7) งานรื้อย้ายดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักร (งานทั่วไป 85%)
2.3.2 ขอบเขตของงาน
ผู้รับจ้างจะต้องทําการขุด ขนย้าย หรือปรับเกลี่ยดิน ให้ได้ตามรูปร่างและขอบเขตที่กําหนด
ไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด หรือตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยผู้รับจ้างจะต้องจัดหา
เครื่องจักรเครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ และแรงงานในการทํางานนี้ทั้งหมด ตามขอบเขตงานดังนี้
(1) งานผันน้ําระหว่างก่อสร้าง
(2) งานอาคารสถานีสูบน้ํา
(3) งานร่องชักน้ํา
(4) งานระบบท่อส่งน้ํา
(5) งานถนนบํารุงรักษา
(6) งานอื่น ๆ ตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด
(7) งานที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร
2.3.3 ข้อกําหนดและวิธีการปฏิบัติงาน
(1) งานขุดเปิดหน้าดิน
งานขุ ดเปิ ดหน้าดิน เป็นการขุ ดเอาหน้าดิ นอ่ อนหรื อดินที่มีส่ ว นผสมของสารอิน ทรี ย์
ซึ่งไม่สามารถรับน้ําหนักตัวอาคารที่จะก่อสร้างได้ออกไป ซึ่งรวมถึงรากไม้ เศษดิน เศษหิน หรือสิ่งไม่พึง
ประสงค์อื่น ๆ อีกด้วย งานขุดเปิดหน้าดินโดยปกติจะกระทําได้ก็ต่อเมื่อผู้รับจ้างได้ทําการถางป่าเรียบร้อยแล้ว
ทั้งนี้นอกจากสภาพพื้นที่ที่จะทําการขุดลอกนั้นไม่มีไม้พุ่มหรือต้นไม้ขนาดใหญ่อยู่เลย ผู้รับจ้างอาจดําเนินการ
ขุดเปิดหน้าดินได้ โดยที่ไม่ต้องทําการถางป่าก่อน แต่จะต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของ
ผู้ว่าจ้าง
ผู้รับจ้างจะต้องทําการขุดเปิดหน้าดินให้ได้ความหนาตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการ
ละเอียด หรือหากไม่ได้กําหนดไว้ให้ขุดลึกไม่น้อยกว่า 0.30 เมตร หรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของ
ผู้ว่าจ้างพิจารณาสั่งการ หรือถึงระดับที่ดินสามารถรับน้ําหนักได้ปลอดภัย กรณีที่มีงานถางป่าแล้ว ให้หัก
ปริมาณงานขุดเปิดหน้าดินออก 0.15 เมตร
วั ส ดุ ที่ ขุ ด ลอกออกนี้ จะต้ อ งขนไปทิ้ ง และเกลี่ ย ในบริ เ วณที่ ผู้ควบคุ มงานก่อสร้างของ
ผู้ว่าจ้างกําหนดให้ และทําการเกลี่ยตกแต่งให้เรียบร้อย วัสดุขุดเปิดหน้าดินนี้สามารถเลือกเอามาทําเป็นหน้า

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
2-4 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 2 : งานดิน

ดิน (Topsoil) สําหรับปลูกหญ้าได้ ทั้งนี้ ก่อนจะนําวัสดุที่ได้จากการขุดเปิดหน้าดินนี้ใช้เป็นหน้าดิน (Topsoil)


จะต้องทําการตกลงอัตราราคางานต่อหน่วยของงานที่จะใช้วัสดุดังกล่าวใหม่ระหว่างผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้างก่อน
นําไปใช้งานแล้วเท่านั้น แต่ห้ามนํามาใช้ในงานดินถมบดอัดแน่น
(2) งานดินขุดด้วยเครื่องจักร
งานดินขุดด้วยเครื่องจักร หมายถึง งานขุดดินธรรมดาโดยใช้เครื่องจักร ในการขุดดิน
หรือวัสดุอื่นทั่วไปที่ไม่อยู่ในประเภทงานดินขุดยาก งานขุดสกัดหินด้วยเครื่องจักรพิเศษ เป็นงานขุดวัสดุที่มี
ปริมาณมาก ต้องการความรวดเร็ว ซึ่งรวมถึงวัสดุอื่น ๆ เช่น ทราย ดินเลน และสามารถใช้เครื่องจักรสําหรับ
งานขุดแบบธรรมดาสามารถขุดได้ โดยดินหรือวัสดุที่ได้จากการขุดจะต้องกองเกลี่ยในรัศมีที่เครื่องจักรสามารถ
ปฏิบัติงานได้ หรือขุดขึ้นรถบรรทุกเพื่อขนย้ายไปยังบริเวณที่กําหนดไว้ ข้อกําหนดในการขุดมีดังต่อไปนี้
(ก) จะต้องขุดให้ได้แนว ระดับ ขนาดและรูปร่างตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการ
ละเอียด หรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นชอบ การขุดต้องขุดด้วยความระมัดระวังเป็นพิเศษ
และต้องป้องกันให้วัสดุที่อยู่นอกขอบเขตแนวการขุดคงอยู่ในสภาพที่ดีที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
(ข) ในกรณีที่แบบรูปและรายการละเอียด มิได้กําหนดแนวเส้นขอบเขตการขุดไว้ การขุดดิน
ให้ใช้ลาด (Slope) 1:1.5 และการขุดบ่อก่อสร้าง กรณีในชั้นดินให้ใช้ลาด (Slope) 1:1 และกรณีในชั้นหิน
ให้ใช้ลาด (Slope) 1:0.5 หรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างพิจารณาสั่งการ
(ค) หากเกิดการขุดเกินขนาดหรือการพังทลาย ซึ่งผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
พิจารณาแล้วเห็นว่าเป็นผลจากการปฏิบัติงานที่ไม่ถูกวิธี หรือจากการละเลย หรือจากการประมาทเลินเล่อ
ของผู้รับจ้าง ในกรณีเช่นนี้ผู้รับจ้างจะต้องดําเนินการขนย้ายวัสดุส่วนที่เกินนี้ออกให้หมด และถมกลับในส่วน
ที่ขุดเกินนี้ให้อยู่ในสภาพเดิม หรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นชอบ โดยไม่มีการคิดค่าใช้จ่าย
เพิ่มแต่อย่างใด
(ง) พื้นที่ด้านล่างและด้านลาด (Slope) ของการขุดส่วนที่ติดกับงานคอนกรีต ผู้รับจ้าง
ต้องตกแต่งให้เรียบร้อย พื้นผิวหน้าต้องปรับแต่งให้มีความมั่นคงพอที่จะรับอาคารคอนกรีตได้ ในบริเวณใดที่
ปรากฏว่าเกิดความเสียหายเนื่ องจากการขุ ดหรื อเหตุ อื่นใดก็ตาม ผู้รับจ้างจะต้องดํ าเนิ นการปรับแต่งให้
ความชื้นและบดอัดด้วยเครื่องมือที่เหมาะสมจนมีความมั่นคงพอที่จะรับอาคารคอนกรีตได้ด้วยทุนทรัพย์ของ
ผู้รับจ้างเองทั้งสิ้น
(จ) การขุดดินจะต้องกระทําในสภาพที่แห้งอยู่เสมอ หากปรากฏว่าในบริเวณที่จะทําการ
ขุดไม่แห้ง ผู้รับจ้างจะต้องทําการระบายน้ําหรือสูบน้ําออกให้หมดก่อนที่จะลงมือขุด
(ฉ) ในกรณีที่บ่อก่อสร้างมีความลึกมาก ๆ จะต้องขุดบ่อก่อสร้าง โดยมีชานพัก (Waste
Berm) ให้มีความกว้างอย่างน้อย 3 เมตร ที่ความลึกไม่เกิน 5 เมตร หรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของ
ผู้ว่าจ้างเห็นชอบ
วัสดุที่ได้จากการขุดนี้ หากมีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะใช้ในงานถม และผู้รับจ้างมีความ
ประสงค์จะนําวัสดุดังกล่าวมาใช้งาน จะต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างก่อน
นําไปใช้งาน ทั้งนี้ ก่อนจะนําวัสดุที่ได้จากการขุดนี้ใช้งานถม จะต้องทําการตกลงอัตราราคางานต่อหน่วยของ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
2-5 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 2 : งานดิน

งานที่จะใช้วัสดุดังกล่าวใหม่ระหว่างผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้างก่อนนําไปใช้งานแล้วเท่านั้น สําหรับวัสดุที่ไม่เหมาะสม
หรือวัสดุที่เหลือใช้ให้ขนย้ายไปทิ้งในบริเวณที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างกําหนด โดยให้ทําการไถ กลบ
หรือเกลี่ยให้ราบเรียบ หรือรวมกองไว้ ตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นสมควร
(3) งานดินขุดด้วยแรงคน
เป็ น การขุ ด ดิ น หรื อ วั ส ดุ โ ดยใช้ แ รงคน ในบริ เ วณที่ ไ ม่ ส ามารถใช้ เ ครื่ อ งจั ก รเข้ า ไป
ดําเนินการขุดได้ เช่น บริเวณที่แคบ ๆ บริเวณที่ต้องขุดแต่งลาดหลังจากเครื่องจักรขุดแล้ว เพื่อให้ได้ขนาด
และรูปร่างตามแบบรูปและรายการละเอียดกําหนด หรือการขุดดินในปริมาณไม่มากนัก ซึ่งหากต้องขนย้าย
เครื่องจักรเข้าไปทํางานอาจล่าช้าหรือไม่คุ้มค่า หรือการขุดดินในบริเวณที่เครื่องจักรเข้าไปดําเนินการอาจเกิด
ผลกระทบต่อตัวอาคารหรืองานก่อสร้างที่ได้ดําเนินการไว้แล้ว โดยดินหรือวัสดุที่ได้จากการขุดด้วยแรงคน
ขึ้นมาจะนํามากองหรือเกลี่ยในบริเวณใกล้เคียง หรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างกําหนด
กรณีที่ทําการถากแต่งดินชั้นล่างสุดของบ่อก่อสร้างโดยจะใช้เครื่องจักรขุดดินส่วนบนออก
จนถึงระยะประมาณ 0.10 เมตร เหนือระดับฐานรากอาคาร หรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
สั่งการ แล้วขุดแต่งด้วยแรงคนจนถึงระดับที่ต้องการ ดังนั้น ในการคํานวณปริมาณงาน จึงต้องแบ่งงาน
ดินขุดบ่อก่อสร้าง เป็นงานดินขุดด้วยเครื่องจักรและงานดินขุดด้วยแรงคนด้วย
(4) งานดินขุดยาก
งานดินขุดยาก หมายถึง งานขุดวัสดุที่อาจเป็นหินผุ ดินดาน ดินลูกรัง หินก้อน หรือ
วัสดุอื่นที่ไม่สามารถขุดโดยใช้เครื่องจักรเครื่องมือทั่วไป จะต้องใช้รถแทรกเตอร์ตีนตะขาบขนาด 230 แรงม้า
ติดเขี้ยวงัด Ripper จํานวน 1-3 ฟัน งัดให้หลวม หรือเคลื่อนย้ายออกได้ หรือเป็นชั้นวัสดุที่มีค่า Blow Count
มากกว่า 30 (N>30) ขึ้นไป โดยต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างก่อนจึงจะ
เริ่มทําการขุดได้ ทั้งนี้ ดินหรือวัสดุที่ได้จากการขุดจะต้องกองเกลี่ยในรัศมีที่เครื่องจักรสามารถปฏิบัติงานได้
หรือขุดขึ้นรถบรรทุกเพื่อขนย้ายไปยังบริเวณที่กําหนดไว้
(5) งานขุดสกัดหินด้วยเครือ่ งจักรพิเศษ
งานขุดสกัดหินด้วยเครื่องจักรพิเศษ หมายถึง งานขุดสกัดวัสดุที่เป็นหินแข็ง (Sound
Rock) หรือหินก้อน (Boulder) ซึ่งมีขนาดโตตั้งแต่ 1 ลูกบาศก์เมตรขึ้นไป หรือวัสดุอื่นที่ไม่อยู่ในประเภท
งานดินขุดยาก ที่ไม่สามารถงัดให้หลวม หรือเคลื่อนย้ายออกได้ด้วยรถแทรกเตอร์ตีนตะขาบขนาด 230 แรงม้า
ติดเขี้ยวงัด (Ripper) จํานวน 1-3 ฟัน โดยต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างก่อน
เริ่ มทํางานขุ ดสกัดหิ นด้ วยเครื่ องจั กรพิ เศษ ทั้ ง นี้ หิ น หรื อ วั ส ดุ ที่ไ ด้ จ ากการขุ ด จะต้ อ งกองเกลี่ยในรั ศ มีที่
เครื่องจักรสามารถปฏิบัติงานได้ หรือขุดขึ้นรถบรรทุกเพื่อขนย้ายไปยังบริเวณที่กําหนดไว้
(6) งานขุดบ่อยืมดิน
บ่อยืมดินที่จะขุดนําดินมาใช้งาน จะต้องเป็นบ่อยืมดินในบริเวณที่คณะกรรมการตรวจรับ
พัสดุพิจารณาอนุมัติให้ใช้แล้วเท่านั้น และจะต้องเป็นดินที่มีคุณสมบัติไม่กระจายตัว (Non-Dispersive Soil)
ผู้รับจ้างจะต้องทําการถางป่า ขุดตอ รากไม้ และวัชพืชบริเวณบ่อยืมดินให้เรียบร้อย แล้วทําการขุดลอกชั้น
หน้าดินออกไม่น้อยกว่า 0.50 เมตร หรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นสมควร ขณะดําเนินการ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
2-6 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 2 : งานดิน

ขุดดินผู้รับจ้างต้องคอยควบคุมความชื้นในบ่อยืมดินด้วย โดยจะต้องคอยฉีดพรมน้ําอย่างสม่ําเสมอ ในกรณีที่


บ่อยืมดินแห้ง และจะต้องทําการระบายน้ําออกจากบ่อยืมดิน เพื่อไม่ให้มีน้ําขังจนทําให้ความชื้นของดินมาก
เกินไป ภายหลังจากการขุดดินจากบ่อยืมดินสิ้นสุด ผู้รับจ้างจะต้องตกแต่งบริเวณบ่อยืมดินให้เรียบร้อยตาม
คําแนะนําของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
สําหรับดินขุดจากบ่อยืมดินที่มีคุณสมบัติกระจายตัว (Dispersive Soil) ผู้รับจ้างจะต้อง
นํ า ไปทิ้ ง ยั ง สถานที่ ที่ ผู้ ค วบคุ ม งานก่ อ สร้ า งของผู้ ว่ า จ้ า งกํ า หนด ห้ า มมิ ใ ห้ นํ า มารวมกั บ ดิ น ที่ มี คุ ณ สมบั ติ
ไม่กระจายตัวที่ขุดได้จากบ่อยืมดินเพื่อที่จะนํามาใช้งานโดยเด็ดขาด
(7) งานรื้อย้ายดินถมบดอัดแน่นด้วยเครือ่ งจักร (งานทัว่ ไป 85%)
งานรื้ อย้ ายดิ นถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักร (งานทั่วไป 85%) หมายถึง งานขุดดิ น
ธรรมดาโดยใช้เครื่องจักรในการขุดดินหรือวัสดุอื่นทั่วไปเพื่อรื้อย้ายทํานบดินชั่วคราว โดยดินหรือวัสดุที่ได้จาก
การขุดจะต้องกองเกลี่ยในรัศมีที่เครื่องจักรสามารถปฏิบัติงานได้ หรือขุดขึ้นรถบรรทุกเพื่อขนย้ายไปยังบริเวณที่
กําหนดไว้ โดยมีข้อกําหนดในการขุดเช่นเดียวกับงานดินขุดด้วยเครื่องจักร

2.4 งานถมบดอัดแน่น
2.4.1 ทั่วไป
งานถมบดอัดแน่น คือ งานที่เกี่ยวข้องกับการถมบดอัดแน่นวัสดุต่าง ๆ เช่น ดิน ลูกรัง ทราย
เป็นต้น โดยใช้แรงคนและเครื่องมือขนาดเล็กไปจนถึงการใช้เครื่องจักรขนาดใหญ่ เพื่อให้ได้รูปร่างตามที่
กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด หรือเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการออกแบบและข้อกําหนด
ในการควบคุมงาน งานถมบดอัดแน่นที่เกี่ยวข้องประกอบไปด้วย
(1) งานดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักรเบา
(2) งานดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักร (งานทั่วไป 95%)
(3) งานดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักร (งานทั่วไป 85%)
(4) งานลูกรังบดอัดแน่น
(5) งานทรายอัดแน่น
2.4.2 ขอบเขตของงาน
ผู้ รั บ จ้ า งจะต้ อ งนํ า วั ส ดุ บ ดอั ด แน่ น ที่ มี คุ ณ สมบั ติ ที่ ดี เป็ น ไปตามข้ อ กํ า หนดในข้ อ 2.4.3
“คุ ณ สมบั ติ ข องวั ส ดุ ถ มบดอั ด แน่ น ” มาทํ า การบดอั ดตามวิ ธี การในข้ อ 2.4.5 “ข้ อ กํ า หนดและวิ ธี ก าร
ปฏิบัติงาน” ให้ได้ความแน่น แนว ระดับ และขอบเขตตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด หรือ
ตามดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง โดยผู้รับจ้างจะต้องจัดหาเครื่องจักร เครื่องมือ วัสดุ
อุปกรณ์และแรงงานเพื่อให้งานก่อสร้างเป็นไปตามวัตถุประสงค์
องค์ประกอบงานในโครงการงานที่เกี่ยวข้องกับงานวัสดุถมบดอัดแน่นได้แก่
(1) งานผันน้ําระหว่างก่อสร้าง
(2) งานอาคารสถานีสูบน้ํา
(3) งานร่องชักน้ํา
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
2-7 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 2 : งานดิน

(4) งานระบบท่อส่งน้ํา
(5) งานถนนบํารุงรักษา
(6) งานอื่น ๆ ตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด
(7) งานที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร
2.4.3 คุณสมบัติของวัสดุถมบดอัดแน่น
วัสดุที่จะนํามาใช้ถมบดอัดแน่น จะต้องมีคุณสมบัติที่ดีตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุอนุมัติ
ซึ่งจะต้องเป็นวัสดุที่ได้รับการคัดเลือกแล้ว (Selected Materials) และจะต้องคลุกเคล้าให้เข้ากันอย่างดี
หลังจากการบดอัดแน่นแล้วต้องสามารถลดการซึมผ่านของน้ําและรับน้ําหนักได้ดี วัสดุถมบดอัดแน่นต้องมี
คุณสมบัติดังนี้
(1) งานดินถมบดอัดแน่น
(1.1) วัสดุที่ใช้ถมบดอัดแน่นรอบตัวอาคารสถานีสูบน้ํา และที่ใช้ถมบนชั้นวัสดุรองพื้น
เป็นทรายบดอัดแน่นรอบท่อส่งน้ํา ถ้าแบบรูปและรายการละเอียดมิได้ระบุไว้เป็นอย่างอื่น จะต้องมีคุณสมบัติ
เป็นไปตามข้อกําหนดต่อไปนี้
(ก) ต้องเป็นดินที่ปราศจากรากไม้ อินทรีย์ วัตถุเจือปน และหินที่ปะปนมาต้องมี
ขนาดโตไม่เกินกว่า 75 มิลลิเมตร
(ข) ต้องเป็นดินคัดเลือกที่ไม่เป็นดินที่มีคุณสมบัติกระจายตัว (Dispersive Soil)
(ค) ต้องมี Liquid Limit (L.L.) ไม่เกินร้อยละ 50
(ง) มีตะกอนทรายผ่านตะแกรงเบอร์ 200 (0.075 มิลลิเมตร) ไม่เกินร้อยละ 12
ของน้ําหนัก
(จ) ต้องมีความแน่นแห้งไม่น้อยกว่า 1,440 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร เมื่อทดลอง
ตามวิธีการบดอัดแบบมาตรฐาน (Standard Compaction) ในห้องปฏิบัติการ
(1.2) วัสดุที่ใช้ถมทํานบดิน คันคลอง ถ้าแบบรูปและรายการละเอียดมิได้ระบุไว้เป็น
อย่างอื่น จะต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามข้อกําหนดต่อไปนี้
(ก) ต้องเป็นดินที่ปราศจากรากไม้ อินทรีย์ วัตถุเจือปน และหินที่ปะปนมาต้องมี
ขนาดโตไม่เกินกว่า 75 มิลลิเมตร
(ข) ต้องเป็นดินกลุ่ม GC SC CL เรียงลําดับตามความเหมาะสมตามมาตรฐาน
Unified Soil Classification System (USCS) , ASTM D 2487
(ค) ต้องไม่เป็นดินในกลุ่ม GW GP OH ตามมาตรฐาน Unified Soil Classification
System (USCS) , ASTM D 2487
(ง) ต้องเป็นดินคัดเลือกที่ไม่เป็นดินที่มีคุณสมบัติกระจายตัว (Dispersive Soil)
(จ) Liquid Limit (L.L.) จะต้องมีค่าอยู่ระหว่างร้อยละ 20 ถึงร้อยละ 35
(ฉ) Plasticity Index (P.I.) ทดสอบตาม ASTM-D422-63 จะต้องมีค่าอยู่ระหว่าง 10
ถึง 17

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
2-8 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 2 : งานดิน

(ช) เมื่อบดอัดแน่นแล้วต้องสามารถรับน้ําหนักบรรทุกและต้านแรงเฉือนได้ดี ไม่พอง


ตัวเมื่อชุ่มน้ําและหดตัวเมื่อแห้ง
(2) งานทรายบดอัดแน่น
วัสดุที่ใช้ถมเป็นวัสดุรองพื้นและอัดแน่นรอบท่อส่งน้ํา ถ้าแบบรูปและรายการละเอียดมิได้
ระบุไว้เป็นอย่างอื่น จะต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามข้อกําหนดต่อไปนี้
(2.1) ต้องเป็นทรายที่มีคุณสมบัติเป็นทรายหยาบน้ําจืด เป็นเม็ดแกร่ง สะอาด และ
ปราศจากสารอินทรีย์และวัตถุอันเจือปน หรือใช้ทรายย่อย (Crushed Sand) ที่ได้จากการย่อยหรือบด
มวลรวมหยาบทดแทนทรายธรรมชาติได้
(2.2) มีขนาดคละเล็กกว่าขนาดตะแกรงเบอร์ 4 (4.75 มิลลิเมตร) ลดหลั่นลงไป โดย
ยอมให้มีส่วนที่ผ่านตะแกรงเบอร์ 4 (4.75 มิลลิเมตร) ร้อยละ 90 ถึงร้อยละ 100 ของน้ําหนัก
(2.3) มีตะกอนทรายผ่านตะแกรงเบอร์ 100 (0.15 มิลลิเมตร) ไม่เกินร้อยละ 10 ของ
น้ําหนัก และมีตะกอนทรายผ่านตะแกรงเบอร์ 200 (0.075 มิลลิเมตร) ไม่เกินร้อยละ 3 ของน้ําหนัก
(3) งานดินถมกลับรอบอาคาร
ดินถมกลับรอบอาคาร ผู้รับจ้างสามารถนําดินที่ได้จากการขุดบ่อก่อสร้างมาใช้เป็นดินถม
กลับได้ ทั้งนี้จะต้องมีคุณสมบัติตามที่กําหนดไว้ตามข้อ (1) งานดินถมบดอัดแน่น และจะต้องได้รับความ
เห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างก่อนนํามาใช้งาน
(4) งานลูกรังบดอัดแน่น
วัสดุลูกรังที่นํามาใช้จะต้องมีคุณภาพดีและมาจากแหล่งวัสดุที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
ได้ตรวจสอบคุณสมบัติและอนุมัติให้นํามาใช้งานได้ ดินลูกรังจะต้องมีคุณภาพและลักษณะ ดังนี้
(4.1) ขนาดคละจะต้องมีขนาดใดขนาดหนึ่งตามตารางที่ 2-1 ขนาดคละของลูกรัง นี้
ตารางที่ 2-1 ขนาดคละของลูกรัง
ขนาดของตะแกรง ร้อยละโดยน้ําหนักที่ผา่ นตะแกรง
มิลลิเมตร เกรด A เกรด B เกรด C เกรด D
2 นิ้ว (50 มิลลิเมตร) 100 100 - -
1 นิ้ว (25 มิลลิเมตร) - - 100 100
3/8 นิ้ว (9.5 มิลลิเมตร) 30-65 40-75 50-85 60-100
เบอร์ 10 (2.00 มิลลิเมตร) 15-40 20-45 25-50 40-70
เบอร์ 40 (0.425 มิลลิเมตร) 8-20 15-30 15-30 25-45
เบอร์ 200 (0.075 มิลลิเมตร) 2-8 5-20 5-15 5-20

(4.2) ส่วนที่ผ่านตะแกรงเบอร์ 200 (0.074 มิลลิเมตร) จะต้องไม่มากกว่า 2/3 ของส่วนที่


ผ่านตะแกรงเบอร์ 40 (0.42 มิลลิเมตร)

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
2-9 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 2 : งานดิน

(4.3) มี ค่ า Liquid Limit (L.L.) เมื่ อ ทดลองตาม ทล.-ท. 102 วิ ธี ก ารทดลองหาค่ า


Liquid Limit (L.L.) ไม่เกินร้อยละ 35
(4.4) มีค่า Plasticity Index (P.I.) เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 103 วิธีการทดลองหาค่า
Plasticity Limit (P.L.) และ Plasticity Index (P.I.) ไม่เกินร้อยละ 11
(4.5) มีค่าความสึกหรอ เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 202 วิธีการทดลองหาค่าความสึกหรอ
ของ Coarse Aggregate โดยใช้เครื่อง Los Angeles Abrasion ไม่เกินร้อยละ 60
(4.6) มี ค่ า CBR (California Bearing Ratio) เมื่ อ ทดลองตาม ทล.-ท. 109 วิ ธี ก าร
ทดลองหาค่า CBR ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ที่ความแน่นแห้งของการบดอัดร้อยละ 95 ของความแน่นแห้ง
สูงสุดที่ได้รับจากการทดลองตาม ทล.-ท. 108 วิธีการทดลอง Compaction Test แบบสูงกว่ามาตรฐาน
(4.7) จะต้องปราศจากสิ่งอื่นปะปน เช่น รากไม้ เศษหญ้า หรือก้อนดินเหนียว
(4.8) ขนาดของวัสดุใหญ่สุด ต้องไม่โตกว่า 5 เซนติเมตร
(4.9) กรณีใช้วัสดุมากกว่า 1 ชนิดผสมกันเพื่อให้ได้คุณภาพถูกต้อง เมื่อผสมกันแล้ว
จะต้องมีลักษณะสม่ําเสมอและได้คุณภาพตามข้อกําหนด ทั้งนี้จะต้องให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุอนุมัติ
ก่อนนําไปใช้งาน
2.4.4 เครื่องจักร-เครื่องมือในการบดอัด
เครื่องจักร-เครื่องมือที่นํามาใช้ในการบดอัด จะต้องมีประสิทธิภาพในการทําให้วัสดุที่ใช้ในการ
บดอัดนั้นมีความแน่นตัวสูงและได้ความแน่น (แห้ง) สูงสุด เช่น รถบดชนิดสั่นสะเทือน ลูกกลิ้งตีนแกะชนิด
ใช้รถลาก รถบดล้อยาง รถบดล้อเหล็ก เป็นต้น สําหรับการถมบดอัดบริเวณที่เครื่องจักรขนาดใหญ่ทํางานไม่
สะดวก อาทิเช่น บริเวณที่ห่างจากอาคารคอนกรีตในระยะ 1.00 เมตร หรือบริเวณโดยรอบท่อ ให้ใช้เครื่อง
กระทุ้งดินชนิดบังคับมือ หรือเครื่องมือบดอัดพิเศษอย่างอื่น ทั้งนี้ให้ขึ้นกับดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้าง
ของผู้ว่าจ้าง รายละเอียดเครื่องมือบดอัดที่สําคัญ ๆ มีดังต่อไปนี้
(1) ลูกกลิ้งตีนแกะ (Sheep-foot Rollers or Tamping Rollers)
จะต้องมีลูกกลิ้ง (Roller Drum) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร และ
มีขนาดความยาวไม่น้อยกว่า 1.20 เมตร และไม่ยาวกว่า 1.80 เมตร ช่องว่างระหว่างลูกกลิ้งทั้งสองลูกเมื่อ
วางอยู่ในแนวราบจะต้องห่างกันไม่น้อยกว่า 0.30 เมตร และไม่มากกว่า 0.40 เมตร ลูกกลิ้งต้องหมุน
เคลื่อนที่ได้โดยอิสระ แกนที่ขนานกันกับทิศทางการเคลื่อนที่
จํ า นวนตี น แกะ (Tamping Foot) จะต้ อ งมี อ ย่ า งน้ อ ยที่ สุ ด 1 ตั ว ต่ อ พื้ น ที่ ผิ ว ของ
ลูกกลิ้ง 645 ตารางเซนติเมตร ระยะระหว่างตีนแกะ (ศูนย์กลางถึงศูนย์กลาง) โดยวัดที่ผิวของลูกกลิ้งต้อง
ไม่น้อยกว่า 0.28 เมตร และความยาวของตีนแกะ (Tamping Foot) แต่ละตัว วัดจากผิวของลูกกลิ้งปลาย
ตีนแกะต้องประมาณ 0.23 เมตร พื้นที่หน้าตัดของตีนแกะเมื่อวัดในระบบขนานและห่างจากผิวของลูกกลิ้ง
0.15 เมตร ต้องไม่มากกว่า 65 ตารางเซนติเมตร และจะต้องรักษาให้ตีนแกะมีพื้นที่หน้าตัดไม่น้อยกว่า 45
ตารางเซนติเมตร และไม่มากกว่า 65 ตารางเซนติเมตร เมื่อวัดในแนวราบที่ขนานและห่างจากผิวของลูกกลิ้ง
0.20 เมตร ถ้าหากใช้ลูกกลิ้งมากกว่า 1 ชุด ในการถมบดอัดในชั้นเดียวกันแล้ว ลักษณะขนาดและน้ําหนัก

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
2 - 10 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 2 : งานดิน

ของลู ก กลิ้ ง แต่ ล ะชุ ด ต้ อ งเท่ า กั น ภายในลู ก กลิ้ ง จะต้ อ งบรรจุ ด้ ว ยทรายหรื อ น้ํ า ตามความเห็ น ชอบของ
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง ทั้งนี้เพื่อให้การบดอัดได้ความแน่นตามที่ต้องการ น้ําหนักของลูกกลิ้งเมื่อบรรจุ
ทรายหรือน้ําแล้ว ต้องมีน้ําหนักไม่น้อยกว่า 6,000 กิโลกรัมต่อความยาวลูกกลิ้งหนึ่งเมตร
ในขณะทําการบดอัด จะต้องระมัดระวังมิให้ดินหรือวัสดุอื่นใดเข้าไปแทรกอยู่ระหว่างตีนแกะ
ลู กกลิ้ งและอุปกรณ์ลากจูงในขณะทํางาน จะต้ องเลี้ยวกลับเป็นมุม 180 องศา ได้โดยมี รัศ มีการเลี้ยว
ไม่มากกว่า 7.50 เมตร ลูกกลิ้งจะเคลื่อนได้โดยการลากจูงหรือด้วยอุปกรณ์ในตัวเองก็ดีในขณะปฏิบัติงาน
จะต้องใช้ความเร็วไม่เกิน 15 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
(2) รถบดล้อยาง (Pneumatic Tire Rollers)
(2.1) รถบดล้อยางชนิดลากจูง จะต้องประกอบด้วยยางชนิดสูบลมจํานวนไม่น้อยกว่า 4 เส้น
ยางจะต้องมีขนาดและชั้นผ้าใบสามารถสูบลมได้ระหว่างความดัน 5.5 ถึง 7.0 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร
หรือ 80 ถึง 100 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว เพื่อให้ยางแต่ละเส้นรับน้ําหนักได้ 11,400 กิโลกรัม (25,000 ปอนด์)
ในขณะใช้งานบดอัด ล้อยางจะต้องวางเรียงแถวหน้ากระดานและต้องออกแบบให้แต่ละล้อรับถ่ายน้ําหนัก
ใกล้เคียงกันทุกล้อ ถึงแม้ว้าจะเคลื่อนไปบนผิวหน้าดินที่ไม่ราบเรียบและสม่ําเสมอก็ตาม ระยะระหว่างล้อยาง
จะต้องวางห่ างกันไม่มากกว่ าครึ่ งหนึ่ งของความหนาของหน้าล้อยาง วัดในขณะที่บางเส้นกํ าลังรับน้ําหนัก
11,400 กิโลกรัม (Wheel Load) โครงเหล็กที่ประกอบล้อยางจะต้องออกแบบให้แข็งแรงและมีช่องว่างที่จะ
บรรทุ ก ให้ ได้ เพี ยงพอที่ จะถ่ ายน้ํ าหนั กลงล้ อ (Wheel Load) ได้ ระหว่ าง 8,200 ถึ ง 11,400 กิ โลกรั ม
ส่วนประกอบทั้งชุดของรถบดล้อยางจะต้องสามารถที่จะเลี้ยวกลับเป็นมุม 180 องศาได้ โดยมีรัศมีการเลี้ยว
ไม่เกิน 7.50 เมตร ในขณะทําการบดอัดจะต้องใช้ความเร็วไม่เกิน 15 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
(2.2) รถบดล้ อ ยางที่ เ คลื่ อ นได้ ด้ ว ยตั ว เอง (Self-Propelled Rubber Tire Rollers)
อุปกรณ์แบบนี้จะต้องมีล้อจํานวน 9 หรือ 10 ล้อ และมีความกว้างของหน้าบดอัด (Rolling Width) ตั้งแต่
1.75 ถึง 2.15 เมตร ในขณะปฏิบัติงานต้องมีน้ําหนักระหว่าง 12,000 ถึง 13,600 กิโลกรัม อุปกรณ์บดอัด
จะต้องติดตั้งด้วยเครื่องยนต์ที่มีกําลังมากพอที่จะสามารถทํางานบดอัดได้
(3) เครื่องบดอัดแบบสั่น (Vibratory Compactors)
เครื่องบดอัดแบบสั่นสะเทือนขนาดใหญ่ เพื่อใช้งานบดอัด ถ้าสามารถทํางานบดอัดได้
ตามที่กําหนดและสามารถพิสูจน์ได้ว่ามีประสิทธิภาพสูงกว่ารถบดแบบลูกกลิ้งตีนแกะ หรือรถบดล้อยางแล้ว
ก็ให้นําไปใช้งานบดอัดได้ ทั้งนี้ภายหลังที่ยื่นคําขอเป็นหนังสือและได้รับความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้าง
ของผู้ว่าจ้างแล้ว
(4) รถแทรกเตอร์
รถแทรกเตอร์ที่ใช้ในการลากจูงรถบดชนิดที่ขับเคลื่อนเองไม่ได้จะต้องมีกําลังมากพอที่จะ
ลากรถบดไปได้เมื่อใส่น้ําหนักเข้าไปในล้อเต็มที่
(5) เครื่องกระทุ้งดิน (Tampers)
จะต้องเป็นชนิดที่ทํางานด้วยเครื่องยนต์ภายใต้การควบคุมด้วยมือ โดยมีกําลังอัดของลม
(Air Pressure) ไม่น้อยกว่า 5 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
2 - 11 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 2 : งานดิน

(6) แท่งกระทุ้งดิน (Tamping Bars)


ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาแท่งกระทุ้งดิน (Tamping Bars) สําหรับนํามาใช้ในการวางท่อ ให้
มีจํานวนเพียงพอต่อการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ แท่งกระทุ้งดิน (Tamping Bars) ที่ใช้งานวางท่อมี 3 แบบ
ดังต่อไปนี้
(6.1) แบบปลายงอหัวแบน (แบบ A) เป็นเครื่องมือสําหรับยัดกระทุ้งดินเข้าไปในซอก
ใต้ท่อ ด้ามทําจากท่อเหล็กกล้าหรือเหล็กกล้าอาบสังกะสี ขนาด 1 นิ้ว ยาว 6 ฟุต ปลายยาว 3 ถึง 4 นิ้ว
งอเป็นมุม 30 องศา มีแผ่นเหล็กขนาด 6 นิ้ว x 4 นิ้ว หนา 1 นิ้ว เชื่อมติดอยู่ ดังแสดงไว้ในรูป A ข้างล่างนี้
(6.2) แบบปลายงอหัวมน (แบบ B) เป็นเครื่องมือสําหรับกระทุ้งดินตามซอกใต้ท่อ ด้าม
ทําจากท่อเหล็กกล้าอาบสังกะสี ขนาด 3/4 นิ้ว - 1 ¼ นิ้ว ยาว 6 ฟุต ปลายยาว 3 ถึง 4 นิ้ว งอเป็นมุม
30 องศา ตรงปลายสุดนําข้อต่อสามทางอาบสังกะสีแบบขันเกลียวมาขันติดไว้ ส่วนปลายสามทางทั้งสองด้าน
ที่เหลือ ให้เอาท่อเหล็กอาบสังกะสีมาขันติดไว้ความยาวข้างละ 4 นิ้ว ดังแสดงไว้ในรูป B ข้างล่างนี้
(6.3) แบบแผ่นเหล็กกระทุ้งตรง (แบบ C) เป็นเครื่องมือสําหรับกระทุ้งดินด้านข้างท่อ
ให้มีความแน่น โดยปกติสําหรับใช้สําหรับงานวางท่อขนาดเล็ก ซึ่งไม่สามารถใช้เครื่องกระทุ้งดิน (Tamping
Machine) ได้ รูปแบบของแผ่นเหล็กกระทุ้งตรงแสดงไว้ในรูป C ข้างล่างนี้

ถ้าผู้รับจ้างต้องการใช้เครื่องจักรและอุปกรณ์บดอัดที่มีลักษณะแตกต่างไปจากเครื่องจักรและ
อุปกรณ์ดังกล่าวในข้อ (1) ถึง (6) และสามารถพิสูจน์ได้ว่ามีประสิทธิภาพในการทํางาน และมีผลงานเท่า
หรือสูงกว่าเกณฑ์ที่กําหนดในการตรวจสอบความแน่นของการบดอัด ก็ให้นําไปใช้งานบดอัดได้ ทั้งนี้ ผู้รับจ้าง
จะต้องยื่นคําขอเป็นหนังสือและได้รับความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเสียก่อน จึงจะ
นํามาใช้งานได้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
2 - 12 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 2 : งานดิน

2.4.5 ข้อกําหนดและวิธีการปฏิบัติงาน
(1) การถมบดอัดแน่นดิน
การบดอัดแต่ละชั้น จะต้องได้ความแน่นไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ของความแน่นแห้งสูงสุด
จากการทดลองตามวิธีของ Standard Proctor Compaction Test โดยจะอนุโลมให้ความชื้นแตกต่างไป
จากค่าความชื้นสูงสุดที่ได้ความหนาแน่นมากที่สุด (Optimum Moisture Content) ไม่เกินร้อยละ  2
ทั้งนี้ นอกจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างมีความเห็นชอบเป็นอย่างอื่น หรือตามที่แบบรูปและรายการ
ละเอียดกําหนด ความหนาของชั้นวัสดุที่บดอัดแน่นแล้วแต่ละชั้นจะต้องไม่เกิน 20 เซนติเมตร บริเวณใดที่
วัสดุมีการแยกตัวออกจากกัน ผู้รับจ้างจะต้องทําการแก้ไขโดยการขุดคุ้ย (Scarified) ตลอดความหนาของ
แต่ละชั้น แล้วทําการก่อสร้างบดอัดใหม่ตามวิธีที่กล่าวไว้ในข้างต้น
ผู้รับจ้างต้องทําการควบคุมการเกลี่ยและบดอัดด้วยความระมัดระวัง หากตรวจสอบแล้ว
พบว่า การบดอัดแต่ละชั้นมีความแน่นไม่เป็นไปตามที่กําหนด ผู้รับจ้างจะต้องรื้อออกดินที่บดอัดในชั้นนั้นออก
แล้วทําการบดอัดใหม่เพื่อให้ได้ความแน่นตามที่กําหนดโดยค่าใช้จ่ายเป็นของผู้รับจ้างเอง
(2) การถมบดอัดแน่นรอบท่อส่งน้าํ
หลังจากและขุดแต่งระดับร่องดินแล้ว ก่อนการวางท่อส่งน้ํา ให้ทําการถมบดวัสดุรองพื้น
เป็นทรายบดอัดแน่น โดยใช้เครื่องกระทุ้งดิน (Tampers) จนได้ความแน่นและระดับตามที่กําหนดไว้ในแบบรูป
และรายการละเอียด ภายหลังจากวางท่อและอุปกรณ์ท่อเสร็จเรียบร้อย ให้ทําการบดอัดทรายรอบท่อ จนได้
ความแน่นและมิติตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด การถมบดอัดแน่นด้านข้างท่อนั้น ผู้รับจ้าง
จะต้องถมบดอัดแน่นให้สูงเท่ากันทั้งสองด้าน และจะต้องระมัดระวังความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับท่อส่งน้ําหรือ
เกิดการเคลื่อนตัวของท่อส่งน้ํา การบดอัดจะต้องทําเป็นชั้น ๆ ความหนาของชั้นวัสดุที่บดอัดแน่นแล้วแต่ละชั้น
จะต้องไม่เกิน 10 เซนติเมตร
การบดอัดดินที่ไม่กระทบกับโครงสร้าง อนุญาตให้ใช้เครื่องจักรได้ แต่ผู้รับจ้างจะต้อง
ระมัดระวังไม่ให้เกิดความเสียหายหรือการเคลื่อนตัวของท่อส่งน้ํา ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้ควบคุมงาน
ก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(3) การถมบดอัดแน่นรอบตัวอาคาร
การถมบดอัดแน่นรอบตัวอาคาร เป็นการถมบดอัดแน่นด้วยแรงคน หรือการถมบดอัด
แน่นด้วยเครื่องจักรเบา ซึ่งจะทําการถมดินในบริเวณที่เครื่องจักรขนาดใหญ่เข้าไปไม่ได้ เช่น บริเวณแคบ ๆ
การถมในปริมาณไม่มาก หรือในบริเวณที่ใช้เครื่องจักรขนาดใหญ่ บดอัดแล้วจะเกิดอันตรายต่อตัวอาคาร
การถมบดอัดแน่นรอบอาคารประกอบ จะต้องบดเป็นชั้น ๆ ทั้งสี่ด้านของอาคารให้มีความ
สูงขึ้นมาเท่า ๆ กันทุกด้าน โดยใช้เครื่องมือบดอัดขนาดเล็กเช่นเครื่องกระทุ้งแบบกบกระโดด หรือเครื่อง
กระทุ้ง (Tampers) ความหนาของชั้นวัสดุที่บดอัดแน่นแล้วแต่ละชั้นจะต้องไม่เกิน 10 เซนติเมตร การ
ดําเนินการบดอัดรอบตัวอาคารจะต้องกระทําด้วยความระมัดระวังไม่ให้เกิดการเคลื่อนตัวหรือความเสียหาย
แก่ตัวอาคาร และจะต้องอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
2 - 13 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 2 : งานดิน

ดินถมบดอัดแน่นรอบตัวอาคาร สามารถใช้ดินที่ขุดขึ้นมาจากหลุมขุดเพื่อการก่อสร้างอาคาร
นั้น ๆ ได้ แต่จะต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามข้อ 2.4.3 “คุณสมบัติของวัสดุถมบดอัดแน่น” และจะต้องปราศจาก
วัชพืช รากไม้ ก้อนหิ น สิ่ งสกปรกทั้งมวล หากดินจากหลุ มขุดนั้นมี ปริ มาณไม่ เพียงพอ ผู้รั บจ้างจะต้อง
จัดหาดินจากแหล่งอื่น ๆ ที่มีความเหมาะสมตามที่กําหนดไว้ในข้อ 2.4.3 “คุณสมบัติของวัสดุถมบดอัดแน่น” และ
จะต้องได้รับการเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(4) การถมบดอัดแน่นลูกรัง
การบดอัดแต่ละชั้น จะต้องได้ความแน่นไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ของความแน่นแห้งสูงสุด
จากการทดลองตามวิธีของ Modified Proctor Compaction Test โดยจะอนุโลมให้ความชื้นแตกต่างไปจาก
ค่าความชื้นสูงสุดที่ได้ความหนาแน่นมากที่สุด (Optimum Moisture Content) ไม่เกินร้อยละ  2 ทั้งนี้
นอกจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างมีความเห็นชอบเป็นอย่างอื่น ความหนาของชั้นวัสดุที่บดอัดแน่น
แล้วแต่ละชั้นจะต้องไม่เกิน 20 เซนติเมตร บริเวณใดที่วัสดุส่วนหยาบและส่วนละเอียดแยกตัวออกจากกัน
ผู้รับจ้างจะต้องทําการแก้ไขโดยการขุดคุ้ย (Scarified) ตลอดความหนาของแต่ละชั้น แล้วทําการก่อสร้างบด
อัดใหม่ตามวิธีที่กล่าวไว้ในข้างต้น
ผู้รับจ้างต้องทําการควบคุมการเกลี่ยและบดอัดด้วยความระมัดระวัง โดยไม่ทําการ บดอัด
มากจนเกินไป อันจะทําให้เม็ดวัสดุขนาดใหญ่แตกออกเป็นเม็ดละเอียด ถ้านําตัวอย่างที่เก็บจากวัสดุที่อัดแน่น
แล้วมาตรวจสอบแล้วพบว่าประกอบด้วยเม็ดที่เล็กกว่า 0.42 มิลลิเมตร (เบอร์ 40) มีมากกว่าร้อยละ 50
จะต้องรื้อออกแล้วนําวัสดุที่ดีมาบดอัดใหม่โดยค่าใช้จ่ายเป็นของผู้รับจ้างเอง
(5) ข้อกําหนดในการเลือกใช้เครื่องจักรในการบดอัดแน่น
(5.1) งานดินถมบดอัดแน่นพิเศษ และงานดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักรเบา
การถมดิ นในบริ เวณพื้ นที่ซึ่งเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ ขนาดใหญ่ ไม่สามารถเข้าไป
ปฏิบัติงานบดอัดแน่นได้ จะต้องทําการบดอัดด้วยวิธีพิเศษโดยเครื่องกระทุ้งดินด้วยมือ (Hand operated
tamper) บริเวณเหล่านี้ได้แก่ การถมดินบริเวณรอบ ๆ อาคารคอนกรีต เช่น อาคารระบายน้ําล้น ท่อส่งน้ํา
และบริเวณพื้นที่ที่มีความลาดชันและมีความขรุขระเป็นหลุม หรือบ่อทดสอบดิน (Test pit) หรือบริเวณอื่น ๆ
ที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเป็นผู้กําหนด ดินที่นํามาใช้ถมต้องได้รับการคัดเลือกเป็นพิเศษ การปูดิน
บริเวณเหล่านี้จะต้องปูให้หนาชั้นละไม่เกิน 10 เซนติเมตร งานดินถมบดอัดแน่นพิเศษจะต้องมีความแน่น
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 98 ของความแน่นแห้งสูงสุดจากการทดลองตามวิธีของ Standard Proctor Compaction
Test และงานดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักรเบาจะต้องมีความแน่นไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ของความแน่นแห้ง
สูงสุ ดจากการทดลองตามวิ ธีของ Standard Proctor Compaction Test หรื อตามที่กําหนดในแบบรูปและ
รายการละเอียด
(5.2) งานดินถมบดอัดด้วยแรงคน
การถมดินในบริเวณพื้นที่ซึ่งเครื่องจักรขนาดใหญ่และเครื่องจักรเบาไม่สามารถเข้าไป
ปฏิบัติงานบดอัดแน่นได้ เช่น บริเวณแคบ ๆ การถมในปริมาณไม่มาก หรือในบริเวณที่ใช้เครื่องจักรขนาดใหญ่
บดอัดแล้วจะเกิดอันตรายต่อตัวอาคาร หรือการถมดินในปริมาณไม่มากนัก ซึ่งขนย้ายเครื่องจักรเข้าไปทํางาน

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
2 - 14 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 2 : งานดิน

แล้วไม่คุ้ม จะต้องทําการบดอัดด้วยแรงคน หรือบริเวณอื่น ๆ ที่ผู้ควบคุมงานของผู้ว่าจ้างเป็นผู้กําหนด การปูดิน


บริเวณเหล่านี้จะต้องปูให้หนาชั้นละไม่เกิน 10 เซนติเมตร งานดินถมบดอัดแน่นด้วยแรงจะต้องมีความแน่น
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ของความแน่นแห้งสูงสุดจากการทดลองตามวิธีของ Standard Proctor Compaction
Test หรือตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด
2.4.6 การทดสอบความแน่นของการบดอัด
(1) การทดสอบ
(1.1) งานคลองส่งน้ําและท่อส่งน้ํา ให้ผู้รับจ้างแจ้งให้ตัวแทนของผู้ว่าจ้างทําการทดสอบ
ทุก ๆ ชั้น ที่ทําการบดอัดเสร็จเรียบร้อยแล้ว โดยมีระยะห่างไม่เกิน 25 เมตร หรือตามที่ผู้ควบคุมงาน
ก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นสมควร และต้องรายงานผลการทดสอบให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างทราบทันที
และหากผ่านเกณฑ์ตามที่กําหนดไว้ ให้ผู้รับจ้างทํางานชั้นอื่นได้ต่อไปได้
(1.2) งานดินถมรอบอาคารประกอบ ให้ผู้รับจ้างแจ้งให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
ทําการทดสอบทุก ๆ ชั้น ที่ทําการบดอัดเสร็จเรียบร้อยแล้ว และต้องรายงานผลการทดสอบให้ผู้ควบคุมงาน
ก่อสร้างของผู้ว่าจ้างทราบทันที และหากผ่านเกณฑ์ตามที่กําหนดไว้ ให้ผู้รับจ้างทํางานชั้นอื่นได้ต่อไป
(1.3) งานดินถมบดอัดแน่นทํานบดินหรือรอบบ่อพักน้ํ าหรือรอบสระ ให้ผู้รับจ้างแจ้งให้
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างทําการทดสอบทุก ๆ ชั้น ที่ทําการบดอัดเสร็จเรียบร้อยแล้ว โดยมีระยะห่าง
ไม่เกิน 25 เมตร หรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นสมควร และต้องรายงานผลการทดสอบให้
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างทราบทันที เมื่อผ่านเกณฑ์ตามที่กําหนดไว้จึงจะทํางานชั้นอื่นต่อไป
(1.4) หากผลการทดสอบชั้นหนึ่งชั้ นใดต่ํากว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กําหนดไว้ในแบบรูป
และรายการละเอี ย ด ผู้ รั บ จ้ า งจะต้ อ งดํ า เนิ น การแก้ ไ ขและปรั บ ปรุ ง ให้ เ ป็ น ไปตามเกณฑ์ ม าตรฐานก่ อ น
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างจึงอนุญาตให้ลงชั้นดินชั้นต่อไป
(2) ความแน่นของวัสดุ
(2.1) วัสดุดินถมบดอัดแน่น
ความแน่นของวัสดุถมบดอัดแน่นแต่ละชั้นสําหรับงานคลองส่งน้ําและท่อส่งน้ํา และงาน
ทํานบดิน ให้ผู้รับจ้างทําการบดอัดความแน่นแต่ละชั้นให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด
สําหรับงานก่อสร้างอาคารประกอบ และงานถนน ให้ผู้รับจ้างบดอัดดินให้มีความแน่นไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
Standard Proctor Compaction Test หรือตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด ที่ความชื้นไม่เกิน
ร้อยละ ± 2 จากความชื้นตรงจุด Optimum Moisture Content ตามวิธี Standard Method of Test of
Moisture Density Relations of Soil, ASTM D 698
(2.2) งานทรายอัดแน่น
ให้ผู้รับจ้างนําทรายที่ได้รับการตรวจสอบและคณะกรรมการตรวจรับพัสดุอนุมัติให้ใช้แล้ว
ไปถมบดอัดแน่นเป็นชั้น ๆ ในแนวราบและให้ความชื้นตามความเหมาะสม แต่ละชั้นเมื่อบดอัดแน่นแล้ว
จะต้องมีค วามแน่ น ไม่ น้อ ยกว่ าร้ อยละ 70 Relative Density ตาม ASTM D 2049 หรือตามที่ แ สดงไว้ ใ น
แบบรูปและรายการละเอียด

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
2 - 15 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 2 : งานดิน

(2.3) งานลูกรังบดอัดแน่น
การบดอัดแต่ละชั้น จะต้องได้ความแน่นไม่น้อยร้อยละ 95 ของความแน่นเมื่อแห้งสูงสุด
จากการทดลองตามวิธีของ Modified Proctor Compaction Test โดยอนุโลมให้ความชื้นแตกต่างไปจาก
ค่าความชื้นเหมาะสม (Optimum Moisture Content) ไม่เกิ นร้ อยละ ± 2 ทั้งนี้ นอกจากผู้ควบคุมงาน
ก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นชอบเป็นอย่างอื่น
(3) เกณฑ์การตรวจสอบความแน่นของการบดอัด
การตรวจสอบความแน่นของการบดอัด คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะถือเกณฑ์
ดังต่อไปนี้
(3.1) จะทําการตรวจสอบทุกวันที่ทําการบดอัด
(3.2) จะทําการตรวจสอบความแน่นของการบดอัดทุกชั้น
(3.3) บริเวณที่จะเก็บตัวอย่าง จะเลือกเก็บบริเวณที่น่าสงสัย เช่น บริเวณที่ปูชั้นดินหนา
จนเกิ นไป ความชื้ น อาจไม่ ถู ก ต้ อ ง จุ ด เลี้ ย วกลั บ หรื อ รอยต่ อ และบริ เ วณที่ ผู้ ค วบคุ ม งานก่ อ สร้ า งของ
ผู้ว่าจ้างสงสัย
(3.4) จํานวนตัวอย่างในการตรวจสอบให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของ
ผู้ ว่าจ้ าง การตรวจสอบในสนามจะใช้วิธีตรวจสอบแบบ Field Density Test ตาม ASTM Designation
D-1556 หรือวิธีอื่นที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นสมควร
(3.5) การทดสอบแบบ Field Density จะดําเนินการโดยวิธี Sand Replacement
2.5 การวัดปริมาณงานและการจ่ายเงิน
2.5.1 งานขุดเปิดหน้าดิน
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานขุดเปิดหน้าดิน ตามรายการที่แสดงไว้ใน
ใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานเป็นพื้นที่ต่อเนื่องกันตามที่คณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานที่ทําจริงมีหน่วยเป็น
ลูกบาศก์เมตร โดยให้ยึดถือวิธีการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณี งานขุ ดเปิด หน้ าดิ น อยู่ภายในขอบเขตสํ าหรั บ งานอาคารตามที่ แ สดงไว้ ใ นใบแจ้ ง
ปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้ใน
งานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอั ตราต่อหน่วยเป็นลูก บาศก์เมตร ตามรายการที่แสดงไว้ใ นใบแจ้ ง
ปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ อัตราต่อหน่วยในงานที่เกี่ยวข้องนี้ให้รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์
เครื่องจักร – เครื่องมือ แรงงาน ค่าขนไปกองและเกลี่ยยังสถานที่ที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุกําหนดให้
ตลอดจนค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
2 - 16 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 2 : งานดิน

2.5.2 งานดินขุดด้วยเครื่องจักร
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานดินขุดด้วยเครื่องจักร ตามรายการที่แสดง
ไว้ ใ นใบแจ้งปริ มาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รั บจ้างทํางานได้ ตามที่คณะกรรมการตรวจรั บพัสดุ
เห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานที่ทําจริงมีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร
โดยให้ยึดถือวิธีการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานดินขุดด้วยเครื่องจักรอยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารตามที่แสดงไว้ในใบแจ้ง
ปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้ใน
งานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณ
งานและราคาของสัญญานี้ อัตราต่อหน่วยในงานที่เกี่ยวข้องนี้ให้รวมค่ าใช้ จ่ายในการจัดหาวั สดุ อุปกรณ์
เครื่องมือ เครื่องจักร แรงงาน ค่าจัดหาสถานที่กอง (ถ้ามี) ค่างานสูบน้ํา (ถ้ามี) ค่าขนย้ายไปกองและเกลี่ย
ยังสถานที่ที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุกําหนดให้ ตลอดจนค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์
2.5.3 งานดินขุดด้วยแรงคน
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานดินขุดด้วยแรงคน ตามรายการที่แสดงไว้ใน
ใบแจ้งปริมาณราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างทํางานได้ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดย
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานที่ทําจริงมีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร โดยให้ยึดถือวิธีการ
วัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานดินขุดด้วยแรงคนอยู่ภายในขอบเขตสําหรั บงานอาคารตามที่แสดงไว้ในใบแจ้ง
ปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้ใน
งานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในรายการใบแจ้ง
ปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ อัตราต่อหน่วยในงานที่เกี่ยวข้องนี้ให้รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหาแรงงาน
วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ ค่าขนย้ายไปกองและเกลี่ยยังสถานที่ที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุกําหนด ตลอดจน
ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
2 - 17 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 2 : งานดิน

2.5.4 งานดินขุดยาก
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานดินขุดยาก ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้ง
ปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างทํางานได้ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดย
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานที่ทําจริงมีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร โดยให้ยึดถือวิธีการ
วัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานดินขุดยากอยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารตามที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงาน
และราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้ในงานอาคาร
แต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณ
งานและราคาของสัญญานี้ อัตราต่อหน่วยในงานที่เกี่ยวข้องนี้ให้รวมค่ าใช้ จ่ายในการจัดหาวั สดุ อุปกรณ์
เครื่องมือ เครื่องจักร แรงงาน ค่าจัดหาสถานที่กอง (ถ้ามี) ค่างานสูบน้ํา (ถ้ามี) ค่าขนย้ายไปกองและเกลี่ย
ยังสถานที่ที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุกําหนดให้ ตลอดจนค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์
2.5.5 งานรื้อย้ายดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักร (งานทั่วไป 85%)
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานรื้อย้ายดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักร
(งานทั่วไป 85%) ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างทํางานได้
ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานที่
ทําจริงมีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร โดยให้ยึดถือวิธีการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานดินขุดด้วยเครื่องจักรอยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารตามที่แสดงไว้ในใบแจ้ง
ปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้ใน
งานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณ
งานและราคาของสัญญานี้ อัตราต่อหน่วยในงานที่เกี่ยวข้องนี้ให้รวมค่ าใช้ จ่ายในการจัดหาวั สดุ อุปกรณ์
เครื่องมือ เครื่องจักร แรงงาน ค่าจัดหาสถานที่กอง (ถ้ามี) ค่างานสูบน้ํา (ถ้ามี) ค่าขนย้ายไปกองและเกลี่ย
ยังสถานที่ที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุกําหนดให้ ตลอดจนค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์
2.5.6 งานขุดบ่อยืมดิน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะไม่ตรวจวัดปริมาณงานดินขุดจากบ่อยืมดินให้ แต่ให้ผู้รับจ้างคิด
ค่าใช้จ่ายรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการจัดหาดิน สําหรับงานดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักร ตามรายการที่แสดง
ไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
2 - 18 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 2 : งานดิน

2.5.7 งานดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักรเบา
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักรเบา ตาม
รายการที่แสดงไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานเสร็จเรียบร้อยแล้ว
และมีระยะทางต่อเนื่องตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการ
ตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือ
ตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงาน
ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักรเบาอยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารตามที่แสดง
ไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิด
รวมไว้ในงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณ
งานและราคาของสัญญานี้ อัตราต่อหน่วยในงานที่เกี่ยวข้องนี้ให้รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร วัสดุ
อุปกรณ์ ทางลําเลียง ค่าขนส่ง ค่าเครื่องหมายจราจรต่าง ๆ ในระหว่างการก่อสร้าง แรงงาน และค่าใช้จ่ายอืน่ ๆ
เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์
2.5.8 งานดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักร (งานทั่วไป 95%)
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักร (งานทั่วไป
95%) ตามรายการที่แสดงไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานเสร็จ
เรียบร้อยแล้วและมีระยะทางต่อเนื่องตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับ
พัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียด
กําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการ
วัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักร (งานทั่วไป 95%) อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงาน
อาคารตามที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยก
ตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้ในงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณ
งานและราคาของสัญญานี้ อัตราต่อหน่วยในงานที่เกี่ยวข้องนี้ให้รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร วัสดุ
อุปกรณ์ ทางลําเลียง ค่าขนส่ง ค่าเครื่องหมายจราจรต่าง ๆ ในระหว่างการก่อสร้าง แรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ
เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
2 - 19 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 2 : งานดิน

2.5.9 งานดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักร (งานทั่วไป 85%)


การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักร (งานทั่วไป
95%) ตามรายการที่แสดงไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานเสร็จ
เรียบร้อยแล้วและมีระยะทางต่อเนื่องตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับ
พัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียด
กําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการ
วัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักร (งานทั่วไป 85%) อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงาน
อาคารตามที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยก
ตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้ในงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณ
งานและราคาของสัญญานี้ อัตราต่อหน่วยในงานที่เกี่ยวข้องนี้ให้รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร วัสดุ
อุปกรณ์ ทางลําเลียง ค่าขนส่ง ค่าเครื่องหมายจราจรต่าง ๆ ในระหว่างการก่อสร้าง แรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ
เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์
2.5.10 งานทรายอัดแน่น
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานทรายอัดแน่น ตามที่แสดงไว้ในรายการ
ใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานเสร็จเรียบร้อยแล้วและมีระยะทางต่อเนื่อง
ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้น
มีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริง
ภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับ
พัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานทรายอัดแน่นอยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารตามที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณ
งานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้ในงานอาคาร
แต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณ
งานและราคาของสัญญานี้ อัตราต่อหน่วยในงานที่เกี่ยวข้องนี้ให้รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร วัสดุ
อุปกรณ์ ทางลําเลียง ค่าขนส่ง ค่าเครื่องหมายจราจรต่าง ๆ ในระหว่างการก่อสร้าง แรงงาน และค่าใช้จ่ายอืน่ ๆ
เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
2 - 20 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 3 : งานป้องกันการกัดเซาะ และเพิ่มเสถียรภาพ

บทที่ 3
งานป้องกันการกัดเซาะ และเพิ่มเสถียรภาพ
3.1 ขอบเขตของงาน
งานป้องกันการกัดเซาะ และเพิ่มเสถียรภาพตามสัญญานี้ มีขอบเขตของงานที่ผู้รับจ้างจะต้องจัดหา
วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องจักร เครื่องมือ และแรงงาน เพื่อก่อสร้างงานป้องกันการกัดเซาะ และเพิ่มเสถียรภาพ
ให้ได้แนวระดับ ขนาด รูปร่าง และความหนาตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด เพื่อป้องกันการ
กัดเซาะของน้ํา เพิ่มเสถียรภาพให้ลาด (Slope) เกิดความมั่นคง และป้องกันการพังทลายของดินบริเวณเชิง
ลาดและตลิ่งร่องชักน้ํา คลองส่งน้ํา ตามขอบเขตงานดังนี้
(1) งานหินเรียง
(2) งานหินเรียงยาแนว
(3) งานหินทิ้ง
(4) งานหินก่อ
(5) งานแผ่นใยสังเคราะห์
(6) งานจัดหาและติดตั้ง GABION
(7) งานจัดหาและติดตั้ง MATTRESS
(8) งานปลูกหญ้าบน Topsoil หนา 10 ซม.
(9) งานปลูกหญ้าบน Topsoil หนา 15 ซม.
(10) งานตอก-รื้อถอนเข็มพืดเหล็ก
(11) งานอื่ น ๆ ตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอี ยด หรื อตามคํ าแนะนํา ของ
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
3.2 คุณสมบัติวัสดุ
3.2.1 หิน
หิ นที่ใ ช้จะต้ องเป็นหินที่มีความแข็งแกร่ง ทนทาน ปราศจากส่ วนประกอบของแร่ยิ บ ซั่ ม
แอนไฮไดรท์ หินดินดาน หินเนื้ออ่อน หรือหินผุ มีรูปร่างค่อนข้างกลม มีส่วนแบนเรียวน้อย ไม่มีรอย
แตกร้าว หรือลักษณะอื่นใดที่แสดงให้เห็นว่าจะไม่ทนทานต่อการกัดเซาะ หินที่นํามาใช้ในงานหินทิ้ง หินก่อ
หิ น เรี ย ง หิ น เรี ย งยาแนว งานกล่ อ งลวดตาข่ า ย GABION งานกล่ อ งลวดตาข่ า ย MATTRESS ต้ อ งมี
คุณสมบัติดังนี้
(1) ความถ่วงจําเพาะที่จุดอิ่มตัวผิวหน้าแห้ง ต้องไม่น้อยกว่า 2.65
(2) ความต้ า นทานต่ อ การขั ด สี เมื่ อ ทดลองโดยใช้ เ ครื่ อ ง Los Angeles Abrasion Test
(ASTM C131) ส่วนสูญหายต้องไม่เกินร้อยละ 40 โดยน้ําหนัก
(3) ความมั่นคง (Soundness) เมื่อทดสอบโดยใช้สารละลาย Sodium Sulphate (ASTM C88)
จํานวน 5 รอบ สูญเสียต้องไม่เกินร้อยละ 12 โดยน้ําหนัก

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
3-1 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 3 : งานป้องกันการกัดเซาะ และเพิ่มเสถียรภาพ

(4) ขนาดของหินที่ใช้ ถ้ามิได้ระบุไว้เป็นอย่างอื่น ต้องประกอบด้วยก้อนขนาดคละตามที่


กําหนดไว้ในตารางที่ 3-1 ขนาดคละของหินที่ใช้งาน
ตารางที่ 3-1 ขนาดคละของหินที่ใช้งาน
ความหนาของหินที่ระบุในแบบรูปและรายการละเอียด
ขนาดก้อน
0.20 เมตร 0.30 เมตร 0.50 เมตร 0.70 เมตร
ใหญ่กว่า 50 เซนติเมตร - - - เกินร้อยละ 30
ใหญ่กว่า 30 เซนติเมตร - ไม่เกินร้อยละ 20 เกินร้อยละ 50 เกินร้อยละ 50
ใหญ่กว่า 15 เซนติเมตร เกินร้อยละ 20 เกินร้อยละ 60 เกินร้อยละ 70 เกินร้อยละ 70
ใหญ่กว่า 7 เซนติเมตร เกินร้อยละ 60 เกินร้อยละ 80 เกินร้อยละ 90 เกินร้อยละ 90
ใหญ่กว่า 3 เซนติเมตร น้อยกว่าร้อยละ 5 น้อยกว่าร้อยละ 5 น้อยกว่าร้อยละ 5 -

3.2.2 วัสดุรองพื้น (Bedding Material)


(1) ชั้นวัสดุรองพื้นที่รองใต้งานหินเรียง งานหินเรียงยาแนว งานหินทิ้ง งานแผ่นใยสังเคราะห์
งานกล่องลวดตาข่าย GABION งานกล่องลวดตาข่าย MATTRESS งานอาคารจะต้องประกอบด้วยกรวดหรือ
หินย่อย และทราย ที่มีความแข็ง ทนทาน สะอาด ปราศจากอินทรีย์วัตถุเจือปนและสิ่งไม่พึงประสงค์หรือ
อนุภาคที่อ่อน แตกง่ายปนอยู่ ถ้ามิได้กําหนดชั้นวัสดุรองพื้นไว้เป็นอย่างอื่น กรวดหรือหินย่อย และทราย ต้อง
ผสมกันโดยมีขนาดคละของวัสดุตามที่กําหนดในตารางที่ 3-2 ขนาดคละของวัสดุกรอง
ตารางที่ 3-2 ขนาดคละของวัสดุกรอง
ร้อยละโดยน้ําหนักร่อนผ่านตะแกรงมาตรฐาน
ชนิดของ เบอร์ เบอร์ เบอร์ เบอร์ เบอร์ เบอร์ เบอร์ ขนาด ขนาด ขนาด
วัสดุกรอง 3/8 3/4 1 ½
200 100 50 30 16 8 4
นิ้ว นิ้ว นิ้ว
ทราย 0-3 3-7 15-26 30-62 55-85 75-95 95-100 - - -
กรวดหรือ
- - - - 0-5 10-25 20-40 40-54 65-80 -
หินย่อย

(2) การเตรียมพื้นที่ก่อนปูชั้นวัสดุรองพื้น
ผู้รับจ้างจะต้องทําการบดอัดแน่นดินเพื่อเตรียมพื้นชั้นล่าง (Foundation) ที่จะทํางาน
ชั้นวัสดุรองพื้นให้มีความแน่นตามการทดลองด้วยวิธีทดลองแบบ Standard Proctor Compaction ตามที่
แบบรูปและรายการละเอียดกําหนด หรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นสมควร และจัดหากรวด
ทรายรองพื้น ทรายหยาบรองพื้น หรือหินย่อยรองพื้นแล้วแต่กรณี หรือตามที่ระบุไว้ในแบบรูปและรายการ
ละเอียด มาบดอัดแน่นให้มีความแน่นไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 Relative Density และมีความหนาชั้นวัสดุ
รองพื้นตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด หรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นสมควร
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
3-2 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 3 : งานป้องกันการกัดเซาะ และเพิ่มเสถียรภาพ

3.2.3 แผ่นใยสังเคราะห์ (Geotextile)


(1) ลักษณะทั่วไป
แผ่นใยสังเคราะห์ (Geotextile) ที่ใช้จะต้องทําขึ้นเส้นใยที่ทําจากสารโพรลิโพรพิลีน
(Polypropylene) โพลิ เอทิ ลี น (Polyethylene) และโพลิ เอสเตอร์ (Polyethylene) อย่ างใดอย่ า งหนึ่ ง
ผ่ า นกระบวนการทํ า ให้ เ ป็ น ผื น อาจมี ก ารเสริ ม เส้ น ใยด้ ว ยวั ส ดุ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ ใ นการเสริ ม กํ า ลั ง ให้ แ ก่
แผ่นใยสังเคราะห์ได้ ซึ่งการเลือกใช้งานให้เป็นไปตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด
(2) คุณสมบัติ
แผ่ น ใยสั ง เคราะห์ (Geotextile) ที่ ใ ช้ จ ะต้ อ งเป็ น ประเภทไม่ ถั ก ทอ (Non-woven)
ชนิดที่ใช้กรรมวิธีการผลิตแบบใช้เข็มถัก (Needle Punch) มีความหนาฟู เพื่อรองรับแรงกระแทกของ
สิ่งมีคมได้เป็นอย่างดี ผสมสารป้องกัน UV และเส้นใยสังเคราะห์จะต้องจับยึดกันแน่น ไม่หลุดจากกันง่ายมี
ความกว้างของแผ่นใยสังเคราะห์ไม่น้อยกว่า 4.00 เมตร ความหนา (Thickness) ไม่น้อยกว่า 2.2 มิลลิเมตร
และต้องได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 9001:2015 และมาตรฐานห้องปฏิบัติการทดสอบวัสดุ ISO/IEC
17025:2005 ของผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ โดยมีคุณสมบัติทางกลตามที่กําหนดในตารางที่ 3-3 คุณสมบัติของ
แผ่นใยสังเคราะห์สําหรับวัสดุกรอง หรือตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด

ตารางที่ 3-3 คุณสมบัตขิ องแผ่นใยสังเคราะห์สําหรับวัสดุกรอง


มาตรฐานทีใ่ ช้
รายการ หน่วย เกณฑ์กําหนด
ทดสอบ
น้ําหนัก (Mass per Unit Area) กรัมต่อตารางเมตร ASTM D ไม่น้อยกว่า 250
5261
ความหนา (Thickness) มิลลิเมตร ASTM ไม่น้อยกว่า 2.2
D5119
ค่าความต้านทานการเจาะทะลุ นิวตัน ASTM ไม่น้อยกว่า 2,800
(CBR Puncture Resistance) D6241
ค่าความต้านทานแรงดึงตาม กิโลนิวตันต่อเมตร ASTM ไม่น้อยกว่า 19
แนวแกนหลัก (Tensile Strength) D4595
ค่าการยืดตัวสูงสุดตามแนวแกนหลัก ร้อยละ ASTM ไม่น้อยกว่า 40
(Elongation) (MD) D4595
ค่าความต้านทานแรงดึงตาม กิโลนิวตันต่อเมตร ASTM ไม่น้อยกว่า 19
แนวแกนขวาง (Tensile Strength) D4595
ค่าการยืดตัวสูงสุดตามแนวแกนขวาง ร้อยละ ASTM ไม่น้อยกว่า 40
(Elongation) (CD) D4595

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
3-3 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 3 : งานป้องกันการกัดเซาะ และเพิ่มเสถียรภาพ

ตารางที่ 3-3 คุณสมบัตขิ องแผ่นใยสังเคราะห์สําหรับวัสดุกรอง


มาตรฐานทีใ่ ช้
รายการ หน่วย เกณฑ์กําหนด
ทดสอบ
ค่าความต้านทานแรงดึงยึดเกาะ นิวตัน ASTM ไม่น้อยกว่า 1,000
(Grab Tensile Strength) D4632
อัตราการไหลในแนวตั้งฉาก ลิตรต่อตารางเมตร ASTM D ไม่มากกว่า 160
Rate of Flow ที่ Head เท่ากับ ต่อวินาที 4491
0.10 เมตร
ขนาดช่องเปิดประสิทธิผล มิลลิเมตร ASTM D ไม่มากกว่า 0.09
Pore Size O90 4751
ทั้งนี้ การขออนุมัติวัสดุก่อนนําไปใช้งาน ผู้รับจ้างจะต้องจัดเตรียมเอกสารรายละเอียด
ผลิตภัณฑ์และแบบแค็ตตาล็อก (Catalogue) จากโรงงานผู้ผลิต พร้อมตัวอย่างผลิตภัณฑ์ ขนาด 2.00 x
2.00 เมตร อย่างน้อย 1 ชิ้นต่อ 1 ตัวอย่าง เสนอต่อคณะกรรมการตรวจรับพัสดุล่วงหน้าอย่างน้อย 30
(สามสิบ) วัน เพื่อพิจารณาตรวจสอบคุณสมบัติและอนุมัติก่อนนําไปใช้งาน
3.2.4 กล่องลวดตาข่าย GABION
(1) ลักษณะทั่วไป
กล่ อ งลวดตาข่ า ย GABION ประกอบขึ้ น ด้ ว ยลวดเหล็ ก เคลื อ บอลู มิ เ นี ย ม-สั ง กะสี
(Alu – Zinc) ถักเป็นรูปตาข่ายหกเหลี่ยม มีโครงลวดเหล็กยึดเป็นกล่องรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ตรงกลางมีผนัง
ลวดตาข่ายกั้นเป็นระยะตามความยาวและมีฝาปิดเปิดสําหรับบรรจุหินได้โดยสะดวก
กล่องลวดตาข่ายต้องเป็นของใหม่มีขนาดตามที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนด โดย
ลวดเหล็กเคลือบอลูมิเนียม-สังกะสี ต้องปราศจากตําหนิ รอยแตกร้าว ข้อเสียหายอื่น ๆ และต้องมีคุณภาพ
ตามมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม เลขที่ มอก.71-2532 หรื อ มาตรฐาน ASTM A90/A90M-95A
สามารถต้านทานแรงดึงได้ตามมาตรฐาน ASTM E-8
การขึ้นรูปลวดตาข่ายผู้ผลิตต้องได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 9001:2015 และเป็นไป
ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.208-2521
ลวดโครง (Selvedge Wire) ต้องมีการพิมพ์ชื่อตรา ยี่ห้อของผู้ผลิตไว้ตลอดแนวของ
เส้นลวด ทั้งนี้เพื่อใช้ในการตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ที่มาถึงพื้นที่ก่อสร้าง

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
3-4 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 3 : งานป้องกันการกัดเซาะ และเพิ่มเสถียรภาพ

(2) คุณลักษณะเฉพาะ
กล่องลวดตาข่าย GABION ต้องมีคุณลักษณะเฉพาะตามที่กําหนดดังนี้
(2.1) ขนาดกล่องลวดตาข่าย GABION ต้องมีขนาดมาตรฐาน รูปร่าง ขนาดกล่อง
ตามที่ แ บบรู ป และรายการละเอี ย ดกํ า หนด โดยขนาดความกว้ า ง และขนาดความยาวของกล่ อ งมี มิ ติ
เป็นเมตร ขนาดของตาข่ายมีมิติเป็นเซนติเมตร มีความสูงของกล่อง 0.50 เมตร และแต่ละกล่องต้อง
ประกอบด้วยผนังลวดตาข่าย (Diaphragm) กั้นทุกระยะไม่เกิน 1 เมตร ตลอดความยาวของกล่อง ดังรูป

(2.2) ขนาดของรูปตาข่าย
ลวดเหล็กเคลือบอลูมิเนียม-สังกะสี ต้องถักเป็นรูปหกเหลี่ยมมีขนาดตาข่ายตามที่
แบบรูปและรายการละเอียดกําหนด ทั้งนี้หากแบบรูปและรายการละเอียดไม่ได้กําหนดไว้เป็นอย่างอื่น ให้มี
ขนาดตาข่าย 8×10 เซนติเมตร หรือ 10x13 เซนติเมตร ขึ้นอยู่กับขนาดของหินที่ใช้บรรจุ (ความคลาด
เคลื่อน ± 1 เซนติเมตร) โดยบิดลวดเหล็กเคลือบอลูมิเนียม-สังกะสี ให้เป็นเกลียว ไม่น้อยกว่า 3 เกลียว
ดังรูป

(2.3) คุณสมบัติทางกล
ลวดสําหรับกล่องลวดตาข่าย GABION ให้มีคุณสมบัติทางกลตามที่แบบรูปและ
รายการละเอียดกําหนด ทั้งนี้หากแบบรูปและรายการละเอียดไม่ได้กําหนดไว้เป็นอย่างอื่น ให้มีคุณสมบัติ
ทางกลตามตารางที่ 3-4 คุณสมบัติทางกลของลวดสําหรับกล่องลวดตาข่าย GABION

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
3-5 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 3 : งานป้องกันการกัดเซาะ และเพิ่มเสถียรภาพ

ตารางที่ 3-4 คุณสมบัติทางกลของลวดสําหรับกล่องลวดตาข่าย GABION


ขนาดเส้นผ่าน ค่าความคลาดเคลื่อน ความต้านแรงดึง
ศูนย์กลาง ของขนาดเส้นผ่าน ของเส้นลวด
ส่วนของเส้นลวด
ของเส้นลวด ศูนย์กลางของเส้นลวด (กิโลกรัมแรงต่อ
(มิลลิเมตร) (มิลลิเมตร) ตารางมิลลิเมตร)
ลวดโครงขอบกล่อง 3.40 ± 0.10 ไม่น้อยกว่า 38
ลาดถักตาข่าย 2.70 ± 0.08 ไม่น้อยกว่า 38
ลวดพันกล่อง 2.20 ± 0.08 ไม่น้อยกว่า 38

(2.4) คุณสมบัติทางเคมี
ลวดสําหรับกล่องลวดตาข่าย GABION ให้มีคุณสมบัติทางเคมีตามที่แบบรูปและ
รายการละเอียดกําหนด ทั้งนี้หากแบบรูปและรายการละเอียดไม่ได้กําหนดไว้เป็นอย่างอื่น ให้มีปริมาณ
อลู มิเนียมในสารเคลือบลวดไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 โดยน้ําหนักของปริ มาณสารเคลือบลวดทั้งหมด ตาม
มาตรฐาน ASTM E-1277 และมีขนาดลวดและการเคลือบอลูมิเนียม-สังกะสี ตามตารางที่ 3-5 คุณสมบัติ
ทางเคมีของลวดสําหรับกล่องลวดตาข่าย GABION
ตารางที่ 3-5 คุณสมบัติทางเคมีของลวดสําหรับกล่องลวดตาข่าย GABION
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง น้ําหนักของอลูมิเนียม-สังกะสี
ส่วนของเส้นลวด ของเส้นลวด ที่เคลือบไม่น้อยกว่า
(มิลลิเมตร) (กรัมต่อตารางเมตร)
ลวดโครงขอบกล่อง 3.40 275
ลาดถักตาข่าย 2.70 260
ลวดพันกล่อง 2.20 240
ทั้งนี้ การขออนุมัติวัสดุก่อนนําไปใช้งาน ผู้รับจ้างจะต้องจัดเตรียมเอกสารรายละเอียด
ผลิตภัณฑ์และแบบแค็ตตาล็อก (Catalogue) จากโรงงานผู้ผลิต พร้อมตัวอย่างผลิตภัณฑ์กล่องลวดตาข่าย
พร้อมลวดพันกล่องอย่างน้อย 1 ชุด เสนอต่อคณะกรรมการตรวจรับพัสดุล่วงหน้าอย่างน้อย 30 (สามสิบ) วัน
เพื่อพิจารณาตรวจสอบคุณสมบัติและอนุมัติก่อนนําไปใช้งาน และจะทําการสุ่มเก็บตัวอย่างเพื่อทดสอบ โดยเก็บ
ตัวอย่าง 1 กล่องต่อจํานวน 1,000 กล่อง เศษของ 1,000 กล่อง ให้เก็บอีก 1 กล่อง
3.2.5 กล่องลวดตาข่าย MATTRESS
(1) ลักษณะทั่วไป
กล่องลวดตาข่ าย MATTRESS ประกอบขึ้ นด้ วยลวดเหล็ก เคลือบอลูมิเ นียม-สัง กะสี
(Alu–Zinc) ถักเป็นรูปตาข่ายหกเหลี่ยม มีโครงลวดเหล็กยึดเป็นกล่องรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ตรงกลางมีผนังลวด
ตาข่ายกั้นเป็นระยะตามความยาวและมีฝาปิดเปิดสําหรับบรรจุหินได้โดยสะดวก

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
3-6 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 3 : งานป้องกันการกัดเซาะ และเพิ่มเสถียรภาพ

กล่องลวดตาข่ายต้องเป็นของใหม่มีขนาดตามที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนด โดย
ลวดเหล็กเคลือบอลูมิเนียม-สังกะสี ต้องปราศจากตําหนิ รอยแตกร้าว ข้อเสียหายอื่น ๆ และต้องมีคุณภาพ
ตามมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม เลขที่ มอก.71-2532 หรื อ มาตรฐาน ASTM A90/A90M-95A
สามารถต้านทานแรงดึงได้ตามมาตรฐาน ASTM E-8
การขึ้นรูปลวดตาข่ายผู้ผลิตต้องได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 9001:2015 และเป็นไป
ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.208-2521
ลวดโครง (Selvedge Wire) ต้องมีการพิมพ์ชื่อตรา ยี่ห้อของผู้ผลิตไว้ตลอดแนวของ
เส้นลวด ทั้งนี้เพื่อใช้ในการตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ที่มาถึงพื้นที่ก่อสร้าง
(2) คุณลักษณะเฉพาะ
กล่องลวดตาข่าย MATTRESS ต้องมีคุณลักษณะเฉพาะตามที่กําหนดดังนี้
(2.1) ขนาดกล่องลวดตาข่าย MATTRESS ต้องมีขนาดมาตรฐาน รูปร่าง ขนาดกล่อง
ตามที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนด โดยขนาดความกว้าง และขนาดความยาวของกล่องมีมิติเป็นเมตร
ขนาดของตาข่ายมีมิติเป็นเซนติเมตร มีความสูงของกล่อง 0.30 เมตร และแต่ละกล่องต้องประกอบด้วยผนัง
ลวดตาข่าย (Diaphragm) กั้นทุกระยะไม่เกิน 1 เมตร ตลอดความยาวของกล่อง ดังรูป

(2.2) ขนาดของรูปตาข่าย
ลวดเหล็กเคลือบอลูมิเนียม-สังกะสี ต้องถักเป็นรูปหกเหลี่ยมมีขนาดตาข่ายตามที่
แบบรูปและรายการละเอียดกําหนด ทั้งนี้หากแบบรูปและรายการละเอียดไม่ได้กําหนดไว้เป็นอย่างอื่น ให้มี
ขนาดตาข่าย 6×8 เซนติเมตร (ความคลาดเคลื่อน ± 1 เซนติเมตร) โดยบิดลวดเหล็กเคลือบอลูมิเนียม-
สังกะสี ให้เป็นเกลียว ไม่น้อยกว่า 3 เกลียว ดังรูป

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
3-7 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 3 : งานป้องกันการกัดเซาะ และเพิ่มเสถียรภาพ

(2.3) คุณสมบัติทางกล
ลวดสําหรับกล่องลวดตาข่าย MATTRESS ให้มีคุณสมบัติทางกลตามที่แบบรูปและ
รายการละเอียดกําหนด ทั้งนี้หากแบบรูปและรายการละเอียดไม่ได้กําหนดไว้เป็นอย่างอื่น ให้มีคุณสมบัติทาง
กลตามตารางที่ 3-6 คุณสมบัติทางกลของลวดสําหรับกล่องลวดตาข่าย MATTRESS
ตารางที่ 3-6 คุณสมบัติทางกลของลวดสําหรับกล่องลวดตาข่าย MATTRESS
ขนาดเส้นผ่าน ค่าความคลาดเคลื่อน ความต้านแรงดึง
ศูนย์กลาง ของขนาดเส้นผ่าน ของเส้นลวด
ส่วนของเส้นลวด
ของเส้นลวด ศูนย์กลางของเส้นลวด (กิโลกรัมแรงต่อ
(มิลลิเมตร) (มิลลิเมตร) ตารางมิลลิเมตร)
ลวดโครงขอบกล่อง 2.70 ± 0.08 ไม่น้อยกว่า 38
ลาดถักตาข่าย 2.20 ± 0.08 ไม่น้อยกว่า 38
ลวดพันกล่อง 2.20 ± 0.08 ไม่น้อยกว่า 38
(2.4) คุณสมบัติทางเคมี
ลวดสําหรับกล่องลวดตาข่าย MATTRESS ให้มีคุณสมบัติทางเคมีตามที่แบบรูป
และรายการละเอียดกําหนด ทั้งนี้หากแบบรูปและรายการละเอียดไม่ได้กําหนดไว้เป็นอย่างอื่น ให้มีปริมาณ
อลูมิเนียมในสารเคลือบลวดไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 โดยน้ําหนักของปริ มาณสารเคลือบลวดทั้งหมด ตาม
มาตรฐาน ASTM E-1277 และมี ข นาดลวดและการเคลื อ บอลู มิ เ นี ย ม-สั ง กะสี ให้ มี คุ ณ สมบั ติ
ทางเคมีตามตารางที่ 3-7 คุณสมบัติทางเคมีของลวดสําหรับกล่องลวดตาข่าย MATTRESS
ตารางที่ 3-7 คุณสมบัติทางเคมีของลวดสําหรับกล่องลวดตาข่าย MATTRESS
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง น้ําหนักของอลูมิเนียม-สังกะสี
ส่วนของเส้นลวด ของเส้นลวด ที่เคลือบไม่น้อยกว่า
(มิลลิเมตร) (กรัมต่อตารางเมตร)
ลวดโครงขอบกล่อง 2.70 260
ลาดถักตาข่าย 2.20 240
ลวดพันกล่อง 2.20 240
ทั้งนี้ การขออนุมัติวัสดุก่อนนําไปใช้งาน ผู้รับจ้างจะต้องจัดเตรียมเอกสารรายละเอียด
ผลิตภัณฑ์และแบบแค็ตตาล็อก (Catalogue) จากโรงงานผู้ผลิต พร้อมตัวอย่างผลิตภัณฑ์กล่องลวดตาข่าย
พร้อมลวดพันกล่องอย่างน้อย 1 ชุด เสนอต่อคณะกรรมการตรวจรับพัสดุล่วงหน้าอย่างน้อย 30 (สามสิบ) วัน
เพื่อพิจารณาตรวจสอบคุณสมบัติและอนุมัติก่อนนําไปใช้งาน และจะทําการสุ่มเก็บตัวอย่างเพื่อทดสอบ โดยเก็บ
ตัวอย่าง 1 กล่องต่อจํานวน 1,000 กล่อง เศษของ 1,000 กล่อง ให้เก็บอีก 1 กล่อง

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
3-8 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 3 : งานป้องกันการกัดเซาะ และเพิ่มเสถียรภาพ

3.3 ขั้นตอนวิธีการทํางาน
3.3.1 งานชัน้ วัสดุรองพืน้
ก่อนจัดทําปูชั้นวัสดุรองพื้น ผู้รับจ้างจะต้องเตรียมพื้นชั้นล่าง (Foundation) ให้มีความแข็งแรง
มั่นคง และต้องปรับให้เรียบให้ได้แนว ระดับ ขนาดและขอบเขตตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด
โดยต้องทําการบดอัดแน่นดินบริเวณที่จะทํางานชั้นวัสดุรองพื้นให้มีความแน่นไม่น้อยกว่าที่กําหนดในแบบรูป
และรายการละเอียด ถากแต่งให้ได้ความลาดระดับตามแบบรูปและรายการละเอียด วัสดุชั้นรองพื้นจะต้อง
ปูลงบนพื้นที่เตรียมไว้แล้วให้สม่ําเสมอ ไม่ให้เป็นกองสูงต่ําหรือเป็นคลื่น และต้องไม่ทําให้วัสดุชั้นรองพื้นเกิด
การแยกตัว วัสดุชั้นรองพื้นต้องบดอัดให้มีความแน่นไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 Relative Density และได้ความ
หนาตามแบบรู ป และรายการละเอี ย ด ทั้ ง นี้ วั ส ดุ ที่ ใ ช้ จ ะต้ อ งมี คุ ณ สมบั ติ วั ส ดุ ต ามที่ กํ า หนดในข้ อ 3.2
“คุณสมบัติวัสดุ”
3.3.2 งานหินเรียง (Hand-placed Riprap)
(1) หินเรียงจะต้องก่อสร้างบนชั้นกรวดทรายรองพื้นหรือแผ่นใยสังเคราะห์ ตามที่กําหนดใน
ข้อ 3.2.2 “วัสดุรองพื้น (Bedding Material)” หรือข้อ 3.2.3 “แผ่นใยสังเคราะห์ (Geotextile)” หินที่ใช้
จะต้องแข็งแรงทนทานตามข้อ 3.2 “คุณสมบัติวัสดุ” ซึ่งได้มาจากแหล่งที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุอนุมัติ
ก่อนนํามาใช้งาน ขนาดของหินที่จะนํามาเรียงจะต้องมีด้านยาวสุดไม่เกินกว่า 3 เท่าของด้านที่แคบที่สุด และ
ก่อสร้างหินเรียงตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด หรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
จะกําหนด
(2) การเรียงหิน
หินจะต้องวางเรียงกันในลักษณะที่มีหินก้อนเล็กก้อนใหญ่คละกันไป เพื่อให้มีช่องว่างน้อย
ที่สุดเท่าที่จะทําได้ และจะต้องก่อสร้างให้ได้แนวและระดับตามแบบรูปและรายการละเอียด มีความคลาด
เคลื่อนอยู่ในเกณฑ์ที่กําหนด ก่อนเรียงหินต้องตอกหลักไม้ทั้งสองแนวทุกช่วง 10 เมตร และที่จุดเปลี่ยนระดับ
หินจะต้องวางเรียงในครั้งเดียวให้ได้ความหนาเต็ม และการวางเรียงจะต้องไม่ทําให้ชั้นหินและกรวดทราย
รองพื้นขยับตัว หินก้อนใหญ่จะต้องอยู่กระจายกันและได้ระดับทั่วไป เมื่อปรับระดับครั้งสุดท้ายแล้วจะต้องไม่มี
หินก้อนเล็กรวมกันอยู่เป็นหย่อม หรือก้อนใหญ่หลาย ๆ ก้อน เกาะกลุ่มกัน การเตรียมพื้นชั้นล่างจะต้องเตรียม
พื้นชั้นล่าง (Foundation) ให้มีความแข็งแรงมั่นคง และต้องปรับให้เรียบให้ได้แนว ระดับ ขนาดและขอบเขต
ตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด และไม่อนุญาตให้เทหินลงในราง หรือวิธีการซึ่งคล้ายคลึงกัน
อันจะทําให้หินเกิดส่วนคละแยกตัวออกจากกัน ขนาดคละของหินที่กําหนดไว้ ต้องได้มาจากการคัดเลือกหิน
ขนาดต่าง ๆ กันที่แหล่ง โดยการตักหินขนาดต่าง ๆ สลับกันอย่างมีหลักเกณฑ์ หรือวิธีการอื่นที่จะทําให้ได้
มวลคละตามที่กําหนด ในการเรียงหินอาจจะต้องจัดขนาดหินใหม่โดยใช้เครื่องจักร หรือแรงคนเท่าที่จําเป็น
เพื่อให้ได้ขนาดคละที่ดี และต้องได้ความหนาไม่น้อยกว่าที่กําหนด
การเรียงหินควรให้ก้อนเล็กสุดอยู่ด้านล่างที่ติดกับวัสดุรองพื้น ก้อนใหญ่ที่สุดอยู่ที่ผิวนอก
หินเรียงจะต้องวางซ้อนกันคล้ายเกล็ดปลา เริ่มเรียงจากด้านล่างขึ้นไปด้านบนและต้องระวังมิให้เกิดการแยกตัว

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
3-9 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 3 : งานป้องกันการกัดเซาะ และเพิ่มเสถียรภาพ

ผิวหน้าของหินใหญ่แต่ละก้อนต้องเป็นระนาบเสมอกันกับหินก้อนข้างเคียงทั่วพื้นที่ ความหนาของชั้นหินเรียง
ต้องไม่น้อยกว่าที่กําหนด ก้อนที่หนาเกินให้ฝังจมลงในชั้นวัสดุรองพื้นหินเรียง
3.3.3 งานหินเรียงยาแนว (Grouted Riprap)
ก่อนจัดทําหินเรียงยาแนว ต้องทําการบดอัดแน่นดินบริเวณที่จะทําหินเรียงยาแนวให้มีความ
แน่นไม่น้อยกว่าตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด หินเรียงยาแนวต้องก่อสร้างบนชั้นวัสดุรองพื้นที่
มี ค วามหนาตามที่ กํ า หนด หรื อ แผ่ นใยสั ง เคราะห์ ตามที่กําหนดในข้ อ 3.2.2 “วั สดุรองพื้ น (Bedding
Material)” หรือข้อ 3.2.3 “แผ่นใยสังเคราะห์ (Geotextile)” หินเรียงยาแนวต้องวางเรียงกันในลักษณะที่
จะให้ก้อนเล็กก้อนใหญ่คละกัน เพื่อให้หินเรียงชิดกันมากที่สุด การวางเรียงต้องเริ่มจากด้านล่างขึ้นไปด้านบน
โดยต้องไม่ทําให้ชั้นรองพื้นขยับตัว หินก้อนใหญ่ต้องอยู่กระจายกันออกไป โดยต้องไม่มีก้อนเล็กรวมกันเป็น
หย่ อม ๆ พร้ อมทั้งแต่งผิวหน้าของหินใหญ่แต่ละก้อนให้เป็นระนาบเสมอกันกั บหินก้อนข้างเคียงทั่วพื้นที่
ความหนาของชั้นหินเรียงยาแนวต้องไม่น้อยกว่าที่กําหนด ก้อนที่หนาเกินให้ฝังจมลงในชั้นวัสดุรองพื้น ราดน้ํา
ให้ ชุ่ ม ยาแนวตามช่ อ งว่ า งระหว่ า งหิ น ก้ อ นใหญ่ ด้ ว ยปู น ทราย (Mortar) อั ต ราส่ ว น 1:3 กระทุ้ ง ให้ แ น่ น
และตกแต่งให้เรียบ
3.3.4 งานหินก่อ (Stone Masonry)
ก่อนจัดทําหินก่อ ผู้รับจ้างจะต้องเตรียมพื้นชั้นล่าง (Foundation) บริเวณที่จะทํางานหินก่อ
โดยการบดอัดแน่นดินให้มีความแน่นตามการทดลองด้วยวิธีทดลองแบบ Standard Proctor Compaction
ตามที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนด หรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นสมควร ก่อนเริ่มก่อ
ต้องทําหินให้ชุ่มน้ําและทําความสะอาดเอาฝุ่นที่เกาะตามผิวหินออก เทคอนกรีตที่ใช้จะต้องมีคุณสมบัติที่
สามารถรองรับแรงอัดประลัยได้ไม่น้อยกว่า 140 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร สําหรับคอนกรีตรูปทรงกระบอก
ขนาด 15 x 30 เซนติเมตร ที่อายุ 28 วัน หรือปูนทราย (Mortar) อัตราส่วน 1:3 รองพื้นหนา ประมาณ 5
เซนติ เมตร หิน แต่ละก้อนต้ องวางอย่างประณี ตและก่อยึดกันด้วยปูนทรายหนาอย่างน้อย 1 เซนติเมตร
โดยรอบ ปูนทรายระหว่างรอยต่อของหินต้องกระทุ้งให้แน่น เมื่อก่อหินจนได้ความหนาตามที่กําหนดในแบบรูป
และรายการละเอียด ให้ปาดเอาปูนทรายส่วนเกินออก และแต่งให้เรียบร้อย ก้อนหินยอมให้ยื่นโผล่จากผิวที่ก่อ
โดยรอบทั่วไปได้ไม่เกิน 4 เซนติเมตร และแต่งปูนทรายระหว่างก้อนที่ก่อสูงขึ้นมานั้นให้เรียบร้อยหรือทําเป็น
ร่องรูปหกเหลี่ยม หรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นชอบ
3.3.5 งานหินทิ้ง (Dumped Riprap)
ก่อนทํางานหินทิ้ง ต้องทําการบดอัดแน่นดินบริเวณที่จะทําหินทิ้งให้มีความแน่นไม่น้อยกว่า
ตามที่ กํ า หนดในแบบรู ป และรายการละเอี ย ด หิ น ทิ้ ง ต้ อ งก่ อ สร้ า งบนชั้ น วั ส ดุ ร องพื้ น ที่ มี ค วามแน่ น และ
ความหนาตามที่กําหนดหรือตามที่ตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นชอบ ผู้รับจ้างต้องนําหินที่
มีขนาดและคุณสมบัติตามที่กําหนดไปปูโดยการทิ้งด้วยเครื่องจักรหรือแรงคน แล้วทําการเกลี่ยแต่งให้มี
ความหนาเฉลี่ย ระดับ ขนาด รูปร่างตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
3 - 10 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 3 : งานป้องกันการกัดเซาะ และเพิ่มเสถียรภาพ

3.3.6 งานกล่องลวดตาข่าย GABION


ก่อนจัดทํางานกล่องลวดตาข่าย GABION ผู้รับจ้างจะต้องเตรียมพื้นชั้นล่าง (Foundation)
ให้มีความแข็งแรงมั่นคง และต้องปรับให้เรียบให้ได้แนว ระดับ ขนาดและขอบเขตตามที่กําหนดในแบบรูปและ
รายการละเอียด ตามที่กําหนดในข้อ 3.2.2 “วัสดุรองพื้น (Bedding Material)” หรือข้อ 3.2.3 “แผ่นใย
สังเคราะห์ (Geotextile)” และให้ผู้รับจ้างดําเนินการประกอบกล่องลวดตาข่าย แล้วจึงทําการเรียงหินลงใน
กล่ องลวดตาข่ ายให้ เต็ ม โดยมี วิ ธี การเรี ยงหิ นตามที่ กํ าหนดในข้ อ 3.3.2 “งานหิ นเรี ยง (Hand-placed
Riprap)” จึ งทําการปิดกล่องลวดตาข่าย ทั้งนี้ วัสดุที่ ใช้จะต้องมีคุณสมบั ติวัสดุตามที่กําหนดในข้อ 3.2
“คุณสมบัติวัสดุ”
3.3.7 งานกล่องลวดตาข่าย MATTRESS
ก่อนจัดทํางานกล่องลวดตาข่าย MATTRESS ผู้รับจ้างจะต้องเตรียมพื้นชั้นล่าง (Foundation)
ให้มีความแข็งแรงมั่นคง และต้องปรับให้เรียบให้ได้แนว ระดับ ขนาดและขอบเขตตามที่กําหนดในแบบรูปและ
รายการละเอียด ตามที่กําหนดในข้อ 3.2.2 “วัสดุรองพื้น (Bedding Material)” และข้อ 3.2.3 “แผ่นใย
สังเคราะห์ (Geotextile)” และให้ผู้รับจ้างดําเนินการประกอบกล่องลวดตาข่าย แล้วจึงทําการเรียงหินลงใน
กล่ องลวดตาข่ ายให้ เต็ ม โดยมี วิ ธี การเรี ยงหิ นตามที่ กํ าหนดในข้ อ 3.3.2 “งานหิ นเรี ยง (Hand-placed
Riprap)” จึ งทําการปิ ดกล่ องลวดตาข่าย ทั้งนี้ วัสดุที่ ใช้ จะต้องมีคุณสมบัติวัสดุ ตามที่กําหนดในข้อ 3.2
“คุณสมบัติวัสดุ”
3.3.8 งานปูแผ่นใยสังเคราะห์
ก่ อ นที่ จ ะทํ า การปู แ ผ่ น ใยสั ง เคราะห์ ใ ห้ ผู้ รั บ จ้ า งปรั บ แต่ ง พื้ น ผิ ว ที่ จ ะปู ใ ห้ เ รี ย บร้ อ ยก่ อ นปู
การต่อเชื่อมแผ่นใยสังเคราะห์ หากแบบรูปและรายการละเอียดไม่ได้กําหนดระยะทาบและวิธีการเย็บไว้เป็น
อย่างอื่น ให้ผู้รับจ้างทําได้ 2 วิธี ดังนี้
(1) การต่อโดยให้แผ่นเหลื่อมกัน (Overlapping)
ระยะทาบของแผ่นใยสังเคราะห์จะอยู่ประมาณ 50 เซนติเมตร ในแนวราบ และ 80
เซนติเมตร ในแนวเอียง สําหรับชั้นดินบดอัดที่แน่นและเรียบ ให้วางทาบปกติโดยไม่ต้องเชื่อมใด ๆ หรืออาจ
ติดตั้งตามคําแนะนําของบริษัทผู้ผลิต
(2) การเย็บ (Sewing)
แผ่นใยสังเคราะห์ อาจจะเชื่อมต่อกันโดยวิธีเย็บแบบต่อเนื่อง โดยใช้เส้นด้าย Polyester
หรือ Nylon การเย็บแบบต่อเนื่องให้ทําตามคําแนะนําของโรงงานผู้ผลิต สําหรับพลาสติกรองพื้นจะทําการปู
บนดิน หรือหิน ในบริเวณที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดให้ได้ขนาด ความหนา รูปร่างตามที่ระบุไว้ใน
แบบรูปและรายการละเอียด
3.3.9 งานปลูกหญ้า
(1) วัตถุประสงค์
การปลู กหญ้ า จะกระทํ าเพื่ อป้ องกั นการกั ดเซาะของน้ํ าฝนในบริ เวณลาดของทํ านบดิ น
คันทางหรือในที่อื่น ๆ ตามที่แสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด หรือตามคําสั่งของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
3 - 11 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 3 : งานป้องกันการกัดเซาะ และเพิ่มเสถียรภาพ

ผู้ว่าจ้าง การปลูกจะต้องกระทําบนชั้นของหน้าดินที่มีปุ๋ย หรืออินทรียวัตถุปนอยู่ ความหนาของชั้นหน้าดิน


(Topsoil) ตามที่ระบุในแบบรูปและรายการละเอียดกําหนด หากไม่ได้กําหนดไว้เป็นอย่างอื่นให้ใช้ความหนาของ
ชั้นหน้าดิน (Topsoil) ไม่น้อยกว่า 10 เซนติเมตร หรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นชอบ และ
จะต้องปรับเกลี่ยให้เรียบสม่ําเสมอก่อนทําการปลูก
(2) วัสดุที่ใช้
หญ้าที่นํามาปลูกจะต้องเป็นหญ้าพันธุ์พื้นเมืองที่มีกําเนิดในประเทศไทย ไม่มีพิษ หรือไม่
ทําอันตรายต่อคนและสัตว์ และต้องไม่เป็นชนิดที่รบกวนต่อการเจริญเติบโตของพืชผลทางการเกษตร
(3) วิธีการปลูก
(3.1) ในการปลูกจะใช้แผ่นหญ้าขนาด 0.30 x 0.30 ตารางเมตร หรืออาจเป็นแผ่นยาว กว้าง
0.30 เมตรก็ได้ ปูติดกันเป็นแนวหน้ากระดาน ห่างกันแถวละ 0.15 เมตร กระทุ้งให้ติดแน่นกับดินผิ วหน้า
(Topsoil) หนาไม่น้อยกว่า 0.10 เมตร หรือตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด ช่วงเวลานับตั้งแต่การ
ขุดตัด หรือถากหญ้าจากแหล่งกําเนิด และขนย้ายเป็นแผ่นจนกระทั่งถึงการลงมือปลูก จะต้องพยายามใช้เวลาให้
น้อยที่สุดและจะต้องระวังไม่ให้หญ้าแห้งได้
(3.2) การปลูกหญ้าต้องใช้หญ้าส่วนที่มีรากติดอยู่อย่างสมบูรณ์ พร้อมทั้งกลบทับโดยรอบ
ด้วยดินเดิมที่มีความชื้นเพียงพอ
(3.3) ทันทีภายหลังจากการปลูกจะต้องรดน้ําให้เปียกชุ่มอย่างทั่วถึง และต่อจากนั้นจะต้อง
หมั่นดูแลรดน้ําเป็นระยะ ๆ จนกว่าหญ้าจะเจริญงอกงามปกคลุมตลอดพื้นที่ที่ต้องการ ค่าใช้จ่ายในการรดน้ํา
ดังกล่าว จะรวมอยู่ในราคาของงานปลูกหญ้าบน Topsoil หนา 10 ซม. หรือหนา 15 ซม. ตามที่แสดงไว้ใน
ใบแจ้งปริมาณงานและราคา
(3.4) การปลูกหญ้าจะกระทําได้เฉพาะในช่วงฤดูที่เห็นว่าหญ้าสามารถจะเจริญเติบโตได้
ตามการอนุมัติของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเท่านั้น
(3.5) ผู้รับจ้างอาจใช้วิธีการปลูกหญ้านอกเหนือจากที่กําหนด เช่น วิธีปลูกเป็นจุด หรือการ
หว่านเมล็ด ให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างพิจารณาอนุมัติก่อนดําเนินการ
3.4 งานป้องกันตลิ่งด้วยเข็มพืดเหล็ก
3.4.1 ขอบเขตของงาน
ผู้รับจ้างจะต้องดําเนินการตอกเข็มพืดเหล็ก และรื้อถอนเข็มพืดเหล็ก เพื่อป้องกันการกัดเซาะ
หรือเพื่อก่อสร้างทํานบชั่วคราวในลําน้ํา สําหรับป้องกันและเพิ่มเสถียรภาพบริเวณตลิ่งของพื้นที่ก่อสร้างร่องชักน้ํา
และงานป้องกันการกัดเซาะตลิ่ง หรืองานอื่น ๆ ให้มีเสถียรภาพ สามารถป้องกันแรงดันน้ํา แรงดันดิน
แรงดันอื่น ๆ ที่ทําให้เกิดการเคลื่อนตัวของสิ่งก่อสร้าง ในระหว่างการก่อสร้างอาคารสถานีสูบน้ํา
3.4.2 รายละเอียดและขั้นตอนการดําเนินงาน
(1) ข้อพิจารณาก่อนการก่อสร้างและหลังการก่อสร้าง
(1.1) แนวการตอกเข็มพืดเหล็ก ต้องห่างจากตลิ่งลําน้ําโดยมีระยะเพียงพอสําหรับใช้พื้นที่
ในการก่อสร้างงานร่องชักน้ําและงานป้องกันการกัดเซาะตลิ่งอาคารสถานีสูบน้ําของผู้ว่าจ้าง

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
3 - 12 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 3 : งานป้องกันการกัดเซาะ และเพิ่มเสถียรภาพ

(1.2) ภายหลั ง จากการติ ด ตั้ ง ระบบโครงสร้ า งแล้ ว เสร็ จ จะต้ อ งมี ก ารตรวจสอบการ
เคลื่อนตัวของเข็มพืดเหล็กทุกวัน เพื่อนํามาเป็นข้อมูลในการพิจารณาเสถียรภาพของระบบป้องกันดิน ก่อน
ลงมือตอกและติดตั้งอุปกรณ์ยึดเสาเข็มพืดเหล็ก จะต้องศึกษารายละเอียดในแบบรูปและรายการละเอียด
ทั้งหมด ให้เข้าใจอย่างชัดเจนก่อนการทํางาน
(2) ขั้นตอนการดําเนินงาน
(2.1) การจัดวางตําแหน่ง จะต้องจัดวางตําแหน่งของเข็มพืดเหล็ก ให้ถูกต้องตามที่แสดงไว้
ในแบบรูปและรายการละเอียดหรือตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุกําหนด และต้องตอกเข็มพืดเหล็ก
ให้ได้แนวดิ่งและได้ระดับ และจะต้องยึดเกาะกับแผ่นข้างเคียงตลอดความยาวประกอบกันเป็นพืดตลอดแนว
ในการทํางานจะต้องขุดร่องนํา หรือทํารางช่วยให้เข็มพืดเหล็กที่ตอกอยู่ในแนวที่ถูกต้อง
(2.2) เข็มพืดเหล็ก ทุกแผ่นจะต้องตอกลงไปจนถึงระดับที่กําหนด และส่วนบนของเข็มพืดเหล็ก
จะต้องอยู่ในระดับตามที่แสดงไว้ในแบบก่อสร้าง หรือตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุกําหนด
(2.3) เครื่องมือที่ใช้ในการตอกเข็มพืดเหล็ก ให้เหมาะสมกับลักษณะงานและปริมาณงาน
ประกอบด้ วยเครื่ องมื อต่ อไปนี้ การกดด้ วย Hydraulic Vibrator, Diesel Hammer, Impact Hammer,
Vibratory Hammer, Drop Hammer และเครื่องมืออื่น ๆ ทั้งนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการตรวจรับ
พัสดุที่จะพิจารณาอนุมัติให้ใช้เครื่องมือแบบใด
(2.4) การตอกจะต้องใช้วิธีการตอกโดยไม่ก่อให้เกิดการเสียหายต่อเข็มพืดเหล็ก และต้องให้
เข็มพืดเหล็กยึดเกาะกันตลอดทั้งแผ่นโดยเข็มพืดเหล็กแต่ละแผ่นจะต้องเสียบเข้าร่องกัน ในการตอกเข็มพืดเหล็ก
แต่ละแผ่นจะต้องตอกให้ต่อเนื่องจนถึงระดับที่กําหนดโดยไม่มีการหยุด
(2.5) ก่อนทําการตอกเข็มพืดเหล็ก ผู้รับจ้างต้องเสนอวิธีการตอก รายละเอียดเครื่องบังคับ
และเครื่องป้องกันหัวเข็มพืดเหล็ก เพื่อป้องกันการฉีกขาดหรือเสียหายต่อคณะกรรมการตรวจรับพัสดุพิจารณา
(2.6) ในขณะตอกเข็มพืดเหล็ก เกิดมีการเสียหายหรือตอกไม่ถูกแนวหรือไม่ได้ดิ่ง จะต้อง
ถอนออก และตอกใหม่ให้ถูกต้อง เข็มพืดเหล็ก ที่ลอยตัวเคลื่อนกลับขึ้นมาจะต้องตอกกลับลงไปใหม่
(2.7) ผู้รับจ้างจะต้องตอกเข็มพืดเหล็กและบังคับทิศทาง ด้วยความระมัดระวัง มิให้
เกิดผลกระทบต่อสิ่งก่อสร้างที่อยู่รอบพื้นที่ก่อสร้าง
(2.8) เครื่องมือที่ใช้ในการรื้อถอนเข็มพืดเหล็ก ผู้รับจ้างจะต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับ
สภาพหน้างานและปริมาณงาน ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุที่จะใช้เครื่องมือแบบใด
(2.9) การรื้อถอนเข็มพืดเหล็ก ผู้รับจ้างจะต้องทําการถอนทีละแนวโดยเรียงลําดับการถอน
แต่ละแผ่นต่อเนื่องกันไป ตามที่กําหนดในแบบก่อสร้างหรือตามความเห็นของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
(2.10) ในขณะการรื้อถอนเข็มพืดเหล็ก เป็นหน้าที่ความรับผิดชอบผู้รับจ้างที่จะต้องระวัง
การเคลื่อนตัวของดินในบริเวณโดยรอบไม่ให้เกิดการพังทลาย ไม่เกิดความเสียหายกับสิ่งก่อสร้างที่อยู่โดยรอบ
(2.11) ผู้รับจ้างจะต้องรื้อถอนเข็มพืดเหล็ก ด้วยความระมัดระวังไม่ให้เกิดการฉีกขาด
หรือเกิดความเสียหายต่อเข็มพืดเหล็ก

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
3 - 13 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 3 : งานป้องกันการกัดเซาะ และเพิ่มเสถียรภาพ

(2.12) เข็มพืดเหล็กที่ถอนเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผู้รับจ้างจะต้องทําความสะอาดและซ่อมแซม


บํารุงรักษาให้เรียบร้อยก่อนแล้วจึงนําไปวางกองในบริเวณที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุกําหนด
3.4.3 รายละเอียดเครื่องจักรเครื่องมือ
(1) รถขุดไฮดรอลิคตีนตะขาบ ขนาด 200 แรงม้า แบบแขนยาว ติดตั้งอุปกรณ์ตอกเข็มพืดเหล็ก
โดยมีรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ (Specifications)
(1.1) รถขุดไฮดรอลิคตีนตะขาบ (Hydraulic Excavator) หมุนได้รอบตัว
(1.2) ขนาดแรงม้าไม่น้อยกว่า 200 แรงม้า ขนาดของแขนขุดยาวแบบมาตรฐาน
(1.3) ติดหัวเครื่องสั่นสะเทือน (Vibro Hammer) ใช้สําหรับตอก/กด เข็มพืดเหล็ก
(1.4) เครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ
(1.5) ระบบขั บ เคลื่ อ นเป็ น แบบ Hydrostatics หรื อ Hydraulic ตี น ตะขาบแต่ ล ะข้ า ง
สามารถขับเคลื่อนอิสระได้
(1.6) ตีนตะขาบตามมาตรฐานโรงงานผู้ผลิต
(1.7) ติดตั้งเครื่องปรับอากาศ
(1.8) อุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ตามมาตรฐานโรงงานผู้ผลิต
(2) กรณีที่ผู้รับจ้างจะต้องดําเนินการตอกเข็มพืดเหล็ก และรื้อถอนเข็มพืดเหล็ก จากในลําน้ําโดยใช้
เรือโป๊ะเหล็กสําหรับบรรทุกรถขุดไฮดรอลิคตีนตะขาบ ผู้รับจ้างจะต้องเสนอรายละเอียดเรือโป๊ะเหล็กสําหรับ
บรรทุก รถขุดไฮดรอลิค ตี นตะขาบ เพื่อขอความเห็นชอบจากผู้ควบคุ มงานก่ อสร้ างของผู้ว่ าจ้า งก่อ นเริ่ ม
ดําเนินการโดยมีรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ (Specifications)
(2.1) เรือโป๊ะเหล็กใช้สําหรับบรรทุกรถขุดไฮดรอลิคตีนตะขาบแบบแขนยาว 15 เมตร
(2.2) เป็นเรือโป๊ะทําด้วยโลหะ เป็นแบบสามารถถอดแยกและประกอบตามความยาว
เป็น 2 ส่วน เพื่อสะดวกในการเคลื่อนย้าย การประกอบยึดติดกันได้อย่างมั่นคง แข็งแรง
(2.3) โป๊ ะ เหล็ ก สามารถรับ รถขุ ด ตี น ตะขาบแบบแขนยาว โดยมี ร ะยะ Free board
ไม่น้อยกว่า 500 มิลลิเมตร
(2.4) มี ก ระบอกไฮดรอลิค สํ า หรั บ ควบคุม การทํ า งานเสาปั ก ป้อ งกั น การเคลื่อนไหว
ควบคุมการทํางานจากรถขุดไฮดรอลิค ทํางานอิสระแยกจากกัน และติดตั้ง Cushion ป้องกันการกระแทก
(2.5) มีการติดตั้งระบบท่อไฮดรอลิกจากรถขุดตีนตะขาบไปยังกระบอกไฮดรอลิคกดเสา
ป้องกันการเคลื่อนไหว และติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมความดันแบบเบรกวาล์ว (Brake Valve)
3.4.4 การปฏิบัติงาน
(1) ผู้รับจ้างต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่ควบคุมเครื่องจักรกลเพื่อตอกเข็มพืดเหล็ก และรื้อถอนเข็ม
พืดเหล็ก ตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด หรือตามคําสั่งของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(2) ผู้รับจ้างต้องติดตั้งอุปกรณ์สําหรับยึดเข็มพืดเหล็ก และ/หรือ ผูกรัดเหล็กโครงสร้างตามที่
กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด หรือตามคําสั่งของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
3 - 14 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 3 : งานป้องกันการกัดเซาะ และเพิ่มเสถียรภาพ

(3) ผู้รับจ้างต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่คอยตรวจสอบความพร้อมของเครื่องจักรกลก่อนปฏิบัติงาน
ทุกครั้ง
3.5 การวัดปริมาณงานและการจ่ายเงิน
3.5.1 งานทรายหยาบรองพื้น หนา 0.10 ม.
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานทรายหยาบรองพื้น หนา 0.10 ม. ตาม
รายการที่แสดงไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานเสร็จเรียบร้อยแล้ว
และมีระยะทางต่อเนื่องตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการ
ตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือ
ตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงาน
ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานทรายหยาบรองพื้น หนา 0.10 ม. อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารตามที่
แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้
แต่จะคิดรวมไว้ในงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ ว่าจ้างจะจ่ ายเงิน ให้ใ นอัตราต่ อหน่วยเป็นลู กบาศก์เมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้ ง
ปริ ม าณงานและราคาของสั ญ ญานี้ ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยค่ า ใช้ จ่ า ยในการจั ด หาเครื่ อ งจั ก ร วั ส ดุ อุ ป กรณ์
ทางลําเลียง ค่าขนส่ง ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์
3.5.2 งานหินเรียง หนา 0.30 ม.
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานหินเรียง หนา 0.30 ม. ตามรายการที่แสดงไว้
ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานเสร็จเรียบร้อยแล้วและมีระยะทาง
ต่อเนื่องตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณ
งานนั้นมีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทํา
ได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานหินเรียง อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารตามที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงาน
และราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้ในงานอาคาร
แต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ ว่าจ้างจะจ่ ายเงิน ให้ใ นอัตราต่ อหน่วยเป็นลู กบาศก์เมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้ ง
ปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ ซึ่งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร วัสดุ อุปกรณ์ ทางลําเลียง
ค่าขนส่ง ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
3 - 15 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 3 : งานป้องกันการกัดเซาะ และเพิ่มเสถียรภาพ

3.5.3 งานหินเรียงยาแนว งานหินก่อ งานหินทิ้ง


คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะไม่แยกตรวจวัดปริมาณงานงานหินเรียงยาแนว งานหินก่อ
งานหินทิ้งให้ แต่ให้ผู้รับจ้างคิดค่าใช้จ่ายรวมไว้ในขอบเขตสําหรับงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง ตาม
รายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่งของสัญญานี้
3.5.4 งานแผ่นใยสังเคราะห์ หนา 2.2 มม.
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานแผ่นใยสังเคราะห์ หนา 2.2 มม. ตาม
รายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ดําเนินการแล้วเสร็จและเป็น
ระยะทางต่อเนื่องกัน ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัส ดุจะ
ทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นตารางเมตร ตามพื้นที่ที่ปูโดยต่อเนื่องติดต่อกันภายในขอบเขตที่
แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับ
พัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานแผ่นใยสังเคราะห์ อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารตามที่แสดงไว้ในใบแจ้ง
ปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้ใน
งานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นตารางเมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงาน
และราคาของสัญญานี้ ซึ่งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร วัสดุ ส่วนที่ทาบ อุปกรณ์ ค่าขนส่ง
ค่าทดสอบ ค่าแรงปูและติดตั้ง และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุตามวัตถุประสงค์
3.5.5 งานจัดหาและติดตั้ง GABION ขนาด 2.00x1.00x0.50 ม.
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรั บ พั ส ดุ จ ะตรวจวั ด ปริ ม าณงานจั ด หาและติ ด ตั้ ง GABION ขนาด
2.00x1.00x0.50 ม. ตามรายการที่แสดงไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้าง
ได้ ทํ า งานเสร็ จ เรี ย บร้ อ ยแล้ว และมี ร ะยะทางต่ อ เนื่ อ งตามที่ ค ณะกรรมการตรวจรั บ พั ส ดุ เห็ นสมควร โดย
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามขอบเขตที่แบบรูป
และรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
สั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานจัดหาและติดตั้ง GABION อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารตามที่แสดงไว้ในใบ
แจ้งปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้
ในงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้ง
ปริมาณงานและราคาของสัญ ญานี้ อัตราต่อหน่ วยในงานที่เกี่ ยวข้ องนี้ใ ห้ร วมค่าใช้ จ่ ายในการจั ดหาและ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
3 - 16 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 3 : งานป้องกันการกัดเซาะ และเพิ่มเสถียรภาพ

คัดเลือกวัสดุ ค่าขนย้าย ค่าอุปกรณ์ เครื่องจักร เครื่องมือ ค่าแรง และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องไว้หมดแล้ว


เพื่อให้งานแล้วเสร็จตามวัตถุประสงค์
3.5.6 งานปลูกหญ้าบน Topsoil หนา 15 ซม.
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานปลูกหญ้าบน Topsoil หนา 15 ซม. ตาม
รายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ ที่ผู้รับจ้างได้ดําเนินการแล้วเสร็จและเป็น
ระยะทางต่อเนื่องกัน ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทํา
การตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นตารางเมตร เป็นพื้นที่ที่ปลูกจริงและต่อเนื่องกันภายในขอบเขตที่แบบ
รูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่ง
การ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานปลูกหญ้าบน Topsoil หนา 15 ซม. อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารตามที่แสดง
ไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะ
คิดรวมไว้ในงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นตารางเมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณ
งานและราคาของสัญญานี้ ซึ่งประกอบด้วยค่าวัสดุ ค่าแรงขนย้าย ค่าดินผิวหน้า (Topsoil) ค่าปลูก เกลี่ยดิน
ตกแต่ง อุปกรณ์ ปุ๋ย การบํารุงรักษา รดน้ําจนกระทั่งหญ้าเจริญงอกงามดีตามที่ต้องการ และค่าใช้จ่าย
อื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุตามวัตถุประสงค์
3.5.7 งานตอกเข็มพืดเหล็ก ขนาด 400x125x13 มม. ยาว 12.00 ม.
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานตอกเข็มพืดเหล็ก ขนาด 400x125x13 มม.
ยาว 12.00 ม. ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ดําเนินการ
ตอกเข็มพืดเหล็กงานทํานบนบชั่วคราวแล้วเสร็จเป็นระยะทางต่อเนื่องกัน ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
เห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นเมตร ผู้ควบคุมงาน
ก่อสร้างของผู้ว่าจ้างจะวัดงานให้ได้ระดับ แนว ตําแหน่ง ตามที่กําหนดเป็นระยะทางต่อเนื่องกันตามขอบเขต
ที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจ
รับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นเมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงาน
และราคาของสัญญานี้ อัตราต่อหน่วยในงานที่เกี่ยวข้องนี้ให้รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหาวัสดุ ค่าขนย้าย ค่า
อุ ป กรณ์ เครื่ อ งจั ก ร เครื่ อ งมื อ ค่ า แรง และอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งไว้ ห มดแล้ ว เพื่ อ ให้ ง านแล้ว เสร็จตาม
วัตถุประสงค์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
3 - 17 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 3 : งานป้องกันการกัดเซาะ และเพิ่มเสถียรภาพ

3.5.8 งานถอนเข็มพืดเหล็ก ขนาด 400x125x13 มม. ยาว 12.00 ม.


การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานถอนเข็มพืดเหล็ก ขนาด 400x125x13 มม.
ยาว 12.00 ม. ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ดําเนินการ
ถอนเข็มพืดเหล็กงานทํานบนบชั่วคราวแล้วเสร็จเป็นระยะทางต่อเนื่องกัน ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
เห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นเมตร ผู้ควบคุมงาน
ก่อสร้างของผู้ว่าจ้างจะวัดงานให้ได้ระดับ แนว ตําแหน่ง ตามที่กําหนดเป็นระยะทางต่อเนื่องกันตามขอบเขต
ที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจ
รับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นเมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงาน
และราคาของสัญญานี้ อัตราต่อหน่วยในงานที่เกี่ยวข้องนี้ให้รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหาวัสดุ ค่าขนย้าย ค่า
อุ ป กรณ์ เครื่ อ งจั ก ร เครื่ อ งมื อ ค่ า แรง และอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งไว้ ห มดแล้ ว เพื่ อ ให้ ง านแล้ว เสร็จตาม
วัตถุประสงค์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
3 - 18 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

บทที่ 4
งานคอนกรีต
4.1 ทั่วไป
งานคอนกรีต หมายถึง การจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องจักรเครื่องมือในการผลิต ขนย้าย ก่อสร้าง ติดตั้ง
และรื้อย้ายแบบหล่อพร้อมนั่งร้าน เท ตกแต่ง บ่ม และงานรอยต่อ ตลอดจนงานอื่น ๆ ในส่วนที่เป็นงาน
คอนกรี ต ที่ กํ า หนดในแบบรู ป และรายการละเอี ย ด คอนกรี ต หล่ อ สํ า เร็ จ รู ป ท่ อ คอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก
เสาคอนกรีตเสริมเหล็กแสดงแนวท่อส่งน้ํา หรือตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุพิจารณาเห็นสมควร
4.2 ขอบเขตของงาน
งานคอนกรีต หมายถึง การจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ แรงงาน และเครื่องจักรเครื่องมือในการผลิตขนย้าย
ก่อสร้าง เท ตกแต่ง บ่ม จัดทํารอยต่อ การเสริมเหล็ก เหล็กยึด และรื้อแบบพร้อมนั่งร้านตลอดจนงานอื่น ๆ ที่
เกี่ยวเนื่อง เพื่อให้งานก่อสร้างได้ลักษณะ แนว ระดับ ขนาด รายละเอียดอื่น ๆ และคุณภาพของคอนกรีตใน
แต่ละส่วนต้องเป็นไปตาม ที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียดของอาคารแต่ละแห่ง การก่อสร้างงาน
คอนกรีตต้องมีวิศวกรที่มีความรู้ความชํานาญเกี่ยวกับการก่อสร้างงานคอนกรีตประจําอยู่ที่สถานที่ก่อสร้าง
รวมทั้งจะต้องมีการวางแผนงานก่อสร้าง และ/หรือมีเอกสารแสดงขั้นตอนการก่อสร้างที่ชัดเจนก่อนที่จะเริ่ม
งานก่อสร้าง
4.3 หลักเกณฑ์ทั่วไป
งานคอนกรีตทั้งหมดจะต้องดําเนินการก่อสร้างให้ได้ แนว ระดับ ขนาด รายละเอียดอื่น ๆ และความ
แข็งแรงของคอนกรีต (Concrete Strength) ในแต่ละส่วนจะต้องไม่ต่ํากว่าที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการ
ละเอียด โดยทั่วไปอัตราส่วนผสมของคอนกรีตจะต้องออกแบบส่วนผสมให้ได้ คอนกรี ตที่ทํางานได้สะดวก
มีความแน่น ความทึบน้ําและความแข็งแรงตามที่ต้องการ ส่วนผสมคอนกรีตที่จะนําไปใช้กับงานคอนกรีตในที่
ต่าง ๆ จะต้องกําหนดเป็นคราว ๆ ไป คุณลักษณะและคุณภาพของวัสดุที่ใช้ผสมคอนกรีต ผู้รับจ้างจะต้องทําการ
ทดลองสัดส่วนผสมของงานคอนกรีตแต่ละชนิดตามที่กําหนดไว้ ก่อนที่จะเริ่มงานคอนกรีต โดยใช้โรงผสมคอนกรีต
ที่ได้เตรียมไว้สําหรับใช้งานซึ่งจะต้องขออนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุก่อนจึงจะเริ่มงานคอนกรีตได้
ก่อนเทคอนกรีตในส่วนต่าง ๆ ของอาคาร หรือในส่วนอื่น จะต้องได้รับการตรวจสอบและเห็นชอบจาก
ผู้ควบคุ มงานก่ อสร้ างของผู้ ว่ าจ้า งเสีย ก่อ น งานคอนกรี ตทั้งหมดจะต้อ งปราศจากข้ อ บกพร่อ งอั น อาจจะ
ก่อให้เกิดความเสียหายต่อความแข็งแรง ทนทาน หรือคุณสมบัติทึบน้ําของคอนกรีต
4.4 ส่วนประกอบของคอนกรีต
คอนกรีตประกอบด้ วยส่วนผสมของปอร์ ตแลนด์ซีเมนต์ ทราย วัสดุหยาบ น้ํา หรืออาจมีสารเคมี
ผสมเพิ่มหรือแร่ผสมเพิ่มรวมอยู่ด้วย ส่วนผสมทั้งหมดนี้จะต้องนํามาผสมในอัตราส่วนที่เหมาะสมคลุกเคล้ากัน
อย่างดี และมีความเหลวที่เหมาะสมสําหรับงานแต่ละชนิด โดยมีการรับแรงอัดสูงสุดของคอนกรีตส่วนต่าง ๆ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4-1 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

ของอาคาร เป็นไปตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด หากแบบรูปและรายการละเอียดไม่ได้กําหนด


ไว้ให้เป็นไปตามที่กําหนดในตารางที่ 4-1
ตารางที่ 4-1 การรับแรงอัดสูงสุดของคอนกรีตส่วนต่าง ๆ ของอาคาร
การรับแรงอัดสูงสุดของคอนกรีต
รายการงาน (กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร)
ทรงกระบอก ทรงลูกบาศก์
งานคอนกรีตหยาบ 140 180
งานคอนกรีตดาด 140 180
งานคอนกรีตล้วน 210 260
งานคอนกรีตเสริมเหล็กโครงสร้าง 175 220
งานทางเดิน ค.ส.ล. และงาน APPROACH SLAB 175 220
งานคอนกรีตเสริมเหล็กโครงสร้าง อาคารสถานีสูบน้ํา 210 260
งานเสาเข็มคอนกรีตอัดแรง - 459
งานคอนกรีตอาคารประกอบของถนนและสะพานรถยนต์
- งานตอม่อและคานยึดเสาตอม่อตับ งานกําแพงปีก - 357
- งานฐานรากและเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กหล่อสําเร็จ - 357
- งานคานคอนกรีตอัดแรง แบบ Plank Girder - 510
- งานคอนกรีตเททับหน้า - 408
- งานทางเท้าและราวกันชน - 357
หมายเหตุ : การรับแรงอัดสูงสุดของคอนกรีต ตามตารางข้างต้น เป็นการทดสอบแท่งคอนกรีตมาตรฐาน
รูปทรงกระบอก ขนาด  15x30 เซนติเมตร ที่อายุ 28 วัน
รูปทรงลูกบาศก์ ขนาด 15x15x15 เซนติเมตร ที่อายุ 28 วัน
โดยผู้รับจ้างอาจจะผลิตคอนกรีตขึ้นเองที่บริเวณก่อสร้าง และวัสดุที่นํามาใช้เป็นส่วนผสมจะต้อง
มีคุณสมบัติตามที่กําหนดในรายละเอียดด้านวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง หรือใช้คอนกรีตผสมเสร็จจากภายนอก
ในกรณีที่ใช้คอนกรีตผสมเสร็จจะต้องได้มาตรฐาน ASTM C 94 หรือตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
เลขที่ มอก. 213-2552 ทั้งนี้ ส่วนประกอบของคอนกรีตแต่ละอย่างจะต้องมีลักษณะและคุณสมบัติ ดังนี้
4.4.1 ปูนซีเมนต์ (Cement)
ปู นซีเมนต์ (Cement) ปู นซี เมนต์ที่ใ ช้ ต้องเป็ นปูนปอร์ตแลนด์ซีเมนต์ และมีคุณสมบัติตาม
มาตรฐาน ASTM C-150 Type I หรือตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.15 เล่ม 1-2555
ปูนซีเมนต์ที่ใช้อาจบรรจุในถุงกระดาษชนิดหลายชั้นหรือเป็นถัง (Bulk) ก็ได้ ทั้งนี้การเลือกประเภทปูนซีเมนต์
จะต้องเหมาะสมกับงานแต่ละงานตามที่ระบุในแบบรูปและรายการละเอียด หรือตามที่คณะกรรมการตรวจรับ
พัสดุเป็นผู้อนุมัติ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4-2 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

(1) การทดสอบ
ปูนซีเมนต์ที่ขนส่งไปเก็บไว้เพื่อใช้งานบริเวณสถานที่ก่อสร้าง ต้องได้รับการตรวจสอบ
ทุกเที่ยวการขนส่ ง โดยการทดสอบตั วอย่าง จํานวนตัวอย่าง และจํ านวนวิ ธีการทดสอบ ต้ องได้ รั บความ
เห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง ปูนซีเมนต์ที่ไม่ผ่านการทดสอบ จะต้องขนย้ายออกไปจากบริเวณ
ก่อสร้างทันที และห้ามมิให้นําปูนซีเมนต์ที่ขนไปเก็บไว้แต่ละเที่ยวซึ่งเก็บไว้ที่บริเวณก่อสร้างเกินกว่า 3 เดือน
สําหรับฤดูแล้ง หรือนานเกินกว่า 1 เดือนสําหรับฤดูฝนไปใช้งานโดยเด็ดขาดจนกว่าจะได้ผ่านการตรวจสอบ
คุณสมบัติ
อนึ่ง ผู้รับจ้างจะต้องส่งผลการทดสอบคุณสมบัติของซีเมนต์ที่จะใช้ ซึ่งรับรองโดยผู้ผลิตตาม
มาตรฐานการทดสอบดังนี้
1. ความอยู่ตัว (Soundness) ASTM C151
2. ระยะเวลาก่อตัว (Time of Setting) ASTM C191
3. แรงอัด (Compressive Strength) ASTM C109
4. การก่อตัวผิดปกติ (False Set) ASTM C451
5. ความละเอียด (Fineness Test) ASTM C184
6. ความร้อนทีเ่ กิดขึ้นจากปฏิกิริยาระหว่างซีเมนต์กับน้ํา ASTM C186
(Heat of Hydration)
โดยผู้รับจ้างจะต้องส่งผลการทดสอบตัวอย่าง ซึ่งเป็นชนิดเดียวกันกับซีเมนต์ที่จะนํามาใช้เพื่อให้
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุพิจารณาอนุมัติเสียก่อนจึงจะสามารถนําซีเมนต์ชนิดดังกล่าวมาใช้งานได้
(2) การขนส่งปูนซีเมนต์
ปู น ซี เ มนต์ ที่ จ ะขนส่ ง จากโรงงานหรื อ แหล่ ง ไปยั ง บริ เ วณก่ อ สร้ า งจะต้ อ งใช้ อุ ป กรณ์
ที่สามารถกันละอองฝนหรือน้ํา หรือความชื้นได้อย่างเพียงพอ ปูนซีเมนต์ถุงที่บรรทุกในรถระหว่างการขนส่ง
จะต้องปกคลุมด้วยผ้าใบอย่างมิดชิด สําหรับปูนซีเมนต์ถัง ถังบรรจุจะต้องเป็นชนิดป้องกันน้ําได้ ระหว่างการ
ถ่ายปูนซีเมนต์จากถังถึงรถบรรทุกไปสู่ถังเก็บ ต้องมิให้สัมผัสความชื้นเป็นอันขาด
(3) การเก็บรักษาปูนซีเมนต์
ผู้รับจ้างจะต้องสร้างห้องเก็บซีเมนต์ ณ บริเวณก่อสร้างให้สามารถกันน้ํา กันฝน และ
กันความชื้นได้เป็นอย่างดี พื้นที่ใช้กองซีเมนต์ชนิดที่บรรจุในถุงจะต้องยกสูงจากระดับที่อาจมีน้ําท่วมถึงหรือ
มีความสูงจากพื้นอย่างน้อย 30 เซนติเมตร การกองซีเมนต์ชนิดถุงจะต้องไม่กองซ้อนกันสูงเกินกว่า 14 ถุง
สําหรับระยะเวลาการกองไม่เกิน 1 เดือน และ 7 ถุง สําหรับระยะเวลาการกองเกินกว่า 1 เดือน สําหรับการ
เก็บปูนซีเมนต์ถังที่บรรจุถัง จะต้องระมัดระวังไม่ให้เกิดการแข็งตัวในส่วนหนึ่งส่วนใดในถัง
การนํ า ปู น ซี เ มนต์ ม าใช้ จ ะต้ อ งให้ เ ป็ น ไปตามลํ า ดั บ ระยะเวลาการเก็ บ ก่ อ นหลั ง ควร
นําปูนซีเมนต์ที่มีอายุการเก็บมากกว่ามาใช้งานก่อน ผู้รับจ้างต้องขนปูนซีเมนต์ไปไว้ ณ บริเวณสถานที่ก่อสร้าง
ในปริมาณที่พอเพียงที่จะไม่ทําให้งานก่อสร้างล่าช้าอันเนื่องมาจากการขาดปูนซีเมนต์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4-3 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

4.4.2 ทราย (Fine Aggregates)


ทรายที่ใช้ในการผสมคอนกรีตต้องเป็นทรายน้ําจืดที่หยาบ มีลักษณะเม็ดแกร่ง คมเป็นแง่
ทนทาน สะอาด และปราศจากสารอินทรีย์หรือวัตถุสิ่งเจือปนที่ไม่ต้องการ จะต้องให้คณะกรรมการตรวจรับ
พัสดุอนุมัติก่อนนําไปใช้งานได้ โดยมีคุณสมบัติ ดังนี้
(1) ขนาดของทราย (Grading)
ทรายน้ําจืดต้องมีขนาดตั้งแต่ตะแกรงเบอร์ 4 (4.75 มิลลิเมตร) ลดหลั่นลงไป โดยยอมให้มี
ส่ ว นที่ ค้ า งตะแกรงเบอร์ 4 (4.75 มิ ล ลิ เ มตร) ไม่ เ กิ น ร้ อ ยละ 5 และมี ส่ ว นละเอี ย ดที่ สุ ด ผ่ า นตะแกรง
เบอร์ 100 (0.15 มิลลิเมตร) ได้ไม่เกินร้อยละ 10 โดยน้ําหนัก
(2) คุณภาพของทราย
คุณภาพของทรายที่ใช้ในการผสมคอนกรีต ดังนี้ ตะกอนทรายผ่านตะแกรงเบอร์ 200
(0.075 มิลลิเมตร) ไม่เกินร้อยละ 3 (ASTM C117) ค่าพิกัดความละเอียด (Fineness Modulus) ไม่น้อยกว่า 1.5
และไม่เกิน 3.1 ความไม่บริสุทธิ์เนื่องจากสารอินทรีย์ต้องผ่านการทดลองด้วยวิธีแช่น้ํายาโซเดียมไฮดรอกไซด์ ชนิด
เข้มข้น ร้อยละ 3 โดยน้ําหนัก เป็นเวลา 24 ชั่วโมง ต้องมีสีอ่อนกว่าหรือเท่ากับสีมาตรฐานเบอร์ 3 (ASTM C40)
4.4.3 กรวดหรือหินย่อย (Coarse Aggregates)
หินย่อยที่ใช้ผสมคอนกรีต ต้องเป็นหินโม่ด้วยเครื่องจักรหรือทุบด้วยมือ มีลักษณะรูปร่างเหลี่ยม
ค่อนข้างกลม เป็นหินที่แข็งแกร่งทนทาน ไม่ผุกร่อน สะอาดปราศจากสารที่ผุกร่อน และอินทรีย์สารอื่น ๆ
เจือปน สําหรับกรวดต้องเป็นกรวดน้ําจืดเกิดโดยธรรมชาติ มีลักษณะรูปร่างค่อนข้างกลม สะอาดปราศจาก
สารที่ผุกร่อน และอินทรีย์สารอื่น ๆ เจือปน จะต้องให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุอนุมัติก่อนนําไปใช้งานได้
โดยมีคุณสมบัติ ดังนี้
(1) ขนาดของกรวดและหินย่อย
(1.1) ขนาดของกรวด กรวดที่ใช้ผสมคอนกรีตแบ่งออกตามขนาด ดังนี้
1) กรวดเบอร์ 1 ต้องมีขนาดใหญ่สุด 3/4 นิ้ว (19.0 มิลลิเมตร) และยอมให้ส่วนโตสุดค้าง
ตะแกรง 3/4 นิ้ ว ได้ ไ ม่ เ กิ น ร้ อ ยละ 10 โดยน้ํ า หนั ก และมี ข นาดเล็ ก ลดหลั่ น ลงไปจนถึ ง กรวดที่ มี ข นาด
เล็กที่สุดเท่ากับตะแกรงเบอร์ 4 และยอมให้มีส่วนลอดตะแกรงเบอร์ 4 ได้ไม่เกินร้อยละ 10 โดยน้ําหนัก
2) กรวดเบอร์ 2 ต้องมีขนาดใหญ่สุด 1 1/2 นิ้ว (37.5 มิลลิเมตร) และยอมให้ส่วนโตสุดค้าง
ตะแกรง 1 1/2 นิ้ว ได้ไม่เกินร้อยละ 10 โดยน้ําหนัก และมีขนาดเล็กลดหลั่นลงไปจนถึงกรวดที่มีขนาดเล็กที่สุด
เท่ากับตะแกรงเบอร์ 4 (4.75 มิลลิเมตร) และยอมให้มีส่วนลอดตะแกรงเบอร์ 4 ได้ไม่เกิน ร้อยละ 5 โดยน้ําหนัก
(1.2) ขนาดของหิน หินย่อยที่ใช้ผสมคอนกรีตแบ่งออกเป็นขนาด ดังนี้
1) หินย่อยเบอร์ 1 เป็นหินที่มีขนาดใหญ่สุด 3/4 นิ้ว (19.0 มิลลิเมตร) และยอมให้ส่วน
โตสุดค้างตะแกรง 3/4 นิ้ว ได้ไม่เกินร้อยละ 10 โดยน้ําหนัก และมีขนาดเล็กลดหลั่นลงไปจนถึงหินที่มีขนาดเล็ก
ที่ สุ ดเท่ ากั บตะแกรงเบอร์ 4 (4.75 มิ ล ลิเมตร) และยอมให้มีส่วนลอดตะแกรงเบอร์ 4 ได้ไม่เกินร้ อยละ 5
โดยน้ําหนัก

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4-4 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

2) หินย่อยเบอร์ 2 เป็นหินที่มีขนาดใหญ่สุด 1 1/2 นิ้ว (37.5 มิลลิเมตร) และยอมให้ส่วน


โตสุดค้างตะแกรง 1 1/2 นิ้ว ได้ไม่เกินร้อยละ 10 โดยน้ําหนัก และมีขนาดเล็กลดหลั่นลงไปจนถึงหินที่มีขนาด
เล็กที่สุดเท่ากับตะแกรง 3/8 นิ้ว (9.5 มิลลิเมตร) และยอมให้มีส่วนลอดตะแกรง 3/8 นิ้ว ได้ไม่เกินร้อยละ 5 โดย
น้ําหนัก
(2) คุณภาพของกรวดและหินย่อย
(2.1) กรวดและหินย่อยที่ใช้ผสมคอนกรีต ต้องผ่านการทดลองคุณภาพด้านความคงทน
(Soundness) โดยส่วนที่สูญหายไปต้องไม่เกินร้อยละ 12 โดยน้ําหนัก การขัดสี (Abrasion) ต้องมีส่วนสึกหรอ สูญหาย
ไม่ เ กิ น ร้ อ ยละ 50 โดยวิ ธี Los Angeles Abrasion Test ASTM C-131 และ C-535 และหิ น มี ค่ า ความ
ถ่วงจําเพาะ (Specific Gravity) ไม่น้อยกว่า 2.60 และกรวดมีค่าความถ่วงจําเพาะไม่น้อยกว่า 2.50
4.4.4 น้ํา
น้ําที่ใช้ผสมคอนกรีตต้องเป็นน้ําที่ใสสะอาด ปราศจากสิ่งเจือปนในปริมาณที่จะทําให้คอนกรีต
เสียความแข็งแรง เช่น กรด ด่าง สารอินทรีย์ ฯลฯ
4.4.5 สารเคมีผสมเพิ่มสําหรับคอนกรีต (Chemical Admixture Concretes)
(1) สารทําให้เกิดฟองอากาศ (Air-entraining Admixture)
สารผสมคอนกรีตที่ทําให้เกิดฟองอากาศจะต้องเป็นไปตาม ASTM Designation C 260
ฉบับที่ปรับปรุงแก้ไขใหม่สุด และจะต้องแนบใบรับรองจากผู้ผลิตว่าสารผสมเพิ่มดังกล่าวที่นํามาใช้นี้ ผลิตตาม
ASTM Designation C 260
จํานวนปริมาณอากาศที่ควรให้มีในเนื้อคอนกรีต เพื่อให้ได้คอนกรีตที่มีความข้นเหลวพอดี
สะดวกในการทํางานและมีเนื้อแน่น ควรใช้สารผสมเพิ่มนี้เพียงเพื่อให้มีฟองอากาศร้อยละ 3 ของเนื้อคอนกรีต
ทั้งหมด อย่างไรก็ดีปริมาณอากาศในคอนกรีตซึ่งยังเหลวจะเปลี่ยนแปลงไปตามการจัดขนาดส่วนคละของหิน
และทรายที่ใช้ผสมคอนกรีต ระยะเวลาผสม อุณหภูมิขณะผสม และสิ่งสกปรกเจือปน ฉะนั้น จะต้องทดสอบ
เพื่อหาปริมาณสารผสมเพื่อที่จะใช้ และคอยตรวจสอบปรับปริมาณของสารนี้ตลอดเวลา เพื่อให้ได้ปริมาณ
อากาศในคอนกรีตตามที่ต้องการ
(2) สารผสมเพื่อลดจํานวนน้ํา และหน่วงการก่อตัว
จะต้ อ งเป็ น ไปตาม ASTM C-494, Type A การเติ ม ให้ เ ติ ม สารดั ง กล่ า วในระหว่ า ง
ผสมคอนกรีต ตามปริมาณที่กําหนดหรือได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
(3) สารผสมเพิ่มอื่น ๆ
สารผสมเพิ่ ม อื่น ๆ ที่จะนํามาใช้เพื่อปรั บปรุงคุ ณภาพของคอนกรี ตนอกเหนือที่กล่า ว
ข้างต้น ผู้รับจ้างจะต้องส่งตัวอย่างให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างทําการทดสอบคุณสมบัติ และจะต้อง
ได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุก่อน จึงจะสามารถนํามาใช้งานได้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4-5 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

4.5 เหล็กเส้นเสริมคอนกรีต
เหล็กเส้นเสริมคอนกรีตที่นํามาใช้งานก่อสร้างต้องเป็นเหล็กเส้นกลม (Round Bars) หรือเหล็ก
ข้ออ้อย (Deformed Bars) ตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด
4.5.1 มาตรฐานเหล็กเสริม
(1) มาตรฐานเหล็ กเส้น กลม ต้องมีคุณ ภาพตามมาตรฐานผลิ ต ภั ณฑ์ อุ ต สาหกรรม เลขที่
20-2559 ชั้นคุณภาพ SR 24
(2) มาตรฐานเหล็ ก ข้ อ อ้ อ ย ต้ อ งมี คุ ณ ภาพตามมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม เลขที่
24-2559 หรือเทียบเท่า ชั้นคุณภาพ SD 30 SD 40 และ SD 50
หากแบบรูปและรายการละเอียดกําหนดชั้นคุณภาพเหล็กไว้และผู้รับจ้างมีความประสงค์จะใช้
ชั้นคุณภาพของเหล็กที่สูงกว่า จะต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเสียก่อน
4.5.2 การเก็บตัวอย่างเหล็กเสริมคอนกรีต
การเก็บตัวอย่างเหล็กเสริม การตรวจสอบคุณภาพของเหล็กเสริม จะต้องให้คณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุอนุมัติก่อนจะนําไปใช้งานได้ โดยการเก็บตัวอย่างส่งให้ห้องทดลองดําเนินการตรวจสอบโดยปฏิบัติ
ดังนี้
(1) สําหรับเหล็กเส้นกลมหรือเหล็กข้ออ้อย ให้ส่งตัวอย่างเป็นท่อนยาวท่อนละไม่น้อยกว่า 100
เซนติเมตร
(2) จํานวนตัวอย่างเพื่อการทดสอบเหล็กเสริมให้เป็นไปตามเกณฑ์ในข้อ 4.11.3 “จํานวน
ตัวอย่างเพื่อทําการทดสอบ”
4.5.3 การตัด ดัด วาง ผูก และติดตั้งเหล็กเสริม
(1) การตัดและการดัดงอเหล็กเสริม ผู้รับจ้างจะต้องตัดเหล็กที่อุณหภูมิปกติ แล้วจึงดัดงอให้ได้
รูปที่ต้องการ ซึ่งอาจทําในโรงงานหรือสนามก็ได้ ด้วยรัศมีมาตรฐาน (Standard Radius) ตามที่กําหนดสําหรับ
เหล็กเสริมขนาดต่าง ๆ ดังแสดงในตารางที่ 4-2

ตารางที่ 4-2 รัศมีมาตรฐาน (Standard Radius) การดัดงอเหล็กเสริม


ขนาดเหล็กเสริม เส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กหลัก รัศมีมาตรฐาน
(มิลลิเมตร) (มิลลิเมตร) (มิลลิเมตร)
6 35 20.5
9 50 30.5
10 55 32.5
12 70 41.0
16 100 58.0
20 135 77.5
22 150 86.0

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4-6 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

ตารางที่ 4-2 รัศมีมาตรฐาน (Standard Radius) การดัดงอเหล็กเสริม


ขนาดเหล็กเสริม เส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กหลัก รัศมีมาตรฐาน
(มิลลิเมตร) (มิลลิเมตร) (มิลลิเมตร)
25 200 112.5
28 225 128.6

สัญลักษณ์สําหรับเหล็กงอรูปมาตรฐาน ยึดถือตามหนังสือ “มาตรฐานรายละเอียดการเสริม


เหล็กในอาคารคอนกรีต พ.ศ. 2535” ของกรมชลประทาน หรือที่แสดงในแบบบัญชีการเสริมเหล็กต่าง ๆ
(2) การวางและการผูกเหล็ก เหล็กเส้นเสริมคอนกรีต หลังจากได้ดัดงอตามรูปที่ต้องการตาม
ตําแหน่งที่แสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด การวัดระยะระหว่างเหล็ก ให้วัดระยะจากศูนย์กลางถึง
ศูนย์กลางเหล็ก นอกจากแสดงไว้เป็นอย่างอื่น
(3) การติดตั้งเหล็กเสริมทั้งหมดต้องให้มีระยะห่างจากผิวคอนกรีตตามที่กําหนดไว้ในแบบรูป
และรายการละเอียด ฉะนั้น เพื่อบังคับให้เหล็กเสริมห่างจากแบบหล่อคอนกรีตตามระยะดังกล่าว ผู้รับจ้างต้อง
หล่อแท่งซีเมนต์ผสมทรายด้วยส่วนผสม 1 : 1 โดยให้มีความหนาตามระยะที่เหล็กห่างจากผิวคอนกรีตดังกล่าว
และฝังลวดเหล็กปล่อยปลายไว้ เพื่อหนุนและผูกติดกับเหล็กเสริมในระยะพอสมควรที่จะไม่ให้เหล็กเสริม
แอ่นได้ ในการหนุนเหล็กเสริมนี้ ห้ามใช้ก้อนหินหรือวัตถุอื่นเป็นอันขาด ก่อนที่จะนําเหล็กเสริมไปวางจะต้อง
ตรวจสอบเหล็กให้สะอาดปราศจากสิ่งสกปรกเคลือบอยู่ เช่น ดิน จารบี หรือน้ํามันหล่อลื่น เป็นต้น หากเหล็กเป็น
สนิมขุม (Flaky Rust) จะต้องใช้กระดาษทรายขัด หรือวิธีการอื่น ๆ ที่เหมาะสมเอาออกให้หมดสิ้น หลังจากวาง
เหล็กในตําแหน่งที่ต้องการแล้ว ต้องระมัดระวังให้อยู่ในสภาพสะอาดจนถึงเวลาเทคอนกรีตทับจนหมดสิ้น
นอกจากนี้เหล็กเสริมจะต้องวางและผูกให้แน่นหนาเพื่อมิให้เคลื่อนไหวได้ในระหว่างเทคอนกรีต
และในขณะทําการสั่นหรือกระทุ้งคอนกรีตให้แน่น โดยใช้ลวดผูกเหล็กชนิด Black Annealed Wire ขนาด
ไม่เล็กกว่าเบอร์ 16 ในขณะที่คอนกรีตยังไม่แข็งตัว ห้ามมิให้ทําการกระทบกระเทือนที่ปลายเหล็กที่คอนกรีต
ยังไม่ได้ห่อหุ้ม
4.5.4 ความคลาดเคลื่อนของการวางเหล็กเสริม
(1) ความคลาดเคลื่อนของระยะคอนกรีตหุ้มเหล็ก กําหนดคอนกรีตหุ้มเหล็ก 5 เซนติเมตร
ยอมให้คลาดเคลื่อนได้ไม่เกิน ± 0.90 เซนติเมตร กําหนดคอนกรีตหุ้มเหล็ก 8 เซนติเมตร ยอมให้คลาดเคลื่อน
ได้ไม่เกิน ± 1.20 เซนติเมตร
(2) ความคลาดเคลื่อนเนื่องจาก Side Movement ยอมให้คลาดเคลื่อนได้ ± 2.50 เซนติเมตร
4.5.5 การต่อเหล็กเสริม
การต่อเหล็กเสริม การต่อเหล็กเสริมอาจต่อโดยวิธีทาบกัน (Lapped Splicing) ตามความยาว
ที่ระบุไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด หรือตาม ACI 318 สําหรับการต่อเหล็กเสริมโดยวิธีการเชื่อมจะต้อง
ได้รับความเห็นชอบจากผู้ควบคุ ม งานก่ อสร้ างของผู้ ว่า จ้ างเสีย ก่อ นโดยให้เป็ นไปตาม AWS D 12.1 หรือ
AWS E-7015-16
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4-7 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

4.6 การทํางานคอนกรีต
4.6.1 อัตราส่วนผสม
อัตราส่วนผสมคอนกรีตจะเปลี่ยนแปลงไปตามลักษณะของงานและวัสดุที่ใช้ผสม การกําหนด
อัตราส่วนผสมจะต้องคํานึงถึงคุณภาพของคอนกรีต เกี่ยวกับความแข็งแรง ความสะดวกในการทํางาน ความคงทน
ของคอนกรีตและประหยัด อัตราส่วนผสมคอนกรีตจะต้องคอยตรวจสอบแก้ไขอยู่เสมอ เพื่อที่จะได้คอนกรีตที่
มีคุณภาพดีและประหยัด
การกําหนดอัตราส่วนผสมคอนกรีตจะต้องใช้วัสดุผสมคอนกรีต เช่น หิน กรวด ทราย ปูนซีเมนต์
ซึ่งได้เตรียมไว้ที่บริเวณก่อสร้างมาทดลองหาอัตราส่วนผสม เสนอคณะกรรมการตรวจรับพัสดุอนุมัติก่อน
นําไปใช้งาน
4.6.2 ความข้นเหลวของคอนกรีต
จํ า นวนน้ํ า ที่ ใ ช้ ผ สมคอนกรี ต จะต้ อ งคอยเปลี่ ย นแปลงอยู่ ต ลอดเวลาที่ เ ครื่ อ งผสมคอนกรีต
เนื่องจากความชื้นที่มีอยู่ในวัสดุที่นํามาผสมคอนกรีตเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ทั้งนี้เพื่อให้ได้ความเหลวที่เหมาะสม
และคงที่อยู่ตลอดเวลา ห้ามเติมน้ําลงในคอนกรีตระหว่างการเทลงแบบหล่อเพื่อเพิ่มความเหลว
ส่วนยุบตัวของคอนกรีต ก่อนนําไปเทลงในแบบหล่อจะต้องมีส่วนยุบตัวตามลักษณะของงาน
คืองานคอนกรีตทั่วไปมีส่วนยุบตัวไม่เกิน 4 นิ้ว ส่วนงานคอนกรีตดาดและงานคอนกรีตรางระบายมีส่วนยุบตัว
ไม่เกิน 3 นิ้ว
4.6.3 การตรวจสอบคุณภาพคอนกรีต
การตรวจสอบคุณภาพของคอนกรีต ต้องตรวจสอบความเหลวคอนกรีตโดยการทดสอบหาค่า
ความยุบตัว (Slump Test) และหล่อแท่งทดสอบมาตรฐานเป็นรูปทรงกระบอกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 15
เซนติ เ มตร สู ง 30 เซนติ เ มตร หรื อ หล่ อ แท่ ง ทดสอบมาตรฐานเป็ น รู ป ทรงลู ก บาศก์ ขนาด 15x15x15
เซนติเมตร จากส่วนผสมคอนกรีตที่ใช้ในการก่อสร้างนั้น ๆ ในกรณีที่ใช้สารเคมีผสมคอนกรีตจะต้องวัดอากาศ
ในคอนกรีตโดยเครื่องมือ Air-meter
4.6.4 การเก็บตัวอย่างคอนกรีต
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างจะทําการเก็บตัวอย่างคอนกรีต เพื่อนําไปใช้ทดลองหากําลังอัด
โดยเก็บตามเกณฑ์ดังนี้
(1) ตัวอย่าง 1 ชุด ประกอบด้วยแท่งทดสอบมาตรฐานตามข้อ 4.11.3 “จํานวนตัวอย่างเพื่อทําการ
ทดสอบ” จํานวน 6 แท่ง ซึ่งต้องเก็บในเวลาเดียวกัน มีความข้นเหลวเท่ากัน ในการนี้จะต้องทดสอบหาค่าความ
ยุบตัว (Slump Test) ก่อนด้วยทุกครั้ง
(2) การเก็บตัวอย่างเพื่อทดลองหากําลังต้านทานแรงอัด จะเก็บวันละ 1 ชุด เป็นอย่างน้อย

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4-8 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

4.6.5 การทดสอบหาค่าความยุบตัวของคอนกรีต (Slump Test)


อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบหาค่าความยุบตัวของคอนกรีตประกอบด้วยแบบสําหรับวัดความ
ยุบตั วเป็นแบบรู ปกรวยหัวตั ด ซึ่งทําด้ วยสังกะสีหรือโลหะบาง ๆ ด้ านบนมี เส้นผ่านศูนย์ กลางภายใน 4 นิ้ ว
ด้านล่างมีเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 8 นิ้ว และสูง 12 นิ้ว มีที่เหยียบและมือจับ และเหล็กกระทุ้งเป็นแท่งเหล็ก
กลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5/8 นิ้ว ยาว 24 นิ้ว ปลายกลมมน

การทดสอบหาค่าความยุบตัวของคอนกรีต ปฏิบัติดังนี้ แบบสําหรับวัดค่าความยุบตัว จะต้อง


ชุบน้ําก่อนทดลอง แล้ววางลงบนพื้นราบเรียบซึ่งชื้นและไม่ดูดน้ํา ระหว่างเติมคอนกรีตลงในแบบ ผู้ทดลอง
จะต้องเหยียบแบบให้แน่น การเติมคอนกรีตลงในแบบครั้งแรกให้สูง เท่ากับ 1/3 ของปริมาตรของกรวย
กระทุ้งให้ทั่วกรวย 25 ครั้ง ด้วยเหล็กกระทุ้ง เติมคอนกรีตครั้งที่สองอีก 1/3 ของปริมาตรกรวย แล้วกระทุ้ง
แบบเดียวกันอีก 25 ครั้ง โดยกระทุ้งถึงผิวบนของคอนกรีตชั้นแรกเพียงเล็กน้อย เมื่อเสร็จแล้วจึงเติมคอนกรีต
ครั้งที่สามให้เต็มและกระทุ้งถึงผิวบนของคอนกรีตชั้นที่สองเพียงเล็กน้อยอีก 25 ครั้ง หลังจากนั้นปาดหน้า
คอนกรี ต ให้ เ รี ย บได้ ร ะดั บ กั บ ขอบกรวยตอนบน และกวาดคอนกรี ต ที่ ห ล่ น ข้ า ง ๆ ฐานแบบออกให้ ห มด
เสร็จแล้วยกแบบกรวยขึ้นช้า ๆ ในแนวดิ่ง
การยุบตัวของคอนกรีตวัดได้จากผลต่างระหว่างความสูงของแบบกรวย (12 นิ้ว) กับความสูง
ของคอนกรีตโดยเฉลี่ย หลังจากยกแบบกรวยออกแล้ว ตัวอย่างคอนกรีตซึ่งทะลายลงหรือเอียงผิดปกติควรจะ
ทําซ้ําอีกครั้งด้วยคอนกรีตใหม่

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4-9 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

หลั ง จากวั ด ค่ า ความยุ บ ตั ว แล้ ว ควรเอาเหล็ ก กระทุ้ ง เคาะข้ า ง ๆ ตั ว อย่ า ง 2-3 ครั้ ง เพื่ อ ดู
การทรุดตัวของคอนกรีต ซึ่งจะเป็นเครื่องชี้ให้เห็นคุณภาพของคอนกรีตว่ามีคุณภาพดีหรือเลว คอนกรีตคุณภาพดี
เมื่อเคาะแล้วจะยุบตัวลงโดยคงรูปเดิมอยู่ ส่วนคอนกรีตเลวจะทลายจากกัน เมื่อเกิดความสงสัยควรจะทําการ
ทดสอบหาค่าความยุบตัวของคอนกรีต 2 ครั้ง แล้วหาค่าเฉลี่ย

4.6.6 การหล่อแท่งทดสอบมาตรฐาน
(1) การหล่อแท่งทดสอบมาตรฐาน แบบหล่อทําด้วยโลหะกันน้ําซึม รูปทรงกระบอกมีขนาด
เส้ นผ่ านศู นย์ กลาง 6 นิ้ ว สู ง 12 นิ้ ว แผ่ นโลหะพื้ นล่ างต้ องแต่ งให้ เรี ยบและมี สกรู หรื อที่ รั ดแบบยึ ดติ ด กั บ
ทรงกระบอกโลหะ ก่อนการหล่อจะต้องทาด้วยน้ํามันทาแบบเสียก่อน
คอนกรีตที่นํามาใช้หล่อแท่งทดสอบมาตรฐาน จะต้องนํามาจากเครื่องผสมคอนกรีตหรือจาก
รถขนคอนกรีต ซึ่งต้องมีส่วนผสมที่เข้ากันดี หากมีเหตุที่ทําให้สงสัยด้วยเหตุใดก็ตามจะต้องตักคอนกรีตใหม่
มาหล่อเพื่อการทดสอบ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4 - 10 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

การหล่อแท่งทดสอบมาตรฐานทําได้โดยเทคอนกรีตลงในแบบหล่อเป็นจํานวน 3 ชั้น ๆ ละ
เท่า ๆ กัน แต่ละชั้นให้กระทุ้งโดยสม่ําเสมอ 25 ครั้ง ด้วยเหล็กกระทุ้งขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5/8 นิ้ว ยาว 24 นิ้ว
และปลายกลมมน การกระทุ้งชั้นแรกควรกระทุ้งให้ถึงแผ่นเหล็กล่างของแบบ ส่วนการกระทุ้งชั้นสองและชั้นสาม
ให้กระทุ้งเพียงผ่านชั้นที่กระทุ้งแล้วเพียงเล็กน้อย หลังจากกระทุ้งชั้นที่สามแล้ว ให้ใช้เกรียงปาดหน้าให้เรียบ

(2) การหล่อแท่งทดสอบมาตรฐาน แบบหล่อทําด้วยโลหะกันน้ําซึม รูปทรงลูกบาศก์ ขนาด


15x15x15 เซนติเมตร ก่อนการหล่อต้องทาด้วยน้ํามัน ทาแบบเสียก่อน โดยคอนกรีตที่จะเก็บตัวอย่างต้องมี
ขนาดโตสุดของมวลรวมหยาบ ไม่ใหญ่กว่า 2 นิ้ว ถ้ามวลรวมหยาบมีขนาดใหญ่กว่า 2 นิ้ว ต้องร่อนเอาส่วนที่
ใหญ่เกิน 2 นิ้วออกก่อน ซึ่งส่วนผสมคอนกรีตที่ใช้หล่อ จะต้องเป็นคอนกรีตที่กําลังจะเทลงแบบ

การหล่อแท่่งคอนกรีตให้ใส่คอนกรีตชั้นละ 1/2 ของความจุของแบบหล่อ โดยแต่่ละชั้นให้


กระทุ ้ ง โดยสม่ํ า เสมอด้ ว ยเหล็ ก กระทุ้ ง ขนาดเส้ น ผ่ า นศู น ย์ ก ลาง 5/8 นิ้ ว (16 มิ ล ลิ เ มตร) ยาว 24 นิ้ ว
(600 มิ ล ลิ เ มตร) และปลายมนแบบหั ว ลูก ปื น จํ า นวน 36 ครั้ ง การกระทุ ้ ง ชั้ น แรกควรกระทุ ้ง ให้ กระทบ
แผ่นเหล็กล่างของแบบหล่อเบา ๆ ส่วนการกระทุ้งชั้นสองให้กระทุ้งเพียงผ่านชั้นแรกลึกลงไปเพียงเล็กน้อย
หลังจากกระทุ้งเสร็จในแต่ละชั้นให้เคาะด้านข้างของแบบหล่อโดยรอบ จํานวน 10–15 ครั้ง เพื่อไล่่ฟองอากาศ
แล้วแต่งหน้าให้เรียบ ถ้าจําเป็นต้องเติมคอนกรีตลงในแบบหล่อก่อนแต่งผิวหน้า ห้ามเติมคอนกรีตสูงกว่า
แบบหล่อเกิน 3 มิลลิเมตร
ในกรณีที่หล่อแท่งคอนกรีตโดยใช้เครื่องสั่นคอนกรีตแบบหัวจุ่ม ให้ใส่คอนกรีตเพียงชั้น
เดียว ให้เต็มแบบหล่อแล้วใช้หัวจุ่มของเครื่องเขย่าที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง์กลางของหัวจุ่มไม่ใหญ่กว่า 30

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4 - 11 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

มิลลิเมตร จุ่มในเนื้อของคอนกรีตจํานวน 3 จุด แล้วใช้เกรียงปาดหน้าให้เรียบ ซึ่งการเก็บตัวอย่างต้องเก็บให้


แล้วเสร็จภายใน เวลา 15 นาที
ข้อควรระวังในการหล่อแท่งทดสอบมาตรฐาน
- พื้นที่วางแบบหล่อควรมีระดับราบเรียบ
- พื้นที่วางแบบหล่อไม่ควรมีการสั่นสะเทือนใด ๆ
- การปาดผิวหน้าคอนกรีต ให้ปาดให้เรียบ
- แบบเมื่อหล่อแท่งทดสอบมาตรฐานแล้ว ควรเก็บไว้ในร่ม ไม่ให้ถูกแดดหรือฝน
- เมื่อผิวหน้าคอนกรีตเริ่มแห้ง ให้ใช้กระสอบชุบน้ําคลุมไว้จนกระทั่งถึงเวลาแกะแบบหล่อ
ในวันรุ่งขึ้น
- การแกะแบบหล่อจะต้องกระทําโดยระมัดระวัง และไม่แกะก่อน 24 ชั่วโมง หลังจากหล่อ
- เมื่อแกะแท่งทดสอบมาตรฐานจากแบบหล่อแล้ว ให้เขียนวัน เดือน ปี ที่ทําการหล่อ การยุบตัว
และหมายเลขแท่งด้วยเครื่องเขียนที่ไม่ลบเลือนเมื่อถูกความชื้นหรือน้ํา
- หลังจากแกะแบบหล่อแล้วนําแท่งทดสอบมาตรฐานไปแช่น้ําไว้ในที่ร่ม รอเวลาเพื่อทดสอบ
กําลังอัด ถ้าจะนําแท่งคอนกรีตส่งเพื่อทดสอบกําลังอัด จะต้องคลุมแท่งทดสอบมาตรฐานด้วยกระสอบชื้น หรือ
แช่อยู่ในน้ําไม่น้อยกว่า 3 วัน แล้วจึงนําส่งโดยบรรจุลงในหีบ ซึ่งมีทรายเปียกล้อมรอบทุกด้านหนาไม่น้อยกว่า 5
เซนติเมตร แล้วจัดส่งให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างทดสอบคุณภาพ
- แท่งทดสอบมาตรฐานที่ร้าวหรือแตกขณะแกะแบบหล่อ จะต้องทิ้ง ไม่ควรนํามาทดลอง
4.6.7 การทดสอบแท่งทดสอบมาตรฐาน
ตัวอย่างแท่งทดสอบมาตรฐานที่เก็บได้แล้วตามเกณฑ์ ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างจะ
ดําเนินการทดสอบตามเกณฑ์ ต่อไปนี้
(1) แท่งทดสอบมาตรฐาน 1 ชุด จํานวน 6 แท่ง จะแบ่งทดสอบที่อายุ 7 วัน จํานวน 3 แท่ง ที่เหลือ
อีก 3 แท่ง จะทดสอบกําลังอัดที่อายุ 28 วัน ณ ห้องปฏิบัติการทดสอบวัสดุของโครงการฯ เพื่อใช้ในการ
ควบคุมการก่อสร้าง หรือห้องทดลองอื่นที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร
(2) กําลังอัดของแท่งทดสอบมาตรฐานที่อายุ 28 วัน และ 7 วัน ให้ถือตามเกณฑ์ที่กําหนด
ดังแสดงในตารางที่ 4-3

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4 - 12 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

ตารางที่ 4-3 กํา ลั ง กดของแท่ ง ทดสอบมาตรฐาน


กําลังกดของแท่งทดสอบ กําลังกดของแท่งทดสอบ
ที่ มาตรฐานที่อายุ 28 วัน มาตรฐานที่อายุ 7 วัน หมายเหตุ
(กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร) (กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร)
ถ้าผลการทดสอบกําลังกดที่
1 กําหนดไม่ต่ํากว่า 140 ต้องไม่ต่ํากว่า 110
อายุ 7 วัน ต่ํากว่าเกณฑ์ที่
กําหนดดังกล่าวต้องเปลี่ยน
2 กําหนดไม่ต่ํากว่า 175 ต้องไม่ต่ํากว่า 140 ส่วนผสมใหม่โดยทันทีตาม
คําแนะนําของผู้ควบคุมงาน
3 กําหนดไม่ต่ํากว่า 210 ต้องไม่ต่ํากว่า 170 ก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(การพิจารณากําลังของ
คอนกรีตจะพิจารณาที่อายุ
4 กําหนดไม่ต่ํากว่า 350 ต้องไม่ต่ํากว่า 280
28 วัน)
หมายเหตุ สามารถพิจารณาเก็บตัวอย่างแท่งคอนกรีตเป็นรูปทรงกระบอก ด้วยแบบเก็บตัวอย่าง
มาตรฐานรูปทรงกระบอกขนาด 15x30 เซนติเมตร หรือเป็นรูปทรงลูกบาศก์ ด้วยแบบเก็บตัวอย่างมาตรฐาน
รูปทรงลูกบาศก์ขนาด 15x15x15 เซนติเมตร ก็ได้ โดยใช้เกณฑ์การเปรียบเทียบกําลังกดของแท่งคอนกรีต
มาตรฐาน ที่อายุ 28 วัน ทั้งสองรูปแบบดังแสดงในตารางที่ 4-4
ตารางที่ 4-4 แสดงการเปรียบเทียบกําลังกดคอนกรีตที่ 28 วัน ของตัวอย่างมาตรฐาน
ทรงกระบอก ขนาด 15x30 เซนติเมตร ทรงลูกบาศก์ ขนาด 15x15x15 เซนติเมตร
(กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร) (กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร)
135 175
140 180
175 220
210 255
240 290
280 335
300 355
350 410

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4 - 13 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

4.6.8 การผสมคอนกรีต
จํานวนซีเมนต์ ทราย วัสดุหยาบแต่ละขนาด น้ํา และสารเคมีผสมคอนกรีตที่จะนําไปใช้ผสม
คอนกรีตแต่ละครั้ง จะต้องได้มาจากการชั่งน้ําหนักหรือการวัดปริมาตรแล้วแต่กรณีให้ถูกต้องตามสัดส่วนที่
กําหนดให้
การผสม เมื่อได้ใส่ส่วนผสมคอนกรีตทุกประเภท (ยกเว้นน้ํา) ลงในเครื่องผสมคอนกรีตครบแล้ว
ให้ผสมคลุกเคล้าจนเข้ากันดีโดยตลอดเป็นเวลานานไม่น้อยกว่า 2 นาที จึงจะเติมน้ํา โดยมีความข้นเหลวและ
คุณภาพของคอนกรีตคงที่โดยสม่ําเสมอ คอนกรีตที่ผสมครั้งหนึ่งหลังจากเทออกจากเครื่องผสมคอนกรีตแล้ว
จะต้องนําไปเทลงในแบบหล่อให้เสร็จเรียบร้อยภายใน 30 นาที ในกรณีที่ใช้สารเคมีผสมคอนกรีตจะยอมให้เท
ลงแบบหล่อให้เสร็จเรียบร้อยภายใน 1 ชั่วโมง
เครื่องผสมคอนกรีตจะต้องได้รับการตรวจสอบ ทําความสะอาด กําจัดคอนกรีตที่เหลือค้างติด
เครื่ อ งผสมคอนกรี ต ออกให้ ห มดเป็ น ประจํา วั น เครื่ อ งผสมคอนกรี ต จะต้ อ งสามารถทํ า งานได้ ต ามกําลัง
เครื่องยนต์และความจุที่กําหนดไว้ ห้ามมิให้ผสมคอนกรีตที่มีปริมาณเกินอัตราความสามารถของเครื่องผสม
โดยเด็ดขาด
4.6.9 อุณหภูมิของคอนกรีต
การทํางานคอนกรีตเมื่ออากาศร้อนนั้น อุณหภูมิของอากาศ ความชื้น ลม แสงแดด ล้วนมี
อิ ท ธิ พ ลต่ อ คอนกรี ต หลั ก สํ า คั ญ คื อ พยายามป้ อ งกั น ให้ น้ํ า ระเหยออกจากคอนกรี ต ให้ ช้ า ที่ สุ ด ด้ ว ยอั ต รา
การระเหยต่ําที่สุด ทั้งนี้เพื่อให้คอนกรีตมีความชุ่มชื้นเพียงพอ ในขณะที่น้ําและปูนซีเมนต์ยังทําปฏิกิริยาทางเคมี
กันอยู่ สําหรับการทํางานคอนกรีตเมื่ออากาศร้อนควรปฏิบัติดังนี้
(1) ทํ าวั สดุ ให้ เย็ นก่ อน โดยการพ่ นน้ํ าบนหิ นและทรายก่ อนนํ ามาใช้ ซึ่ งเมื่ อน้ํ าระเหยออก
จะทําให้วัสดุเหล่านั้นเย็นลง
(2) ป้องกันมิให้น้ําถูกดูดซึม โดยพื้นที่รองรับคอนกรีตหรือไม้แบบ ต้องทําให้เปียกชุ่มเสียก่อนที่จะเท
คอนกรีต ในกรณีที่อากาศร้อนจัดควรรดน้ําบนพื้นรองรับคอนกรีตให้เปียกชุ่มน้ําไว้ตลอดคืน และเมื่อจะเริ่มเท
คอนกรีตให้พรมน้ําให้ทั่วก่อนอีกครั้งหนึ่ง แต่ทั้งนี้ต้องระมัดระวังมิให้น้ําขังอยู่บนผิวหน้าขณะเทคอนกรีต เพื่อ
จะช่วยป้องกันมิให้น้ําในส่วนผสมของคอนกรีตถูกดูดซึมออกไปในทันทีที่เทคอนกรีต
(3) การวางแผนปฏิบัติงานให้รัดกุม กําหนดเวลาผสมและเทคอนกรีตให้พอเหมาะ เมื่อผสม
คอนกรีตได้ที่แล้วให้รีบเททันที เพราะการผสมคอนกรีตนานเกินไปจะทําให้ส่วนผสมร้อนและข้นเกินไป ซึ่ง
จําเป็นที่จะต้องเพิ่มน้ําในส่วนผสมขึ้น อันจะทําให้คอนกรีตมีกําลังต่ําลง
ในขณะที่ อ ากาศร้ อ นจั ด เมื่ อ เทคอนกรี ต แล้ ว ให้ ใ ช้ ก ระสอบเปี ย กน้ํ า คลุ ม ผิ ว หน้ า ไว้ ก่ อ น
เมื่อจะตบแต่งผิวหน้าค่อยเปิดกระสอบออกทีละช่วงสั้น ๆ และไม่ควรเทคอนกรีตครั้งละมากเกินไป จะแต่ง
ผิวหน้าไม่ทัน
(4) ป้ อ งกั น มิ ใ ห้ น้ํ า ระเหยจากคอนกรี ต ถ้ า ลมพั ด จั ด ควรสร้ า งฉากกั้ น ลม อาจใช้ ไ ม้ แ บบ
ที่ใช้แล้วหรือพรมน้ําเป็นฝอยเหนือลมเพื่อช่วยลดการระเหย

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4 - 14 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

(5) เริ่มบ่มคอนกรีตโดยเร็วที่สุด เมื่อแต่งผิวหน้าคอนกรีตเสร็จเรียบร้อยแล้ว และคอนกรีต


สามารถคงตัวอยู่เป็นรูปแล้วให้เริ่มบ่มคอนกรีตทันที
4.6.10 แบบหล่อคอนกรีตและนั่งร้านสําหรับเทคอนกรีต
(1) แบบหล่อคอนกรีต
แบบหล่อคอนกรีตจะต้องทําให้แข็งแรงที่จะทําให้คอนกรีตมีผิวหน้า รูปร่างตามแบบรูป
และรายการละเอี ย ดที่ กํ า หนด แบบหล่ อ จะต้ อ งแน่ น หนาและอุ ด รอยรั่ ว ให้ เ รี ย บร้ อ ยปราศจากช่ อ งโหว่
ที่น้ําซีเมนต์จะไหลออกไปได้ มีความแข็งแรงพอที่จะต้านทานแรงดันของคอนกรีตและแรงสั่นสะเทือนของ
เครื่องเขย่าคอนกรีตโดยปราศจากการสั่นคลอนเสียรูปหรือแนว ผิวคอนกรีตด้านที่มองเห็นจะต้องประกอบ
แบบหล่อให้สามารถแยกส่วนหนึ่งส่วนใดของแบบหล่อออกได้โดยไม่ทําความเสียหายกับผิวคอนกรีต
(1.1) ไม้ที่ ใ ช้ ทําแบบหล่อและบุแบบหล่อ จะต้องมีคุณภาพหรือเคลือบให้มีคุณภาพ
ที่จะไม่ทําให้ผิวคอนกรีตเสียหายเนื่องจากปฏิกิริยาทางเคมี ชนิดและสภาพของไม้ที่จะใช้ทําแบบหล่อหรือ
บุแบบหล่อ จะต้องทนต่อการบิดเบี้ยวซึ่งเกิดจากการเทหรือการสั่นคอนกรีต ไม้แบบจะต้องสะอาดปราศจาก
สิ่งไม่พึงประสงค์ เช่น เศษซีเมนต์ ฯลฯ
(1.2) การบุแบบหล่อด้วยไม้อัด ใช้สําหรับคอนกรีตที่ไม่ต้องการให้มีการฉาบปูนถือผิว
ภายหลัง และอยู่ในที่ที่สามารถจะมองเห็นได้ ไม้อัดที่จะใช้ต้องเป็นไม้อัดที่กันน้ําได้ ไม่ห่อตัวและไม่หด และ
จะต้องทําด้วยกาวชนิดพิเศษที่กันน้ําได้ ไม้อัดที่ใช้จะต้องมีขนาดความกว้าง ความยาว และความหนาสม่ําเสมอ
และต้องหนาไม่น้อยกว่า 10 มิลลิเมตร รอยต่อของไม้อัดจะต้องราบเรียบ และจะต้องไม่มีรอยปะ ตําหนิที่มีอยู่
ในไม้อัดจะต้องได้รับการซ่อมแซมก่อน
(1.3) การบุแบบหล่อด้วยไม้ที่หยาบ ควรใช้กับคอนกรีตที่จะฉาบปูนถือผิวภายหลัง
(1.4) การยึดแบบหล่อ เหล็กยึดแบบที่ฝังไว้สําหรับยึดแบบหล่อซึ่งจะฝังทิ้งไว้ในคอนกรีต
เมื่อถอดแบบแล้วจะต้องตัดเหล็กยึดแบบลึกจากผิวคอนกรีตไม่น้อยกว่า 5 เซนติเมตร สําหรับรายละเอียด
เกี่ยวกับเหล็กยึดแบบหล่อ ผู้รับจ้างต้องเสนอต่อผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเพื่อให้ความเห็นชอบก่อน
(1.5) การทําความสะอาดและทาน้ํามันแบบหล่อ ผิวของแบบหล่อต้องไม่มีปูนเกาะแข็งอยู่
หรือวัสดุแปลกปลอมอื่น ๆ ซึ่งจะทําให้คอนกรีตสกปรก ผิวของแบบก่อนเทคอนกรีตจะต้องทาด้วยน้ํามันที่ใช้
สําหรับทาแบบหล่อ ซึ่งจะทําให้คอนกรีตไม่เกาะแบบหล่อแน่นและไม่มีรอยบนผิวคอนกรีต นอกเสียจาก
แบบหล่อสําหรับเทคอนกรีตนั้นทําจากไม้ที่หยาบ ซึ่งจะใช้สําหรับคอนกรีตที่จะมีการฉาบผิวภายหลังเท่านั้น
(2) นั่งร้านสําหรับเทคอนกรีต
(2.1) ผู้รับจ้างต้องเป็นผู้คํานวณออกแบบนั่งร้าน โดยรับผิดชอบทุกกรณีหากมีความ
เสียหายเกิดขึ้น ก่อนที่จะทําการก่อสร้างนั่งร้าน ให้ผู้รับจ้างส่งรายการคํานวณและแบบของนั่งร้านที่จะใช้ใน
การก่อสร้างงานนั้น ๆ ให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างพิจารณาตรวจสอบเสียก่อน ในกรณีที่ผู้ควบคุมงาน
ก่ อ สร้ า งของผู้ ว่ า จ้ า งได้ พิ จ ารณาเห็ น สมควรให้ แ ก้ ไ ขส่ ว นใดส่ ว นหนึ่ ง หรื อ ทั้ ง หมด ผู้ รั บ จ้ า งจะต้ องจั ดหา
เปลี่ยนแปลงตามคําสั่งทุกประการ แต่คําสั่งให้แก้ไขแปลนนั่งร้านของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างมิได้เป็นเหตุ
ให้ผู้รับจ้างหมดความรับผิดชอบในเมื่อเกิดความเสียหายขึ้นแม้แต่ประการใดทั้งสิ้น
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4 - 15 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

ผู้รับจ้างจะต้องออกแบบและก่อสร้างนั่งร้านให้มั่นคงและแข็งแรง สามารถที่จะรับน้ําหนัก
ต่าง ๆ ได้โดยปลอดภัย และการทรุดตัวของนั่งร้านจะต้องมีเพียงเล็กน้ อยเท่านั้น ฉะนั้น ผู้รับจ้างจะต้อง
ระมัดระวังในการก่อสร้างฐานรากของนั่งร้านเป็นพิเศษ
(2.2) ระดับของแบบเทคอนกรีตที่จะสร้างนั้น จะต้องเป็นระดับที่แสดงไว้ในแบบรูปและ
รายการละเอียดบวกระยะแอ่นตัวซึ่งเกิดจากน้ําหนักของตัวอาคาร (Dead Load Deflection) ไว้ด้วย
(2.3) ห้ามวางน้ําหนักบรรทุกใด ๆ บนตัวอาคาร เช่น เครื่องมือเครื่องใช้หรือวัสดุก่อสร้าง
เป็นต้น จนกว่าคอนกรีตที่หล่อจะมีอายุได้ไม่น้อยกว่า 28 วัน เพราะอาจจะเป็นอันตรายต่อคอนกรีต หรือทําลาย
การยึดเหนี่ยว (Bond) ระหว่างคอนกรีตและเหล็กได้ แม้ว่าจะมีนั่งร้านรองรับอยู่ก็ตาม
4.6.11 การเตรียมการเพื่อเทคอนกรีต
จะต้องไม่เทคอนกรีตลงในแบบหล่อจนกว่าจะได้รับการตรวจสอบความเรียบร้อยเสียก่อน และ
จะไม่เทลงในน้ํา เว้นแต่จะได้รับอนุญาตและภายใต้วิธีการอันเป็นพิเศษสําหรับการเทคอนกรีตในน้ํา
(1) พื้นผิวหน้าที่รองรับคอนกรีต ทันทีก่อนที่จะเทคอนกรีต ผิวหน้าทั้งหมดที่จะสัมผัส กับ
คอนกรีตที่จะเทลงไปจะต้องสะอาดปราศจากน้ํา โคลน เศษไม้ น้ํามัน สิ่งไม่พึงประสงค์ต่าง ๆ และพื้นผิวหน้าที่
สามารถดูดน้ําจากคอนกรีตได้ จะต้องทําให้ชื้นโดยตลอดจนไม่สามารถดูดน้ําจากคอนกรีตได้การเทคอนกรีตงาน
คอนกรีตดาด พื้นดินที่รองรับคอนกรีตหลังจากได้ถากแต่งจนถึงระดับที่จะเทคอนกรีตแล้วจะต้องรักษาความชื้นใน
ดินโดยการฉีดน้ําให้เป็นฝอยก่อนเทคอนกรีต
(2) ผิวหน้าของรอยต่อก่อสร้างและรอยต่อหดตัว (Surfaces of Construction and Contraction
Joints) ผิวหน้าของคอนกรีตเก่าที่จะสัมผัสกับคอนกรีตใหม่ ถ้ากําหนดไว้เป็นรอยต่อก่อสร้าง (Construction
Joints) จะต้องทําผิวให้ขรุขระและชื้น สะอาด ปราศจากสิ่งไม่พึงประสงค์ แล้วใช้น้ําปูนเข้มข้นราดให้ทั่วรอยต่อ
เพื่อคอนกรีตใหม่จะได้เชื่อมติดเป็นเนื้อเดียวกันกับคอนกรีตเก่า
ถ้าผิวหน้าเป็นรอยต่อหดตัว (Contraction Joints) จะต้องทําความสะอาดโดยเอาเศษ
คอนกรีต เศษปูนซีเมนต์ และอื่น ๆ ที่พอกติดอยู่กับคอนกรีตเก่าออกให้หมด แล้วทาด้วยน้ํายาเคลือบผิว
(Sealing Compound) ตลอดแนวคอนกรีตเพื่อป้องกันการจับติดแน่น ก่อนที่จะเทคอนกรีตช่วงใหม่ที่ติดกัน
4.6.12 การเทคอนกรีต และการอัดซีเมนต์เหลว
(1) การเทคอนกรีต จะต้องปฏิบัติในแต่ละขั้นตอนดังต่อไปนี้
(1.1) การขนส่งคอนกรีต วิธีและเครื่องมือที่จะขนคอนกรีต และระยะเวลาที่ใช้ในระหว่าง
การขนส่งจะต้องไม่ทําให้ส่วนผสมหยาบแยกตัว (Segregation) ออกจากปูนทราย และไม่ทําให้ค่าการยุบตัว
ของคอนกรีตลดลงเกินกว่า 1 นิ้ว เมื่อคอนกรีตไปถึงที่เทลงแบบหล่อ
(1.2) การเทคอนกรีต ถ้าต้องเทคอนกรีตลงบนผิวหน้าที่เป็นหิน หรือรอยต่อก่อสร้าง
(Construction Joint) ให้ ใ ช้ ปู น ทรายที่ มี อั ต ราส่ ว นผสมเหมื อ นคอนกรี ต อั ต ราส่ ว นน้ํ า กั บ ซี เ มนต์ เ ท่ ากับ
คอนกรี ต หรื อ น้ อ ยกว่ า และมี ค วามเหลวพอเหมาะกั บ งาน ปู น ทรายนี้ ใ ห้ เ ทลงไปก่ อ นให้ มี ค วามหนา
1 เซนติเมตร และจะต้องเทเกลี่ยทับผิวหน้าและแทรกตามส่วนที่ขรุขระโดยทั่วถึงสม่ําเสมอ แล้วเทคอนกรีต
ทับปูนทรายในทันที การเทคอนกรีตต้องเทให้ใกล้พื้นที่สุดเพื่อไม่ให้วัสดุหยาบแยกตัวออก
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4 - 16 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

การเทคอนกรีตบนพื้นลาดเอียงต้องใช้คอนกรีตที่มีส่วนผสมมีค่ายุบตัวต่ํา โดยเริ่มจาก
ด้านล่างขึ้นไปสู่ด้านบน การเกลี่ยคอนกรีตและทําให้คอนกรีตแน่น อาจใช้บรรทัดยาวพาดบนโครงไม้ที่ปรับได้
แนวเอียงตามต้องการ โครงไม้ที่วางเพื่อใช้เป็นแนวหรือระดับ จะต้องรื้อออกไปก่อนที่คอนกรีตจะเริ่มก่อตัว
(1.3) การทําให้คอนกรีตแน่น การเทคอนกรีตจะต้องทําให้มีเนื้อแน่นมากที่สุดที่จะทําได้
โดยไม่ให้มีช่องว่างในเนื้อคอนกรีต และให้เนื้อคอนกรีตเบียดแน่นกับผิวของแบบหล่อและจับยึดเหล็กที่ฝังไว้แน่น
การเขย่าคอนกรีตในโครงสร้างต่าง ๆ ต้องใช้เครื่องเขย่าให้เหมาะสมกับลักษณะของงาน ซึ่งมีทั้งชนิดหัวจุ่ม
(Immersion Type Vibrator) และชนิ ด ติ ด กั บ แบบหล่ อ (Form Vibrator) ชนิ ด หั ว จุ่ ม จะต้ อ งให้ ห มุ น ได้
อย่างน้อย 7,000 รอบต่อนาที เมื่อจุ่มอยู่ในคอนกรีต
ในการทําให้คอนกรีตแน่นแต่ละชั้น เครื่องเขย่าจะต้องตั้งให้ได้ฉากและหัวเขย่าจะต้องให้
จุ่มลงไปในเนื้อคอนกรีตให้หัวเขย่าลงไปถึงคอนกรีตชั้นล่าง ซึ่งได้ทําการเขย่าเรียบร้อยแล้ว เพื่อให้คอนกรีตที่เท
ใหม่ เชื่ อมกับคอนกรีตที่ได้เทไปก่อ นแล้ ว จะต้องไม่เทคอนกรี ตเพิ่ มเข้าไปอีก จนกว่าจะได้เขย่ าคอนกรีต
ตอนแรกทั่วถึงกันดีแล้ว ในขณะเขย่าจะต้องระมัดระวังไม่ให้หัวเขย่าสัมผัสกับผิวหน้าของแบบหล่อได้เลย
การทําให้คอนกรีตดาดส่วนพื้นแน่นเชื่อมเป็นเนื้อเดียวกัน ควรใช้เครื่องเขย่าชนิดตรึงติดกับ
แบบหล่อ (Form - type Vibrator) โดยผู้รับจ้างจะต้องเลื่อนจุดยึดเครื่องเขย่าไปจนทั่วผิวคอนกรีต
(2) การอัดซีเมนต์เหลว
(2.1) ซีเมนต์เหลวที่ใช้ในการอัดฉีดเข้าไปในโครงสร้างคอนกรีตอัดแรงนั้น ส่วนผสมของ
น้ําและปูนซีเมนต์ (W/C Ratio) จะต้องเหมือนกับผสมของคอนกรีตอัดแรง และมีส่วนผสมของอะลูมิเนียม
ฟลายแอชหรือวัสดุอื่นที่ใช้ในการนี้โดยเฉพาะ ซึ่งจะต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเสียก่อน
(2.2) การฉีดซีเมนต์เหลวจะต้องทําด้วยเครื่องอัดใช้แรงดันประมาณ 6 กิโลกรัมต่อตาราง
เซนติเมตร และจะเลิกอัดฉีดซีเมนต์เหลวได้ก็ต่อเมื่อที่ปลายอีกข้างหนึ่งมีซีเมนต์เหลวพุ่งไหลออกมาเต็มท่อ
และพุ่งไหลสม่ําเสมอแล้วจึงอุดท่อได้
เมื่อซีเมนต์เหลวแข็งตัวแล้วไม่น้อยกว่า 3 วัน ให้ทําการตัดเหล็กเสริมคอนกรีต
การตัดให้ตัดด้วยไฟแก๊ส ห้ามตัดด้วยเลื่อย เมื่อตัดเรียบร้อยแล้วให้พอกหุ้มรอยตัดด้วยปูนทรายอัตราส่วน 1:1
4.6.13 การถอดแบบหล่อและไม้ค้ํายัน
เพื่ อที่ จะให้ ทําการบ่มคอนกรี ตได้โดยสะดวก และให้แต่งผิวหน้าได้โดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทําได้
ให้ถอดแบบหล่อได้ทันที เมื่อคอนกรีตแข็งตัวพอที่จะถอดแบบหล่อออกได้ตามคําแนะนําของผู้ควบคุมงาน
ก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
แบบหล่อและไม้ค้ํายันบางส่วนของงานคอนกรีต จะต้องไม่ถอดออกจนกว่ากําลังของคอนกรีต
จะมีพอ ซึ่งเมื่อถอดแล้วจะไม่เกิดรอยร้าว หรือย้อยตัวจนแลเห็นได้หรือมีรอยแตกตามขอบหรือตามผิวหน้าหรือ
การเสียหายอื่น ๆ แก่คอนกรีต
ระยะเวลาที่จะถอดแบบหล่อและไม้ค้ํายันบางส่วนของงานคอนกรีต ตามความแข็งแรงคอนกรีต
ประมาณได้ ดังนี้
- แบบหล่อด้านข้างของฐานราก เสา และคาน (ที่ไม่รับน้ําหนัก) เป็นเวลา 2 วัน
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4 - 17 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

- แบบหล่อใต้ท้องคาน เป็นเวลา 21 วัน


- แบบหล่อใต้แผ่นพื้น เป็นเวลา 14 วัน
- ค้ํายันใต้ท้องคานและแผ่นพื้น เป็นเวลา 28 วัน
- การติดตั้งไม้ค้ํายัน ไม้นั่งร้าน แบบหล่อซึ่งจะทําให้เกิดความกระเทือนบนคอนกรีตจะกระทํา
ได้เมื่อคอนกรีตนั้นมีอายุเกิน 48 ชั่วโมง
ในกรณีที่ต้องการถอดแบบหล่อออกก่ อนกําหนด จะต้องมีเอกสารแสดงกําลังคอนกรีต ว่า
ได้ตามกําหนดแล้วเสนอให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุพิจารณาอนุมัติ
4.6.14 การซ่อมคอนกรีต
การซ่ อ มคอนกรี ต จะต้ อ งกระทํ า โดยช่ า งชํ า นาญงาน เมื่ อ จะมี ก ารซ่ อ มคอนกรี ต เมื่ อ ใด
ผู้รับจ้างต้องแจ้งผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างให้ทราบ และการซ่อมคอนกรีตจะกระทําได้ก็ต่อเมื่อมี
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างอยู่ด้วยเท่านั้น การซ่อมคอนกรีตที่ใช้แบบหล่อจะต้องทําให้เสร็จภายใน 24
ชั่วโมง หลังจากถอดแบบหล่อแล้ว นอกจากจะได้รับการเห็นชอบเป็นอย่างอื่น
คอนกรี ต ที่ เ สี ย หายจากเหตุ ใ ดก็ ต าม และคอนกรี ต ที่ เ ป็ น รวงผึ้ ง แตกร้ า ว หรื อ เสี ย หาย
อย่างอื่นใด และคอนกรีตที่มีผิวหน้าบุ๋มมากเกินไป ซึ่งจะต้องเอาออกแล้วแต่งให้ได้ผิวหน้าตามแนวที่กําหนด
ทั้งหมดนี้จะต้องสกัดออกให้หมดแล้วแต่งด้วยปูนทรายแห้ง (Dry Pack) ปูนทราย (Mortar) หรือคอนกรีต
(Concrete) ตามความเหมาะสม
(1) การซ่อมด้วยปูนทรายแห้ง (Dry Pack) จะใช้สําหรับอุดรูซึ่งมีขนาดด้านเล็กของรูอย่างน้อยที่สุด
ด้านหนึ่งโตกว่าความลึกของรู สําหรับอุดร่องตื้น ๆ ที่เซาะขึ้นเพื่อซ่อมรอยร้าว สําหรับอุดรูท่ออัดน้ําปูน สําหรับอุด
รูหัวน็อตเหล็กยึดแบบหล่อ ปูนทรายแห้งนี้ห้ามให้อุดด้านหลังเหล็กเสริม หรือรูที่ทะลุตลอดหน้าตัดของคอนกรีต
(2) การซ่ อมด้ วยปู นทราย (Mortar Filling) การอั ดปู นทรายด้ ว ยหั วฉี ด (Mortar Gun) นั้ น
ใช้ซ่อมผิวคอนกรีตที่เป็นแอ่งหรือร่องที่กว้างเกินกว่าที่จะใช้ปูนทรายแห้งได้ และตื้นเกินกว่าที่จะใช้คอนกรีตอุด
ได้ และจะต้องไม่ลึกกว่าผิวหน้าเหล็กเสริมคอนกรีตด้านที่อยู่ใกล้ผิวคอนกรีตที่สุด
(3) การซ่อมด้วยคอนกรีต (Concrete Filling) การซ่อมด้วยคอนกรีตจะใช้สําหรับรูซึ่งทะลุ
ตลอดหน้ า ตั ด ของคอนกรี ต สํ า หรั บ รู ซึ่ ง ไม่ มี เ หล็ ก เสริ ม ขวางอยู่ ซึ่ ง มี เ นื้ อ ที่ ม ากกว่ า 1 ตารางฟุ ต และ
ลึกกว่า 10 เซนติเมตร หรือสําหรับรูในคอนกรีตที่มีเหล็กเสริมมีเนื้อที่มากกว่า 1/2 ตารางฟุต และลึกเลยเหล็ก
เสริมเข้าไป
รายละเอียดการซ่อมคอนกรีตให้ถือตามคําแนะนําใน Concrete Manual พิมพ์ครั้งที่ 8 บทที่ 7
ของ U.S. Department of the Interior Water and Power Resources Service
4.6.15 การป้องกันผิวหน้าคอนกรีต
ในระหว่ างที่เทคอนกรีตหรือได้เทเสร็จเรี ยบร้อ ยแล้ว แต่ผิวหน้าของคอนกรีตยังไม่แ ข็งดี
เมื่อเกิดฝนตกผู้รับจ้างจะต้องหาวัสดุมาปกปิดผิวหน้าคอนกรีต เพื่อป้องกันผิวหน้าคอนกรีตถูกฝนชะล้าง
ถ้าจะป้องกันโดยใช้กระสอบคลุมจะต้องไม่ใช้กระสอบที่เคยใส่น้ําตาล เกลือ หรือปุ๋ยมาก่อน

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4 - 18 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

4.6.16 การบ่มคอนกรีต
เพื่อป้องกันน้ําในคอนกรีตระเหยออกได้ จําเป็นจะต้องป้องกันผิวคอนกรีตที่สัมผัสกับอากาศ
และโดนแสงแดดเผา โดยการบ่มด้วยวิธีการที่เหมาะสม เพื่อให้คอนกรีตมีคุณภาพดี
(1) การบ่มด้วยน้ํา คอนกรีตเมื่อผิวหน้าแข็งดีแล้ว จะต้องทําให้ผิวหน้าชุ่มชื้นทันที อยู่ตลอดเวลา
ไม่น้อยกว่า 14 วัน หรือจนกระทั่งเทคอนกรีตใหม่ทับลงไป คอนกรีตจะต้องรักษาไว้ให้ชุ่มชื้นอยู่ตลอดเวลาโดย
การหล่อน้ําขังไว้ คลุมด้วยวัสดุที่ชุ่มน้ํา หรือโดยการฉีดน้ําเป็นฝอย ฯลฯ
(2) การบ่มด้วยน้ํายาบ่มคอนกรีต (Curing Compound)
การบ่มคอนกรีตด้วยน้ํายาบ่มคอนกรีต จะใช้ทาหรือพ่นเป็นฝอยอย่างสม่ําเสมอบนผิวหน้า
คอนกรี ต ให้ ทั่ ว โดยใช้ น้ํ า ยา 1 ลิ ต รต่ อ พื้ น ที่ ไ ม่ เ กิ น 5 ตารางเมตร น้ํ า ยาบ่ ม คอนกรี ต จะต้ อ งมี คุ ณ สมบั ติ
ตามมาตรฐานวัสดุของกรมชลประทาน หรือตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.841-2548
“สารเหลวบ่มคอนกรีต”
การพ่นน้ํายาบ่มคอนกรีตลงบนผิวคอนกรีตที่ไม่มีแบบหล่อ จะต้องกระทําทันทีหลังจาก
การแต่ ง ผิ ว หน้ า เสร็ จ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว แต่ สํ า หรั บ ผิ ว คอนกรี ต ที่ ห ล่ อ โดยใช้ แ บบหล่ อ ทั น ที ที่ ถ อดแบบหล่ อ
ออกแล้ว จะต้องทําให้ผิวคอนกรีตเปียกโดยการฉีดน้ําให้เป็นฝอย และจะต้องทําให้เปียกไว้จนกระทั่งผิวนั้นจะ
ไม่ ดู ด ความชื้ น เข้ า ไปอี ก ทั น ที ที่ น้ํ า ที่ ติ ด อยู่ บ นผิ ว คอนกรี ต แห้ ง แต่ ค อนกรี ต ยั ง ชื้ น อยู่ จะต้ อ งพ่ น น้ํ า ยา
บ่มคอนกรีตลงไปทันที หลังจากพ่นน้ํายาเสร็จเรียบร้อยและเมื่อแตะดูผิวน้ํายาแห้งแล้ว จึงจะเริ่มทําการซ่อม
ผิวคอนกรีตที่ต้องการซ่อมแซมได้ การซ่อมแซมแต่ละแห่งนั้นเมื่อซ่อมแซมเสร็จแล้วจะต้องทําความสะอาดและ
ทําให้เปียกชื้น แล้วพ่นด้วยน้ํายาบ่มคอนกรีตอีกครั้งหนึ่ง
ภายในระยะเวลา 28 วัน หลังจากการพ่นน้ํายาบ่นคอนกรีต การดําเนินการใด ๆ ที่จะ
ทําให้เกิดความเสียหายแก่ผิวที่ฉาบด้วยน้ํายาบ่มคอนกรีต จะต้องทําการพ่นใหม่ทันที และถ้าจําเป็นในการ
ก่ อ สร้ า งที่ จ ะต้ อ งใช้ เ ครื่ อ งจัก รกลใด ๆ เคลื่ อ นที่ บ นผิว ที่ฉ าบด้ ว ยน้ํ า ยาบ่ ม คอนกรี ต จะต้ อ งใช้ ท รายหรือ
ดินหนาไม่น้อยกว่า 2.50 เซนติเมตร ปิดทับผิวนั้นเสีย ภายหลังที่น้ํายาแห้งตัวดีแล้ว
4.6.17 น้ํายาบ่มคอนกรีต (Curing Compound)
(1) ลักษณะทั่วไป
น้ํายาบ่มคอนกรีตจะต้องประกอบด้วยสารที่ไม่เป็นพิษต่อร่างกาย และไม่ไวไฟ
(2) คุณสมบัติ
น้ํายาบ่มคอนกรีตจะต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
(2.1) ความเหลว (Consistency) น้ํายาบ่มคอนกรีตจะต้องมีความเหลวพอเหมาะที่จะ
สามารถพ่ น ได้ ส ะดวกและสม่ํ า เสมอบนผิ ว คอนกรี ต ที่ อุ ณ หภู มิ เ กิ น 4 องศาเซลเซี ย ส โดยใช้ หั ว ฉี ด ชนิ ด
Atomizing Nozzles และเมื่อพ่นกับผิวคอนกรีตชื้นที่ตั้งฉากกับพื้นราบโดยใช้อัตราที่กําหนด (อัตราที่กําหนด
หมายถึง อัตราการพ่นน้ํายามีหน่วยเป็นแกลลอนต่อตารางฟุต หรือลิตรต่อตารางเมตร ซึ่งบริษัทผู้ผลิตได้
ระบุไว้ ถ้าไม่มีการระบุอัตราที่กําหนด จะทําการทดสอบที่อัตรา 200 ตารางฟุตต่อ U.S. แกลลอน) น้ํายา
จะต้องไม่ไหลหรือย้อย
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4 - 19 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

(2.2) คุณสมบัติในการป้องกันน้ําระเหยจากผิวคอนกรีต (Water Retention) เมื่อทดลอง


โดย Water Retention Test ASTM C–156 เป็นเวลา 3 วัน น้ําจะต้องหายไปจากคอนกรีตได้ไม่เกิน 0.07
กรัมต่อตารางเซนติเมตรของผิวหน้า Mortar
(3) ตัวอย่างสําหรับทดสอบ
ผู้รับจ้างต้องส่งตัวอย่างน้ํายาอย่างน้อย 1 ลิตรต่อ 1 ตัวอย่าง และให้ระบุชื่อบริษัท
และประเทศผู้ผลิตด้วย ส่งให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง เพื่อส่งตรวจสอบที่สํานักวิจัยและพัฒนา กรม
ชลประทาน หรือสถาบัน ส่วนราชการอื่นที่เชื่อถือได้ ตรวจสอบคุณภาพก่อนที่จะนําไปใช้
4.6.18 การทําเครื่องหมายบนผิวหน้าคอนกรีต
ผิวหน้าคอนกรีตที่ดาดแล้ว และหลังจากได้ทําการพ่นน้ํายาบ่มคอนกรีตและน้ํายาที่ฉาบแห้ง
สนิทดีแล้ว ให้ทําเครื่องหมายแสดงวัน เดือน ปี ที่ทําการดาดคอนกรีตนั้นไว้บนผิวคอนกรีตโดยการทาสีให้
สังเกตเห็นได้ง่ายและชัดเจน เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบภายหลัง
4.6.19 ความคลาดเคลื่อนของอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
ความคลาดเคลื่ อนในที่ นี้ หมายถึ ง ความคลาดเคลื่ อนที่ ยอมให้ เกิ ดขึ้ นจากวิ ธี การก่ อสร้ าง
ผู้รับจ้างจะต้องทําการก่อสร้างงานคอนกรีตทั้งหมดให้ได้ตามแนว ระดับ และขนาดตามที่ระบุไว้ในแบบรูป
และรายการละเอียด แต่เมื่อทําด้วยความระมัดระวังดีที่สุดแล้วยังมีความคลาดเคลื่อนอยู่ ความคลาดเคลื่อน
จะต้องไม่เกินกว่าเกณฑ์ที่กําหนดไว้ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือผู้ควบคุมงานมีสิทธิที่จะไม่ยอมรับความ
คลาดเคลื่อนนั้น เมื่อพิจารณาเห็นว่าจะมีผลกระทบกระเทือนต่อโครงสร้าง รูปร่าง และการใช้งานของอาคาร งานที่
ไม่ยอมรับนี้ ผู้ รั บ จ้ า งจะต้ อ งรื้ อ ถอน หรื อ ทุ บ ออก แล้ ว ทํ า การซ่ อ มแซมหรื อ สร้ า งใหม่ โดยผู้ รั บ จ้ า งต้ อ ง
เสียค่าใช้จ่ายเองทั้งหมด
ความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้สําหรับงานอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
(1) ความคลาดเคลื่อนในแนวดิ่ง
(1.1) แนวหรือผิ วของเสาตอม่ อ กําแพง และแนวที่ เห็ นได้ ชั ดเจนอื่ น ๆ สําหรับส่ วนสู งที่
ไม่เกิน 6 เมตร ยอมให้คลาดเคลื่อนได้ไม่เกินกว่า 1.20 เซนติเมตร ส่วนที่สูงกว่า 6 เมตร ยอมให้คลาดเคลื่อนได้
ไม่เกินกว่า 2.50 เซนติเมตร
(1.2) เสาที่ อ ยู่ ต รงมุ ม หรื อ Grooves ของ Control Joints ยอมให้ ค ลาดเคลื่ อ นได้
ครึ่งหนึ่งของข้อ (1.1)
(2) ความคลาดเคลื่อนของระดับ จากที่ระบุไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด
(2.1) พื้น เพดาน และคาน
สูง 3 เมตร ยอมให้คลาดเคลื่อนได้ ± 0.06 เซนติเมตร
สูง 6 เมตร ยอมให้คลาดเคลื่อนได้ ± 1.20 เซนติเมตร
สูง 12 เมตร หรือมากกว่า ยอมให้คลาดเคลื่อนได้ ± 2.50 เซนติเมตร
(2.2) กําแพงกั้นคอนกรีต และส่วนที่เห็นได้ชัดเจนอื่น ๆ ยอมให้คลาดเคลื่อนเป็นครึ่งหนึ่ง
ของข้อ (2.1)
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4 - 20 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

(3) ความคลาดเคลื่อนในแนวราบจากตําแหน่งที่กําหนดไว้
(3.1) ช่วง 6 เมตร ยอมให้คลาดเคลื่อนได้ ± 0.06 เซนติเมตร
(3.2) ช่วง 12 เมตร หรือมากกว่า ยอมให้คลาดเคลื่อนได้ ± 1.20 เซนติเมตร
(4) ความคลาดเคลื่อนของตําแหน่ง หรือขนาดของช่องเปิดที่พื้นหรือกําแพง
ยอมให้คลาดเคลื่อนได้ ± 1.20 เซนติเมตร
(5) ความคลาดเคลื่อนของความหนาของ Slab หรือกําแพง
ยอมให้คลาดเคลื่อนได้ ± 0.06 เซนติเมตร
(6) ความคลาดเคลื่อนของฐานราก Footing
(6.1) ความคลาดเคลื่อนของขนาดในแนวราบ
ยอมให้มีความคลาดเคลื่อนได้ ทางลบ ไม่เกิน 1.3 เซนติเมตร และทางบวก ไม่เกิน
5 เซนติเมตร
(6.2) ความคลาดเคลื่อนเนื่องจากการผิดตําแหน่ง
ยอมให้มีความคลาดเคลื่อนได้ร้อยละ 2 ของความกว้างของด้านที่ชนานกับทิศทางที่
เกิดความเบี่ยงเบน แต่ไม่เกิน 5 เซนติเมตร
(6.3) ความคลาดเคลื่อนของขนาดความหนา
ยอมให้ขนาดความหนาน้อยกว่าความหนาที่แบบกําหนดได้ ± 0.06 เซนติเมตร
4.6.20 Blockout
กรณีที่มีงานโลหะฝังติดอยู่กับคอนกรีต ผู้รับจ้างจะต้องจัด Blockout ของเนื้อคอนกรีตบริเวณ
นั้นไว้ตามแบบหล่อ เพื่อให้การติดตั้งงานโลหะนั้นได้ถูกต้องแน่นอน หลังจากติดตั้งโลหะแล้วผู้รับจ้างจะเท
คอนกรีตลงไปตามเดิม
ก่อนที่จะเทคอนกรีต ผู้รับจ้างจะต้องทําผิว Blockout ให้ขรุขระ และทําความสะอาดเสียก่อน
การเทคอนกรีตต้องกระทําต่อหน้าผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง คอนกรีตที่เทลงไปใน Blockout ต้องให้
ยึดเกาะกับโลหะเป็นอย่างดี ต้องไม่มีช่องว่างในซอกใด ๆ ผิวนอกของคอนกรีตต้องแต่งให้เรียบร้อย
4.7 งานคอนกรีตดาด
4.7.1 ขอบเขตของงาน
งานนี้ประกอบด้วย งานดาดคอนกรีต หรืองานอื่น ๆ ตามที่ระบุในแบบรูปและรายการละเอียด
รวมทั้งการเตรียมผิว การบดอัดตามลาดเอียง และพื้นท้องของคลองส่งน้ํา จัดทําระบบระบายน้ําซึม กระทุ้ง
คอนกรีตให้แน่น ตกแต่งผิว บ่มคอนกรีต ตลอดจนการสร้างรอยต่อในผืนคอนกรีต และการอุดรอยต่อต่าง ๆ
รวมทั้งการจัดหาวัสดุ วัสดุรอยต่อ น้ํายาบ่มคอนกรีต งานลดระดับน้ําใต้ดิน และน้ําที่ระบายอยู่หรือระบาย
น้ําฝน หรืองานที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4 - 21 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

4.7.2 วัสดุ
คอนกรีตที่ใช้ในงานดาดคอนกรีต ต้องรับแรงกดสูงสุดได้ไม่น้อยกว่า 140 กิโลกรัมต่อตาราง
เซนติเมตร โดยการทดสอบแท่งคอนกรีตมาตรฐานรูปทรงกระบอก โดยส่วนผสมของคอนกรีตต้องมีอัตราส่วน
น้ําและปูนซีเมนต์ (w/c Ratio) ไม่เกิน 0.55
4.7.3 วิธีการก่อสร้าง
(1) เมื่อผู้รับจ้างจัดทํางานดินถมบดอัดแน่นคลองส่งน้ําแล้ว ให้ผู้รับจ้างวางแนวศูนย์กลาง
คลอง กําหนดความลึก ความกว้างของก้นคลอง และแจ้งให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างก่อน จึงจะเริ่ม
งานขุดคลองได้ การขุดนั้นพยายามขุดให้ได้มิติตามที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้
(2) ดินที่ขุดได้ให้ผู้รับจ้างนําไปใช้งานดินถมบดอัดแน่นคลองส่งน้ําช่วงต่อ ๆ ไปได้ หรือนําไปใช้
ในงานดินถมบดอัดแน่นรอบ ๆ อาคาร ให้ผู้รับจ้างนําไปกองและเกลี่ยตามบริเวณที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้
ว่าจ้างกําหนด
(3) ทุ ก ๆ ระยะไม่ เ กิ น 3.0 เมตร ผู้ รั บ จ้ า งต้ อ งจั ด ทํ า งาน Construction Joint และ
Transverse Groove และที่ Construction Joint ทุก ๆ รอยต่อ ผู้รับจ้างจะต้องรองด้วยแผ่นพลาสติกหนา
0.25 มิลลิเมตร หรือตามที่แสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด
(4) ก่อนเทคอนกรีตงานดาด ต้องแจ้งให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างตรวจสอบระดับ
แนวความกว้างท้องคลอง ความเอียงลาดด้านข้าง ความหนาของงานดาดให้ได้ตามที่แบบรูปและรายการ
ละเอียดกําหนดไว้
(5) ให้ตรวจสอบงานดาดในช่วงนั้น ๆ ต้องจัดทํางานลดแรงดันน้ําตามที่กําหนดไว้ในแบบรูป
และรายการละเอียดก่อน จึงจะดาดคอนกรีตช่วงนั้น ๆ ได้
(6) การดาดให้ดาดแผ่นเว้นแผ่น โดยดาดแผ่นแรกเรียกว่าแผ่นเปิด และเว้นไป 1 แผ่น
(3.0 เมตร) จึงดาดอีก 1 แผ่น ภายหลังจากนั้น 24 ชั่วโมง หรือตามคําแนะนําของผู้ควบคุมงานก่อสร้าง
ของผู้ว่าจ้าง จึงดาดแผ่นปิด (ที่เว้นไว้) สําหรับการถอดแบบข้างภายหลังจากงานดาดแล้วไม่น้อยกว่า 24
ชั่วโมง หรือตามคําแนะนําของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(7) ก่อนการดาดผู้รับจ้างจะต้องระมัดระวังการจัดทํางานระบบระบายน้ําใต้คอนกรีตดาด
งานบันไดลิง และงานอื่น ๆ ที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรืองานตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของ
ผู้ว่าจ้างแนะนําให้ต้องจัดทํา
(8) สําหรับงานดาดที่มีความหนา 0.08 เมตร ผู้รับจ้างต้องดาดด้วย Slipform (แบบเลื่อน)
เพื่อช่วยในการดาดให้งานมีคุณภาพที่ดี ดาดด้านข้างทั้ง 2 ข้าง ต่อเนื่องกันกับก้นคลอง โดยใช้เทคนิคการ
เลื่อนแบบหล่อไปช้า ๆ ขณะเทคอนกรีตและสั่นคอนกรีตไปในตัวด้วย คอนกรีตจะต้องก่อตัวได้ตามแบบหล่อ
โดยสามารถรับน้ําหนักและคงรูปร่างอยู่ด้วยตัวมันเองได้ การเลื่อนตัวของแบบหล่อต้องเป็นไปอย่างสม่ําเสมอ
ไม่ ขั ด จั ง หวะในขณะทํ า งานการดาดจะต้ อ งดาดท้ อ งคลองและต่ อ เนื่ อ งกั บ ดาดลาดของคลองในเวลาที่
ใกล้เคียงกัน และไม่อนุญาตให้ผู้รับจ้างดาดท้องคลองไว้ก่อนและมาดาดด้านข้างของคลองในภายหลัง

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4 - 22 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

(9) เมื่อดาดและแต่งหน้าเรียบร้อยแล้ว ให้ผู้รับจ้างบ่มคอนกรีตตามรายละเอียดที่กําหนด


ในข้อ 4.6.16 “การบ่มคอนกรีต” ในทันที
(10) ผู้รับจ้างต้องแจ้งให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง ตรวจสอบระดับหลังดาดคอนกรีต
4.7.4 ความคลาดเคลื่อนและข้อจํากัดของงานคอนกรีตดาด
(1) ผิวของผืนคอนกรีตที่ดาดในช่วงใดช่วงหนึ่งระหว่างรอยต่อ จะมีระดับผิวแห่งใดแห่งหนึ่ง
คลาดเคลื่อนจากผิวทั่วไปในผืนนั้น ๆ ได้ไม่เกิน + 5 มิลลิเมตร
(2) ความหนาของคอนกรีตที่ดาดจะต้องมีความหนาไม่น้อยกว่าที่ระบุไว้ในแบบรูปและรายการ
ละเอียด
(3) รอยต่อทุ ก รอยต้ อ งตรงได้ ร ะดับ และผิ ด ไปจากแนวและระดั บที่ แ สดงไว้ไ ด้ไ ม่ เ กิ น 10
มิลลิเมตร ในระยะ 3.0 เมตร
4.8 รอยต่อคอนกรีต
รอยต่อสําหรับงานคอนกรีตแต่ละแห่งจะต้องปฏิบัติตามที่แสดงหรือกําหนดไว้ในแบบรูปและรายการ
ละเอียดอย่างเคร่งครัด ทั้งตําแหน่ง ชนิดของรอยต่อ และขนาดต่าง ๆ ชนิดของรอยต่อคอนกรีต จะแบ่ง
ออกได้เป็น
4.8.1 รอยต่อก่อสร้าง (Construction Joint)
รอยต่อก่อสร้างจะต้องทําความสะอาดให้คอนกรีตมีผิวใหม่ ก่อนที่จะเทคอนกรีตส่วนต่อไป
โดยการขจัดส่วนที่ยุ่ย สกปรกและไม่แข็งแกร่งต่าง ๆ ออกให้หมดสิ้น โดยใช้น้ําฉีดหรือทรายฉีด (Sand Blast) หรือ
วิธีอื่น ๆ ตามความเห็นชอบของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง อนึ่ง ถ้าไม่มีระบุในแบบรูปและรายการ
ละเอียด แต่เพื่อความสะดวกและเหมาะสมในการก่อสร้าง ให้จัดทํารอยต่อก่อสร้างเพิ่มเติมได้ โดยความ
เห็นชอบของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
4.8.2 รอยต่อเพื่อควบคุมแรงเค้นส่วนเกิน (Control Joint)
ในการที่ อ าคารคอนกรี ต ตั้ ง แต่ ส องส่ ว นขึ้ น ไปมาเชื่ อ มต่ อ กั น แต่ ส่ ว นของอาคารดั ง กล่ า ว
ก่อสร้างขึ้นไม่พร้อมกัน หรือวางอยู่บนฐานรากที่มีสภาพแตกต่างกัน ย่อมเกิดการทรุดตัวไม่เท่ากัน ส่วนที่
ทรุดตัวมากกว่าจะดึงหรือเหนี่ยวส่วนที่ทรุดตัวน้อยกว่า จะทําให้เกิดแรงเค้นเพิ่มขึ้นโดยที่มิได้คํานวณเผื่อเอาไว้
อาจเกิดการแตกร้าวของคอนกรีตได้ ดังนั้นจึงจําเป็นต้องทํารอยต่อไว้ตรงแนวที่ส่วนของอาคารมาชนกันไว้เพื่อ
ป้องกันแรงเค้นส่วนเกินที่จะเกิดขึ้นในลักษณะดังกล่าวข้างต้น ผู้รับจ้างจะต้องจัดทํารอยต่อตามที่ระบุใน
แบบรูปและรายการละเอียด รายละเอียดรอยต่อจะต้องประกอบด้วยยางกันน้ํา (Waterstop) น้ํายาเคลือบผิว
(Sealing Compound) และให้เหล็กเสริมแนวนอนยาวผ่านรอยต่อไปอีกด้านหนึ่ง
4.8.3 รอยต่อเผื่อขยายตัว (Expansion Joint)
จะต้องทําตามตําแหน่งที่แสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด ช่องว่างระหว่างรอยต่อเผื่อ
ขยายตัวจะต้องห่างกันอย่างน้อย 1 เซนติเมตร หรือตามที่แสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด และให้ใส่
ช่องว่างระหว่างผิวคอนกรีตด้วยวัสดุป ระเภท แผ่น ใยใส่ร อยต่อ คอนกรีต (Elastic Filler) แล้ว อุด รอยต่อ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4 - 23 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

คอนกรีตด้านที่สัมผัสน้ําด้วยแอสฟัลต์ซีเมนต์ผสมทราย (Joint Sealant) ลึกประมาณ 2 เซนติเมตร หรือ


ตามที่แสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด หรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างพิจารณาเห็นสมควร
4.9 วัสดุรอยต่องานคอนกรีต
4.9.1 ยางกันน้ํา (Waterstop)
จะต้องเป็นวัสดุประเภทยาง (Rubber) หรือตามที่ระบุไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด โดย
ให้ติดตั้งตามตําแหน่งที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด ยางกันน้ําต้องมีความยาวติดต่อกันตลอด
ตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด หรือตามวิธีการของบริษัทผู้ผลิตกําหนดไว้ โดยจะต้องได้รับ
ความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง การติดตั้งจะต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ เพื่อให้
ศูนย์กลางของแผ่นกันน้ําอยู่กึ่งกลางรอยต่อพอดี
สํ า หรั บ ยางกั น น้ํ า (Waterstop) ต้ อ งมี ผิ ว เรี ย บสม่ํา เสมอเป็ น เนื้ อ เดี ย วกัน ไม่ มี ตํ า หนิ จาก
สิ่ ง แปลกปลอมและปราศจากรู พ รุ น รู ป ร่ า งลั ก ษณะตามที่ แ สดงไว้ ใ นแบบรู ป และรายการละเอี ย ด และ
มี คุ ณ สมบั ติ ต ามมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม เลขที่ มอก.1135-2544 และจะต้ อ งได้ รั บ อนุ มั ติ จ าก
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุก่อนนําไปใช้งานได้
การติ ด ตั้ ง ยางกั น น้ํ า ชนิ ด แผ่ น ยาง กรณี ที่ ต้ อ งงอเป็ น มุ ม ฉากต้ อ งมี รั ศ มี ก ารงอไม่ น้ อ ยกว่ า
15 เซนติ เมตร สํ าหรับยางกันน้ํ า (Waterstop) ยางกันน้ํ าต้องวางห่ างจากผิ วคอนกรีตไม่ น้ อยกว่ า 11
เซนติเมตร หรือตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด ในขณะติดตั้งการยึดยางกันน้ํากับไม้แบบ
ห้ามไม่ใ ห้ใ ช้ ตะปู หรือสลั กเกลี ยวตอกยึด จนทําให้ยางกันน้ําทะลุ ที่ บริเวณหนึ่งบริเวณใดเป็นอั นขาด
ให้ยึดโดยวิธีจับยึดด้วยลวด (Clip or Fastener)
4.9.2 น้ํายาเคลือบผิว (Sealing Compound)
เป็ น น้ํ า ยาเคลื อ บผิ ว ใช้ ท าเคลื อ บผิ ว คอนกรี ต ส่ ว นรอยต่ อ ที่ แ ข็ ง ตั ว แล้ ว ก่ อ นที่ เ ทคอนกรี ต
ช่วงต่อไปเพื่อป้องกันมิให้ผิวคอนกรีตบริเวณรอยต่อติดกัน ผู้รับจ้างจะต้องทาน้ํายาเคลือบผิวตามที่กําหนดใน
แบบรูปและรายการละเอียด หรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นสมควร
4.9.3 แผ่นใยใส่รอยต่อคอนกรีต (Elastic Filler)
จะต้ องประกอบด้ วยชานอ้ อยหรื อเส้ นใยที่ ได้ จากธรรมชาติ หรื อวั สดุ เส้ นใยสั งเคราะห์ อื่น ๆ
ที่ เ หมาะสม นํ า มาอั ด เป็ น แผ่ น และอาบด้ ว ยแอสฟั ล ต์ ช นิ ด เหลวและต้ อ งมี คุ ณ สมบั ติ ตามมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.1041-2534 ดังนี้
(1) การดูดน้ําซึม (Water Absorption) เมื่อแช่แผ่นใยในน้ํา อุณหภูมิ 21 ± 3 องศาเซลเซียส
เป็นเวลา 24 ชั่วโมง จะต้องดูดน้ําไม่มากกว่าร้อยละ 15 โดยปริมาตร
(2) ความแน่นของแผ่นใย (Density) จะต้องไม่น้อยกว่า 305 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร เมื่อ
แผ่นใยอยู่ในลักษณะแห้ง (Air Dry)
(3) แรงกด (Compression) แรงที่ ใ ช้ ก ดแผ่ น ใยจนความหนาลดลงร้ อ ยละ 50 ของ
ความหนาเดิมจะต้องอยู่ระหว่าง 7-53 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ถ้าแผ่นใยมีความหนามากกว่า 12.5
มิลลิเมตร และแรงกดจะต้องอยู่ระหว่าง 7-88 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ถ้าแผ่นใยมีความหนาน้อยกว่า
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4 - 24 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

12.5 มิลลิเมตร โดยมียางแอสฟัลต์ไหลออกจากแผ่นใยไม่มากกว่าร้อยละ 3 โดยน้ําหนัก และเมื่อปล่อยให้


แผ่นใยคืนตัวเป็นเวลา 10 นาที แผ่นใยจะต้องคืนตัวจนมีความหนาไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของความหนาเดิม
(4) การขยายตัว นําแผ่นใยวางลงในที่บังคับ 3 ด้าน ปล่อยด้านหนึ่งว่างไว้เมื่อกดแผ่นใยตาม
ข้อ (3) แล้วแผ่นใยจะยืดออกทางด้านที่ว่างไว้ ส่วนที่ยืดออกจะต้องไม่เกิน 6 มิลลิเมตร
4.10 งานระบายน้าํ และลดแรงดันน้าํ
4.10.1 ทั่วไป
ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาและติดตั้งระบบระบายน้ําและลดแรงดันน้ํา ซึ่งกําหนดไว้ในแบบรูปและ
รายการละเอียด งานดังกล่าวจะอยู่ในส่วนด้านข้างและ/หรือด้านใต้ของกําแพงกันดิน คลองดาดคอนกรีต
และอาคารประกอบ ทั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อระบายน้ําและลดแรงดันจากดินด้านข้างและด้านใต้ของกําแพง
กันดิน คลองและอาคาร โดยชนิด ขนาด จํานวน และตําแหน่งของท่อลดแรงดันของน้ําจะต้องเป็นไปตามที่
กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด หรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นสมควร
4.10.2 ขอบเขตของงาน
ผู้รับจ้างจะต้องทําการจัดหาและติดตั้งระบบระบายน้ําและลดแรงดันน้ํา ให้ได้ตามรูปร่างและ
ขอบเขตที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด หรือตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยผู้รับ
จ้างจะต้องจัดหาเครื่องจักร-เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์และแรงงานในการทํางานนี้ทั้งหมด ตามขอบเขตงานดังนี้
(1) งานจัดหาและติดตั้ง Side Drain
(2) งานจัดหาและติดตั้ง Bottom Drain
(3) งานจัดหาและติดตั้ง Flap Valve Weephole
(4) งานจัดหาและติดตั้ง Transverse Drain
(5) งานจัดหาและติดตั้ง Intermittent Underdrain
(6) งานอื่น ๆ ตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด
(7) งานที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร
4.10.3 วัสดุ
(1) ท่อพีวีซี
ท่อระบายลดแรงดันน้ําพีวีซี ชนิดรูพรุน และชนิดไม่เจาะรูพรุน รวมทั้งข้อต่อและรอยเชือ่ ม
ต่าง ๆ ให้ผู้รับจ้างใช้ตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด ถ้าในกรณีที่ไม่กําหนดไว้ให้ใช้ท่อพีวีซีตาม
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.17-2532 ชั้นคุณภาพ PVC 13.5 และข้อต่อ (Fitting) ตาม
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.1131-2535 ท่อระบายลดแรงดันน้ําพีวีซี
(2) วัสดุกรอง (Filter Materials)
วัสดุกรอง จะต้องเป็น ทรายและ กรวดหรือหินย่อย และจะต้องแยกเป็นคนละชั้นกันตามที่
กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด มีขนาดคละกันตามที่กําหนดในตารางที่ 4-5

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4 - 25 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

ตารางที่ 4-5 ขนาดคละของวัสดุกรอง


ร้อยละโดยน้ําหนักร่อนผ่านตะแกรงมาตรฐาน
ชนิดของ เบอร์ เบอร์ เบอร์ เบอร์ เบอร์ เบอร์ เบอร์ ขนาด ขนาด ขนาด
วัสดุกรอง 1½
200 100 50 30 16 8 4 3/8 นิ้ว ¾ นิ้ว
นิ้ว
ทราย 0-3 3-7 15-26 30-62 55-85 75-95 95-100 - - -
กรวดหรือ
- - - - 0-5 10-25 20-40 40-54 65-80 -
หินย่อย
(3) แผ่นพลาสติกหนา 0.25 มิลลิเมตร
แผ่นพลาสติกที่ใช้ ต้องเป็นแผ่นพลาสติกโพลิเอทิลีนสําหรับกรุแหล่งน้ํา ที่มีความหนา
ไม่น้อยกว่า 0.25 มิลลิเมตร และมีคุณสมบัติ ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.555-2528
ชนิดที่ 1 หรือ 2
4.10.4 วิธีการก่อสร้าง
(1) ท่อระบายลดแรงดันน้ํา
(1.1) ทั่วไป
ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาและติดตั้งท่อระบายลดแรงดันน้ํา พร้อมวัสดุกรองและอุปกรณ์
ตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด
(1.2) ตัวอย่างและการทดสอบ
ผู้รับจ้างจะต้องส่งตัวอย่างท่อระบายลดแรงดันน้ํา ให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเพื่อ
ตรวจสอบและอนุมัติก่อนนํามาใช้งานตามวิธีการที่ระบุไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด ในการส่งตัวอย่าง
ของวัสดุท่อพีวีซี ซึ่งใช้ผลิตท่อลดแรงดันน้ําดังกล่าว ผู้รับจ้างจะต้องแนบใบรับรองการทดสอบ หรือ
Catalogs ของโรงงานผู้ผลิตมาด้วย
(1.3) การติดตั้ง
ผู้รับจ้างจะต้องจัดเตรียมพื้นที่ที่จะติดตั้งท่อระบายลดแรงดันน้ํา และวัสดุกรองให้
เรี ยบร้ อย โดยจะต้ องบดอั ดและแต่ งให้ ได้ รู ปร่ างตามแบบรู ป และรายการละเอี ย ด หรื อตามคํ าสั่ ง ของ
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง หลังจากนั้นใส่วัสดุกรองเป็นชั้น ๆ ตามแบบรูปและรายการละเอียด ให้ได้
แนว ระดับ กําหนดจุดติดตั้งท่อระบายลดแรงดันน้ํา ให้แน่นอนก่อนจึงติดตั้งท่อระบายลดแรงดันน้ํา
ในระหว่างการติดตั้ง ผู้รับจ้างจะต้องระมัดระวังไม่ให้ท่อลดแรงดันน้ําอุดตันด้วย
สาเหตุใด ๆ ก็ตาม และก่อนที่จะทําการตรวจรับงาน ผู้รับจ้างจะต้องทําความสะอาด และจะต้องได้รับการ
ทดสอบจนเป็นที่ยอมรับของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างก่อน ถ้าท่อลดแรงดันที่ทดสอบไม่เป็นไปตามที่
กําหนด ผู้รับจ้างจะต้องทําการเปลี่ยนใหม่โดยค่าใช้จ่ายของผู้รับจ้างเองทั้งสิ้น

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4 - 26 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

(2) วัสดุกรอง (Filter Materials)


(2.1) ทั่วไป
ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาและติดตั้งวัสดุกรองตามขนาด รูปร่าง ที่กําหนดไว้ในแบบรูป
และรายการละเอียด หรือตามคําสั่งของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(2.2) ตัวอย่าง
ผู้ รั บจ้ างจะต้ องส่ งตั วอย่ างวั สดุ กรองทั้ งชนิ ดละเอี ยดและหยาบให้คณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุเพื่อพิจารณาตรวจสอบและอนุมัติก่อนนํามาใช้งาน
(2.3) วิธีการติดตั้ง
ผู้รับจ้างจะต้องใส่วัสดุกรองให้ได้ขนาด รูปร่าง ที่กําหนดไว้ตามแบบรูปและรายการ
ละเอียด การวาง หรือติดตั้งวัสดุกรองจะต้องวางเป็นชั้น ๆ ให้ได้ความหนาตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและ
รายการละเอียดหรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างกําหนด

4.11 การเก็บตัวอย่างวัสดุก่อสร้างเพื่อการทดสอบและกําหนดอัตราส่วนผสม
ผู้รับจ้างจะต้องส่งตัวอย่างวัสดุก่อสร้างต่าง ๆ เช่น เหล็ก ซีเมนต์ ทราย หิน สารเคมีผสมคอนกรีต
น้ํายาบ่มคอนกรีต ฯลฯ ให้ผู้ว่าจ้างตรวจสอบคุณภาพก่อนใช้งาน ในกรณีกําหนดส่วนผสมคอนกรีต ผู้รับจ้าง
จะต้องส่งวัสดุผสมคอนกรีตที่จะใช้จริง ๆ ในงานก่อสร้าง ตามจํานวนต่อไปนี้
4.11.1 จํานวนวัสดุต่อหนึ่งอัตราส่วนผสม
(1) ปูนซีเมนต์ 2 ถุง (ถุงละ 50 กิโลกรัม)
(2) ทราย 150 กิโลกรัม
(3) กรวดหรือหินอย่างละ 200 กิโลกรัม
(4) แร่ผสมเพิ่ม 25 กิโลกรัม
(5) สารเคมีผสมเพิ่มสําหรับคอนกรีต ชนิดผง 1 กิโลกรัม
ชนิดน้ํา 1/2 แกลลอน
4.11.2 จํานวนวัสดุสําหรับทดสอบคุณภาพทั่ว ๆ ไป
(1) ปูนซีเมนต์ 1 ถุง (ถุงละ 50 กิโลกรัม)
(2) ทราย อย่างน้อย 25 กิโลกรัม
(3) กรวดหรือหินย่อยอย่างละ 50 กิโลกรัม
(4) หินใหญ่ ขนาด 20-40 เซนติเมตร 4 ก้อน
(5) เหล็กเส้นยาวไม่น้อยกว่า 100 เซนติเมตร จํานวน 3 ท่อน ต่อ 1 ขนาด
(6) สารเคมีผสมเพิ่มสําหรับคอนกรีต ชนิดผง 1 กิโลกรัม
ชนิดเหลว 1/2 แกลลอน
(7) น้ํายาบ่มคอนกรีต (Curing Compound) 1 ลิตร
(8) แผ่นใยใส่รอยต่อคอนกรีต (Elastic filler) ขนาด 0.30x0.30 เมตร 1 แผ่น
(9) ยางกันน้ํา (Waterstop) ยาว 30 เซนติเมตร

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4 - 27 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

4.11.3 จํานวนตัวอย่างเพื่อทําการทดสอบ
(1) ปูนซีเมนต์ เก็บทุก ๆ 200 เมตริกตัน หรือน้อยกว่า ต่อ 1 ตัวอย่าง
(2) ทราย กรวด หิ น ย่ อ ย หิ น ใหญ่ เก็ บ ทุ ก ๆ 2,000 ลู ก บาศก์ เ มตร หรื อ น้ อ ยกว่ า
ต่อ 1 ตัวอย่าง
(3) เหล็กเส้นเสริมคอนกรีต แต่ละขนาด
- จํานวนน้อยกว่า 30 ตัน เก็บ 3 ท่อน จากเหล็ก 3 เส้น ต่อ 1 ขนาด
- จํานวน 30-60 ตัน เก็บ 5 ท่อน จากเหล็ก 5 เส้น ต่อ 1 ขนาด
- จํานวนมากกว่า 60 ตัน เก็บ 7 ท่อน จากเหล็ก 7 เส้น ต่อ 1 ขนาด
(4) ยางกันน้ํา เก็บทุก ๆ 200 เมตร หรือน้อยกว่า ต่อ 1 ตัวอย่าง
(5) แผ่นใยใส่รอยต่อคอนกรีต เก็บทุก ๆ 1,000 ตารางเมตร หรือน้อยกว่า ต่อ 1 ตัวอย่าง
(6) คอนกรีตสด เก็บตัวอย่างทุกครั้งที่มีการเทหรือถ้ามีปริมาณมาก ๆ โดยต่อเนื่อง อาจจะ
เก็บช่วงเช้าและบ่าย หรือเก็บตัวอย่างแยกแต่ละส่วนของโครงสร้างแล้วแต่ความเหมาะสม (แต่ละครั้งที่เก็บ
ตัวอย่างควรเก็บอย่างน้อย 6 แท่ง)

4.12 คอนกรีตหล่อสําเร็จรูป
4.12.1 ขอบเขตของงาน
ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาและติดตั้งคอนกรีตหล่อสําเร็จที่ระบุในรายละเอียดด้านวิศวกรรมหรือ
ในแบบรูปและรายการละเอียด เช่น
- งานเสา ค.ส.ล. แสดงแนวท่อส่งน้ํา
- งาน Guard Post/Guide Post
- งานแผ่นพื้นสําเร็จรูป
- ท่อคอนกรีตเสริมเหล็ก
- อื่น ๆ
4.12.2 หลักเกณฑ์ทั่วไป
(1) ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาคอนกรีตหล่อสําเร็จรูปให้เป็นไปตามแบบรูปและรายการละเอียดและ
ข้อกําหนดในสัญญา
(2) หากไม่มีระบุไว้ในแบบรูปและรายการละเอียดและข้อกําหนดในสัญญา ชิ้นงานทั้งหมดจะต้อง
สร้างให้เป็นไปตามข้อกําหนดตามรายละเอียดด้านวิศวกรรมและมาตรฐาน ACI 318 M-83
(3) ขนาดใหญ่ที่สุดของกรวดทรายสําหรับคอนกรีตหล่อสําเร็จไม่เกิน 20 มิลลิเมตร (3/4 นิ้ว)
(4) คอนกรีตหล่อสําเร็จทั้งหมดในแต่ละแบบควรบ่ม ด้วยไอน้ําหรือตามวิ ธีที่ผู้ควบคุม งาน
ก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นสมควร
(5) คอนกรีตหล่อสําเร็จไม่ควรคดงอหรือมีตําหนิในตําแหน่งที่สามารถมองเห็นได้หรือตรง
ตําแหน่งที่เป็นจุดวางโดยตรงกับคอนกรีต

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4 - 28 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

(6) คอนกรีตหล่อสําเร็จอาจใช้ของที่มีจําหน่ายหรือสั่งทําจากโรงงานที่ผู้รับจ้างแนะนําสําหรับ
งานที่นอกเหนือจากคอนกรีตบล็อกและคอนกรีตหล่อสําเร็จที่มีรายละเอียดแสดงในแบบรู ปและรายการ
ละเอียด ผู้รับจ้างต้องเสนอรายละเอียด ทั้งหมดในแต่ละแบบรวมถึงคุณสมบัติคอนกรีต กําลังคอนกรีต
ตําแหน่งที่ใช้ยกที่เป็นไปตามข้อกําหนดรายละเอียดด้านวิศวกรรม
(7) ไม่อนุญาตให้ทําการซ่อมคอนกรีตหล่อสําเร็จ ยกเว้นตําแหน่งที่บกพร่องและการซ่อมแซม
ไม่ทําให้การติดตั้งมีคุณภาพน้อยลงหรือเสียรูปลักษณ์หลังการติดตั้งแล้ว
4.12.3 การยอมรับข้อเสนอวิธีการ
ผู้ รั บ จ้ า งต้ อ งเสนอรายการคํ า นวณพร้ อ มแบบเพิ่ ม เติ ม (Shop Drawings) วิ ธี ก ารที่ ใ ช้ ใ น
กระบวนการผลิต การขนส่ง การจัดการ การเก็บรักษาและการใช้งาน ให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างได้
ตรวจสอบก่อน ล่วงหน้า 30 (สามสิบ) วัน ก่อนทําการสั่งทําหรือสั่งซื้อ
4.12.4 การจัดการ
ระหว่ า งการขนส่ง และการเก็ บ รัก ษา คอนกรี ต หล่อ สํา เร็ จทั้ง หมดควรจั ด เก็ บในบริเวณที่
ใกล้ สถานที่ ติดตั้ งมากที่ สุด บริเวณที่จั ดเก็บควรจะมีฐ านรองรับที่ ดีรับ น้ํ าหนั ก ได้ เ พี ย งพอที่จ ะเก็บ รั ก ษา
คอนกรีตหล่อสําเร็จได้จนถึงเวลาใช้งาน ตามที่อยู่ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างแนะนํา
4.12.5 ค่าความคลาดเคลื่อน
ขนาดของคอนกรีตสําเร็จรูป ควรจะมีระยะเผื่อความผิดพลาด ดังนี้
(1) ขนาดโดยรอบด้านนอก ระยะเผื่อไม่เกิน  5 มิลลิเมตร
(2) ระยะของรูปตัดขวาง
(1.1) รูปตัดที่เล็กกว่า 75 มิลลิเมตร ไม่ควรเกิน  1.5 มิลลิเมตร
(1.2) รูปตัดที่ใหญ่กว่า 75 มิลลิเมตร ไม่ควรเกิน  5 มิลลิเมตร
(3) รูปตัดตามยาว ระยะผิดพลาดไม่เกิน 5 มิลลิเมตร ต่อความยาว 6 เมตร
(4) รูปตัดตามการโก่งตัว ระยะผิดพลาดไม่เกิน  1.5 มิลลิเมตร ต่อความยาว 3 เมตร
(5) ระยะโก่งตัวสูงสุดเทียบกับชิ้นงานที่ติดกันไม่เกิน 10 มิลลิเมตร
4.13 การวัดปริมาณงานและการจ่ายเงิน
4.13.1 งานคอนกรีตโครงสร้าง ประกอบด้วย
(ก) งานคอนกรีตโครงสร้าง 175 ksc. รูปทรงกระบอก
(ข) งานคอนกรีตโครงสร้าง 210 ksc. รูปทรงกระบอก
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานคอนกรีตโครงสร้าง ตามรายการที่แสดงไว้
ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานคอนกรีตโครงสร้าง เสร็จเรียบร้อย
แล้วตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงาน
นั้นมีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4 - 29 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานคอนกรีตโครงสร้าง อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารตามที่แสดงไว้ในใบแจ้ง
ปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้ใน
งานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณ
งานและราคาของสัญญานี้ ซึ่งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดหาวัสดุ ค่าขนส่ง เครื่องจักร - เครื่องมือ อุปกรณ์
ค่าผสมคอนกรีต ค่าเทคอนกรีต ค่าบ่มคอนกรีต ค่าไม้แบบและค้ํายัน ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้
งานบรรลุวัตถุประสงค์
4.13.2 งานคอนกรีตหยาบ
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานคอนกรีตหยาบ ตามรายการที่แสดงไว้ใน
รายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานคอนกรีตหยาบเสร็จเรียบร้อยแล้ว
ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมี
หน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริง
ภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจ
รับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานคอนกรีตหยาบ อยู่ ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารตามที่ แสดงไว้ใ นใบแจ้ ง
ปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้ใน
งานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณ
งานและราคาของสัญญานี้ ซึ่งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดหาวัสดุ ค่าขนส่ง เครื่องจักร-เครื่องมือ อุปกรณ์
ค่าผสมคอนกรีต ค่าเทคอนกรีต ค่าบ่มคอนกรีต ค่าไม้แบบ ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุ
วัตถุประสงค์
4.13.3 งานคอนกรีตล้วน
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานคอนกรีตล้วน ตามรายการที่แสดงไว้ใน
รายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานคอนกรีตคอนกรีตล้วนเสร็จเรียบร้อย
แล้วตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงาน
นั้นมีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4 - 30 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานคอนกรีตล้วน อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารตามที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณ
งานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้ในงาน
อาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณ
งานและราคาของสัญญานี้ ซึ่งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดหาวัสดุ ค่าขนส่ง เครื่องจักร - เครื่องมือ อุปกรณ์
ค่าผสมคอนกรีต ค่าเทคอนกรีต ค่าบ่มคอนกรีต ค่าไม้แบบ ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุ
วัตถุประสงค์
4.13.4 งานคอนกรีตดาด
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะไม่แยกตรวจวัดปริมาณงานคอนกรีตดาด ให้ แต่ให้ผู้รับจ้างคิด
ค่าใช้จ่ายรวมไว้ในขอบเขตสําหรับงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงาน
และราคาที่มีหน่วยเป็นแห่งของสัญญานี้
4.13.5 งานเหล็กเสริมคอนกรีต
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานเหล็กเสริมคอนกรีต ตามรายการที่แสดงไว้
ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้เทคอนกรีตหุ้มเหล็กเสริมเสร็จเรียบร้อย
แล้ว ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณ
งานนั้นมีหน่วยเป็นกิโลกรัม ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริง
ภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจ
รับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานเหล็กเสริมคอนกรีต อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารตามที่แสดงไว้ในใบแจ้ง
ปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้ใน
งานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นกิโลกรัม ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงาน
และราคาของสัญญานี้ ซึ่งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดหาวัสดุ เช่น เหล็กเสริมคอนกรีต ลวดผูกเหล็ก
เหล็กหนุน ค้ํา ยึด เป็นต้น รวมถึงค่าแรงการดัดผูกเหล็ก ค่าทดสอบ และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุ
วัตถุประสงค์
อนึ่ง เหล็กที่ไม่ได้แสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด เช่น เหล็กหนุน ค้ํา ยึด และเหล็ก
ส่วนที่ทาบจะไม่คิดคํานวณจ่ายเงินให้ ผู้รับจ้างจะต้องคิดรวมไว้ในอัตราราคาต่อหน่วยงานดังกล่าว

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4 - 31 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

4.13.6 งาน Joint Sealant Compound หนา 3 ซม.


การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงาน Joint Sealant Compound หนา 3 ซม.
ตามรายการที่แสดงไว้ ในรายการใบแจ้งปริ มาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้ รั บจ้างได้ ทํางาน Joint
Sealant Compound หนา 3 ซม. เสร็จเรียบร้อยแล้ว ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดย
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นเมตร ตามขอบเขตที่แบบรูปและ
รายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ
โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงาน Joint Sealant Compound อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารตามที่แสดงไว้
ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิด
รวมไว้ในงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นเมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและ
ราคาของสัญญานี้ ซึ่ งประกอบด้วยค่ าใช้จ่ายในการจั ดหาวัสดุ ค่าขนส่ง เครื่ องจั กร - เครื่องมื อ อุ ปกรณ์
ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์
4.13.7 งาน Sealing Compound
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงาน Sealing Compound ตามรายการที่แสดง
ไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางาน Sealing Compound เสร็จ
เรียบร้อยแล้ว ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัด
ปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นตารางเมตร ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณ
ที่ ทํ า ได้ จ ริ ง ภายในขอบเขตที่ ค ณะกรรมการตรวจรั บ พั ส ดุ สั่ ง การ โดยให้ ยึ ด ถื อ การวั ด ปริ ม าณงานของ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงาน Sealing Compound อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารตามที่แสดงไว้ในใบ
แจ้งปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้
ในงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นตารางเมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงาน
และราคาของสัญญานี้ ซึ่งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดหาวัสดุ ค่าขนส่ง เครื่องจักร - เครื่องมือ อุปกรณ์
ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4 - 32 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

4.13.8 งาน Elastic Joint Filler หนา 1 ซม.


การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัส ดุจะตรวจวัดปริมาณงาน Elastic Joint Filler หนา 1 ซม. ตาม
รายการที่แสดงไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางาน Elastic Joint
Filler หนา 1 ซม. เสร็จเรียบร้อยแล้ว ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจ
รับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นตารางเมตร ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียด
กําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการ
วัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงาน Elastic Joint Filler อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารตามที่แสดงไว้ในใบแจ้ง
ปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้ใน
งานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นตารางเมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงาน
และราคาของสัญญานี้ ซึ่งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดหาวัสดุ ค่าขนส่ง เครื่องจักร - เครื่องมือ อุปกรณ์
ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์
4.13.9 งาน Waterstop Type “A”
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงาน Waterstop Type “A” ตามรายการที่
แสดงไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางาน Waterstop Type “A”
เสร็จเรียบร้อยแล้ว ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการ
ตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นเมตร ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตาม
ปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงาน Waterstop Type “A” อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารตามที่แสดงไว้ในใบ
แจ้ ง ปริ ม าณงานและราคาที่ มี ห น่ ว ยเป็ น แห่ ง คณะกรรมการตรวจรั บ พั ส ดุ จะไม่ แ ยกตรวจวั ด ให้
แต่จะคิดรวมไว้ในงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นเมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและ
ราคาของสัญญานี้ ซึ่ งประกอบด้วยค่ าใช้จ่ายในการจั ดหาวัสดุ ค่าขนส่ง เครื่ องจั กร - เครื่องมื อ อุ ปกรณ์
ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4 - 33 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

4.13.10 งาน Waterstop Type “C”


คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะไม่แยกตรวจวัดปริมาณงาน Waterstop Type “C” ให้ แต่ให้
ผู้รับจ้างคิดค่าใช้จ่ายรวมไว้ในขอบเขตสําหรับงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้ง
ปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่งของสัญญานี้
4.13.11 งานแผ่นพลาสติก หนา 0.25 มม.
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานแผ่นพลาสติก หนา 0.25 มม. ตามรายการ
ที่แสดงไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานแผ่นพลาสติก หนา 0.25
มม. เสร็จเรียบร้อยแล้ว ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทํา
การตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นตารางเมตร ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือ
ตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงาน
ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานแผ่นพลาสติก อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารตามที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณ
งานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้ในงาน
อาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นตารางเมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงาน
และราคาของสัญญานี้ ซึ่งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดหาวัสดุ ค่าขนส่ง เครื่องจักร - เครื่องมือ อุปกรณ์
ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์
4.13.12 งานจัดหาและติดตั้ง Side Drain
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานจัดหาและติดตั้ง Side Drain ตามรายการที่
แสดงไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานจัดหาและติดตั้ง Side
Drain เสร็จเรียบร้อยแล้ว ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทํา
การตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นเมตร ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตาม
ปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานจัดหาและติดตั้ง Side Drain อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารตามที่แสดงไว้ใน
ใบแจ้งปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิด
รวมไว้ในงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4 - 34 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นเมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและ
ราคาของสัญญานี้ ซึ่ งประกอบด้วยค่ าใช้จ่ายในการจั ดหาวัสดุ ค่าขนส่ง เครื่ องจั กร - เครื่องมื อ อุ ปกรณ์
ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์
4.13.13 งานเสา ค.ส.ล. แสดงแนวท่อส่งน้ํา
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานเสา ค.ส.ล. แสดงแนวท่อส่งน้ํา ตามรายการ
ที่แสดงไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานเสา ค.ส.ล. แสดงแนวท่อ
ส่งน้ําเสร็จเรียบร้อยแล้ว ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทํา
การตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นต้น ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตาม
ปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นต้น ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและ
ราคาของสั ญญานี้ ซึ่ งประกอบด้วยค่ าใช้จ่ายในการจั ดหาวัสดุ ค่าขนส่ง เครื่องจั กร - เครื่องมือ อุ ปกรณ์
ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์
4.13.13 งาน Guard Post
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงาน Guard Post ตามรายการที่แสดงไว้ใน
รายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางาน Guard Post เสร็จเรียบร้อยแล้ว
ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมี
หน่วยเป็นต้น ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายใน
ขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
เป็นเกณฑ์
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นต้น ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและ
ราคาของสั ญญานี้ ซึ่ งประกอบด้วยค่ าใช้จ่ายในการจั ดหาวัสดุ ค่าขนส่ง เครื่องจั กร - เครื่องมือ อุ ปกรณ์
ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์
4.13.14 งาน Guide Post
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงาน Guide Post ตามรายการที่แสดงไว้ใน
รายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางาน Guide Post เสร็จเรียบร้อยแล้ว
ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมี
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4 - 35 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 : งานคอนกรีต

หน่วยเป็นต้น ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายใน


ขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
เป็นเกณฑ์
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นต้น ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและ
ราคาของสั ญญานี้ ซึ่ งประกอบด้วยค่ าใช้จ่ายในการจั ดหาวัสดุ ค่าขนส่ง เครื่องจั กร - เครื่องมือ อุ ปกรณ์
ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์
4.13.15 งานท่อคอนกรีตเสริมเหล็ก ประกอบด้วย
(ก) ท่อ ค.ส.ล. ขนาด Ø 0.60 ม.
(ข) ท่อ ค.ส.ล. ขนาด Ø 0.80 ม.
(ค) ท่อ ค.ส.ล. ขนาด Ø 1.00 ม.
คณะกรรมการตรวจรั บ พัส ดุจ ะไม่ แ ยกตรวจวั ด ปริม าณงานท่ อ ค.ส.ล. ให้ แต่ใ ห้ผู้รับ จ้ า ง
คิดค่าใช้จ่ายรวมไว้ในขอบเขตสําหรับงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณ
งานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่งของสัญญานี้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
4 - 36 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

บทที่ 5
งานถนน
5.1 ขอบเขตของงาน
ผู้รับจ้าง จะต้องทําการก่อสร้างถนนลาดยาง และถนนบํารุงรักษาตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและ
รายการละเอียด และซ่อมแซม ปรับปรุงถนนเดิม ซึ่งถูกขุดออกเพื่อทําการก่อสร้างคลองส่งน้ํา ท่อส่งน้ํา หรือ
อาคารประกอบ โดยผู้รับจ้างต้องดําเนินการซ่อมแซมให้ได้รูปร่าง ขนาด แนวและระดับ ตามที่แสดงไว้ใน
แบบรูปและรายการละเอียด เพื่อให้ยานพาหนะสามารถสัญจรผ่านไปมาได้โดยสะดวกและปลอดภัย มีความ
มั่นคงแข็งแรง สามารถใช้งานได้ตามเดิมหรือดีกว่าเดิม โดยงานถนนในบทนี้มีขอบเขตของงานดังนี้
(1) งานถางป่าและขุดตอ ขนาดเบา (CLEARING AND GRUBBING)
(2) งานดินถมคันทาง (EARTH EMBANKMENT)
(3) งานวัสดุคัดเลือก ข (SELECTED MATERIAL B)
(4) งานวัสดุคัดเลือก ก (SELECTED MATERIAL A)
(5) งานรองพื้นทางวัสดุมวลรวม (SOIL AGGREGATE SUBBASE)
(6) งานพื้นทางหินคลุก (CRUSHED ROCK SOIL AGGREGATE BASE)
(7) งานลาดแอสฟัลต์ไพรม์โค้ต (PRIME COAT) (พื้นทางหินคลุก)
(8) งานผิวทางเซอร์เฟสทรีตเมนต์ (Surface Treatment)
(9) งานผิวทาง Asphaltic Concrete หนา 5 ซม.
(10) งานเส้นจราจรชนิด THERMOPLASTIC PAINT
(11) งานอื่น ๆ ตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด และงานที่คณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุเห็นสมควร
5.2 การจัดทําแบบเพิ่มเติม (Shop Drawings)
ผู้รับจ้างจะต้องออกแบบและจัดทําแบบเพิ่มเติม (Shop Drawings) ให้ถนนที่ซ่อมแซมมีลักษณะ
สอดคล้องกับรูปแบบถนนเดิม สภาพภูมิประเทศ และถูกต้องตามหลักวิศวกรรม เพื่อเสนอขออนุมัติจาก
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ และหน่วยงานราชการผู้รับผิดชอบถนนสายนั้น (ถ้ามี) ก่อนเข้าดําเนินการ
5.3 งานถางป่าและขุดตอ
5.3.1 ทั่วไป
งานถางป่าและขุดตอ หมายถึง การกําจัดต้นไม้ พุ่มไม้ ตอไม้ ขยะ วัชพืช และสิ่งไม่พึง
ประสงค์ต่าง ๆ เช่น โครงสร้าง หรือสิ่งปลูกสร้าง ฯลฯ เพื่อประโยชน์แก่การก่อสร้าง หรืออาจยังความ
เสียหายให้แก่ความมั่นคงแข็งแรงของคันทางที่จะก่อสร้างใหม่ สําหรับวัสดุอุปกรณ์และสิ่งของที่เกี่ยวกับงาน
ทางของกรมชลประทานที่มีอยู่เดิม และจําเป็นต้องเคลื่อนย้ายออก จะต้องทําการรื้อถอน และเคลื่อนย้าย
ด้วยความระมัดระวังมิให้เกิดความเสียหาย และนําไปไว้ ณ สถานที่ที่กําหนดให้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5-1 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

งานในรายการนี้ให้หมายรวมถึง การเกลี่ยแต่ง และกําจัดเศษวัสดุก่อสร้างในบริเวณงาน


ก่อสร้างเมื่องานแล้วเสร็จให้สะอาดเรียบร้อย และไม่เป็นอุปสรรคต่อการไหลของน้ํา
ในการก่อสร้าง บูรณะ และปรับปรุงทาง ที่ผ่านพื้นที่ของเขตป่าไม้ อาทิเช่น เขตป่าสงวน
แห่งชาติ เขตอุทยานแห่งชาติ เขตอุทยานแห่งชาติ เขตสงวนพันธุ์สัตว์ป่า เขตป่าสงวนคุ้มครอง เขตป่า
ที่จัดสรรเพื่อเกษตรกรรม เป็นต้น รวมทั้งเขตสงวนของส่วนราชการอื่น ให้ทําการถางป่าและขุดตอเฉพาะ
บริเวณที่จะก่อสร้างคันทาง เว้นแต่ในกรณีที่จําเป็นก็ให้ดําเนินการภายในเขตทางเท่านั้น ในการนี้ผู้รับจ้างต้อง
ปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบหรือเงื่อนไขของกรมป่าไม้ หรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกับการนั้น ๆ ด้วย
5.3.2 ขอบเขตของงาน
ผู้รับจ้างจะต้องทําการงานถางป่าและขุดตอ ทั้งหมดในบริเวณที่ดําเนินการก่อสร้างงานถนน
ตามที่แสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด หรือตามคําแนะนําของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง หรือ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
ผู้รับจ้างจะต้องดําเนินการถางป่าและขุดตอ ให้ครอบคลุมพื้นที่ที่จะก่อสร้าง พร้อมทั้งขนย้าย
ไปทิ้ง ฝัง หรือเผาทําลาย นอกพื้นที่ก่อสร้าง
สําหรับการถางป่าและขุดตอในบริเวณบ่อยืมดิน แหล่งวัสดุ ในงานถนนให้คิดค่าใช้จ่ายรวมไว้
ในงานที่เกี่ยวข้องของสัญญานี้
5.3.3 ข้อกําหนดและวิธีการปฏิบัติงาน
ก่อนที่จะเริ่มปฏิบัติงานถางป่าและขุดตอ รวมทั้งในระหว่างที่ปฏิบัติงานถางป่าและขุดตอ หาก
ผู้รับจ้างตรวจพบสิ่งที่สมควรจะต้องอนุรักษ์ เช่น โบราณวัตถุ ฯลฯ ผู้รับจ้างจะต้องรายงานให้ผู้ควบคุมงาน
ก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง หรือคณะกรรมการตรวจรับพัสดุทราบทันที และห้ามไม่ให้ผู้รับจ้างดําเนินการต่อไป
จนกว่าคณะกรรมการตรวจรับพัสดุได้พิจารณาและอนุมัติให้ดําเนินการต่อไปได้ หรือกําหนดวิธีการแก้ไขต่าง ๆ เพื่อให้
ดําเนินงานต่อไป และห้ามมิให้ผู้รับจ้างนําวัสดุที่ได้จากงานถากถางไปเป็นสมบัติส่วนตัวเป็นอันขาด
(1) ผู้รับจ้างต้องตัดโค่นต้นไม้ พุ่มไม้ ขุดถอนตอไม้ และสิ่งอันไม่พึงประสงค์ที่กีดขวางเป็น
อุปสรรคต่องานก่อสร้างงานถาวรออกให้หมดภายในขอบเขตที่แสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียดหรือ
ตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง หรือคณะกรรมการตรวจรับพัสดุกําหนด
(2) ห้ามมิให้ผู้รับจ้างทําการตัดต้นไม้ที่อยู่นอกเขตงานก่อสร้างงานถาวรโดยเด็ดขาด ถ้ามี
ต้นไม้บางต้นที่กีดขวางเป็นอุปสรรคในการทํางาน ผู้รับจ้างต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
เสียก่อนจึงจะทําการตัดได้ ต้นไม้ทุกต้นผู้รับจ้างจะต้องระมัดระวังมิให้เกิดความเสียหาย
(3) ต้ น ไม้ พุ่ ม ไม้ ตอไม้ และสิ่ ง ที่ ไ ม่ พึ ง ประสงค์ ซึ่ ง ไม่ มี ป ระโยชน์ ใ นการนํ า ไปใช้ ง าน
ให้ขนไปทิ้งหรือทําลาย โดยการเผาหรือฝังในบริเวณที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างกําหนด การกําจัดโดย
วิธีใดวิธีหนึ่งจะต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเสียก่อน
(4) ผู้รับจ้างจะต้องรื้อย้ายอาคารต่าง ๆ ที่กีดขวางในงานก่อสร้าง ตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและ
รายการละเอียด หรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง หรือคณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5-2 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

สําหรับวัสดุที่ได้จากงานถางป่าและขุดตอ จะต้องขนไปทิ้งหรือทําลายในบริเวณที่ผู้ควบคุมงาน
ก่อสร้างของผู้ว่าจ้างกําหนด ส่วนวิธีการกําจัดอาจจะทําโดยฝังกลบหรือเผาทําลายหรือด้วยวิธีการอื่น ๆ ทั้งนี้
ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
5.3.4 วิธีการก่อสร้าง (Construction Method)
การถางป่าและขุดตอโดยทั่วไปให้ทําภายในเขตทาง หรือตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการ
ละเอียด ในบริเวณซึ่งจะทําการก่อสร้างคันทาง คูข้างทาง และการขุดเพื่อก่อสร้างงานโครงสร้าง จะต้องถาง
ป่าและขุดตอ (Cleared and Grubbed) ให้เรียบร้อย
การขุดเพื่อก่อสร้างงานโครงสร้าง ให้ขุดตอ ราก และอื่น ๆ ออกต่ํากว่าระดับสุดท้ายตาม
รูปตัดไม่น้อยกว่า 0.30 เมตร ในกรณีซึ่งทําดินคันทางสูงกว่าระดับดินเดิมมากกว่า 0.60 เมตร ให้ตัดต้นไม้
และตอไม้จนชิดใกล้ระดับดินเดิมให้มากที่สุดเท่าที่จะทําได้
ต้นไม้บางต้นที่อยู่นอกคันทาง หรือนอกเชิงลาดงานตัดคันทาง ที่ไม่อยู่ในพื้นที่การมองเห็น
หยุดรถปลอดภัย (Stopping Sight Distance) ให้คงไว้ ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของ
ผู้ว่าจ้าง ส่วนของต้นที่ให้คงไว้นั้นถ้ายื่นเข้าไปเหนือผิวจราจร และสูงกว่าระดับก่อสร้างน้อยกว่า 6.00 เมตร
ให้ตัดออกให้เรียบร้อยโดยให้เหลือโคนกิ่งติดลําต้นยาวไม่เกิน 0.20 เมตร ผู้รับจ้างต้องระมัดระวังและป้องกัน
ไม่ให้ต้นไม้ที่คงไว้เกิดความเสียหายตลอดระยะเวลาการก่อสร้าง
วัสดุ ซึ่งเกิดจากการถางป่าและขุดตอ ให้นําไปทิ้ง ณ บริเวณที่ไม่กีดขวางการระบายน้ํา หรือ
บริเวณซึ่งผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นสมควร
ภายหลังเมื่องานก่อสร้างทางแล้วเสร็จเรียบร้อย ให้ทําการเกลี่ยแต่งกลบหลุมบ่อ และกําจัด
เศษวัสดุก่อสร้างให้สะอาดเรียบร้อยด้วย
5.4 งานดินถมคันทาง (Earth Embankment)
หมายถึ ง การก่ อ สร้ า งดิ น ถมคั น ทาง และการตั ด ลาดคั น ทางเดิ ม เป็ น แบบขั้ น บั น ได (Benching)
เพื่อถมขยายคันทาง รวมทั้งการกลบแต่งหลุมบ่อต่าง ๆ ที่ไม่ได้ระบุเป็นงานรายการอื่น โดยการจัดหาดิน
หรือวัสดุอื่นใดที่มีคุณภาพถูกต้องตามข้อกําหนดจากแหล่งที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ แล้ว
มาถมเป็นคันทาง โดยการเกลี่ยแต่ง และบดทับให้ได้แนว ระดับ และรูปร่างตามที่แสดงไว้ในแบบรูปและ
รายการละเอียด
5.4.1 วัสดุ
ดิน หรือวัสดุอื่นใด ต้องเป็นวัสดุที่ปราศจากหน้าดิน และวัชพืช จากแหล่งที่ได้รับอนุมัติจาก
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ส่วนที่จับตัวกันเป็นก้อน หรือยึดเกาะกันมีขนาดโตกว่า 50 มิลลิเมตร จะต้อง
กําจัดออกไป หรือทําให้แตก และผสมเข้าด้วยกันให้มีลักษณะสม่ําเสมอ
ในกรณีที่ไม่ได้ระบุคุณสมบัติไว้เป็นอย่างอื่น วัสดุที่ใช้ทําชั้นดินถมคันทางจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้
(1) มีค่า CBR เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 109 “วิธีการทดลองหาค่า CBR” ไม่น้อยกว่าที่กําหนด
ไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด ที่ความแน่นแห้งของการบดอัดร้อยละ 95 ของความแน่นแห้งสูงสุดที่ได้จาก
การทดลองตาม ทล.-ท.107 “วิธีการทดลอง Compaction Test แบบมาตรฐาน”

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5-3 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

(2) มีค่าการขยายตัว เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 109 “วิธีการทดลองหาค่า CBR” ไม่เกินร้อยละ 4 ที่


ความแน่นแห้งสูงสุดที่ได้จากการทดลองตาม ทล.-ท.107 “วิธีการทดลอง Compaction Test แบบมาตรฐาน”
5.4.2 เครื่องจักร และเครื่องมือ
ก่อนเริ่มงานผู้รับจ้างจะต้องเตรียมเครื่องจักร และเครื่องมือต่าง ๆ ที่จําเป็นจะต้องใช้ในการ
ดําเนินงานทางด้านวัสดุ และการก่อสร้างไว้ให้พร้อมที่หน้างาน ทั้งนี้ต้องเป็นแบบ ขนาด และอยู่ในสภาพที่
ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างพิจารณาเห็นชอบ
ถ้ าเครื่ องจั ก รและเครื่ อ งมื อ ชิ้ นใดทํ า งานได้ ไม่เ ต็ ม ที่ หรือทํางานไม่ ไ ด้ผ ลตามวั ตถุ ป ระสงค์
ผู้รับจ้างจะต้องทําการแก้ไข หรือจัดหาเครื่องจักรและเครื่องมืออื่นใดมาใช้แทน หรือเพิ่มเติมทั้งนี้ให้อยู่ใน
ดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
5.4.3 วิธีการก่อสร้าง
(1) การเตรียมวัสดุ
ดินจากแหล่งเมื่อผ่านการทดสอบคุณภาพว่าใช้ได้แล้วเตรียมที่จะนํามาใช้งานชั้นดินถมคันทาง
หากไม่ได้นํามาลงบนดินเดิม หรือคันทางเดินที่ได้เตรียมไว้โดยตรง ให้กอง (Stockpile) ไว้เป็นกอง ๆ ในปริมาณที่
พอสมควร
(2) การเตรียมพื้นที่ก่อสร้าง
ก่อนเริ่มงานดินถมคันทาง ผู้รับจ้างจะต้องเตรียมพร้อมในด้านต่าง ๆ เช่น เครื่องจักร
และเครื่องมือในการทํางาน และเครื่องหมายควบคุมการจราจรที่เกี่ยวกับการก่อสร้างทั้งนี้จะต้องได้รับ
ความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
ผู้รับจ้างจะต้องเกลี่ย และกลบแต่งหลุมบ่อที่มีอยู่เดิม หรือส่วนที่เกิดจากการถางป่า และ
ขุดตอแล้วบดทับให้แน่น และเรียบร้อย ก่อนที่จะเริ่มงานดินถมคันทาง
ดินเดิม หรือลาดคันทางของถนนเดิม ซึ่งอยู่ต่ํากว่าระดับคันทางที่จะทําการก่อสร้า ง
ใหม่น้อยกว่า 1 เมตรตามแบบรูปและรายการละเอียด หลังจากกําจัดสิ่งไม่ถึงประสงค์ต่าง ๆ ออกหมดแล้ว
หรือหลังจากไถคราดผิวทางเดิมแล้ว จะต้องทําการบดทับชั้นหนา 0.15 เมตรสุดท้าย วัดจากระดับดินเดิม หรือ
ผิวถนนเดิมลงไปให้ได้ความแน่นแห้งของการบดทับไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ของความแน่นแห้งสูงสุดที่ได้จาก
การทดลอง ตาม ทล.-ท.107 “วิธีการทดลอง Compaction Test แบบมาตรฐาน”
ถ้ามิได้กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียดเป็นอย่างอื่น ทางเดิมที่ยังไม่มีผิวถาวร
และต้องการจะถมคันทางให้สูงขึ้นอีกไม่เกิน 0.30 เมตร จะต้องไถคราดผิวทางเดิมลึกไม่น้อยกว่า 0.15 เมตร
แล้วบดทับรวมไปพร้อมกับชั้นใหม่ของชั้นดินถมคันทางนั้น ความหนาของชั้นที่ไถคราดรวมกับวัสดุใหม่จะต้อง
ไม่เกินความหนาแต่ละชั้นที่กําหนดไว้ตาม ข้อ (4)
ในกรณีที่จะก่อสร้างคันทางตามลาดเชิงเขา หรือจะทําการก่อสร้างขยายคันทางใหม่บนคันทาง
เดิม ให้ตัดลาดเชิงเขา หรือลาดคันทางเดิมเป็นแบบขั้นบันไดจากปลายเชิงลาดจนถึงขอบไหล่ทาง ให้เกลี่ยแผ่
วัสดุสม่ําเสมอในแนวราบ มีความกว้างพอที่เครื่องมือบดทับที่เหมาะสมลงไปทํางานได้ โดยกําหนดว่ าให้
ดําเนินการก่อสร้างเป็นชั้น ๆ โดยให้มีความหนาแต่ละชั้นตาม ข้อ (4)

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5-4 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

การเตรียมการก่อนการก่อสร้างนี้ ให้ถือเป็นส่วนหนึ่งของงานถมคันทางโดยจะไม่วัดจ่าย
ค่างานให้
(3) การก่อสร้าง
ภายหลั ง จากที่ ไ ด้ ดํ า เนิ น การตามข้ อ (1) แล้ ว ให้ ร าดน้ํ า ชั้ น ดิ น เดิ ม หรื อ คั น ทางเดิ ม
ที่ได้เตรียมไว้แล้วให้เปียกชื้นสม่ําเสมอโดยทั่วตลอด ใช้เครื่องจักรที่เหมาะสมขนดินไปปูบนชั้นที่ได้เตรียมไว้
แล้วตีแผ่ เกลี่ยวัสดุ คลุกเคล้า ผสมน้ํา โดยที่ประมาณว่าให้มีปริมาณน้ําที่ Optimum Moisture Content
ร้อยละ  3
หลังจากเกลี่ยแต่งดินจนได้ที่แล้วให้ทําการบดทับทันทีด้วยเครื่องมือบดทับที่เหมาะสม
บดทับทั่วผิวหน้าอย่างสม่ําเสมอจนได้ความแน่นตลอดความหนาตามข้อกําหนด การดําเนินการก่อสร้างดังที่
ได้กล่าวมาแล้วนี้ ให้ทําเป็นชั้น ๆ โดยให้มีความหนาของแต่ละชั้นตาม ข้อ (4) หากผู้รับจ้างไม่สามารถจะทําการ
ก่อสร้างตามวิธีดังกล่าวได้ และประสงค์จะดําเนินวิธีการอื่นใด จะต้องได้รับเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้าง
ของผู้ว่าจ้าง และเมื่อได้ก่อสร้างจนเสร็จขั้นสุดท้ายแล้วให้เกลี่ยดินจนได้แนว ระดับ ความลาด ขนาด และรูปตัด
ตามที่ได้แสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด ไม่มีหลุมบ่อ หรือวัสดุที่หลุดหลวมไม่แน่นอยู่บนผิว
ส่วนของคันทางที่อยู่ติดข้างท่อ หรือคอสะพาน หรือบริเวณใดก็ตาม ที่เครื่องมือบดทับ
ขนาดใหญ่ไม่สามารถจะเข้าไปบดทับได้ทั่วถึง ให้ใช้เครื่องมือบดทับขนาดเล็กที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของ
ผู้ว่าจ้างเห็นว่าเหมาะสมเข้าไปทําการบดทับแทน และให้ทําการก่อสร้างเป็นชั้น ๆ ตาม ข้อ (4)
(4) การควบคุมคุณภาพขณะก่อสร้าง
การก่ อสร้ างชั้ นดิ นถมคั นทางให้ ก่ อสร้ างเป็ นชั้ น ๆ โดยให้ มี ความหนาหลั งบดทั บชั้ นละ
ไม่เกิน 0.15 เมตร ผู้รับจ้างอาจก่อสร้างชั้นดินถมคันทางให้มีความหนาแต่ละชั้นเกินกว่า 0.15 เมตร แต่ไม่เกิน
0.20 เมตร ก็ได้ ทั้งนี้ ต้องแสดงรายการเครื่องจักร และเครื่องมือที่เหมาะสม แสดงวิธีการปฏิบัติงาน และต้อง
ก่อสร้างแปลงทดลองยาวประมาณ 200-500 เมตร เพื่อตรวจสอบ คุณภาพ หากพบว่าระหว่างการก่อสร้าง
มีปัญหาเกี่ยวกับความแน่นของดินถมคันทางส่วนบน และส่วนล่างไม่ได้ตามข้อกําหนดผู้ควบคุมงานก่อสร้างของ
ผู้ว่าจ้างอาจพิจารณาระงับการก่อสร้างดินถมคันทางหนาชั้นละมากกว่า 0.15 เมตร ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของ
ผู้ว่าจ้างจะตรวจสอบคุณภาพหลังการผสมคลุกเคล้าแล้ว หากพบว่าตอนใดคุณภาพไม่ถูกต้องตามข้อกําหนด
ผู้รับจ้างจะต้องดําเนินการปรับปรุงแก้ไขจนได้วัสดุที่มีคุณภาพถูกต้อง
(5) การบํารุงรักษาและการเปิดจราจร
หลังจากการก่อสร้างเสร็จ และคุณภาพผ่านข้อกําหนดทุกอย่างแล้ว ในกรณีที่ผู้รับจ้าง
ยังไม่ทําการก่อสร้างชั้นทางในชั้นถัดไป ถ้าต้องการเปิดให้การจราจรผ่านในฤดูฝนควรใช้วัสดุที่มีคุณสมบัติ
เหมาะสมที่จะใช้ทําชั้นทางในชั้นถัดไป เช่น วัสดุมวลรวม ปิดทับหน้าไว้เพื่อป้องกันดินถมคันทางเสียหาย
ถูกทําลายเป็นร่องล้อ และบวม

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5-5 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

5.4.4 การตรวจสอบ
(1) การตรวจสอบค่าระดับ
งานดินถมคันทางที่ก่อสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะต้องมีรูปร่างราบเรียบตามแบบรูปและ
รายการละเอียด โดยเมื่อทําการตรวจสอบด้วยบรรทัดตรงยาว 3 เมตร ทั้งตามแนวขนาน และตั้งฉากกับแนว
ศูนย์กลางทางมีความแตกต่างได้ไม่เกิน 10 มิลลิเมตร และมีค่าระดับแตกต่างไปจากค่าระดับที่แสดงไว้ในแบบรูป
และรายการละเอียด ได้ไม่เกิน 15 มิลลิเมตร การตรวจสอบค่าระดับให้ทําทุกระยะ 25 เมตร หรือน้อยกว่าตามที่
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างพิจารณาเห็นชอบ ตอนใดที่ผิดไปจากนี้ให้แก้ไขโดยการปาดออก หรือรื้อแล้ว
ก่อสร้างใหม่
(2) การทดสอบความแน่นของการบดทับ
งานดินถมคันทาง จะต้องทําการบดทับให้ได้ความแน่นแห้งสม่ําเสมอตลอดไม่น้อยกว่า
1.44 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร และไม่ต่ํากว่าร้อยละ 95 ของความแน่นแห้งสูงสุดที่ได้จากการทดลอง
ตัวอย่างดินเก็บจากหน้างานในสนาม หลังจากคลุกเคล้า ผสมและปูลงบนถนนแล้ว ตาม ทล.-ท. 107 “วิธีการ
ทดลอง Compaction Test แบบมาตรฐาน”
การทดสอบความแน่นของการบดทับ ให้ดําเนินการทดสอบตาม ทล.-ท.603 “วิธีการ
ทดลองหาค่าความแน่นของวัสดุในสนามโดยใช้ทราย” ทุกระยะประมาณ 100 เมตร ต่อ 1 ช่องจราจร หรือ
ประมาณพื้นที่ 700 ตารางเมตรต่อ 1 หลุมตัวอย่าง
5.5 งานวัสดุคัดเลือก
งานนี้ ประกอบด้ วยวั สดุ มวลรวม ซึ่ งมี ขนาดคละกั นจากใหญ่ ไปหาเล็ ก โดยจะต้ องก่ อสร้ างเป็ น
ชั้นเดียว หรือหลายชั้นไปบนชั้นวัสดุคัดเลือก หรือชั้นอื่นใดที่ได้เตรียมไว้ และได้รับการตรวจสอบว่าถูกต้อง
แล้วโดยการเกลี่ยแต่ง และบดทับให้ถูกต้องตาม แนว ระดับ ความลาด ขนาด ตลอดจนรูปตัดตามที่ได้
แสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด
(1) งานวัสดุคัดเลือก ข. (SELECTED MATERIAL B)
(2) งานวัสดุคัดเลือก ก. (SELECTED MATERIAL A)
5.5.1 งานวัสดุคัดเลือก ข. (SELECTED MATERIAL B)
(1) วัสดุ
หมายถึง การก่อสร้างชั้นวัสดุคัดเลือก ข. บนชั้นดินถมคันทาง หรือชั้นอื่นใดที่ได้เตรียมไว้แล้ว
ด้วยวัสดุที่มีคุณภาพตามข้อกําหนด โดยการเกลี่ย แต่ง และบดทับให้ได้แนวระดับ และรูปร่าง ตามที่แสดงไว้ใน
แบบรูปและรายการละเอียด
วัสดุมวลรวม (Soil Aggregate) หรือทราย หรือวัสดุอื่นใดที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของ
ผู้ว่าจ้างยอมให้ใช้ได้ต้องเป็นวัสดุที่มีความคงทน ปราศจากก้อนดินเหนียว และวัชพืชอื่น ๆ จากแหล่งที่ได้รับ
การเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง ส่วนที่จับตัวกันเป็นก้อน หรือยึดเกาะกันมีขนาดโตกว่า 50
มิลลิเมตร จะต้องกําจัดออกไปหรือทําให้แตก และผสมเข้าด้วยกันให้มีลักษณะสม่ําเสมอ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5-6 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

ในกรณีที่ไม่ได้ระบุคุณสมบัติของวัสดุคัดเลือก ข ไว้เป็นอย่างอื่น วัสดุที่ใช้ทําชั้นวัสดุ


คัดเลือก ข จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
(1.1) เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 205 “วิธีการทดลองหาขนาดเม็ดของวัสดุโดยผ่านตะแกรง
แบบล้าง” มีขนาดเม็ดโตสุดไม่เกิน 50 มิลลิเมตร และส่วนที่ผ่านตะแกรงขนาด 0.075 มิลลิเมตร (เบอร์ 200)
ไม่เกินร้อยละ 35
(1.2) มีค่า CBR เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 109 “วิธีการทดลองหาค่า CBR” ไม่น้อยกว่า
ร้ อ ยละ 6 ที่ ค วามแน่ น แห้ ง ของการบดอั ด ร้ อ ยละ 95 ของความแน่ น แห้ ง สู ง สุ ด ที่ ไ ด้ จ ากการทดลองตาม
ทล.-ท. 108 “วิธีการทดลอง Compaction Test แบบสูงกว่ามาตรฐาน”
(1.3) มีค่าการขยายตัว เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 109 “วิธีการทดลองหาค่า CBR” ไม่เกิน
ร้อ ยละ 3 ที่ความแน่ น แห้ง ของการบดอั ดร้ อยละ 95 ของความแน่น แห้งสู งสุ ดที่ ได้จ ากการทดลองตาม
ทล.-ท. 108 “วิธีการทดลอง Compaction Test แบบสูงกว่ามาตรฐาน”
(2) การกองวัสดุ
วัสดุมวลรวมจากแหล่งเมื่อผ่านการทดสอบคุณภาพว่าใช้ได้แล้ว และเตรียมที่จะนํามาใช้
ทําชั้นวัสดุคัดเลือก หากมิได้นํามาลงบนชั้นวัสดุคัดเลือก หรือชั้นอื่นใดที่ได้เตรียมไว้โดยตรง ให้กองไว้เป็น
กอง ๆ ในปริมาณที่พอสมควร และความสูงแต่ละกองไม่ควรเกิน 5 เมตร
บริเวณที่เตรียมไว้กองวัสดุ จะต้องได้รับเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างก่อน
ต้นไม้พุ่มไม้ ตอไม้ ไม้ผุ วัชพืช หรือสิ่งไม่พึงประสงค์ต่าง ๆ จะต้องกําจัดออกไปให้พ้นบริเวณ และได้รับ
การปรับระดับจนแน่ใจว่าน้ําไม่ท่วมขังบริเวณกองวัสดุ และมีการะบายน้ําดีพอให้บดทับจนทั่วประมาณ 2-3 เที่ยว
จนได้ความเรียบ และความแน่นพอสมควร
ถ้ าการทดสอบคุ ณภาพของตั วอย่ างวั สดุ มวลรวมจากกองวั สดุ ไม่ ได้ ตามข้ อกํ าหนดไม่ ว่ า
ในกรณีใดก็ตาม ผู้รับจ้างจะต้องเปลี่ยน หรือแก้ไขปรับปรุงตามดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
จนวัสดุมวลรวมมีคุณภาพถูกต้อง โดยที่ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เป็นภาระของผู้รับจ้างทั้งสิ้น
(3) เครื่องจักร และเครื่องมือ
ก่อนเริ่มงานผู้รับจ้างจะต้องเตรียมเครื่องจักร และเครื่องมือต่าง ๆ ที่จําเป็นจะต้องใช้
ในการดําเนินงานทางด้านวัสดุ และการก่อสร้างไว้ให้พร้อมที่หน้างาน ทั้งนี้ ต้องเป็นแบบ ขนาด และอยู่ใน
สภาพที่ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นสมควร
ถ้าเครื่องจักร และเครื่องมือชิ้นใดทํางานได้ไม่เต็มที่ หรือทํางานไม่ได้ผลตามวัตถุประสงค์
ผู้รับจ้างจะต้องทําการแก้ไข หรือจัดหาเครื่องจักรและเครื่องมืออื่นใดมาใช้แทน หรือเพิ่มเติมทั้งนี้ให้อยู่ใน
ดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(4) วิธีการก่อสร้าง
(4.1) การเตรียมการก่อนการก่อสร้าง
(4.1.1) การเตรียมวัสดุ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5-7 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

วัสดุมวลรวมจากแหล่งเมื่อผ่านการทดสอบคุณภาพว่าใช้ได้แล้ว และเตรียมที่จะนํามาใช้
ทําชั้นวัสดุคัดเลือก ข. หากมิได้นํามาลงบนชั้นดินถมคันทางหรือชั้นอื่นใดที่ได้เตรียมไว้โดยตรง ให้กองไว้
เป็นกอง ๆ ในปริมาณที่พอสมควรและความสูงแต่ละกองไม่ควรเกิน 5.00 เมตร
บริเวณที่เตรียมไว้กองวัสดุ จะต้องได้รับเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
ก่อน ต้นไม้พุ่มไม้ ตอไม้ ไม้ผุ วัชพืช หรือสิ่งไม่พึงประสงค์ต่าง ๆ จะต้องกําจัดออกไปให้พ้นบริเวณและ
ได้รับการปรับระดับจนแน่ใจว่าน้ําไม่ท่วมขังบริเวณกองวัสดุ และมีการะบายน้ําดีพอให้บดทับจนทั่วประมาณ 2–3
เที่ยว จนได้ความเรียบและความแน่นพอสมควร
ถ้าการทดสอบคุณภาพของตัวอย่างวัสดุมวลรวมจากกองวัสดุไม่ได้ตามข้อกําหนดไม่ว่าใน
กรณีใดก็ตาม ผู้รับจ้างจะต้องเปลี่ยน หรือแก้ไขปรับปรุงตามดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
จนวัสดุมวลรวมมีคุณภาพถูกต้อง โดยที่ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เป็นภาระของผู้รับจ้างทั้งสิ้น
(4.1.2) การเตรียมพื้นที่ก่อสร้าง
ชั้นดินถมคันทาง หรือชั้นอื่นใดที่จะต้องรองรับชั้นวัสดุคัดเลือก ข. จะต้องเกลี่ยแต่ง และ
บดทับให้ได้แนว ระดับ ความลาด ขนาดรูปร่าง และความแน่น ตามที่ได้แสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด
(4.2) การก่อสร้าง
ภายหลังจากที่ได้ดําเนินการตาม ข้อ (4.1) แล้วให้ราดน้ําชั้นดินถมคันทาง หรือชั้นอื่นใดที่
รองรับชั้นวัสดุคัดเลือก ข. ให้เปียกชื้นสม่ําเสมอโดยทั่วตลอด ใช้เครื่องจักรที่เหมาะสม เช่น รถบรรทุกกระบะ
ยกขนวัสดุมวลรวมไปปูลงบนชั้นดินถมคันทาง หรือชั้นอื่นใดที่ได้เตรียมไว้ แล้วตีแผ่ เกลี่ยวัสดุ คลุกเคล้า
ผสมน้ํา โดยที่ประมาณว่าให้มีปริมาณน้ําที่ Optimum Moisture Content ร้อยละ  3
หลังจากเกลี่ยแต่งวัสดุจนได้ที่แล้ว ให้ทําการบดทับทันทีด้วยเครื่องมือบดทับที่เหมาะสม
บดทับทั่วผิวหน้าอย่างสม่ําเสมอจนได้ความแน่นตลอดความหนาตามข้อกําหนดเกลี่ยแต่งวัสดุให้ได้แนว ระดับ
ความลาด ขนาด และรูปตัด ตามที่ได้แสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด ไม่มีหลุมบ่อหรือวัสดุที่หลุดหลวม
ไม่แน่นอยู่บนผิว
กรณี ใ ช้ทรายเป็น วั ส ดุคั ดเลื อก ข. ให้ทําการป้องกัน ลาดด้า นข้ า งทั้ งสองข้ า งด้ วยวั ส ดุ
ซึ่ งได้ รั บความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้ างของผู้ว่ าจ้ าง พร้อมทั้ งทําการปลูกหญ้ าทันทีเพื่ อป้ องกั น
ทรายไหลออก
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างอาจจะตรวจสอบคุณภาพหลังการผสมคลุกเคล้าแล้ว
หากพบว่าตอนใดคุณภาพไม่ถูกต้องตามข้อกําหนด ผู้รับจ้างจะต้องดําเนินการปรับปรุงแก้ไขจนได้วัสดุที่มี
คุณภาพถูกต้องตามข้อกําหนด
(5) การควบคุมคุณภาพขณะก่อสร้าง
การก่อสร้างชั้นวัส ดุคั ดเลื อก ข. ให้ ก่อสร้ างเป็นชั้น ๆ โดยให้ มีความหนาหลัง บดอั ด
ชั้นละไม่เกิน 0.15 เมตร ผู้รับจ้างอาจก่อสร้างชั้นวัสดุคัดเลือก ข. ให้มีความหนาแต่ละชั้นเกินกว่า 0.15 เมตร
แต่ไม่เกิน 0.20 เมตร ก็ได้ ทั้งนี้ต้องแสดงรายการเครื่องจักรและเครื่องมือที่เหมาะสม แสดงวิธีการปฏิบัติงาน
และต้องก่อสร้างแปลงทดลองยาวประมาณ 200-500 เมตร ให้ตรวจสอบคุณภาพก่อนเพื่อขอรับการพิจารณา

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5-8 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

เห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง หากพบว่าระหว่างการก่อสร้างมีปัญหาเกี่ยวกับความแน่นของ
วัสดุคัดเลือก ข. ส่วนบนและส่วนล่างไม่ได้ตามข้อกําหนด ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างอาจพิจารณาระงับ
การก่อสร้างวัสดุคัดเลือก ข. หนาชั้นละมากกว่า 0.15 เมตร
ผู้ ค วบคุ ม งานก่ อ สร้ า งของผู้ ว่ า จ้ า งจะตรวจสอบคุ ณ ภาพหลั ง การผสมคลุ ก เคล้ า แล้ ว
หากพบว่าตอนใดคุณภาพไม่ถูกต้องตามข้อกําหนด ผู้รับจ้างจะต้องดําเนินการปรับปรุงแก้ไขจนได้วัสดุที่มี
คุณภาพที่ถูกต้อง
(6) การตรวจสอบ
(6.1) การตรวจสอบค่าระดับ
งานวัสดุคัดเลือก ข. ที่ก่อสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะต้องมีรูปร่างราบเรียบตามแบบรูป
และรายการละเอี ย ด โดยเมื่ อ ทํ า การตรวจสอบด้ ว ยบรรทั ด ตรงยาว 3.00 เมตร ทั้ ง ตามแนวขนานและ
ตั้ ง ฉากกั บ แนวศู น ย์ ก ลางทางมี ค วามแตกต่ า งได้ ไ ม่ เ กิ น 10 มิ ล ลิ เ มตร และมี ค่ า ระดั บ แตกต่ า งไปจาก
ค่ าระดั บที่ แสดงไว้ ในแบบรูปและรายการละเอียดได้ไม่ เกิ น 15 มิล ลิ เมตร การตรวจสอบค่าระดั บ ให้ทํา
ทุกระยะ 25.00 เมตร หรือน้อยกว่าตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างพิจารณาเห็นชอบ ตอนใดที่
ผิดไปจากนี้ให้แก้ไขโดยการปาดออก หรือรื้อแล้วก่อสร้างใหม่
(6.2) การทดสอบความแน่นของการบดทับ
งานวัสดุคัดเลือก ข. จะต้องทําการบดทับให้ได้ความแน่นแห้งสม่ําเสมอตลอดไม่ต่ํากว่า
ร้อยละ 95 ของความแน่นแห้งสูงสุดที่ได้จากการทดลองตัวอย่างวัสดุที่เก็บจากหน้างานในสนามหลังจาก
คลุกเคล้าผสมและปูลงบนถนนแล้ว ตาม ทล.-ท. 108 “วิธีการทดลอง Compaction Test แบบสูงกว่ามาตรฐาน”
การทดสอบความแน่นของการบดทับ ให้ดําเนินการทดสอบตาม ทล.-ท. 503 “วิธีการ
ทดลองหาค่าความแน่นของวัสดุในสนามโดยใช้ทราย” ทุกระยะประมาณ 100 เมตร ต่อ 1 ช่อง จราจร หรือ
ประมาณพื้นที่ 500 ตารางเมตร ต่อ 1 หลุมตัวอย่าง หรือตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด
(7) การบํารุงรักษาและการเปิดจราจร
หลังจากการก่อสร้างเสร็จและคุณภาพผ่านข้อกําหนดทุกอย่างแล้ว ในกรณีที่ผู้รับจ้าง
ยังไม่ทําการก่อสร้างชั้นทางในชั้นถัดไป ถ้าต้องการเปิดให้การจราจรผ่านให้ทําการบํารุงรักษาด้วยการพ่น
น้ําบาง ๆ ลงไปบนผิวหน้าของชั้นวัสดุคัดเลือก ข. ที่ก่อสร้างเสร็จแล้วให้ชุ่มชื้นตลอดเวลา เพื่อป้องกันไม่ให้
ฝุ่นฟุ้งกระจายเป็นมลภาวะต่อประชาชนสองข้างทางขณะเปิดจราจร
5.5.2 งานวัสดุคัดเลือก ก. (SELECTED MATERIAL A)
(1) วัสดุ
หมายถึง การก่อสร้างชั้นวัสดุคัดเลือก ก. บนชั้นวัสดุคัดเลือก ข. หรือชั้นอื่นใดที่ได้เตรียม
ไว้แล้ว ด้วยวัสดุมวลรวมที่มีคุณภาพตามข้อกําหนด โดยการเกลี่ย แต่ง และบดทับให้ได้แนวระดับ และรูปร่าง
ตามที่แสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด
วัส ดุม วลรวม (Soil Aggregate) ต้อ งเป็น วัส ดุที่มีค วามคงทน มีส่ว นหยาบผสมกับ
ส่วนละเอียดที่มีคุณสมบัติเป็นวัสดุเชื้อประสานที่ดี ปราศจากก้อนดินเหนียว และวัชพืชอื่น ๆ จากแหล่ง

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5-9 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

ที่ได้รับอนุมัติจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างแล้ว ส่วนที่จับตัวกันเป็นก้อนแข็ง หรือยึดเกาะกันมี


ขนาดโตกว่า 50 มิล ลิเ มตร จะต้อ งกํ า จัด ออกไป หรือ ทํ า ให้แ ตก และผสมเข้า ด้ว ยกัน ให้ม ีล ัก ษณะ
สม่ําเสมอ
ในกรณีที่ไม่ได้ระบุคุณสมบั ติไว้เป็นอย่างอื่น วัสดุมวลรวมที่ใช้ทําชั้นวัส ดุคั ดเลือก ก.
จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
(1) เมื่ อทดลองตาม ทล.-ท. 205 “วิธีการทดลองหาขนาดเม็ ดของวั สดุ โดยผ่ านตะแกรง
แบบล้าง” มีขนาดเม็ดโตสุดไม่เกิน 50 มิลลิเมตร และส่วนที่ผ่านตะแกรงขนาด 0.075 มิลลิเมตร (เบอร์ 200)
ไม่เกินร้อยละ 30
(2) ห้ามใช้ทรายที่มีคุณสมบัติข้อหนึ่ง ข้อใดดังต่อไปนี้ ทําวัสดุคัดเลือก ก.
(2.1) เป็นทรายแม่น้ํา
(2.2) เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 205 “วิธีการทดลองหาขนาดเม็ดของวัสดุโดยผ่าน
ตะแกรงแบบล้าง” มีส่วนที่ผ่านตะแกรงขนาด 0.425 มิลลิเมตร (เบอร์ 40) เกินกว่าร้อยละ 80
(2.3) เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 205 “วิธีการทดลองหาขนาดเม็ดของวัสดุโดยผ่าน
ตะแกรงแบบล้ า ง” มี ส่ ว นที่ ผ่ า นตะแกรงขนาด 0.075 มิ ล ลิ เ มตร (เบอร์ 200) น้ อ ยกว่ า ร้ อ ยละ 8 หรื อ
เกินกว่าร้อยละ 30
(2.4) มีค่า Liquid Limit เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 102 “วิธีการทดลองหาค่า Liquid
Limit (L.L.) ของดิน” ไม่เกินร้อยละ 40
(2.5) มีค่ า Plasticity Index เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 103 “วิธีการทดลองหาค่ า
Plastic Limit และ Plasticity Index” ไม่เกินร้อยละ 20
(2.6) มี ค่ า CBR เมื่ อ ทดลองตาม ทล.-ท. 109 “วิ ธี ก ารทดลองหาค่ า CBR”
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ที่ความแน่นแห้งของการบดอัดร้อยละ 95 ของความแน่นแห้งสูงสุดที่ได้จากการทดลอง
ตาม ทล.-ท. 108 “วิธีการทดลอง Compaction Test แบบสูงกว่ามาตรฐาน”
(2.7) มีค่าการขยายตัวเมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 109 “วิธีการทดลองหาค่า CBR”
ไม่เกินร้อยละ 3 ที่ความแน่นแห้งของการบดอัดร้อยละ 95 ของความแน่นแห้งสูงสุดที่ได้จากการทดลองตาม
ทล.-ท. 108 “วิธีการทดลอง Compaction Test แบบสูงกว่ามาตรฐาน”
(2.8) กรณีใช้วัสดุจําพวก Shale ต้องมีค่าเฉลี่ย Durability Index ของวัสดุทั้งชนิด
เม็ ด ละเอี ย ดและชนิ ดเม็ ดหยาบ เมื่ อทดลองตาม ทล.-ท. 206 “วิ ธี การทดลองหาค่ า Durability ของวั สดุ”
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30
(2.9) กรณีวัสดุจําพวก Non Plastic ที่เมื่อทดลองตามทล.-ท. 205 “วิธีการทดลอง
หาขนาดเม็ดของวัสดุโดยผ่านตะแกรงแบบล้าง” มีส่วนผ่านตะแกรงขนาด 2.00 มิลลิเมตร (เบอร์ 10) เกินกว่า
ร้อยละ 90 และได้คุณภาพตามข้อ (1) ถึง (6) แล้ว หากนํามาใช้ทําวัสดุคัดเลือก ก. จะต้องทําการบดทับให้ได้
ความแน่นแห้งสม่ําเสมอตลอดไม่ต่ํากว่าร้อยละ 100 ของการหาความแน่นแห้งสูงสุดที่ได้จากการทดลองตาม
ทล.-ท. 108 “วิธีการทดลอง Compaction Test แบบสูงกว่ามาตรฐาน”

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 10 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

(2) การกองวัสดุ
วัสดุมวลรวมจากแหล่งเมื่อผ่านการทดสอบคุณภาพว่าใช้ได้แล้ว และเตรียมที่จะนํามาใช้
ทําชั้นวัสดุคัดเลือก หากมิได้นํามาลงบนชั้นวัสดุคัดเลือก หรือชั้นอื่นใดที่ได้เตรียมไว้โดยตรง ให้กองไว้เป็น
กอง ๆ ในปริมาณที่พอสมควร และความสูงแต่ละกองไม่ควรเกิน 5 เมตร
บริเวณที่เตรียมไว้กองวัสดุ จะต้องได้รับเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
ต้ นไม้พุ่ม ไม้ ตอไม้ ไม้ผุ วัชพืช หรื อสิ่ งไม่ พึงประสงค์ต่าง ๆ จะต้องกําจั ดออกไปให้พ้นบริเวณ และ
ได้รับการปรับระดับจนแน่ใจว่าน้ําไม่ท่วมขังบริเวณกองวัสดุ และมีการะบายน้ําดีพอให้บดทับจนทั่วประมาณ 2-3
เที่ยว จนได้ความเรียบ และความแน่นพอสมควร
ถ้ าการทดสอบคุ ณภาพของตั วอย่ างวั สดุ มวลรวมจากกองวั สดุ ไม่ ได้ ตามข้ อกํ าหนดไม่ ว่ า
ในกรณีใดก็ตาม ผู้รับจ้างจะต้องเปลี่ยน หรือแก้ไขปรับปรุงตามดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
จนวัสดุมวลรวมมีคุณภาพถูกต้อง โดยที่ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เป็นภาระของผู้รับจ้างทั้งสิ้น
(3) เครื่องจักร และเครื่องมือ
ก่อนเริ่มงานผู้รับจ้างจะต้องเตรียมเครื่องจักรและเครื่องมือต่าง ๆ ที่จําเป็นจะต้องใช้ใน
การดําเนินงานทางด้านวัสดุและการก่อสร้างไว้ให้พร้อมที่หน้างาน ทั้งนี้ต้องเป็นแบบ ขนาด และอยู่ในสภาพที่
ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นสมควร
ถ้าเครื่องจักรและเครื่องมือชิ้นใดทํางานได้ไม่เต็มที่ หรือทํางานไม่ได้ผลตามวัตถุประสงค์
ผู้รับจ้างจะต้องทําการแก้ไข หรือจัดหาเครื่องจักรและเครื่องมืออื่นใดมาใช้แทน หรือเพิ่มเติมทั้งนี้ให้อยู่ในดุลย
พินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(4) วิธีการก่อสร้าง
(4.1) การเตรียมการก่อนการก่อสร้าง
(4.1.1) การเตรียมวัสดุ
วั ส ดุ ม วลรวมจากแหล่ ง เมื่ อ ผ่ า นการทดสอบคุ ณ ภาพว่ า ใช้ ไ ด้ แ ล้ ว และเตรี ย มที่ จ ะ
นํามาใช้ทําชั้นวัสดุคัดเลือก ก. หากมิได้นํามาลงบนชั้นวัสดุคัดเลือก ข. หรือชั้นอื่นใดที่ได้เตรียมไว้โดยตรง
ให้กองไว้เป็นกอง ๆ ในปริมาณที่พอสมควรและความสูงแต่ละกองไม่ควรเกิน 5.00 เมตร
บริเวณที่เตรียมไว้กองวัสดุ จะต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของ
ผู้ว่าจ้างก่อน ต้นไม้พุ่มไม้ ตอไม้ ไม้ผุ วัชพืช หรือสิ่งไม่พึงประสงค์ต่าง ๆ จะต้องกําจัดออกไปให้พ้นบริเวณ
และได้รับการปรั บระดับจนแน่ใจว่ าน้ํ าไม่ท่วมขังบริเวณกองวัส ดุ และมีการะบายน้ําดีพอให้บดทั บ จนทั่ว
ประมาณ 2-3 เที่ยว จนได้ความเรียบและความแน่นพอสมควร
การตักวัสดุมวลรวมและการขนส่งวัสดุมวลรวมจะต้องกระทําด้วยความระมัดระวัง
ไม่ให้เกิดการแยกตัว (Segregation) ของส่วนหยาบและส่วนละเอียด ในกรณีที่วัสดุมวลรวม ซึ่งขนส่งไปเกิด
การแยกตัวทําให้การผสมใหม่ในสนาม (Road-Mix)

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 11 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

(4.1.2) การเตรียมพื้นที่ก่อสร้าง
ชั้นวัสดุคัดเลือก ข. หรือชั้นอื่นใดที่จะต้องรองรับชั้นวัสดุคัดเลือก ก. จะต้องเกลี่ยแต่ง และ
บดทับให้ได้แนว ระดับ ความลาด ขนาดรูปร่าง และความแน่น ตามที่ได้แสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด
ก่อนลงวัสดุมวลรวมผู้รับจ้างจะต้องเตรียมพร้อมในด้านต่าง ๆ เช่น เครื่องจักร และ
เครื่องมือในการทํางานและการบดทับ เครื่องหมายควบคุมการจราจรที่เกี่ยวกับการก่อสร้าง ทั้งนี้ จะต้อง
ได้รับความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างก่อน
(4.2) การก่อสร้าง
ภายหลังจากที่ได้ดําเนินการตาม ข้อ (4.1) แล้วให้ราดน้ําชั้นวัสดุคัดเลือก ข. หรือ
ชั้ น อื่ น ใดที่ ร องรั บ ชั้ น วั ส ดุ คั ด เลื อ ก ก. ให้ เ ปี ย กชื้ น สม่ํ า เสมอโดยทั่ ว ตลอด ใช้ เ ครื่ อ งจั ก รที่ เ หมาะสม เช่ น
รถบรรทุกกระบะยกขนวัสดุมวลรวมไปปูลงบนชั้นวัสดุคัดเลือก ข. หรือชั้นอื่นใดที่ได้เตรียมไว้ แล้วตีแผ่ เกลี่ยวัสดุ
มวลรวม คลุกเคล้า ผสมน้ํา โดยที่ประมาณว่าให้มีปริมาณน้ําที่ Optimum Moisture Content ร้อยละ  3
หลั ง จากเกลี่ ย แต่ ง วั ส ดุ จ นได้ ที่ แ ล้ ว ให้ ทํ า การบดทั บ ทั น ที ด้ ว ยเครื่ อ งมื อ บดทั บ
ที่เหมาะสม บดทับทั่วผิวหน้าอย่างสม่ําเสมอจนได้ความแน่นตลอดความหนาตามข้อกําหนด เกลี่ยแต่งวัสดุให้ได้
แนวระดับ ความลาด ขนาด และรูปตัด ตามที่ได้แสดงไว้ในแบบ ไม่มีหลุมบ่อหรือวัสดุที่หลุดหลวมไม่แน่น
อยู่บนผิวบริเวณใดที่วัสดุส่วนหยาบและส่วนละเอียดแยกออกจากกัน ผู้รับจ้างจะต้องทําการแก้ไข
(5) การควบคุมคุณภาพขณะก่อสร้าง
การก่อสร้างชั้นวัสดุคัดเลือก ก. ให้ก่อสร้างเป็นชั้น ๆ โดยให้มีความหนาหลังบดอัดชั้นละ
ไม่เกิน 0.15 เมตร
ผู้ รั บจ้ างอาจก่ อสร้ างชั้ นวั สดุ คั ดเลื อก ก. ให้ มี ความหนาแต่ ละชั้ นเกิ นกว่ า 0.15 เมตร
แต่ไม่เกิน 0.20 เมตร ก็ได้ ทั้งนี้ต้องแสดงรายการเครื่องจักรและเครื่องมือที่เหมาะสม แสดงวิธีการปฏิบัติงานและ
ต้องก่อสร้างแปลงทดลองยาวประมาณ 200-500 เมตร ให้ตรวจสอบคุณภาพก่อนเพื่อขอรับการพิจารณาเห็นชอบ
จากผู้ ควบคุ มงานก่ อสร้ างของผู้ ว่ าจ้ าง หากพบว่ าระหว่ างการก่ อสร้ างมี ปั ญหาเกี่ ยวกั บความแน่ นของวั สดุ
คัดเลือก ก. ส่วนบนและส่วนล่างไม่ได้ตามข้อกําหนด ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างอาจพิจารณาระงับการ
ก่อสร้างวัสดุคัดเลือก ก. หนาชั้นละมากกว่า 0.15 เมตร
ผู้ ควบคุ มงานก่ อสร้ างของผู้ ว่ าจ้ างอาจจะตรวจสอบคุ ณภาพหลั งการผสมคลุ กเคล้ าแล้ ว
หากพบว่าตอนใดคุณภาพไม่ถูกต้องตามข้อกําหนด ผู้รับจ้างจะต้องดําเนินการปรับปรุงแก้ไขจนได้วัสดุที่มีคุณภาพ
ถูกต้องตามข้อกําหนด
(6) การตรวจสอบ
(6.1) การตรวจสอบค่าระดับ
งานวั ส ดุ คั ด เลื อ ก ก. ที่ ก่ อ สร้ า งเสร็ จ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว จะต้ อ งมี รู ป ร่ า งราบเรี ย บ
ตามแบบรูปและรายการละเอียด โดยเมื่อทําการตรวจสอบด้วยบรรทัดตรงยาว 3.00 เมตร ทั้งตามแนวขนาน
และตั้งฉากกับแนวศูนย์กลางทาง มีความแตกต่างได้ไม่เกิน 10 มิลลิเมตร และมีค่าระดับแตกต่างไปจาก
ค่าระดับที่ แสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียดได้ไม่ เกิน 15 มิล ลิเมตร การตรวจสอบค่าระดั บ ให้ทํา

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 12 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

ทุกระยะ 25.00 เมตร หรือน้อยกว่าตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างพิจารณาเห็นชอบ ตอนใดที่ผิดไป


จากนี้ให้แก้ไขโดยการปาดออก หรือรื้อแล้วก่อสร้างใหม่
(6.2) การทดสอบความแน่นของการบดทับ
งานวั ส ดุคัดเลือก ก. จะต้องทําการบดทั บให้ ได้ความแน่ นแห้งสม่ําเสมอตลอด
ไม่ต่ํากว่าร้อยละ 95 ของความแน่นแห้งสูงสุด และไม่ต่ํากว่าร้อยละ 100 ของความแน่นแห้งสูงสุดสําหรับกรณี
วัสดุจําพวก Non Plastic ที่ได้จากการทดลองตัวอย่างวัสดุที่เก็บจากหน้างานในสนามหลังจากคลุกเคล้าผสม
และปูลงบนถนนแล้ว ตาม ทล.-ท. 108 “วิธีการทดลอง Compaction Test แบบสูงกว่ามาตรฐาน”
(6.3) การทดสอบความแน่ นของการบดทับ ให้ดําเนินการทดสอบตาม ทล.-ท. 503
“วิธีการทดลองหาค่าความแน่นของวัสดุในสนามโดยใช้ทราย” ทุกระยะประมาณ 100 เมตร ต่อ 1 ช่อง จราจร
หรือประมาณพื้นที่ 500 ตารางเมตร ต่อ 1 หลุมตัวอย่าง หรือตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด
(7) การบํารุงรักษาและการเปิดจราจร
หลังจากการก่อสร้างเสร็จและคุณภาพผ่านข้อกําหนดทุกอย่างแล้ว ในกรณีที่ผู้รับจ้าง
ยังไม่ทําการก่อสร้างชั้นทางในชั้นถัดไป ถ้าต้องการเปิดให้การจราจรผ่านให้ทําการบํารุงรักษาด้วยการพ่นน้ํา
บาง ๆ ลงไปบนผิวหน้าของชั้นวัสดุคัดเลือก ก. ที่ก่อสร้างเสร็จแล้วให้ชุ่มชื้นตลอดเวลา เพื่อป้องกันไม่ให้ฝุ่นฟุ้ง
กระจายเป็นมลภาวะต่อประชาชนสองข้างทางขณะเปิดจราจร
กรณีใช้ทรายเป็ นวัสดุคั ดเลื อก ก. ให้ใช้ วัสดุที่ ใช้ ทําชั้ นทางชั้ นถั ดไปปิ ดทับหน้ าเพื่ อให้
การจราจรผ่าน
5.6 เกณฑ์กําหนด เกณฑ์การตรวจสอบ และการทดลอง
เกณฑ์กําหนดในการบดอัดแน่น ให้ผู้รับจ้างปฏิบัติตามรายละเอียดด้านวิศวกรรมใน บทที่ 2 “งานดิน”
5.7 งานวัสดุชั้นรองพื้นทาง
หมายถึง การก่อสร้างชั้นรองพื้นทางบนชั้นวัสดุคัดเลือก หรือชั้นอื่นใดที่ได้เตรียมไว้แล้วด้วยวัสดุมวลรวม
ที่มีคุณภาพตามข้อกําหนด โดยการเกลี่ยแต่งและบดทับให้ได้แนว ระดับ และรูปร่างตามที่แสดงไว้ในแบบรูป
และรายการละเอียด
5.7.1 วัสดุ
วัสดุมวลรวมต้องเป็นวัสดุที่มีเม็ดแข็ง ทนทาน มีส่วนหยาบผสมกับส่วนละเอียดที่มีคุณสมบัติ
เป็นเชื้อประสานที่ดี ปราศจากก้อนดินเหนียว และวัชพืชอื่น ๆ จากแหล่งที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุ หากมีส่วนที่จับตัวเป็นก้อนแข็ง หรือยึดเกาะกันมีขนาดโตกว่าขนาด 50 มิลลิเมตร จะต้องกําจัด
ออกไป หรือทําให้แตกและผสมเข้าด้วยกันให้มีลักษณะสม่ําเสมอ
ในกรณีที่ไม่ได้ระบุคุณสมบัติเป็นอย่างอื่น วัสดุที่ใช้ทําชั้นรองพื้นทางวัสดุมวลรวมจะต้องมี
คุณสมบัติดังต่อไปนี้
(1) มีค่าความสึกหรอ เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 202 “วิธีการทดลองหาค่าความสึกหรอของ
Coarse Aggregate โดยใช้เครื่อง Los Angeles Abrasion” ไม่เกินร้อยละ 60

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 13 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

(2) มีขนาดคละที่ดี เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 205 “วิธีการทดลองหาขนาดเม็ดของวัสดุโดยผ่าน


ตะแกรงแบบล้าง” จะต้องมีขนาดหนึ่งขนาดใดตามตารางที่ 5-1
(3) มีค่า Liquid Limit เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 102 “วิธีการทดลองหาค่า Liquid Limit (L.L.)
ของดิน” ไม่เกินร้อยละ 35
(4) มีค่า Plasticity Index เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 103 “วิธีการทดลองหาค่า Plastic Limit
และ Plasticity Index” ไม่เกินร้อยละ 11
(5) มีค่า CBR เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 109 “วิธีการทดลองหาค่า CBR” ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25
ที่ความแน่นแห้งของการบดอัดร้อยละ 95 ของความแน่นแห้งสูงสุดที่ได้จากการทดลองตาม ทล.-ท. 108 “วิธีการ
ทดลอง Compaction Test แบบสูงกว่ามาตรฐาน”
ตารางที่ 5-1 ขนาดคละของรองพืน้ ทางวัสดุมวลรวม
ร้อยละผ่านตะแกรงโดยน้ําหนัก
ขนาดของตะแกรง
เกรด A เกรด B เกรด C เกรด D เกรด E
2” 100 100 - - -
1” - - 100 100 100
3/8” 30-65 40-75 50-85 60-100 -
No.10 15-40 20-45 25-50 40-70 40-100
No.40 8-20 15-30 15-30 25-45 20-50
No.200 2-8 5-20 5-15 5-20 6-20

(6) กรณีใช้วัสดุมากกว่า 1 ชนิดผสมกันเพื่อให้ได้คุณภาพถูกต้อง วัสดุแต่ละชนิดจะต้องมีขนาด


คละสม่ําเสมอ และเมื่อผสมกันแล้วจะต้องมีลักษณะสม่ําเสมอและได้คุณภาพตามข้อกําหนด ทั้งนี้ จะต้อง
ขอรับความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างก่อน
(7) กรณีใช้วัสดุจําพวก Shale ต้องมีค่าเฉลี่ย Durability Index ของวัสดุทั้งชนิดเม็ดละเอียด
และชนิดเม็ดหยาบแต่ละชนิด เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 206 “วิธีการทดลองหาค่า Durability ของวัสดุ” ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 35
5.7.2 วิธีการก่อสร้าง
(1) การเตรียมการก่อนการก่อสร้าง
(1.1) การเตรียมวัสดุ
วัสดุที่จะนํามาใช้เป็นรองพื้นทางจะต้องถูกคลุกเคล้าให้มีลักษณะสม่ําเสมอกัน (Uniform)
และกองไว้เป็นกอง ๆ Stockpile ในปริมาณที่พอสมควรไว้เพื่อการตรวจสอบเสียก่อน
บริ เวณที่ เตรียมไว้ กองวัสดุ จะต้ องได้รับความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของ
ผู้ว่าจ้างก่อน ต้นไม้พุ่มไม้ ตอไม้ ไม้ผุ วัชพืช หรือสิ่งไม่พึงประสงค์ต่าง ๆ จะต้องกําจัดออกไปให้พ้นบริเวณ
และได้รับการปรับระดับจนแน่ใจว่าน้ําไม่ท่วมขั งบริเวณกองวัส ดุ และมีการะบายน้ําดีพอให้บดทั บ จนทั่ ว
ประมาณ 2-3 เที่ยว จนได้ความเรียบและความแน่นพอสมควร
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 14 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

วัสดุมวลรวมจากกองวัสดุในแหล่งเมื่อผ่านการทดสอบคุณภาพว่าใช้ได้แล้ว และเตรียมที่
จะนํามาใช้งานรองพื้นทาง หากไม่ได้นํามาลงชั้นวัสดุคัดเลือก ก. หรือชั้นอื่นใดที่ได้เตรียมไว้โดยตรง ให้กองไว้
เป็นกอง ๆ ในปริมาณที่พอสมควร
สํ า หรั บ วั ส ดุ ม วลรวมที่ ไ ด้ จ ากแหล่ ง หลาย ๆ แห่ ง ที่ ผ่ า นการทดสอบว่ า ใช้ ไ ด้ แ ล้ ว
ถ้าจะนํามาลงบนชั้นวัสดุคัดเลือก ก. หรือชั้นอื่นใดที่ได้เตรียมไว้โดยตรง ให้แยกลงแต่ละแหล่งเป็นแต่ละช่วงไป
ช่วงละประมาณ 500 เมตร หรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างกําหนด ถ้าประสงค์จะนํามากอง
เพื่อเตรียมไว้ใช้งานรองพื้นทางก็ให้แยกกองวัสดุแต่ละแหล่งออกจากกันในปริมาณที่พอสมควร หากไม่สะดวก
ในการควบคุมคุณภาพจากกองวัสดุในแหล่ง ก็ให้กองวัสดุเป็นกอง ๆ แยกกันไปแต่ละแหล่งแล้วดําเนินการ
เก็บตัวอย่างทดสอบคุณภาพ ห้ามนําวัสดุมวลรวมที่ยังไม่ผ่านการทดสอบคุณภาพมาลงบนชั้นวัสดุคัดเลือก ก.
หรือชั้นอื่นใดที่ได้เตรียมไว้โดยตรง
(2) การเตรียมพื้นที่ก่อสร้าง
ชั้นวัสดุคัดเลือก ก. หรือชั้นอื่นใดที่จะต้องรองรับชั้นรองพื้นทาง จะต้องเกลี่ยแต่ง และ
บดทับให้ได้แนว ระดับ ความลาด ขนาดรูปร่าง และความแน่น ตามที่ได้แสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด
ก่อนลงวัสดุมวลรวม ผู้รับจ้างจะต้องเตรียมพร้อมในด้านต่ าง ๆ เช่น เครื่องจักรและ
เครื่องมือในการทํางาน และเครื่องหมายควบคุมการจราจรที่เกี่ยวกับการก่ อสร้าง ทั้งนี้ ต้องได้รับความ
เห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(2.1) การก่อสร้าง
ภายหลังจากที่ได้ดําเนินการตาม ข้อ (1) แล้วให้ราดน้ําชั้นวัสดุคัดเลือก ก. หรือชั้นอื่นใดที่
รองรับชั้นรองพื้นทางให้เปียกชื้นสม่ําเสมอโดยทั่วตลอด ใช้เครื่องจักรที่เหมาะสมขนวัสดุมวลรวมจากกองวัสดุ
ไปปูลงบนชั้นวัสดุคัดเลือก ก. หรือชั้นอื่นใดที่ได้เตรียมไว้ แล้วตีแผ่เกลี่ยวัสดุมวลรวม คลุกเคล้า ผสมน้ํา โดยที่
ประมาณว่าให้มีปริมาณน้ําที่ Optimum Moisture Content ร้อยละ  3
หลั งจากเกลี่ ยแต่ งวั สดุ มวลรวมจนได้ ที่ แล้ ว ให้ ทํ าการบดทั บทั นที ด้ วยเครื่ องมื อบดทั บ
ที่เหมาะสม บดทับทั่วผิวหน้าอย่างสม่ําเสมอจนได้ความแน่นตลอดความหนาตามข้อกําหนด เกลี่ย แต่งวัสดุให้ได้
แนว ระดับ ความลาด ขนาด และรูปตัด ตามที่ได้แสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด ไม่มีหลุมบ่อหรือวัสดุที่
หลุดหลวมไม่แน่นอยู่บนผิว
บริเวณใดที่วัสดุส่วนหยาบและส่วนละเอียดแยกออกจากกัน ผู้รับจ้างจะต้องทําการแก้ไข
5.7.3 การควบคุมคุณภาพขณะก่อสร้าง
การก่อสร้างชั้นรองพื้นทางวัสดุมวลรวมให้ก่อสร้างเป็นชั้น ๆ โดยให้มีความหนาหลังบดอัด
ชั้นละไม่เกิน 0.15 เมตร
ผู้รับจ้างอาจก่อสร้างชั้นรองพื้นทางวัสดุมวลรวม ให้มีความหนาแต่ละชั้นเกินกว่า 0.15 เมตร
แต่ไม่เกิน 0.20 เมตร ก็ได้ ทั้งนี้ต้องแสดงรายการเครื่องจักรและเครื่องมือที่เหมาะสม แสดงวิธีการปฏิบัติงาน
และต้องก่อสร้างแปลงทดลองยาวประมาณ 200-500 เมตร ให้ตรวจสอบคุณภาพก่อน เพื่อขอรับการพิจารณา
เห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง หากพบว่าระหว่างการก่อสร้างมีปัญหาเกี่ยวกับความแน่นของ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 15 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

วัสดุรองพื้นทางวัสดุมวลรวมส่วนบนและส่วนล่างไม่ได้ตามข้อกําหนด ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างอาจ
พิจารณาระงับการก่อสร้างวัสดุรองพื้นทางวัสดุมวลรวมหนาชั้นละมากกว่า 0.15 เมตร
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างจะตรวจสอบคุณภาพหลังการผสมคลุกเคล้าแล้ว หากพบว่า
ตอนใดคุณภาพไม่ถูกต้องตามข้อกําหนดผู้รับจ้างจะต้องดําเนินการปรับปรุงแก้ไขจนได้วัสดุที่มีคุณภาพถูกต้อง
ตามข้อกําหนด
การบํารุงรักษาและการเปิดจราจร หลังจากการก่อสร้างเสร็จและคุณภาพผ่านข้อกําหนด
ทุกอย่างแล้ว ในกรณีที่ผู้รับจ้างยังไม่ทําการก่อสร้างชั้นทางในชั้นถัดไป ถ้าต้องการเปิดให้การจราจรผ่านให้
ทําการบํารุงรักษาด้วยการพ่นน้ําบาง ๆ ลงไปบนผิวหน้าของชั้นวัสดุรองพื้นทางวัสดุมวลรวม ที่ก่อสร้างเสร็จ
แล้วให้ชุ่มชื้นตลอดเวลา เพื่อป้องกันไม่ให้ฝุ่นฟุ้งกระจายเป็นมลภาวะต่อประชาชนสองข้างทางขณะเปิดจราจร
5.7.4 การตรวจสอบ
(1) การตรวจสอบค่าระดับ
งานชั้นรองพื้นทางวัสดุมวลรวมที่ก่อสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะต้องมีรูปร่างราบเรียบตาม
แบบรูปและรายการละเอียด โดยเมื่อทําการตรวจสอบด้วยบรรทัดตรงยาว 3.00 เมตร ทั้งตามแนวขนานและตั้ง
ฉากกับแนวศูนย์กลางทางมีความแตกต่างได้ไม่เกิน 10 มิลลิเมตร และมีค่าระดับแตกต่างไปจากค่าระดับที่แสดง
ไว้ในแบบรูปและรายการละเอียดได้ไม่เกิน 15 มิลลิเมตร การตรวจสอบค่าระดับให้ทําทุกระยะ 25.00 เมตร
หรือน้อยกว่าตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างพิจารณาเห็นชอบ ตอนใดที่ผิดไปจากนี้ให้แก้ไขโดยการ
ปาดออก หรือรื้อแล้วก่อสร้างใหม่
(2) การทดสอบความแน่นของการบดทับ
งานรองพื้นทางวัสดุมวลรวม จะต้องทําการบดทับให้ได้ความแน่นแห้งสม่ําเสมอตลอด
ไม่ต่ํากว่าร้อยละ 95 ของความแน่นแห้งสูงสุดที่ได้จากการทดลองตัวอย่างวัสดุมวลรวมที่เก็บจากหน้างาน
ในสนามหลั ง จากคลุกเคล้าผสมและปู ลงบนถนนแล้ว ตาม ทล.-ท. 108 “วิธีการทดลอง Compaction Test
แบบสูงกว่ามาตรฐาน”
การทดสอบความแน่นของการบดทับ ให้ดําเนินการทดสอบตาม ทล.-ท. 603 “วิธีการ
ทดลองหาค่าความแน่นของวัสดุในสนามโดยใช้ทราย” ทุกระยะประมาณ 100 เมตร ต่อ 1 ช่อง จราจร หรือ
ประมาณพื้นที่ 500 ตารางเมตร ต่อ 1 หลุมตัวอย่าง หรือตามที่กําหนด
5.7.5 ส่วนคลาดเคลื่อน (Tolerances) ของงานชั้นรองพื้นทาง (Flexible Subbase)
ระดับหลังรองพื้นบดอัดแน่นแล้วทุกจุดจะต้องไม่สูงกว่าหรือต่ํากว่าระดับตามแบบรูปและรายการ
ละเอียดกําหนดเกินกว่า 1.5 เซนติเมตร ตอนใดที่ผิดไปจากนี้ให้รื้อ (Scarify) และบดอัดใหม่ให้แน่นและ
ได้ระดับสม่ําเสมอตามแบบรูปและรายการละเอียด

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 16 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

5.8 งานวัสดุชั้นพื้นทาง (หินคลุก) (Crushed Rock Soil Aggregate Type Base)


หมายถึง การก่ อสร้างชั้นพื้นทางบนชั้ นรองพื้นทาง หรื อชั้ นอื่ นใดที่ ได้ เตรียมไว้ แล้ วด้ วยวัสดุหินคลุ ก
ที่มีคุณภาพตามข้อกําหนด โดยการเกลี่ย แต่ง และบดทับให้ได้แนว ระดับ และรูปร่างตามที่แสดงไว้ในแบบรูปและ
รายการละเอียด
5.8.1 วัสดุ
วัสดุหินคลุก ต้องเป็นหินโม่มวลรวม (Crushed Rock Soil Aggregate Type) ที่มีเนื้อแข็ง เหนียว
สะอาด ไม่มีฝุ่น และปราศจากวัสดุอื่นเจอปน จากแหล่งที่ได้รับอนุมัติจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างแล้ว
วั สดุ จํ า พวก Shale ห้ า มนํ า มาใช้ โ ดยเด็ ด ขาด ในกรณี ที่ ไ ม่ ไ ด้ ร ะบุ คุ ณ สมบั ติ เ ป็ น อย่ า งอื่ น วั ส ดุ ที่ ใ ช้ ทํ า
ชั้นพื้นทางหินคลุกจะต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
(1) มีค่าความสึกหรอ เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 202 “วิธีการทดลองหาค่าความสึกหรอของ
Coarse Aggregate โดยใช้เครื่อง Los Angeles Abrasion” ไม่เกินร้อยละ 40
(2) มี ค่ า ของส่ ว นที่ ไ ม่ ค งทน (Loss) เมื่ อ ทดลองตาม ทล.-ท. 213 “วิ ธี ก ารทดลองหาค่ า
ความคงทน (Soundness) ของมวลรวม” โดยใช้โซเดียมซัลเฟต จํานวน 5 รอบ แล้วไม่เกินร้อยละ 5
หินคลุกจากแหล่งเดิมที่มีหลักฐานแสดงผลการทดลองหาความคงทนว่าใช้ได้ อาจจะ
ยกเว้ น ไม่ ต้ อ งทดลองอี ก ก็ ไ ด้ ทั้ ง นี้ ใ ห้ อ ยู่ ใ นดุ ล ยพิ นิ จ ของผู้ ค วบคุ ม งานก่ อ สร้ า งของผู้ ว่ า จ้ า ง ที่ จ ะใช้ ผ ล
การทดลองเดิมที่มีอยู่
(3) ส่ ว นละเอี ย ด (Fine Aggregate) ต้ อ งเป็ น วั ส ดุ ช นิ ด และคุ ณ สมบั ติ เ ช่ น เดี ย วกั น กั บ
ส่วนหยาบ (Coarse Aggregate)
(4) มี ขนาดคละที่ ดี เมื่ อทดลองตาม ทล.-ท. 205 “วิ ธี การทดลองหาขนาดเม็ ดของวั สดุ โดย
ผ่านตะแกรงแบบล้าง” จะต้องมีขนาดหนึ่งขนาดใดตามแสดงในตารางที่ 5-2
(5) ส่วนละเอียดที่ผ่านตะแกรงขนาด 0.075 มิลลิเมตร ต้องไม่มากกว่าสองในสาม (2/3) ของ
ส่วนละเอียดที่ผ่านตะแกรงขนาด 0.425 มิลลิเมตร
(6) มีค่า Liquid Limit เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 102 “วิธีการทดลองหาค่า Liquid Limit (L.L.)
ของดิน” ไม่เกินร้อยละ 25
(7) มีค่า Plasticity Index เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 103 “วิธีการทดลองหาค่า Plastic Limit
และ Plasticity Index” ไม่เกินร้อยละ 6

ตารางที่ 5-2 ขนาดคละของวัสดุพนื้ ทางหินคลุก


ร้อยละผ่านตะแกรง
ขนาดของตะแกรง
A B C
2” 100 100 -
1” - - 100
3/8” 30-65 40-75 50-85
No.4 25-55 30-60 35-65
No.10 15-40 20-45 25-50
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 17 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

ตารางที่ 5-2 ขนาดคละของวัสดุพนื้ ทางหินคลุก


ร้อยละผ่านตะแกรง
ขนาดของตะแกรง
A B C
No.40 8-20 15-30 15-30
No.200 2-8 5-20 5-15
(8) มี ค่ า CBR เมื่ อ ทดลองตาม ทล.-ท. 109 “วิ ธี ก ารทดลองหาค่ า CBR” ไม่ น้ อ ยกว่ า
ร้อยละ 80 สําหรับผิวทางแบบแอสฟัลต์คอนกรีต และไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 สําหรับผิวทางแบบเซอร์เฟสทรีต
เมนต์ที่ความแน่นแห้งของการบดอัดร้อยละ 95 ของความแน่นแห้งสูงสุดที่ได้จากการทดลองตาม ทล.-ท. 108
“วิธีการทดลอง Compaction Test แบบสูงกว่ามาตรฐาน”
5.8.2 เครื่องจักร และเครื่องมือ
ก่อนเริ่มงานผู้รับจ้างจะต้องเตรียมเครื่องจักรและเครื่องมือต่าง ๆ ที่จําเป็นจะต้องใช้ในการ
ดําเนินงานทางด้านวัสดุและการก่อสร้างไว้ให้พร้อมที่หน้างาน ทั้งนี้ต้องเป็นแบบ ขนาด และอยู่ในสภาพที่ใช้ได้
อย่างมีประสิทธิภาพตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นสมควร
ถ้ า เครื่ อ งจั ก รและเครื่ อ งมือ ชิ้ นใดทํ า งานได้ ไ ม่เ ต็ ม ที่ หรื อ ทํ า งานไม่ ไ ด้ ผ ลตามวั ต ถุ ประสงค์
ผู้รับจ้างจะต้องทําการแก้ไข หรือจัดหาเครื่องจักรและเครื่องมืออื่นใดมาใช้แทน หรือเพิ่มเติมทั้งนี้ให้อยู่ในดุลย
พินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
5.8.3 วิธีการก่อสร้าง
(1) การเตรียมวัสดุ
บริเวณที่เตรียมไว้กองวัสดุ จะต้องได้รับเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
ต้นไม้ พุ่มไม้ ตอไม้ ไม้ผุ วัชพืช หรือสิ่งไม่พึงประสงค์ต่าง ๆ จะต้องกําจัดออกไปให้พ้นบริเวณ และได้รับ
การปรับระดับจนแน่ใจว่าน้ําไม่ท่วมขังบริเวณกองวัสดุ และมีการะบายน้ําดีพอให้บดทับจนทั่วประมาณ
2-3 เที่ยว จนได้ความเรียบและความแน่นพอสมควร
หินคลุกจากแหล่งผลิต เมื่อได้ผ่านการทดสอบคุณภาพว่าใช้ได้แล้วและเตรียมที่จะนํามาใช้
งานพื้นทาง หากมิได้นํามาลงบนชั้นรองพื้นทาง หรือชั้นอื่นใดที่ได้เตรียมไว้โดยตรง ให้กองไว้เป็นกอง ๆ
ในปริมาณที่พอสมควร
สําหรับหินคลุกที่ได้จากแหล่งผลิตหลาย ๆ แห่ง ซึ่งผ่านการทดสอบคุณภาพว่าใช้ได้แล้ว
ถ้าจะนํามาลงบนชั้นรองพื้นทาง หรือชั้นอื่นใดที่ได้เตรียมไว้แล้วโดยตรง ให้แยกลงแต่ละแหล่งผลิตแต่ละ
ช่วงไป ช่วงละประมาณ 500 เมตร หรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างกําหนด ถ้าประสงค์จะนํามา
กองเพื่อเตรียมไว้ใช้งานพื้นทางก็ให้แยกกองวัสดุแต่ละแหล่งผลิตออกจากกันในปริมาณที่พอสมควร หากไม่
สะดวกในการควบคุ ม คุณภาพจากแหล่งผลิต ก็ ใ ห้กองวัส ดุ เป็นกอง ๆ แยกกั นไปแต่ ล ะแหล่งผลิต แล้ว
ดําเนินการเก็บตัวอย่างทดสอบคุณภาพ ห้ามนําหินคลุกที่ยังไม่ผ่านการทดสอบคุณภาพมาลงบนชั้นรองพื้นทาง
หรือชั้นอื่นใดที่ได้เตรียมไว้โดยตรง

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 18 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

ให้ระวังการเกิดการแยกตัวของส่วนหยาบและส่วนละเอียดในการกองวัสดุ หากพิจารณา
พบเห็นผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างอาจจะเก็บตัวอย่างทดสอบคุณภาพใหม่ได้
ก่ อนขนส่ งหินคลุกไปใช้ ให้พ่นน้ําเข้าไปที่ กองวั ส ดุและคลุกเคล้าให้เข้ากัน โดยให้มี
ปริมาณน้ําใกล้เคียง Optimum Moisture Content การตักหินคลุกออกจากกองและการขนส่งจะต้องกระทํา
ด้วยความระมัดระวังไม่ให้เกิดการแตกตัวของส่วนหยาบและส่วนละเอียดได้ ในกรณีที่หินคลุกเกิดการแยกตัว
ให้ทําการผสมใหม่ในสนาม
(2) การเตรียมพื้นที่ก่อสร้าง
ชั้นรองพื้นทาง หรือชั้นอื่นใดที่จะต้องรองรับชั้นพื้นทางหินคลุก จะต้องเกลี่ยแต่ง และ
บดทับให้ได้แนว ระดับ ความลาด ขนาดรูปร่าง และความแน่น ตามที่ได้แสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด
ก่อนลงหินคลุก ผู้รั บจ้างจะต้องเตรี ยมพร้ อ มในด้านต่าง ๆ อาทิเช่น เครื่ องจัก รและ
เครื่องมือในการทํางาน และเครื่องหมายควบคุมการจราจรที่เกี่ยวกับการก่อสร้าง ทั้งนี้ ต้องได้รับเห็นชอบ
จากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(3) การก่อสร้าง
ภายหลั ง จากที่ ไ ด้ ดํ า เนิ น การตามข้ อ (1) แล้ วให้ ราดน้ํ าชั้ นรองพื้ นทาง หรื อชั้ นอื่ นใด
ที่รองรับชั้นพื้นทางหินคลุกให้เปียกชื้นสม่ําเสมอโดยทั่วตลอด ใช้เครื่องจักรที่เหมาะสมขนวัสดุมวลรวมจากกอง
วัสดุไปปูลงบนชั้นรองพื้นทาง หรือชั้นอื่นใดที่ได้เตรียมไว้ แล้วตีแผ่ เกลี่ยวัสดุมวลรวม คลุกเคล้า ผสมน้ํา โดยที่
ประมาณว่าให้มีปริมาณน้ําที่ Optimum Moisture Content ร้อยละ  2
หลั ง จากเกลี่ ย แต่ ง หิ น คลุ ก จนได้ ที่ แ ล้ ว ให้ ทํ า การบดทั บ ทั น ที ด้ ว ยรถบดล้ อ ยาง หรื อ
เครื่องมือบดทับอื่นใดที่เหมาะสม บดทับทั่วผิวหน้าอย่างสม่ํ าเสมอจนได้ความแน่นตลอดความหนาตาม
ข้อกําหนด เกลี่ยแต่งวัสดุให้ได้แนว ระดับ ความลาด ขนาด และรูปตัด ตามที่ได้แสดงไว้ในแบบรูปและรายการ
ละเอียด ไม่มีหลุมบ่อ หรือวัสดุที่หลุดหลวมไม่แน่นอยู่บนผิวการบดทับขั้นสุดท้าย ถ้าทําการบดแต่งด้วยรถบด
ล้อเหล็ก ห้ามบดทับจนเม็ดหินแตก บริเวณใดที่วัสดุส่วนหยาบและส่วนละเอียดแยกตัวออกจากกันผู้รับจ้าง
จะต้องแก้ไข
กรณีชั้นพื้นทางและชั้นไหล่ทางใช้วัสดุต่างชนิดกัน หากทํางานไหล่ทางก่อนงานพื้นทาง
ในช่วงฤดูฝน
หากได้มีการใส่ไหล่ทางไว้ก่อนทําพื้นทาง แล้วเกิดฝนตกระหว่างการทํางาน หรือมีน้ําขัง
ในพื้นทาง ถ้าพบว่าไม่ถูกต้องให้รื้อแก้ไขใหม่ตามวิธีการก่อสร้างชั้นรองพื้นทางและได้คุณภาพถูกต้องตาม
ข้อกําหนด ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
หากมีความจําเป็นจะต้องก่อสร้างชั้นพื้นทางในช่วงฤดูฝนแล้ว จะต้องรีบทําการก่อสร้าง
ให้แล้วเสร็จ แล้วรีบดําเนินการลาดแอสฟัลต์ Prime Coat ปิดโดยทันที
(4) การควบคุมคุณภาพขณะก่อสร้าง
การก่อสร้างชั้นพื้นทางหินคลุก ให้ก่อสร้างเป็นชั้น ๆ โดยให้มีความหนาหลังบดอัดชั้นละ
ไม่เกิน 0.15 เมตร

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 19 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

ผู้รับจ้างอาจก่อสร้างชั้นพื้นทางหินคลุก ให้มีความหนาแต่ละชั้นเกินกว่า 0.15 เมตร


แต่ไม่เกิน 0.20 เมตร ก็ได้ ทั้งนี้ต้องแสดงรายการเครื่องจักรและเครื่องมือที่เหมาะสม แสดงวิธีการปฏิบัติงาน
และต้องก่อสร้างแปลงทดลองยาวประมาณ 200-500 เมตร ให้ตรวจสอบคุณภาพก่อนเพื่อขอรับการพิจารณา
ความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง หากพบว่าระหว่างการก่อสร้างมีปัญหาเกี่ยวกับความ
แน่นของพื้นทางส่วนบนและส่วนล่างไม่ได้ตามข้อกําหนด ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างอาจพิจารณาระงับ
การก่อสร้างวัสดุรองพื้นทางวัสดุมวลรวมหนาชั้นละมากกว่า 0.15 เมตร
ผู้ ค วบคุ ม งานก่ อ สร้ า งของผู้ ว่ า จ้ า งจะตรวจสอบคุ ณ ภาพหลั ง การผสมคลุ ก เคล้ า แล้ ว
หากพบว่าตอนใดคุณภาพไม่ถูกต้องตามข้อกําหนดผู้รับจ้างจะต้องดําเนินการปรับปรุงแก้ไขจนได้วัสดุที่มี
คุณภาพถูกต้องตามข้อกําหนด
(5) การบํารุงรักษาและการเปิดจราจร
หลังจากการก่อสร้างเสร็จและคุณภาพผ่านข้อกําหนดทุกอย่างแล้ว ในกรณีที่ผู้รับจ้างยังไม่
ลาดแอสฟัลต์ Prime Coat ถ้าต้องการเปิดให้การจราจรผ่านให้ทําการบํารุงรักษาด้วยการพ่นน้ําบาง ๆ ลงไป
บนผิวหน้าของพื้นทางหินคลุก ที่ก่อสร้างเสร็จแล้วให้ชุ่มชื้นตลอดเวลา เพื่อป้องกันไม่ให้ฝุ่นฟุ้งกระจายเป็น
มลภาวะต่อประชาชนสองข้างทางขณะเปิดจราจร
5.8.4 การตรวจสอบ
(1) การตรวจสอบค่าระดับ
งานชั้ น พื้ น ทางหิ น คลุ ก ที่ ก่ อ สร้ า งเสร็ จ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว จะต้ อ งมี รู ป ร่ า งราบเรี ย บตาม
แบบรูปและรายการละเอียด โดยเมื่อทําการตรวจสอบด้วยบรรทัดตรงยาว 3.00 เมตร ทั้งตามแนวขนานและ
ตั้ ง ฉากกั บ แนวศู น ย์ ก ลางทางมี ค วามแตกต่ า งได้ ไ ม่ เ กิ น 10 มิ ล ลิ เ มตร และมี ค่ า ระดั บ แตกต่ า งไปจาก
ค่ า ระดั บ ที่ แ สดงไว้ ใ นแบบรู ป และรายการละเอี ย ดได้ ไม่ เ กิ น 15 มิ ล ลิ เ มตร การตรวจสอบค่ า ระดั บ ให้ทํา
ทุกระยะ 25.00 เมตร หรือน้อยกว่าตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างพิจารณาเห็นชอบ ตอนใดที่
ผิดไปจากนี้ให้แก้ไขโดยการปาดออก หรือรื้อแล้วก่อสร้างใหม่
(2) การทดสอบความแน่นของการบดทับ
งานพื้นทางหินคลุก จะต้องทําการบดทับให้ได้ความแน่นแห้งสม่ําเสมอตลอดไม่ต่ํากว่า
ร้อยละ 95 ของความแน่นแห้งสูงสุดที่ได้จากการทดลองตัวอย่างหินคลุกที่เก็บจากหน้างานในสนามหลังจาก
คลุกเคล้าผสมและปู ลงบนถนนแล้ว ตาม ทล.-ท. 108 “วิธีการทดลอง Compaction Test แบบสูงกว่า
มาตรฐาน”
การทดสอบความแน่นของการบดทับ ให้ดําเนินการทดสอบตาม ทล.-ท. 603 “วิธีการ
ทดลองหาค่าความแน่นของวัสดุในสนามโดยใช้ทราย” ทุกระยะประมาณ 100 เมตร ต่อ 1 ช่อง จราจร หรือ
ประมาณพื้นที่ 500 ตารางเมตร ต่อ 1 หลุมตัวอย่าง หรือตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 20 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

5.8.5 ส่วนคลาดเคลื่อน (Tolerances) ของพื้นทางหินย่อยหรือกรวดย่อยคละขนาด


ผิวหน้าของพื้นทางหินย่อย จะต้องได้ระดับและรูปร่างตามแบบรูปและรายการละเอียด ส่วนใดเมื่อ
วัดสอบด้วยบรรทัด (Straight Edge) ยาว 3 เมตร ในทิศทางขนานกับแนวศูนย์กลางทางระดับต่างกันเกินพิกัด
10 มิลลิเมตร ต้องปรับระดับให้อยู่ในพิกัด การปรับระดับอาจจะทําโดยวิธีเสริมพื้นทางที่ต่ํา ปาดพื้นทางที่สูงบดอัด
ให้แน่นแล้วตบแต่งเกลี่ยจนได้ระดับรูปร่างที่ต้องการ
5.9 งานลาดแอสฟัลต์ Prime Coat
หมายถึง การลาดแอสฟัลต์ชนิดเหลว ลงบนพื้นทางที่เตรียมไว้ และได้ตกแต่งปรับปรุงถูกต้องแล้ว
เพื่อให้แอสฟัลต์ซึมลงไปในช่องว่างของพื้นทาง ทําหน้าที่ป้องกันไม่ให้ความชื้นผ่าน และเป็นตัวยึดเหนี่ยวให้
พื้นทางเชื่อมต่อกับผิวทาง
5.9.1 วัสดุ
แอสฟัลต์ที่ใช้ต้องเป็น ประเภท และชนิดอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ และต้องผ่านการ
วิเคราะห์คุณภาพให้ใช้ได้แล้ว
คั ต แบกแอสฟั ล ต์ MC-30 หรื อ MC-70 ตามมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม คั ต แบก
แอสฟัลต์ มาตรฐานเลขที่ มอก. 865-2544 หรือ
แอสฟัลต์อิมัลชัน CSS-1 หรือ CSS-1h ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแคตอิออนนิก
แอสฟัลต์อิมัลชันสําหรับถนน มาตรฐานเลขที่ มอก.371-2530
ช่วงอุณหภูมิที่ใช้ลาดแอสฟัลต์ชนิดต่าง ๆ ดังกล่าวให้เป็นไปตามตารางที่ 5-3
ตารางที่ 5-3 ช่วงอุณหภูมิของแอสฟัลต์ทใี่ ช้ลาด
ช่วงอุณหภูมิทใี่ ช้ลาด
ชนิดของแอสฟัลต์
องศาเซลเซียส องศาฟาเรนไฮต์
MC-30 30-90 85-190
MC-70 50-110 120-225
CSS-1 20-70 70-160
CSS-1h 20-70 70-160

5.9.2 เครื่องจักรและเครื่องมือ
เครื่องจั กร และเครื่องมือดัง ต่อ ไปนี้ จะต้องได้ รั บ การตรวจสอบ และอนุ มัติใ ห้ ใ ช้ไ ด้ จ าก
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
(1) เครื่องพ่นแอสฟัลต์ (Asphalt Distributor)
ต้องเป็นชนิดขับเคลื่อนได้ด้วยตัวเองโดยมีถังบรรจุ แอสฟัล ต์ติดตั้ งบนรถบรรทุก หรือ
รถพ่วง และประกอบด้วยอุปกรณ์ที่จําเป็นในการใช้งาน ดังนี้
- ไม้วัด (Dipstick) หรือเครื่องวัดปริมาณแอสฟัลต์ในถัง
- หัวเผาให้ความร้อนแอสฟัลต์ (Burner)

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 21 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

- เทอร์โมมิเตอร์วัดอุณหภูมิแอสฟัลต์ (Thermometer)
- ปั้มแอสฟัลต์ (Asphalt Pump)
- เครื่องดันกําลัง หรือเครื่องท้าย (Power Unit)
- ท่อพ่นแอสฟัลต์ (Spray Bar) พร้อมหัวฉีด (Nozzle)
- ท่อพ่นแอสฟัลต์แบบมือถือ (Hand Spray)
- อุปกรณ์วัดปริมาณการพ่นแอสฟัลต์ (Bitumeter)
- ถังบรรจุแอสฟัลต์บนรถ (Asphalt Tank)
เครื่ อ งพ่ น แอสฟั ล ต์ ต้ อ งมี ร ะบบหมุ น เวี ย นแอสฟั ล ต์ (Circulating System) โดย
มีปั๊มแอสฟัลต์ที่สามารถใช้ได้ดีตั้งแต่กับแอสฟัลต์เหลวจนถึงแอสฟัลต์ซีเมนต์ และต้องทํางานได้ดังนี้
- ดูดแอสฟัลต์ที่เตรียมไว้แล้ว เข้าถึงบรรจุแอสฟัลต์บนรถได้
- หมุนเวียนแอสฟัลต์ในท่อพ่นแอสฟัลต์ และในถังบรรจุแอสฟัลต์บนรถได้
- พ่นแอสฟัลต์ผ่านทางท่อแอสฟัลต์ และท่อพ่นแอสฟัลต์แบบมือถือได้
- ดูดแอสฟัลต์จากท่อพ่นแอสฟัลต์ หรือท่อพ่นแอสฟัลต์แบบมือถือกลับสู่ถังบรรจุแอสฟัลต์
บนรถได้
- ดูดแอสฟัลต์จากถังบรรจุแอสฟัลต์บนรถไปยังถังเก็บแอสฟัลต์ภายนอกได้
- เครื่องต้นกําลังหรือเครื่องท้ายต้องมีมาตรบอกความดัน หรืออื่น ๆ
- เครื่ องปั๊ มแอสฟั ลต์ ต้ องติดเครื่ องวั ดปริ มาณแอสฟั ลต์ ที่ผ่ านปั๊ม โดยวั ดเป็ นรอบ หรื อ
วัดเป็นความดัน หรืออื่น ๆ
ท่อ พ่น แอสฟัล ต์อ าจประกอบด้ว ยท่อ หลายท่อ ต่อ กัน มีหัว ฉีด ติด ตั้ง โดยมีร ะยะห่า ง
ระหว่างหัวฉีดเท่ากัน หรือฉีดปรับทํามุมกับท่อพ่นแอสฟัลต์ได้ และต้องมีอุปกรณ์ปิดเปิดได้ท่อพ่นแอสฟัลต์ต้อง
เป็นแบบที่แอสฟัลต์หมุนเวียนผ่านได้ เมื่อใช้งานต้องมีความดันสม่ําเสมอตลอดความยาวของท่อ และต้องปรับ
ความสูงต่ําได้การพ่นแอสฟัลต์สามารถปรับให้พ่นแอสฟัลต์ที่ความกว้างต่าง ๆ กันได้
ท่อพ่นแอสฟัลต์แบบมือถือ ต้องเป็นแบบใช้หัวฉีดเคลื่อนตัวได้อิสระ ใช้พ่นแอสฟัลต์อิสระ
ใช้พ่นแอสฟัสต์บนพื้นที่ที่รถพ่นแอสฟัลต์เข้าไปไม่ได้
อุปกรณ์วัดปริมาณการพ่นแอสฟัลต์ ประกอบด้วย ล้อวัดความเร็ว (ล้อที่ห้า) ต่อสายเชื่อม
ไปยังมาตรวัดความเร็วในรถเก๋ง มาตรวัดความเร็วนี้ต้องบอกความเร็วเป็นเมตรต่อนาที หรือฟุตต่อนาที พร้อม
ทั้งมีตัวเลขบอกระยะทางรวมที่รถวิ่ง
ถังบรรจุแอสฟัลต์บนรถ เป็นชนิดมีฉนวนหุ้มป้องกันความร้อน ภายในถังประกอบด้วย ท่อ
นําความร้อนจากหัวเผา (หนึ่งหัวเผาหรือมากกว่า) มีแผ่นโลหะช่วยกระจายความร้อน มีท่อระบายแอสฟัลต์ที่
ถั งต้องมีเครื่องวั ดปริ ม าณแอสฟัล ต์เป็ นแบบไม้ วัด (Dipstick) หรื อเข็ม วัดบอกปริมาณ หรือทั้งสองชนิ ดมี
เทอร์โมมิเตอร์วัดอุณหภูมิเป็นแบบหน้าปัทม์ (Dial) หรือแบบแท่งแก้วหุ้มด้วยโลหะ (Armored Thermometer)
หรือทั้งสองชนิดที่อ่านได้ละเอียดถึง 1 องศาเซลเซียส

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 22 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

(2) เครื่องกวาดฝุ่น (Rotary Broom)


เครื่ องกวาดฝุ่ นอาจเป็ นแบบลาก แบบขับเคลื่อนได้ด้ วยตั วเอง หรื อแบบติ ดตั้ งที่ รถไถนา
(Farm Tractor) แต่ต้องเป็นแบบไม้กวาดหมุนโดยเครื่องกล ขนไม้กวาดอาจทําด้วยไฟเบอร์ลวด เหล็ก ไนล่อน
หรือหวายก็ได้ ตัวเครื่องกวาดฝุ่น จะต้องสามารถปรับความเร็วของการหมุนและน้ําหนักที่กดลงบนผิวถนนได้
(3) เครื่องเป่าลม (Blower)
เป็ น แบบติ ด ตั้ ง ท้ า ยรถไถนา (Farm Tractor) มี ใ บพั ด ขนาดใหญ่ ใ ห้ กํ า ลั ง แรง และ
มีประสิทธิภาพพอเพียงที่จะทําให้พื้นที่ที่จะก่อสร้างสะอาด
5.9.3 ปริมาณแอสฟัลต์ที่ใช้ลาด
ปริมาณแอสฟัลต์ที่ใช้ประมาณ 0.8-1.4 ลิตรต่อตารางเมตร ปริมาณที่แน่นอนขึ้นอยู่กับความ
แน่นของพื้นทาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งส่วนที่อยู่ชั้นบนสุด และแนะนําให้ใช้สูตรต่อไปนี้เป็นแนวทางในการหา
ปริมาณแอสฟัลต์ที่จะใช้

อัตราแอสฟัลต์ที่ใช้ทํา Prime Coat = 100p (1- D/G) / R ลิตรต่อตารางเมตร

เมื่อ p =
ความลึกที่จะให้แอสฟัลต์ซึมลงไปเป็นมิลลิเมตร
R =
ค่าของ Residual Asphalt เป็นร้อยละ
D =
ความแน่นแห้งเฉลี่ยที่ตรวจสอบได้จากสนามในช่วงที่จะดําเนินการ
เป็นกรัมต่อมิลลิเมตร
G = ค่าความถ่วงจําเพาะแบบ Bulk (Saturated Surface – Dry Basis)
ของวัสดุพื้นทาง
ค่าของ p จะขึ้นอยู่กับความพรุนของพื้นทาง และชนิดของแอสฟัลต์ที่ใช้ลาด เมื่อทดลองลาด
แอสฟัลต์ ครั้งแรกให้ใช้ค่า p เท่ากับ 4.5 มิลลิเมตร ในการคํานวณหลังจากเห็นสภาพแอสฟัลต์ที่ลาดออกมาแล้ว
จึงพิจารณาเปลี่ยนแปลงค่าของ p หรือเปลี่ยนชนิดของแอสฟัลต์เหลวตามความเหมาะสมต่อไป

ค่าของ Residual Asphalt (R) ที่ใช้ในสูตรคํานวณให้ใช้ค่าตามตารางที่ 5-4 ดังนี้


ตารางที่ 5-4 ค่าของ Residual Asphalt (R) ของแอสฟัลต์แต่ละชนิด
ชนิดของแอสฟัลต์ ค่าของ R (ร้อยละ)
MC-30 62
MC-70 73
CSC-1 75
CSS-1h 75

ค่าของ D ให้ใช้ค่าความแน่นแห้งเฉลี่ย ที่ตรวจสอบได้จากสนามในช่วงที่จะดําเนินการ


ตาม ทล.-ท.603 “วิธีการทดลองหาค่าความแน่นของวัสดุในสนามโดยใช้ทราย”

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 23 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

ค่าของ G ให้แยกหาค่า G ของวัสดุพื้นทางชนิดหยาบ ตาม ทล.-ท.207/2517 “วิธีการ


ทดลองหาค่าความถ่วงจําเพาะของวัสดุชนิดเม็ดหยาบ” และชนิดละเอียดตาม ทล.-ท.209/2518 “วิธีการ
ทดลองหาค่าความถ่วงจําเพาะและการดูดซึมน้ําของวัสดุเม็ดละเอียด” แล้วหาค่าตามสูตรต่อไปนี้
G = (P1-P2)/P1/G1+P2/G2) = 100/(P1/G1 + P2/G2)
เมื่อ P1 = ปริมาณของวัสดุส่วนที่ค้างบนตะแกรงขนาด 4.75 มิลลิเมตร เป็นร้อยละ
P2 = ปริมาณของวัสดุที่ผ่านตะแกรงขนาด 4.75 มิลลิเมตร เป็นร้อยละ
G1 = ความถ่วงจําเพาะแบบ Bulk (Saturated Surface – Dry Basis)
ของวัสดุ ส่วนที่ค้างบนตะแกรงขนาด 4.75 มิลลิเมตร
G2 = ความถ่วงจําเพาะแบบ Bulk (Saturated Surface – Dry Basis)
ของวัสดุ ส่วนที่ค้างบนตะแกรงขนาด 4.75 มิลลิเมตร
5.9.4 วิธีการก่อสร้างการเตรียมการก่อนการลาดแอสฟัลต์ Prime Coat
(1) การเตรียมการก่อนการลาดแอสฟัลต์ Prime Coat
ก่ อนนํ าเครื่องพ่นแอสฟัล ต์ ไปใช้ งาน จะต้องทําการตรวจสอบอุ ป กรณ์ แ ละตรวจปรั บ
เครื่องพ่นแอสฟัลต์ตและอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้อยู่ในสภาพใช้งานได้ดี เพื่อให้สามารถลาดแอสฟัลต์ได้ปริมาณที่
ถูกต้องและสม่ําเสมอทั้งตามแนวขวางและตามยาวถนน โดยเมื่อทดลองตาม ทล.-ท.401 “วิธีการทดลองหา
ปริมาณแอสฟัลต์ที่ลาดตามขวางถนนจากเครื่อง Distributor” และตาม ทล.-ท.402 “วิธีการทดลองหาปริมาณ
แอสฟัลต์ที่ลาดตามยาวถนนจากเครื่อง Distributor” แล้ว ปริมาณแอสฟัลต์จะคลาดเคลื่อนได้ไม่เกินร้อยละ
17 และ 15 ตามลําดับ
(2) การเตรียมพื้นทาง
(2.1) พื้นทาง จะต้องตัดให้ได้ระดับ และความลาดตามแบบรูปและรายการละเอี ยด
วัสดุส่วนที่เหลือจากการตัดจะต้องกําจัดออกจากพื้นทางให้หมด
(2.2) ใช้เครื่องกวาดฝุ่น กวาดฝุ่น หรือส่วนละเอียดที่ค้างบนพื้นทางออกจนหมด และให้
มีหน้าหินโผล่เป็นพื้นที่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของพื้นที่ที่ดําเนินการ อัตราเร็วกว่าการหมุนของเครื่องกวาดฝุ่น
และน้ําหนักเครื่องกวาดฝุ่นที่กดลงบนพื้นทาง จะต้องปรับให้ได้พอดีที่จะไม่ทําให้เครื่องกวาดฝุ่น กวาดหินที่จม
อยู่ในพื้นทางอยู่แล้วหลุดออกมา หรือกวาดฝุ่นมาตกกองข้างหน้าเครื่องกวาดฝุ่น
กรณีที่ผิวพื้นทางมีฝุ่น หรือวัสดุส่วนละเอียดฉาบหน้าเรียบแน่น หรือมีวัสดุอื่นที่เป็น
คราบแข็งติดพื้นทาง ซึ่งหลังจากใช้เครื่องกวาดฝุ่นกวาดแล้วยังมีหน้าหินโผล่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของพื้นที่ที่
ดําเนินการ ให้กําจัดคราบฝุ่นแข็งที่ยังปรากฏอยู่ โดยการใช้เครื่องมือใด ๆ ที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
อนุมัติขูดออก หรือใช้ใบมีดรถเกรดขูดออกให้หมดแล้วแต่ความเหมาะสม แล้วใช้เครื่องกวาดฝุ่นกวาดออกให้
หมด หากยังมีหน้าหินโผล่น้อยกว่าที่กําหนดก็ให้ดําเนินการซ้ําจนกว่าจะมีหน้าหินโผล่เป็นพื้นที่ไม่น้อยกว่าที่
กําหนดไว้ หรืออาจเปิดให้รถยนต์วิ่งต่อไปประมาณ 3 วัน หรือมากกว่า โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้ควบคุมงาน
ก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง เพื่อให้คราบฝุ่นแข็งหลุดออกไป

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 24 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

(2.3) ใช้เครื่องเป่าลม เป่าฝุ่นออกให้หมด


(2.4) พรมน้ําบาง ๆ ที่ผิวพื้นทางพอชื้น ๆ ถ้าเปียกมากเกินไปจะต้องทิ้งไว้ให้แห้งหมาด
ถ้ามีน้ําขังเป็นแห่ง ๆ ให้กําจัดออกให้หมด
(3) การก่อสร้าง
เมื่อได้เตรียมเครื่องจักรและอุปกรณ์ต่าง ๆ พื้นที่ที่จะก่อสร้างเรียบร้อย ให้ดําเนินการ
ก่อสร้างดังต่อไปนี้
(3.1) ก่อนเริ่มลาดแอสฟัลต์ ให้จอดเครื่องพ่นแอสฟัลต์ห่างจากจุ ดเริ่มต้นแปลงที่จะ
ลาดแอสฟัลต์พอประมาณ เพื่อให้เครื่องพ่นแอสฟัลต์ทําความเร็วของการลาดแอสฟัลต์ได้ตามที่กําหนดไว้
(3.2) ที่จุดเริ่มต้น และจุดสิ้นสุดของการลาดแอสฟัลต์แต่ละแปลง ให้ใช้กระดาษหนา หรือ
วัสดุใด ๆ กว้างอย่างน้อย 500 มิลลิเมตร วางยาวตลอดความกว้างของการลาดแอสฟัลต์เพื่อป้องกันไม่ให้ลาด
แอสฟัลต์ซ้ํา โดยต้องเริ่ม และหยุดลาดแอสฟัลต์บนกระดาษ หรือวัสดุใด ๆ เพื่อให้ได้รอยต่อการลาดแอสฟัลต์
ที่เรียบร้อย ไม่มีแอสฟัลต์เลอะล้ําเข้าไปในแปลงที่ใช้ลาดแอสฟัลต์ไว้แล้ว
(3.3) ความสู งของท่อพ่น แอสฟัล ต์ก่อนและหลังจากการลาดแอสฟัล ต์ในแปลงใด ๆ
ไม่ควรมีความแตกต่างเกิน 12.50 มิลลิเมตร
(3.4) การลาดแอสฟัลต์ควรวิ่งสวนทิศทางลม เพื่อให้ควันของแอสฟัลต์ไปทางด้านท้าย
ของเครื่องพ่นแอสฟัลต์
(3.5) ใช้เครื่องพ่นแอสฟัลต์ ลาดแอสฟัลต์ตามอุณหภูมิที่กําหนดไว้ตามตารางที่ 5-3
แสดงช่วงอุณหภูมิของแอสฟัลต์ที่ใช้ลาด ในอัตราการลาดตามหัวข้อ 5.9.3 “ปริมาณแอสฟัลต์ที่ใช้ลาด”
(3.6) การลาดแอสฟัลต์แต่ละครั้ง ให้ลาดทับเหลื่อมกันไม่น้อยกว่า 50 มิลลิเมตร ตลอด
ความยาวของแปลงที่ได้ลาดแอสฟัลต์ไว้แล้ว
(3.7) การลาดแอสฟัลต์ไม่ควรลาดจนหมดถัง ควรเหลือแอสฟัลต์ในถังไว้ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 5 ของความจุของถัง ทั้งนี้เพราะแอสฟัลต์ที่ออกจากเครื่องสูบแอสฟัลต์จะมีปริมาณลดลงทําให้อัตรา
แอสฟัลต์พ่นออกมาผิดไปจากที่กําหนดไว้ได้
(3.8) หลังจากลาดแอสฟัลต์แล้วต้องปิดการจราจรอย่างน้อย 24 ชั่วโมง สําหรับสภาวะ
อากาศที่ดี หรือ 48 ชั่วโมง สําหรับสภาวะที่อากาศที่เลว และหลังจากปิดการจราจรครบกําหนดแล้ว ถ้ามี
แอสฟัลต์ซึมลงไปในพื้นทางไม่หมดให้ใช้ทรายสาด เพื่อซับแอสฟัลต์และเป็นการป้องกันแอสฟัลต์ติดล้อรถ
ทรายที่ใช้สาดต้องเป็นทรายสะอาด ในกรณีที่ยังไม่ได้ลาดแอสฟัลต์อีกข้างหนึ่งของถนนให้สาดทรายโดยเว้น
ห่างจากแนวรอยต่อ 150 มิลลิเมตร ห้ามสาดทรายก่อน 24 ชั่วโมง หลังจากการลาดแอสฟัลต์
(3.9) หลั ง จากการลาดแอสฟั ล ต์ Prime Coat แล้ ว ให้ ทิ้ ง ไว้ ไ ม่ น้ อ ยกว่ า 48 ชั่ ว โมง
จึงจะทําผิวได้ และต้องทําผิวภายใน 1 เดือน
(4) ข้อควรระวัง
(4.1) ในการใช้ คั ต แบกแอสฟั ล ต์ เนื่ อ งจากคั ต แบกแอสฟั ล ต์ นั้ น ติ ด ไฟได้ ง่ า ย การ
ปฏิบัติงานจะต้องระมัดระวังมิให้เปลวไฟมาถูกได้ ทั้งในขณะต้ม หรือขณะคัตแบกแอสฟัลต์
(4.2) การขนส่งแอสฟัลต์อิมัลชันถูกกระทบกระเทือนรุนแรง เพราะอาจจะทําให้แอสฟัลต์
อิมัลชันแตกตัวได้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 25 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

(4.3) การใช้แอสฟัลต์อิมัลชันแบบบรรจุถัง Drum ก่อนถ่ายแอสฟัลต์อิมัลชันลงในเครื่อง


พ่นแอสฟัลต์ ควรกลิ้งถังไปมา หรือกวนให้เข้ากันเสียก่อน ทั้งนี้ เพื่อให้แอสฟัลต์อิมัลชันมีลักษณะเดียวกัน
ทั่วถึง หากใช้ไม่หมดถังควรปิดฝาให้แน่น เพื่อป้องกันน้ําในแอสฟัลต์อิมัลชันระเหยออกไป ทําให้แอสฟัลต์
อิมัลชันแตกตัว และหมดคุณภาพการเป็นแอสฟัลต์อิมัลชันได้
(4.4) หลังจากลาดแอสฟัลต์ประจําวัน ควรดูดแอสฟัลต์ในเครื่องพ่นแอสฟัลต์ออกให้
หมดแล้วล้างเครื่องพ่นแอสฟัลต์โดยเฉพาะที่ท่อพ่นแอสฟัลต์ การล้างควรใช้น้ํามันก๊าด หรือสารทําละลายใด ๆ
สูบผ่านท่อต่าง ๆ ของเครื่องพ่นแอสฟัลต์ เพื่อล้างส่วนที่ตกค้างอยู่ออกให้หมด ทั้งนี้ เพื่อป้องกันแอสฟัลต์
เกาะติดแน่น ทําให้ไม่สะดวกในการใช้งานต่อไป และช่วยป้องกันไม่ให้ถังบรรจุแอสฟัลต์ในเครื่องพ่นแอสฟัลต์
ถูกกรดในแอสฟัลต์อิมัลชันบางชนิดกัดทะลุเสียหายได้
5.10 งานผิวทางแบบเซอร์เฟสทรีตเมนต์ (Surface Treatment)
หมายถึง การก่อสร้าง ผิวทาง หรือผิวไหล่ทาง ด้วยการลาดแอสฟัลต์ และเกลี่ยวัสดุหินย่อยหรือกรวด
ย่อยปิดทับ โดยจะก่อสร้างเป็นชั้นเดียว หรือหลายชั้นบนชั้นพื้นทางที่ได้ลาดแอสฟัลต์ Prime Coat แล้ว หรือ
บนพื้นที่อื่นใดที่ได้เตรียมไว้แล้ว
5.10.1 วัสดุ
(1) วัสดุแอสฟัลต์
แอสฟัลต์ที่ใช้ต้องเป็น ประเภท และชนิด อย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ และต้องผ่านการ
วิเคราะห์คุณภาพให้ใช้ได้แล้ว
แอสฟัลต์ซีเมนต์ AC 60-70 ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม แอสฟัลต์ซีเมนต์สําหรับ
งานทาง มาตรฐานเลขที่ มอก. 851-2561 หรือ
คั ต แบกแอสฟั ล ต์ RC-800 RC-3000 ตามมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรมคั ต แบก
แอสฟัลต์ มาตรฐานเลขที่ มอก. 865-2544 หรือ
แอสฟัลต์อิมัลชัน CRS-2 ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม แคตอิออนิกแอสฟัลต์
อิมัลชันสําหรับถนน มาตรฐานเลขที่ มอก. 371-2530
อุณหภูมิที่ใช้ลาดแอสฟัลต์ชนิดต่าง ๆ ดังกล่าว ให้เป็นไปตามตารางที่ 5-5

ตารางที่ 5-5 ช่วงอุณหภูมิของแอสฟัลต์ทใี่ ช้ลาด


ช่วงอุณหภูมิทใี่ ช้ลาด
ชนิดของแอสฟัลต์
องศาเซลเซียส องศาฟาเรนไฮต์
RC-3000 120-160 250-310
RC-800 100-120 210-250
CRS-2 50-85 125-185
AC 60-70 145-175 295-345
AC 80-100 145-175 295-345

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 26 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

การใช้แอสฟัลต์อื่น ๆ หรือแอสฟัลต์ที่ปรับปรุงคุณสมบัติด้วยสารใด ๆ นอกเหนือจากนี้


ต้องมีคุณภาพเทียบเท่า หรือดีกว่า ทั้งนี้ต้องผ่านการทดสอบคุณภาพและพิจารณาความเหมาะสม รวมทั้ง
จะต้องได้รับอนุญาตให้ใช้ได้จากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเป็นกรณีไป
กรณีที่ทางมีความลาดชันมาก หรือมีปัญหาแอสฟัลต์ไหลก่อนลงหินย่อย หรือกรวดย่อย
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างอาจห้ามใช้แอสฟัลต์อิมัลชัน หรือคัตแบกแอสฟัลต์ชนิดนั้น ๆ
กรณี ที่ มี ป ริ ม าณการจราจรมาก หรื อ ไม่ ส ามารถปิ ด การจราจรได้ น าน ผู้ ค วบคุ มงาน
ก่อสร้างของผู้ว่าจ้างหรือเจ้าของงานอาจกําหนดให้ใช้เฉพาะแอสฟัลต์ซีเมนต์เท่านั้น
กรณีที่อุณหภูมิของผิวทางต่ํากว่า 15 องศาเซลเซียส ห้ามใช้แอสฟัลต์ซีเมนต์ หากมีความ
จําเป็นต้องใช้ จะต้องใช้น้ํามัน (Cutter) ผสม และได้รับความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
ปริมาณของน้ํามันที่ใช้ให้เป็นไปตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างกําหนดแต่ไม่มากกว่าค่าที่แสดงไว้
ในตารางที่ 5-6
ตารางที่ 5-6 ปริมาณน้ํามัน (Cutter) ที่ใช้
หินย่อยหรือหินกรวดย่อย ปริมาณน้ํามันที่ใช้ผสม
มิลลิเมตร ร้อยละโดยปริมาตรแอสฟัลต์ซีเมนต์ที่ 15C
25.0 (1 นิ้ว) ไม่เกิน 2
19.0 (3/4 นิ้ว) ไม่เกิน 2
12.5 (1/2 นิ้ว) ไม่เกิน 4
9.5 (3/8 นิ้ว) ไม่เกิน 4

การผสมน้ํามันลงในแอสฟัลต์ซีเมนต์นั้น ในการปฏิ บัติการในสนาม ต้ องให้ ความร้อน


แอสฟัลต์ซีเมนต์ที่อุณหภูมิระหว่าง 160-185 องศาเซลเซียส จากนั้นใช้เครื่องสูบน้ํา (Pump) สูบน้ํามันจาก
ถั ง เก็ บ น้ํ า มั น ไปใส่ ใ นถั ง บรรจุ แ อสฟั ล ต์ ข องเครื่ อ งพ่ น แอสฟั ล ต์ ตามปริ ม าณที่ ไ ด้ คํ า นวณไว้ เสร็ จ แล้ ว
ให้เวียนส่วนผสมแอสฟัลต์ซีเมนต์กับน้ํามันในถังบรรจุแอสฟัลต์ประมาณ 20 นาที จึงนําไปลาดได้
ในระหว่างที่สูบน้ํามันเติมลงในถังบรรจุแอสฟัล ต์ของเครื่องพ่นแอสฟัล ต์ เพื่อผสมกับ
แอสฟัลต์ซีเมนต์นั้น ต้องระมัดระวังไม่ให้มีประกายไฟเกิดขึ้น อาทิเช่น การจุดไฟ การสูบบุหรี่ หรือ การใช้เตาฟู่
ภายในรัศ มี 15.00 เมตร จากเครื่องพ่นแอสฟัลต์ เพราะระหว่ างการผสมนี้ จะมีไอระเหยของน้ํามันและ
แอสฟัลต์ซีเมนต์ซึ่งติดไฟง่ายเกิดขึ้น นอกจากนั้นจะต้องระมัดระวังไม่ให้มีการติดเครื่องยนต์ที่มีการสันดาป
ภายในในบริเวณดังกล่าว ซึ่งจะทําให้เกิดประกายไฟที่สามารถจุดไอระเหยน้ํามันให้ลกุ เป็นไฟได้
(2) วัสดุย่อยหรือกรวดย่อย
หินย่อยหรือกรวดย่อ ยต้อ งสะอาด แข็ง คงทน ไม่มีขนาดยาวหรือแบนมากเกิ น ไป
ปราศจากฝุ่น ดิน หรือวัสดุไม่พึงประสงค์ใด ๆ และมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
(2.1) มีค่าความสึกหรอ เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 202 “วิธีทดลองหาความสึกหรอของ
Coarse Aggregate โดยใช้เครื่อง Los Angeles Abrasion” ไม่เกินร้อยละ 35

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 27 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

(2.2) มีค่าของการหลุดลอก เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 605 “วิธีการทดลองการหลุดลอก


(Stripping) โดยวิธี Plate Test” ไม่เกินร้อยละ 20
(2.3) มีค่าดรรชนีความแบน เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 210 “วิธีการทดลองหาค่าดรรชนี
ความแบน (Flakiness Index)” ไม่เกินร้อยละ 35
(2.4) ในกรณีที่ใช้กรวดย่อย ส่วนที่ค้างตะเกรงขนาด 4.75 มิลลิเมตร ของกรวดย่อยแต่ละ
ขนาดเมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 212 “วิธีหาปริมาณร้อยละที่แตกของกรวดโม่” ต้องมีหน้าแตกเพราะการย่อย
เป็นจํานวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 โดยมวล
(2.5) มีค่าของส่วนที่ไม่คงทน (Loss) เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 213 “วิธีการทดลองหาค่า
ความคงทน (Soundness) ของมวลรวม” โดยใช้โซเดียมซัลเฟต จํานวน 5 รอบ แล้วไม่เกินร้อยละ 5
หินย่อยหรือกรวดย่อยจากแหล่งเดิม ที่มีหลักฐานแสดงผลทดลองหาความคงทนว่า
ใช้ได้อาจจะยกเว้นไม่ต้องทดลองอีกก็ได้ ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง ที่จะใช้
ผลการทดลองเดิมที่มีอยู่
(2.6) มีขนาดแต่ละขนาด เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 204 “วิธีการทดลองหาขนาดเม็ดของ
วัสดุโดยผ่านตะแกรงแบบไม่ล้าง” เป็นไปตามตารางที่ 5-7

ตารางที่ 5-7 ขนาดของหินย่อยหรือกรวดย่อย


ขนาดทีใ่ ช้
ปริมาณผ่านตะแกรง ร้อยละโดยมวล
เรียก
มิลลิเมตร 25.0 19.0 12.5 9.5 4.75 2.36 1.18
(นิ้ว) มิลลิเมตร มิลลิเมตร มิลลิเมตร มิลลิเมตร มิลลิเมตร มิลลิเมตร มิลลิเมตร
25.0 ( 1 ) 90-100 0-30 0-10 0-5 - 0-2 0-0.5
19.0 (3/4) 100 90-100 0-30 0-8 - 0-2 0-0.5
12.5 (1/2) - 100 90-100 0-30 0-4 0-2 0-0.5
9.5 (3/8) - - 100 90-100 0-30 0-8 0-2

(3) สารเคลือบผิวหินย่อยหรือกรวดย่อย (Pre-Coating Material)


สารที่ใช้เคลือบผิวหินย่อยหรือกรวดย่อย อาจเป็นน้ํามันก๊าดหรือน้ํามันดีเซล ซึ่งเป็นเกรดที่
ใช้กันทั่วไป หรือสารอื่นใดที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุให้ใช้ได้
(4) สารผสมแอสฟัลต์ (Additive)
สารผสมแอสฟัลต์ที่นํามาใช้ต้องเป็นชนิดที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุได้ตรวจสอบและ
อนุญาตให้ใช้ได้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 28 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

5.10.2 การเลือกใช้ขนาดของหินย่อย หรือหินกรวด


ผิวทางแบบเซอร์เฟสทรีตเมนต์ชั้นเดียว (Single Surface Treatment)
ให้ใช้ขนาด 12.5 มิลลิเมตร (1/2 นิ้ว)
ผิวทางแบบเซอร์เฟสทรีตเมนต์สองชั้น (Double Surface Treatment)
ชั้นที่หนึ่ง ให้ใช้ขนาด 19.0 มิลลิเมตร (3/4 นิ้ว)
ชั้นที่สอง ให้ใช้ขนาด 9.5 มิลลิเมตร (3/8 นิ้ว)
ผิวไหล่ทางแบบเซอร์เฟสทรีตเมนต์ชั้นเดียว
ให้ใช้ขนาด 19.0 มิลลิเมตร (3/4 นิ้วหรือ 12.5 มิลลิเมตร (1/2 นิ้ว)
ผิวไหล่ทางแบบเซอร์เฟสทรีตเมนต์สองชั้น
ชั้นที่หนึ่ง ให้ใช้ขนาด 19.0 มิลลิเมตร (3/4 นิ้ว)
5.10.3 เครื่องจักรและเครื่องมือ
เครื่องจักรและเครื่องมือทุกชนิดที่นํามาใช้ในงาน จะต้องมีสภาพใช้งานได้ดีโดยจะต้องผ่านการ
ตรวจสอบ และหรือตรวจปรับ และผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างอนุญาตให้ใช้ได้ ในระหว่างการก่อสร้าง
ผู้รับจ้างจะต้องบํารุงรักษาเครื่องจักรและเครื่องมือทุกชนิดให้อยู่ในสภาพดีอยู่เสมอ
ถ้าเครื่องจัก รและเครื่ อ งมือ ชิ้ นใดทํ า งานได้ ไม่เ ต็ม ที่ หรื อทํางานไม่ไ ด้ผ ลตามวั ตถุ ป ระสงค์
ผู้รับจ้างจะต้องทําการแก้ไข หรือจัดหาเครื่องจักรและเครื่องมืออื่นใดมาใช้แทน หรือเพิ่มเติมทั้งนี้ให้อยู่ในดุลย
พินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(1) เครื่องพ่นแอสฟัลต์ (Asphalt Distributor)
ต้องเป็นชนิดขับเคลื่อนได้ด้วยตัวเอง โดยมีถังบรรจุแอสฟัลต์ติดตั้งบนรถบรรทุก หรือ
รถพ่วง และประกอบด้วยอุปกรณ์ที่จําเป็นในการใช้งาน ดังนี้
- ไม้วัด (Dipstick) หรือเครื่องวัดปริมาณแอสฟัลต์ในถัง
- หัวเผาให้ความร้อนแอสฟัลต์ (Burner)
- เทอร์โมมิเตอร์วัดอุณหภูมิแอสฟัลต์ (Thermometer)
- ปั๊มแอสฟัลต์ (Asphalt Pump)
- เครื่องต้นกําลังหรือเครื่องท้าย (Power Unit)
- ท่อพ่นแอสฟัลต์ (Spray Bar) พร้อมหัวฉีด (Nozzle)
- ท่อพ่นแอสฟัลต์แบบมือถือ (Hand Spray)
- อุปกรณ์วัดปริมาณการพ่นแอสฟัลต์ (Bitumeter)
- ถังบรรจุแอสฟัลต์บนรถ (Asphalt Tank)
เครื่ อ งพ่ น แอสฟั ล ต์ ต้ อ งมี ร ะบบหมุ น เวี ย นแอสฟั ล ต์ (Circulating System) โดยมี
ปั๊มแอสฟัลต์ที่สามารถใช้ได้ดีตั้งแต่กับแอสฟัลต์เหลวจนถึงแอสฟัลต์ซีเมนต์ และต้องทํางานได้ดังนี้
- ดูดแอสฟัลต์ที่เตรียมไว้แล้วเข้าถังบรรจุแอสฟัลต์บนรถได้
- หมุนเวียนแอสฟัลต์ในท่อพ่นแอสฟัลต์ และในถังบรรจุแอสฟัลต์บนรถได้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 29 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

- พ่นแอสฟัลต์ผ่านทางท่อพ่นแอสฟัลต์ และท่อพ่นแอสฟัลต์แบบมือถือได้
- ดูดแอสฟัลต์จากท่อพ่นแอสฟัลต์หรือท่อพ่นแอสฟัลต์แบบมือถือกลับเข้าสู่ถังบรรจุแอสฟัลต์
บนรถได้
- ดูดแอสฟัลต์จากถังบรรจุแอสฟัลต์บนรถไปยังถังเก็บแอสฟัลต์ภายนอกได้
- เครื่องต้นกําลังหรือเครื่องท้ายต้องมีมาตรบอกความดันหรืออื่น ๆ
เครื่องปั๊มแอสฟัลต์ ต้องติดเครื่องวัดปริมาณแอสฟัลต์ที่ผ่านปั๊ม โดยวัดเป็นรอบหรือวัดเป็นความดัน หรืออื่น ๆ
ท่อพ่น แอสฟั ล ต์ อาจประกอบด้วยท่อหลายท่อนต่อกัน มี หั วฉี ดติดตั้ งโดยมี ระยะห่ า ง
ระหว่างหัวฉีดเท่ากัน หัวฉีดปรับทํามุมกับท่อพ่นแอสฟัลต์ได้และต้องมีอุปกรณ์ปิดเปิดได้ ท่อพ่นแอสฟัลต์ต้อง
เป็นแบบที่แอสฟัลต์หมุนเวียนผ่านได้เมื่อใช้งานต้องมีความดันสม่ําเสมอตลอดความยาวของท่อ และต้องปรับ
ความสูงต่ําได้ การพ่นแอสฟัลต์สามารถปรับให้พ่นแอสฟัลต์ที่ความกว้างต่าง ๆ กันได้
ท่อพ่นแอสฟัลต์แบบมือถือ ต้องเป็นแบบหัวฉีดเคลื่อนตัวได้อิสระ ใช้พ่นแอสฟัลต์บนพื้นที่
ที่รถพ่นแอสฟัลต์เข้าไปไม่ได้
อุปกรณ์วัดปริมาณการพ่นแอสฟัลต์ ประกอบด้วยล้อวัดความเร็วต่อสายเชื่อมไปยังมาตร
วัดความเร็วในเก๋งรถ มาตรวัดความเร็วนี้ต้องบอกความเร็วเป็น เมตรต่อวินาที หรือฟุตต่อนาที พร้อมทั้งมี
ตัวเลขบอกระยะทางรวมที่รถวิ่ง
ถังบรรจุแอสฟัลต์บนรถ เป็นชนิดมีฉนวนหุ้มป้องกันความร้อน ภายในถังประกอบด้วย
ท่อนําความร้อนจากหัวเผา มีแผ่นโลหะช่วยกระจายความร้อน มีท่อระบายแอสฟัลต์ ที่ถังต้องมีเครื่องวัด
ปริมาณแอสฟัลต์เป็นแบบไม้วัดหรือเข็มวัดบอกปริมาณหรือทั้งสองชนิด มีเทอร์โมมิเตอร์วัดอุณหภูมิเป็นแบบ
หน้าปัท ม์ (Dial) หรื อแบบแท่ งแก้ วหุ้ม ด้ ว ยโลหะ (Armoured Thermometer) หรือทั้งสองชนิ ดที่ อ่ า นได้
ละเอียดถึง 1 องศาเซลเซียส
(2) เครื่องโรยหิน (Aggregate Spreader)
ต้องเป็นแบบขับเคลื่อนด้วยตัวเอง (Self-Propelled) และต้องประกอบด้วยอุปกรณ์สําคัญดังนี้
- เครื่องยนต์ขับเคลื่อน
- กระบะบรรจุหิน
- สายพานลําเลียงหิน เป็นชนิดที่มีประตูปรับปริมาณการไหลของหินได้
- เครื่องขับเคลื่อนสายพานลําเลียงหิน ซึ่งสามารถปรับความเร็วสายพานได้
- ยุ้งโรยหิน (Spread Hopper) ที่ปากยุ้งด้านล่าง ปรับความกว้างได้เพื่อให้สามารถปรับ
ปริมาณและความสม่ําเสมอในการโรยหินได้อย่างถูกต้อง เครื่องโรยหินต้องมีความสามารถโรยหินได้แต่ละครั้ง
ไม่น้อยกว่าในความกว้างของแอสฟัลต์ที่ได้พ่นไว้แล้ว เครื่องโรยหินนี้จะต้องได้รับเห็นชอบจากผู้ควบคุมงาน
ก่อสร้างของผู้ว่าจ้างก่อนใช้งาน และห้ามเทหินจากรถบรรทุกลงบนแอสฟัลต์ที่ลาดไว้แล้วโดยตรง

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 30 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

(3) เครื่องเคลือบผิวหินย่อยหรือกรวดย่อย
ควรมีอุปกรณ์ดังต่อไปนี้ คือ อุปกรณ์สําหรับป้อนหิน ตะแกรงร่อนหินที่สามารถคัดก้อนใหญ่
หรือเล็กเกินไป หรือฝุ่นออกได้ หัวฉีดที่ใช้พ่นสารที่ใช้เคลือบผิวถังกวน หรืออุปกรณ์อื่นใดที่สามารถทําให้หินย่อย
หรือกรวดได้รับการเคลือบผิวด้วยสารเคลือบผิวอย่างทั่วถึงและสม่ําเสมอ สายพานลําเลียง และอุปกรณ์อื่น ๆ
ที่จําเป็น
(4) เครื่องล้างหินย่อยหรือกรวดย่อย
ควรมีอุปกรณ์ดังต่อไปนี้ คือ อุปกรณ์สําหรับป้อนหิน ตะแกรงร่อนหินที่สามารถคัดก้อน
ใหญ่ หรือเล็กเกินไป และฝุ่นออกได้ หัวฉีดน้ําที่สามารถล้างหินให้สะอาดได้ และอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จําเป็น
ทั้งนี้อาจนําเครื่องเคลือบผิวหินย่อยหรือกรวดย่อยตามหัวข้อ (3) มาใช้แทนก็ได้ โดยต้องเปลี่ยนใช้หัวฉีดน้ําที่
เหมาะสม และใช้ฉีดน้ําจากภายนอกช่วย โดยต้องสามารถล้างหินได้สะอาด ทั้งนี้ต้องได้รับความเห็นชอบจาก
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(5) เครื่องกวาดฝุ่น (Rotary Broom)
อาจเป็นแบบลาก แบบขับเคลื่อนได้ด้วยตัวเอง หรือแบบติดตั้งที่รถไถนา (Farm Tractor)
แต่ต้องเป็นไม้กวาดหมุนโดยเครื่องกล ขนไม้กวาดอาจทําด้วย ไฟเบอร์ ลวดเหล็ก ไนลอน หวายหรือวัสดุอื่นใด
ที่เหมาะสม ทั้งนี้ต้องมีประสิทธิภาพพอที่จะทําให้พื้นที่ที่จะก่อสร้างสะอาด หรือกําจัดหินส่วนเกินออกก่อนการ
เปิดการจราจร
(6) เครื่องเกลี่ยหินชนิดลาก (Drag Broom)
ต้องสามารถเกลี่ยหินย่อยหรือกรวดย่อยที่ได้โรยจากเครื่องโรยหินแล้ว ให้สม่ําเสมอและ
กระจายออกไป โดยไม่ทําให้หินย่อยหรือกรวดย่อยส่วนที่เริ่มจับตัวกับแอสฟัลต์แล้วหลุดออก
(7) เครื่องเป่าลม (Blower)
เป็นแบบติดตั้ งท้ายรถไถนา มีใบพัดขนาดใหญ่ ให้กําลังลมแรง และมีประสิทธิภาพ
พอเพียงที่จะทําให้พื้นที่ที่จะก่อสร้างสะอาด
(8) รถบดล้อยาง (Pneumatic Tired Roller)
ต้องเป็นแบบขับเคลื่อนได้ด้วยตัวเอง (Self-Propelled) มีจํานวนล้อไม่น้อยกว่า 9 ล้อ
น้ําหนักรถไม่ต่ํากว่า 6 ตัน ซึ่งเมื่อเพิ่มน้ําหนักแล้วมีน้ําหนักไม่เกิน 12 ตัน ล้อยางต้องเป็นชนิดผิวหน้ายาง
เรียบ มีขนาดและจํานวนชั้นผ้าใบเท่ากันทุกล้อ การเพิ่มน้ําหนักรถและความดันลมของล้อยาง ต้องให้ถูกต้อง
ตามลักษณะงานที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างกําหนด ความดันลมของยางควรอยู่ระหว่าง 345-830
กิโลพาสคัล (50-120 ปอนด์แรงต่อตารางนิ้ว) โดยขึ้นอยู่กับขนาดของยาง ชนิด และน้ําหนักรถ
(9) รถตัก (Loader)
ต้ องมีร ถตั กสํ าหรั บตั กหิน ย่อ ยหรือ กรวดย่ อ ยจากกองรวมขึ้ น รถบรรทุ ก หรื ออุ ปกรณ์
ลําเลียงหินย่อยหรือกรวดย่อยอื่น ๆ เพื่อขนส่งไปใช้ที่หน้างานได้ตลอดเวลา
(10) รถกระบะเทท้าย (Dump Truck)
ต้องเป็นแบบที่สามารถเชื่อมต่อเครื่องโรยหินที่ด้านท้ายรถได้อย่างเรียบร้อย และใช้งานได้
อย่างถูกต้อง

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 31 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

5.10.4 ข้อกําหนดในการออกแบบกําหนดปริมาณการใช้วัสดุ
(1) ปริมาณของหินย่อยหรือกรวดย่อย และปริมาณการใช้แอสฟัลต์ โดยประมาณ ให้เป็นไป
ตามตารางที่ 5-8
ตารางที่ 5-8 ปริมาณวัสดุทใี่ ช้โดยปริมาณ
ขนาดที่ใช้เรียก มิลลิเมตร (นิ้ว) 19.0 (3/4) 12.5 (1/2) 9.5 (3/8)
หินย่อยหรือกรวดย่อย กิโลกรัมต่อตารางเมตร 16-22 112-18 7-11
แอสฟัลต์ ที่อุณหภูมิ 15 °C
แอสฟัลต์ซีเมนต์ ลิตรต่อตารางเมตร 0.8-2.1 0.6-1.5 0.4-1.0
คัตแบกแอสฟัลต์ ลิตรต่อตารางเมตร 1.0-2.6 0.7-1.9 0.4-1.2
แอสฟัลต์อิมัลชัน ลิตรต่อตารางเมตร 1.2-3.3 0.9-2.3 0.5-1.5
(2) ปริมาณของวัสดุตามตารางที่ 5-8 นี้เป็นเพียงการแนะนําเท่านั้น ในการทําการก่อสร้าง
ผิวแบบเซอร์เฟสทรีตเมนต์ทุกครั้ง ผู้รับจ้างจะต้องส่งตัวอย่างหินย่อยหรือกรวดย่อย และแอสฟัลต์ชนิดที่ใช้ให้
หน่วยราชการตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร ทําการตรวจสอบและออกแบบ กําหนดปริมาณ
การใช้วัสดุต่อตารางเมตร ในกรณีที่ใช้คัตแบกแอสฟัลต์ หรือแอสฟัลต์ซีเมนต์ ต้องส่งตัวอย่างสารเคลื อบ
ผิวหินย่อยหรือกรวดย่อย และสารผสมแอสฟัลต์มาด้วย
(3) สํ า หรั บ ผิ ว แบบเซอร์ เ ฟสทรี ต เมนต์ ส องชั้ น อาจจํ า เป็ น ต้ อ งเปลี่ ย นแปลงปริ ม าณของ
แอสฟัลต์ที่ออกแบบไว้ตามความเหมาะสม กล่าวคือ ปริมาณแอสฟัลต์ที่ลาดชั้นที่หนึ่งอาจลดปริมาณลงและ
ปริมาณที่ลดลงนี้ให้นําไปเพิ่มในการลาดชั้นที่สอง
(4) หากมีการเปลี่ยนแปลง อันเนื่องมาจากแหล่งวัสดุ หรือหินย่อยหรือกรวดย่อย ที่ใช้มีขนาด
เปลี่ยนแปลงไปโดยมีความหนาเฉลี่ย (Average Least Dimension) ต่างไปจากที่กําหนดไว้ในการออกแบบ
0.30 มิลลิเมตร ขึ้นไป หรือผู้รับจ้างขอเปลี่ยนประเภทและชนิดของแอสฟัลต์ที่ใช้ผู้รับจ้างต้องส่งตัวอย่าง
หิ นย่อยหรื อกรวดย่ อย และแอสฟั ล ต์ ที่เปลี่ย นแปลงให้หน่วยราชการตามที่คณะกรรมการตรวจรั บพัสดุ
เห็นสมควร ทําการตรวจสอบและออกแบบกําหนดปริมาณการใช้ต่อตารางเมตรใหม่ได้ ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลง
ทุกครั้งต้องได้รบั การอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุก่อน
(5) การทดลองและการตรวจสอบการออกแบบ กําหนดปริมาณการใช้วัสดุที่ทําผิวแบบเซอร์
เฟสทรีตเมนต์ทุกครั้ง หรือทุกสัญญาจ้าง ผู้รับจ้างต้องเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการนี้ทั้งสิ้น
(6) ในการออกแบบผิวแบบเซอร์เฟสทรีตเมนต์ ปริมาณแอสฟัล ต์ ที่ ใ ช้ จะกําหนดไว้เป็ น
มาตรฐานที่อุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส ในการทําผิวเมื่อจะลาดแอสฟัลต์ที่อุณหภูมิต่าง ๆ ตามตารางแสดง
ช่วงอุณหภูมิของแอสฟัลต์ที่ใช้ลาดจะต้องคํานวณแอสฟัลต์เป็นปริมาตรที่อุณหภูมิที่ใช้ลาด โดยใช้ตารางที่ 5-9
สําหรับแอสฟัลต์ซีเมนต์ และคัตแบกแอสฟัลต์ที่มีความถ่วงจําเพาะที่ 15 องศาเซลเซียส ตั้งแต่ 0.966 ถึง 1.076
และตารางที่ 5-10 สําหรับแอสฟัลต์อิมัลชัน การคํานวณปริมาตรของแอสฟัลต์ที่ใช้ลาดที่อุณหภูมิต่าง ๆ
คํานวณได้ดังต่อไปนี้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 32 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

ปริมาตรหรืออัตราการลาดแอสฟัลต์ที่อุณหภูมิที่ใช้ลาด = ปริมาตรหรืออัตราการลาด
แอสฟัลต์ที่อุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส หารด้วย ค่าปรับปริมาตรที่ อุณหภูมิที่ใช้ลาด
ตารางที่ 5-9 ค่าปรับปริมาณแอสฟัลต์ซีเมนต์และคัตแบกแอสฟัลต์ ตามอุณหภูมิต่าง ๆ
อุณหภูมิ ค่าปรับ อุณหภูมิ ค่าปรับ อุณหภูมิ ค่าปรับ
องศาเซลเซียส ปริมาตร องศาเซลเซียส ปริมาตร องศาเซลเซียส ปริมาตร
15 1.000 81 0.959 147 0.920
18 0.998 84 0.957 150 0.918
21 0.966 87 0.956 153 0.916
24 0.994 90 0.954 156 0.914
27 0.993 93 0.952 159 0.913
30 0.991 96 0.950 162 0.911
33 0.989 99 0.948 165 0.909
36 0.987 102 0.946 168 0.907
39 0.985 105 0.945 171 0.905
42 0.983 108 0.943 174 0.904
45 0.981 111 0.941 177 0.902
48 0.979 114 0.939 180 0.900
51 0.978 117 0.937 183 0.899
54 0.976 120 0.936 186 0.897
57 0.974 123 0.934 189 0.895
60 0.972 126 0.932 192 0.893
63 0.970 129 0.930 195 0.892
66 0.968 132 0.928 198 0.890
69 0.967 135 0.927 201 0.888
72 0.965 138 0.925 204 0.886
75 0.963 141 0.923
78 0.961 144 0.921

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 33 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

ตารางที่ 5-10 ค่าปรับปริมาตรแอสฟัลต์อมิ ิลชัน ตามอุณหภูมิต่าง ๆ


อุณหภูมิ ค่าปรับ อุณหภูมิ ค่าปรับ อุณหภูมิ ค่าปรับ
องศาเซลเซียส ปริมาตร องศาเซลเซียส ปริมาตร องศาเซลเซียส ปริมาตร
15 1.000 51 0.984 87 0.969
18 0.999 54 0.983 90 0.967
21 0.997 57 0.981 93 0.966
24 0.996 60 0.980 96 0.965
27 0.995 63 0.979 99 0.964
30 0.993 66 0.978 102 0.962
33 0.992 69 0.976 105 0.961
36 0.991 72 0.975 108 0.960
39 0.989 75 0.974 111 0.959
42 0.988 78 0.972 114 0.957
45 0.987 81 0.971 117 0.956
48 0.985 84 0.970 120 0.955

5.10.5 วิธีการทํางาน
(1) การเตรียมการก่อนก่อสร้าง
(1.1) การเตรียมวัสดุ
ให้แยกกองหินย่อยหรือกรวดย่อยแต่ละขนาดไว้โดยไม่ปะปนกัน และห้ามไม่ให้มีวัสดุ
ไม่พึงประสงค์อื่นใดมาปะปน
บริเวณที่เตรียมไว้กองวัสดุจะต้องได้รับเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
โดยปราศจากสิ่งไม่พึงประสงค์ต่าง ๆ
(1.2) การตรวจสอบ ตรวจปรับเครื่องจักร เครื่องมือและอุปกรณ์
(1.2.1) เครื่องพ่นแอสฟัลต์ ก่อนนําเครื่องพ่นแอสฟัลต์ไปใช้งานจะต้องตรวจสอบ และ
ตรวจปรับอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้อยู่ในสภาพใช้งานได้ดี เพื่อให้สามารถลาดแอสฟัลต์ได้ปริมาณที่ถูกต้องและ
สม่ําเสมอ ทั้งตามขวางและตามยาวถนน โดยเมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 401 “วิธีทดลองหาปริมาณแอสฟัลต์
ที่ลาดตามขวางถนนจากเครื่อง Distributor” และ ทล.-ท. 402 “วิธีการทดลองหาปริมาณแอสฟัลต์ที่ลาด
ตามยาวถนนจากเครื่ อ ง Distributor” แล้ ว ปริ ม าณแอสฟั ล ต์ ที่ ล าดจะคลาดเคลื่ อ นได้ ไ ม่ เ กิ น ร้ อ ยละ 17
และ 15 ตามลําดับ
(1.2.2) เครื่องโรยหิน ก่อนจะนําไปใช้งานต้องตรวจสอบให้ถูกต้อง และตรวจปรับ
ให้สามารถโรยหินย่อยหรือกรวดย่อยได้ตามปริมาณงานที่กําหนดและสม่ําเสมอทั่วพื้นที่ที่โรย

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 34 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

(1.2.3) รถบดล้อยาง ก่อนจะนําไปใช้งานต้องตรวจสอบให้ถูกต้อง น้ําหนักรถและ


ความดันลมยาง ให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างกําหนดให้เหมาะสมกับการก่อสร้าง
(1.2.4) รถกระบะเทท้าย ก่อนจะนําไปใช้งานต้องตรวจสอบให้ถูกต้องและจะต้องมี
จํานวนพอเพียงที่จะขนส่งหินย่อยหรือกรวดไปใช้ในงานก่อสร้างได้อย่างต่อเนื่อง โดยไม่ทําให้การโรยหินย่อย
หรือกรวดย่อยหยุดชะงักเมื่อได้ลาดแอสฟัลต์ไปแล้ว
(1.2.5) เครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์อื่น ๆ นอกเหนือจากที่ได้กําหนดไว้แล้ว
หากจําเป็นต้องนํามาใช้งานให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างโดยจะต้องตรวจสอบ และ
ตรวจปรับให้ถูกต้องก่อนนําไปใช้งาน
(1.3) การเตรียมพื้นทางหรือผิวทางเดิม
(1.3.1) กรณีพื้นทาง หรือผิวทางเดิม ที่จะทําผิวแบบเซอร์เฟสทรีตเมนต์ ไม่สม่ําเสมอ
หรือเป็นคลื่น ให้ปรับแต่งให้สม่ําเสมอ ถ้ามีหลุมบ่อจะต้องตัด หรือขุดออก แล้วซ่อมแบบ Skin Patch หรือ
Deep Patch แล้วแต่กรณี แล้วบดทับให้แน่น และมีผิวที่เรียบสม่ําเสมอ วัสดุที่นํามาใช้จะต้องมีคุณภาพดี
ขนาด และปริมาณวัสดุที่ใช้ต้องเหมาะสมกับลักษณะความเสียหายลําพื้นที่ที่จะซ่อม
(1.3.2) กรณีพื้นทางที่มี Prime Coat หลุด หรือเสียหายต้องซ่อมแซมใหม่ให้เรียบร้อย
ตามวิธีการที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างกําหนด แล้วทิ้งไว้จนครบกําหนดที่ต้องการบ่มตัวของแอสฟัลต์ที่
ใช้ซ่อมเสียก่อน จึงทําผิวทางได้
(1.3.3) กรณีพื้นทางที่ทํา Prime Coat ทิ้งไว้นานมีผิวหลุดเสียหาย เป็นพื้นที่ต่อเนื่อง
หรือมากเกินกว่าที่ซ่อมแซมตามข้อ (2) “การเตรียมพื้นทางหรือผิวทางเดิม” ให้ได้ผลดี ให้พิจารณาคราด
(Scarify) พื้ น ทางออกแล้ ว บดทั บ ใหม่ ใ ห้ แ น่ น ตามที่ กํ า หนดทํ า Prime Coat ใหม่ ทิ้ ง ไว้ จ นครบกํ า หนดที่
ต้องการบ่มตัวของแอสฟัลต์ที่ใช้ทํา Prime Coat เสียก่อน จึงทําผิวทางได้
(1.3.4) กรณีผิ วทางเดิม มี แ อสฟัล ต์เยิ้ ม ก่อนทําผิวทางจะต้องแก้ ไ ขให้เรียบร้ อ ย
เสียก่อน โดยการปาดออก หรือโดยวิธีการอื่นใดที่เหมาะสมที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างกําหนด
(1.3.5) ขอบพื้นทาง พื้นทาง หรือผิวทางเดิม ต้องสะอาด ปราศจากฝุ่น และวัสดุ
สกปรกอื่น ๆ ปะปน
(1.3.6) การทําความสะอาดพื้นทาง หรือผิวทางเดิม โดยการกวาดฝุ่น วัสดุหลุดหลวม
ทรายที่สาดทับ Prime Coat ให้ออกจนหมด ด้วยเครื่องกวาดฝุ่นต้องปรับอัตราเร็วการหมุนและน้ําหนักกดที่
กดลงบนพื้นทาง หรือผิวทางเดิมให้พอดี โดยไม่ทําให้พื้นทาง หรือผิวทางเดิมเสียหายเสร็จแล้วให้ใช้เครื่องเป่า
ลม เป่าฝุ่น หรือวัสดุที่หลุดหลวมออกจนหมด
(1.3.7) กรณีที่มีคราบฝุ่น หรือวัสดุจับตัวแข็งที่พื้นทาง หรือผิวทางเดิม ให้กําจัดคราบ
แข็งดังกล่าวออกเสียก่อน โดยการใช้เครื่องมือใด ๆ ที่เหมาะสมตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างกําหนด
ขูดออก ล้างให้สะอาด ทิ้งไว้ให้แห้ง ใช้เครื่องกวาดฝุ่นกวาด แล้วใช้เครื่องเป่าลมเป่าฝุ่น หรือวัสดุที่หลุดหลวม
ออกให้หมด

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 35 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

(1.4) การเคลือบผิวหรือการล้างหินย่อยหรือกรวดย่อย
(1.4.1) ในกรณีที่ใช้แอสฟัลต์ซีเมนต์หรือคัตแบกแอสฟัลต์ การเคลือบผิวหินย่อยหรือ
กรวดย่อย ให้ปฏิบัติดังนี้
- หินย่อยหรือกรวดย่อยต้องไม่มีความชื้นเกินไป จนทําให้เคลือบผิวได้ไม่ทั่วถึง
ถ้าหินมีความชื้นมากเกินไป ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างอาจใช้ผสมสารผสมแอสฟัลต์ ซึ่งคณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุได้ตรวจสอบและอนุมัติแล้วลงในสารเคลือบผิวหินย่อยหรือกรวดย่อย ด้วยปริมาณไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 0.5 โดยปริมาตรของสารเคลือบที่ใช้ จนทําให้เคลือบผิวได้ทั่วถึง
- การเคลือบผิว ให้ทําการเคลือบผิวหินย่อยหรือกรวดย่อย โดยใช้เครื่องเคลือบผิว
หินย่อย และใช้สารเคลือบผิวหินย่อยหรือกรวดย่อย ปริมาณ 4 -10 ลิตรต่อลูกบาศก์เมตร ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับชนิด
และการดูดซึมของวัสดุหินย่อยหรือกรวดย่อยและชนิดของสารที่ใช้เคลือบผิว
- เครื่องเคลือบผิวหินย่อยหรือกรวดย่อยจะร่อนคัดขนาดของหินย่อยหรือกรวด
ย่อยแยกเอาฝุ่นและขนาดที่ไม่ต้องการออกแล้วนําส่วนที่เหลือมาเคลือบผิวให้ทั่วถึง ด้วยการใช้หัวฉีดพ่นสาร
เคลือบผิวลงบนหินย่อยหรือกรวดย่อย การเคลือบผิวต้องเคลือบบาง ๆ ไม่ให้มีสารเคลือบผิวเยิ้ม
- เมื่อเคลือบผิวหินย่อยหรือกรวดย่อยเสร็จแล้ว ควรนําไปใช้งานทันที หากเก็บไว้
นานจนสารเคลือบผิวแห้งต้องเคลือบผิวใหม่ ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(1.4.2) ในกรณีที่ใช้แอสฟัลต์อิมัลชัน ไม่ต้องเคลือบผิว แต่ต้องล้างหินย่อยหรือกรวด
ย่อยให้สะอาด โดยใช้เครื่องล้างหินย่อยหรือกรวดย่อย แล้วให้รีบนําไปใช้โดยเร็ว หากปล่อยทิ้งไว้จนแห้งหรือ
สกปรก ต้องล้างใหม่
(1.5) การใช้สารผสมแอสฟัลต์
สารผสมแอสฟัลต์ อาจใช้ผสมกับสารเคลือบผิวหินย่อยหรือกรวดย่อย หรือผสมกับ
แอสฟัลต์โดยตรงก็ได้ แล้วแต่ชนิดและความเหมาะสม โดยให้เป็นไปตามคําแนะนําของผู้ผลิต
ถ้าผสมสารผสมแอสฟัลต์ลงในแอสฟัลต์โดยตรง ควรผสมก่อนใช้งานเล็กน้อย แล้วทํา
ให้แอสฟัลต์ในถังบรรจุแอสฟัลต์ประจํารถพ่นแอสฟัลต์ไหลเวียนผสมเข้ากันดีโดยใช้เวลาประมาณ 20 นาที
แล้วจึงนําไปใช้งานได้ทันที ห้ามต้มแอสฟัลต์ที่ผสมสารผสมแอสฟัลต์แล้วที่ช่วงอุณหภูมิสําหรับพ่นแอสฟัลต์ทิ้ง
ไว้นาน เพราะสารผสมแอสฟัลต์อาจเสื่อมคุณภาพได้ภายในไม่กี่ชั่วโมงเท่านั้น
หากจําเป็นที่จะต้องนําแอสฟัลต์ที่ผสมสารผสมแอสฟัลต์และต้มอุณหภูมิที่ใช้ลาดทิ้งไว้เกิน
3 ชั่วโมงมาใช้ใหม่ ต้องดําเนินการตามข้อแนะนําของผู้ผลิตสารผสมแอสฟัลต์โดยได้รับความเห็นชอบจากผู้ควบคุม
งานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(2) การก่อสร้าง
(2.1) การก่อสร้างผิวแบบเซอร์เฟสทรีตเมนต์ชั้นเดียว (Single Surface Treatment) คือ
การลาดแอสฟัลต์ 1 ครั้ง และโรยหินย่อยหรือกรวดย่อยทับหน้า 1 ครั้ง แล้วบดทับให้แน่น โดยดําเนินการ
ดังต่อไปนี้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 36 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

(2.1.1) ใช้เครื่องพ่นแอสฟัลต์ลาดแอสฟัลต์ตามอุณหภูมิที่กําหนดไว้ตามตารางที่ 5-5


ในอัตราที่กําหนดไว้
(2.1.2) เมื่อลาดแอสฟัลต์แล้ว ให้โรยหินย่อยหรือกรวดย่อยปิดทับแอสฟัลต์ทันที ตาม
ปริมาณที่กําหนด ถ้าในพื้นที่บางส่วนไม่มีหินย่อยหรือกรวดย่อยปิดทับหน้าหรือหินย่อยหรือกรวดย่อยไม่เรียง
ก้อนสม่ําเสมอ ให้ใช้คนตักสาดหรือเกลี่ยช่วยทันที จนหินย่อยหรือกรวดย่อยเรียงก้อนติดกันแน่นสม่ําเสมอ
(2.1.3) ในกรณีที่ลาดแอสฟัลต์แต่ละครั้ง ในการลาดแอสฟัลต์ครั้งแรก การโรยหินย่อย
หรือกรวดย่อย ให้โรยเว้นไว้ 100 หรือ 150 มิลลิเมตร เข้ามาจากขอบด้านในของแอสฟัล ต์ที่ล าดเพื่อ ให้
แอสฟัลต์จากการลาดแอสฟัลต์ครั้งต่อไปเข้ามาซ้อนทับบนพื้นที่ที่เว้นไว้นี้ ทั้งนี้เพื่อจะได้ปริมาณแอสฟัลต์ที่
ถูกต้องและสม่ําเสมอทั่วพื้นที่
ในกรณีที่ใช้หัวฉีดชนิดพิเศษที่ริมท่อพ่นแอสฟัลต์ด้านนอกสุด ซึ่งหัวฉีดชนิดพิเศษนี้จะ
ทําให้มีปริมาณแอสฟัลต์ที่พ่นออกมาสม่ําเสมอเท่ากับปริมาณแอสฟัลต์ด้านในแล้ว ก็ให้โรยหินย่อย หรือกรวด
ย่อยเต็มความกว้างของพื้นที่ที่ลาดแอสฟัลต์ได้ แต่ทั้งนี้หัวฉีดชนิดพิเศษที่นํามาใช้จะต้องผ่านการตรวจสอบ
ความสม่ําเสมอของการลาดแอสฟัลต์ตามขวาง ตาม ทล.-ท. 401 “ วิธีการทดลองหาปริมาณแอสฟัลต์ที่ลาด
ตามขวางถนนจากเครื่ อ ง Distributor” และได้ รั บ อนุญ าตจากผู้ ค วบคุม งานก่อ สร้ า งของผู้ ว่ าจ้ า งให้ ใ ช้ได้
เสียก่อน
(2.1.4) ขณะที่กําลังโรยหินย่อยหรือกรวดย่อยปิดทับแอสฟัลต์ ให้ใช้รถบดล้อยาง
บดทับตามให้เต็มผิวหน้าทันที ประมาณ 2-3 เที่ยว
(2.1.5) รถบดล้อยางที่ใช้ต้องมีจํานวนอย่างน้อย 2 คัน และหากในเวลา 1 ชั่วโมง
ทําผิวทางได้เกิน 500 เมตร สําหรับ 1 ช่องจราจรแล้ว จะต้องเพิ่มรถบดล้อยางอีกไม่น้อยกว่า 1 คัน จํานวนรถ
บดล้อยางที่เพิ่มให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(2.1.6) หลังจากรถบดล้อยางบดทับเต็มหน้าผิวทางประมาณ 2-3 เที่ยวแล้วให้ใช้
เครื่องเกลี่ยหิน เกลี่ยหินย่อยหรือกรวดย่อยที่เหลือค้างซ้อนกันอยู่ให้กระจายลงบนส่วนที่ขาดจนหินย่อยหรือ
กรวดย่อยปิดทับผิวหน้าแอสฟัลต์สม่ําเสมอ และต้องไม่ให้มีกินย่อยหรือกรวดย่อยที่ติดแอสฟัลต์อยู่แล้วหลุด
ออก การเกลี่ยนี้ให้เกลี่ยเต็มหน้าประมาณ 2 เที่ยว
(2.1.7) ให้ใช้รถบดล้อยางบดทับต่อไปอีกจนกระทั่งหินย่อยหรือกรวดย่อยฝังตัวลงไป
ในเนื้อแอสฟัลต์เป็นอย่างดี มีลักษณะผิวที่สม่ําเสมอ และแอสฟัลต์ที่ใช้นั้นแข้งตัวหรือแตกตัวเรียบร้อยแล้ว
(2.1.8) ในบางกรณีที่จําเป็นต้องใช้รถบดล้อเหล็ก 2 ล้อ ชนิดขับเคลื่อนได้ด้วยตัวเอง
ขนาด 4-6 ตัน บดทับเป็นครั้งสุดท้ายได้ โดยบดทับให้เต็มหน้าไม่เกิน 2 เที่ยว และต้องไม่ทําให้หินย่อยหรือ
กรวดย่อยแตก ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(2.1.9) ให้ ปิดการจราจรให้นานที่สุดเท่าที่จะทําได้ หากสามารถเบี่ยงการจราจร
ไม่ให้ผ่านพื้นที่ที่ก่อสร้างผิวทางได้ แต่ถ้าไม่สามารถปิดการจราจรได้ก็ให้ควบคุมความเร็วของการจราจรที่ผ่าน
ไม่ให้เกิน 30 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เป็นเวลาอย่างน้อย 24 ชั่วโมง

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 37 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

(2.1.10) หลังจากแอสฟัลต์ยึดหินย่อยหรือกรวดย่อยแน่นและแห้งดีแล้วให้ใช้เครื่อง
กวาดฝุ่นหรือเครื่องมืออื่นใดที่เหมาะสม กําจัดหินย่อยหรือกรวดย่อยที่อาจหลงเหลืออยู่บนผิวทางออกให้หมด
โดยไม่ทําให้หินย่อยหรือกรวดย่อยที่ติดแน่นแล้วหลุดออก
(2.2) การก่ อสร้ างผิ วแบบเซอร์ เฟสทรี ตเมนต์ สองชั้ น (Double Surface Treatment)
คือ การลาดแอสฟัลต์แล้วโรยหินย่อยหรือกรวดย่อย แล้วบดทับให้แน่นสลับกันไปโดยดําเนินการก่อสร้างเป็น
สองชั้น ดังต่อไปนี้
(2.2.1) สํ า หรั บ การลาดแอสฟั ล ต์ ค รั้ ง ที่ ห นึ่ ง และการโรยหิ น ย่ อ ยและกรวดย่ อ ย
ครั้งที่หนึ่ง ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับการทําผิวแบบเซอร์เฟสทรีตเมนต์ชั้นเดียว ตามหัวข้อ (2.1) “การก่อสร้าง
ผิวแบบเซอร์เฟสทรีตเม้นต์ชั้นเดียว (Single Surface Treatment)”
(2.2.2) ภายหลังจากการลาดแอสฟัลต์ครั้งที่หนึ่ง และการโรยหินย่อยหรือกรวดย่อย
ชั้นที่หนึ่งพร้อมทั้งบดทับแน่นเรียบร้อยแล้ว ให้ปล่อยทิ้งไว้จนกว่าแอสฟัลต์ยึดหินย่อยหรือกรวดย่อยแน่น
ก่อนที่จะก่อสร้างชั้นต่อไป ระยะเวลาที่ปล่อยทิ้งไว้ควรเป็นดังนี้
สําหรับแอสฟัลต์ซีเมนต์ ควรปล่อยทิ้งไว้ประมาณ 2 ชั่วโมง
สําหรับแอสฟัลต์อิมัลชัน ควรปล่อยทิ้งไว้ประมาณ 10 ชั่วโมง
สําหรับคัตแบกแอสฟัลต์ ควรปล่อยทิ้งไว้ประมาณ 18 ชั่วโมง
ทั้งนี้ หมายถึ งภาวะอากาศปกติ เพื่อ ให้น้ํามันหรือน้ําแล้วแต่ละชนิดของแอสฟัลต์
ระเหยออกไปเกือบหมด แต่ถ้ามีฝนตก หรือสภวะอากาศที่มีความชื้นมาก อาจต้องทิ้งไว้เป็นเวลานานกว่าที่ได้
กําหนดไว้ข้างต้นก็ได้ โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(2.2.3) ก่อนที่จะลาดแอสฟัลต์ครั้งที่สอง ให้ทําความสะอาดผิวทางชั้นที่หนึ่งด้วย
เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น ใช้เครื่องกวาดฝุ่น กวาดหินย่อยหรือกรวดย่อยที่หลุดหลวม หรือค้างอยู่บนผิวทาง
ชั้นที่หนึ่งออก แล้วใช้เครื่องเป่าลม เป่าฝุ่น หรือวัสดุที่หลุดหลวมออกให้หมด ในกรณีที่มีสิ่งสกปรกเกาะติดแน่น
ให้ล้างออกให้หมดแล้วจึงลาดแอสฟัลต์ตามอุณหภูมิที่กําหนดไว้ตามตารางที่ 5-4 ช่วงของอุณหภูมิที่ใช้ลาด
ในอัตราที่กําหนดให้
(2.2.4) ในบางกรณี โดยดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง อาจพิจารณา
ให้ทําผิวแบบเซอร์เฟสทรีตเมนต์เพียงชั้นที่หนึ่งก่อน แล้วเปิดการจราจรไว้เป็นระยะเวลาหนึ่งที่เหมาะสม โดย
พิจารณาถึงสภาพพื้นที่ที่ก่อสร้าง สภาวะอากาศ สภาพ ลักษณะ และปริมาณการจราจร เป็นต้น เพื่อให้
ผิวทางชั้นที่หนึ่งปรับตัวเสียก่อน แล้วจึงทําผิวชั้นที่สอง โดยก่อนที่จะทําผิวชั้นที่สองให้ทําความสะอาดชั้นที่หนึ่ง
พร้อมทั้งให้ดําเนินการตามข้อ (3) ในหัวข้อ “การก่อสร้างผิวแบบเซอร์เฟสทรีตเมนต์สองชั้น (Double Surface
Treatment)” ต่อไปด้วย
(2.2.5) ทันทีที่ลาดแอสฟัลต์ครั้งที่สองให้โรยหินย่อยหรือกรวดย่อยตามปริมาณที่ถูกต้อง
ซึ่งได้เตรียมไว้แล้วปิดทับแอสฟัลต์ทันที ขั้นตอนการก่อสร้างให้ปฏิบัติเช่นเดียวกันกับการก่อสร้างผิวแบบเซอร์
เฟสทรี ตเมนต์ ชั้ นเดี ยว ตามหั วข้ อ (2.1) “การก่ อสร้ างผิ วแบบเซอร์ เฟสทรี ตเมนต์ ชั้ นเดี ยว (Single Surface
Treatment)”

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 38 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

(3) ข้อกําหนดเพิ่มเติมในการก่อสร้าง
(3.1) การทําผิวแบบเซอร์เฟสทรีตเมนต์ จะต้องพิจารณาสภาพดินฟ้าอากาศให้เหมาะสม
ห้ามลาดแอสฟัลต์ในขณะที่มีลมพัดแรง หรือในขณะที่มีเค้าว่าฝนจะตก หรือระหว่างฝนตก ถ้าผิวหน้าของพื้นที่
ที่จะลาดแอสฟัลต์เปียก ห้ามลาดแอสฟัลต์ซีเมนต์ หรือคัตแบกแอสฟัลต์
(3.2) ความยาวของแปลงที่จะลาดแอสฟัลต์ ควรกําหนดให้เหมาะสมกับชนิดแอสฟัลต์ที่
ใช้ ปริมาณการจราจร สภาวะอากาศ เครื่องจักร และหินย่อยหรือกรวดย่อยที่ได้เตรียมไว้
(3.3) ก่อนเริ่มลาดแอสฟัลต์ ให้จอดเครื่องพ่นแอสฟัลต์ห่างจากจุดเริ่มต้นแปลงที่จะลาด
แอสฟัลต์พอประมาณ เพื่อให้เครื่องพ่นแอสฟัลต์ทําความเร็วของการลาดแอสฟัลต์ได้ตามที่กําหนดไว้
(3.4) ที่จุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของการลาดแอสฟัลต์แต่ละแปลง ให้ใช้กระดาษหนา หรือ
วัสดุใด ๆ กว้างอย่างน้อย 500 มิลลิเมตร วางยาวตลอดความกว้างของการลาดแอสฟัลต์เพื่อป้องกันไม่ให้
ลาดแอสฟัลต์ซ้ํา โดยต้องเริ่มหรือหยุดลาดแอสฟัลต์แปลงนั้นบนกระดาษหรือวัสดุใด ๆ เพื่อให้ได้รอยต่อการลาด
แอสฟัลต์ที่เรียบร้อย ไม่มีแอสฟัลต์เลอะล้ําเข้าไปในแปลงที่ได้ลาดแอสฟัลต์แล้ว
(3.5) การลาดแอสฟัลต์ไม่ควรลาดจนหมดถัง ควรเหลือแอสฟัลต์ในถังไว้ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 5 ของความจุของถัง ทั้งนี้เพราะแอสฟัลต์ที่ออกจากเครื่องสูบแอสฟัลต์จะมีปริมาณลดลงทําให้อัตรา
แอสฟัลต์ที่พ่นออกมาผิดไปจากที่กําหนดไว้ได้
(3.6) ความสูงของท่อพ่นแอสฟัลต์ ก่อนและหลังจากการลาดแอสฟัลต์ในแปลงใด ๆ
ไม่ควรมีความแตกต่างเกิน 12.50 มิลลิเมตร
(3.7) การลาดแอสฟัลต์ ควรวิ่งสวนทิศทางลม เพื่อให้ควันของแอสฟัลต์ออกไปทางด้าน
ท้ายของเครื่องพ่นแอสฟัลต์
(3.8) ในการทําผิวแบบเซอร์เฟสทรีตเมนต์สองชั้น ควรลาดแอสฟัลตั้นที่หนึ่งและชั้นที่
สองให้สวนทางกัน ทั้งนี้เพื่อเป็นการเฉลี่ยปริมาณแอสฟัลต์ให้สม่ําแสมอทั่วทั้งแปลง
(3.9) เมื่อก่อสร้างผิวแบบเซอร์เฟสทรีตเมนต์ เ สร็จ แล้ว ห้ ามเปิด การจราจรจนกว่ า
แอสฟัลต์ยึดหินย่อยหรือกรวดย่อยแน่นดีแล้ว แต่ถ้ามีความจําเป็นต้องเปิดการจราจรให้จํากัดความเร็วของ
การจราจรไม่ให้เกิน 30 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
(3.10) เมื่อก่อสร้างผิวแบบเซอร์เฟสทรีตเมนต์เสร็จเรียบร้อย ควรเปิดการจราจรขณะที่
ผิวทางมีอุณหภูมิตํา่ เช่น ตอนเย็นหรือค่ํา ห้ามเปิดการจราจรในขณะที่มีฝนตก
(4) ข้อควรระวัง
(4.1) ในการใช้คัตเตอร์แบกแอสฟัลต์ เนื่องจากคัตแบกแอสฟัลต์นั้นติดไฟได้ง่าย การ
ปฏิบัติงานจะต้องระมัดระวังมิให้เปลวไฟมาถูกได้ ทั้งในขณะต้ม หรือขณะลาดคัตแบกแอสฟัลต์
(4.2) การขนส่งแอสฟัลต์อิมัลชันแบบบรรจุถัง Drum โดยเฉพาะการขนขึ้นและขนลงต้อง
ระมัดระวังไม่ให้ถังบรรจุแอสฟัลต์อิมัลชันได้รับการกระทบกระเทือนรุนแรง เพราะอาจจะทําให้แอสฟัลต์
อิมัลชันแตกตัวได้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 39 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

(4.3) การใช้แอสฟัลต์อิมัลชันแบบบรรจุถัง Drum ก่อนถ่ายเทแอสฟัลต์อิมัลชันลงใน


เครื่องพ่นแอสฟัลต์ ควรกลิ้งถังไปมา หรือกวนให้เข้ากันเสียก่อน ทั้งนี้เพื่อให้แอสฟัลต์อิมัลชันมีลักษณะ
เดียวกันทั่วถัง หากใช้ไม่หมดถังควรปิดฝาให้แน่น เพื่อป้องกันน้ําในแอสฟัลต์อิมัลชันระเหยออกไปทําให้
แอสฟัลต์อิมัลชันแตกตัว และหมดคุณภาพการเป็นแอสฟัลต์อิมัลชันได้
(4.4) หลังการลาดแอสฟัลต์ประจําวัน ควรดูดแอสฟัลต์ในเครื่องพ่นแอสฟัลต์ออกให้
หมดแล้วล้างเครื่องพ่นแอสฟัลต์โดยเฉพาะที่ท่อพ่นแอสฟัลต์ การล้างควรใช้น้ํามันก๊าด หรือสารทําละลายใด ๆ
สูบผ่านท่อต่าง ๆ ของเครื่องพ่นแอสฟัลต์ เพื่อล้างส่วนที่ตกค้างอยู่ออกให้หมด ทั้งนี้เพื่อป้องกันแอสฟัลต์
เกาะติดแน่น ทําให้ไม่สะดวกในการใช้งานต่อไป และช่วยป้องกันไม่ให้ถังบรรจุแอสฟัลต์ ในเครื่องพ่นแอสฟัลต์
ถูกกรดในแอสฟัลต์อิมัลชันบางชนิดกัดทะลุเสียหายได้
(4.5) ในการผสมน้ํามัน (Cutter) กับแอสฟัลต์ ให้ดําเนินการตามรายละเอียดข้อกําหนด
โดยเคร่งครัด เพื่อป้องกันอันตรายจากการลุกไหม้
5.10.6 รายละเอียดเพิ่มเติม
(1) การทํ า ผิ ว ทางแบบเซอร์ เ ฟสทรี ต เมนต์ จะต้ อ งพิ จ ารณาสภาพของดิ น ฟ้ า อากาศให้
เหมาะสม ห้ามลาดแอสฟัลต์ในขณะที่ลมพัดแรง หรือในขณะมีเค้าว่าฝนจะตกหรือระหว่างฝนตก ถ้าผิวหน้า
ของพื้นที่ที่จะลาดแอสฟัลต์เปียก ห้ามลาดแอสฟัลต์ซีเมนต์ หรือคัตแบกแอสฟัลต์
(2) ความยาวของแปลงที่จะลาดแอสฟัลต์ ควรกําหนดให้เหมาะสมกับชนิดของแอสฟัลต์ที่
ใช้ปริมาณการจราจร สภาวะอากาศ เครื่องจักร หินย่อย หรือกรวดย่อยที่ได้เตรียมไว้ใช้
(3) ก่อ นเริ่ม ลาดแอสฟัล ต์ ให้จ อดเครื่อ งพ่น แอสฟัล ต์ห่า งจากจุด เริ ่ม ต้น แปลงที่จ ะลาด
แอสฟัลต์พอประมาณ ทั้งนี้ เพื่อให้เครื่องพ่นแอสฟัลต์ทําความเร็วของการลาดแอสฟัลต์ได้ตามที่กําหนดไว้
(4) ที่รอยต่อของแปลงที่จะลาดแอสฟัลต์ที่จะตั้งต้นและจุดสิ้นสุด ให้ใช้กระดาษหนา หรือวัสดุ
ทึบใด ๆ กว้างอย่างน้อย 0.50 เมตร วางยาวตลอดความกว้างของรอยต่อตามขวาง เพื่อป้องกันไม่ให้ลาด
แอสฟัลต์ซ้ํา และต้องเริ่มลาดแอสฟัลต์บนกระดาษ หรือวัสดุทึบดังกล่าวแล้ว เพื่อให้ได้รอยต่อการลาดแอสฟัลต์
ที่เรียบร้อยไม่มีแอสฟัลต์เลอะล้ําเข้าไปในแปลงที่ได้ลาดแอสฟัลต์ไว้แล้ว
(5) การลาดแอสฟัลต์ ไม่ควรลาดจนหมดถัง ควรเหลือแอสฟัลต์ในถังไว้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5
ของความจุของถัง ทั้งนี้ เพราะแอสฟัลต์ที่ออกจากเครื่องสูบแอสฟัลต์จะมีปริมาณลดลงทําให้อัตราแอสฟัลต์ที่
พ่นออกมาผิดไปจากที่กําหนดไว้ได้
(6) ความสูงของท่อพ่นแอสฟัลต์เมื่อมีแอสฟัลต์ก่อน และหลังจากการลาดแอสฟัลต์ในแปลงใด ๆ
ไม่ควรมีความแตกต่างเกิน 12.5 มิลลิเมตร
(7) การลาดแอสฟัลต์ควรวิ่งสวนทิศทางลม เพื่อให้ควันของแอสฟัลต์ออกไปทางด้านท้ายของ
เครื่องพ่นแอสฟัลต์
(8) ในการทําผิวทางแบบเซอร์เฟสทรีตเมนต์สองชั้น (Double Surface Treatment) ควรลาด
แอสฟัลต์แต่ละชั้นให้สวนทางกัน ทั้งนี้ เพื่อเป็นการเฉลี่ยปริมาณแอสฟัลต์ให้สม่ําเสมอทั่วทั้งแปลง

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 40 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

(9) สําหรับการทําผิวทางเซอร์เฟสทรีตเมนต์ เมื่อก่อสร้างเสร็จแล้วห้ามเปิดการจราจรจนกว่า


แอสฟัลต์จะยึดหินย่อย หรือกรวดแน่นดีแล้ว แต่ถ้ามีความจําเป็นต้องเปิดการจราจร ให้จํากัดความเร็วของ
การจราจรบนผิวทางดังกล่าวให้ไม่เกิน 30 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
(10) เมื่อก่อสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว ควรเปิดการจราจรขณะที่ผิวทางมีอุณหภูมิต่ํา เช่น ตอนเย็น
หรือค่ํา ห้ามเปิดการจราจรในขณะที่มีฝนตก
(11) ก่อนก่อสร้าง และระหว่างก่อสร้างผิวทางเซอร์เฟสทรีตเมนต์ ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงแหล่ง
วั ส ดุ หรื อ หิ น ย่ อ ยหรื อ กรวดย่ อ ยที่ ใ ช้ มี ข นาดเปลี่ ย นแปลงไป โดยมี ค่ า ความหนาเฉลี่ ย (Average Least
Dimension) ต่างไปจากที่กําหนดไว้ในการออกแบบ 0.3 มิลลิเมตร ขึ้นไปให้ส่งหินย่อยหรือกรวดย่อยนั้นไปให้
ผู้ว่าจ้างตรวจสอบคุณภาพ และออกแบบให้ใหม่ต่อไป
5.10.7 ข้อควรระวัง
(1) ในการใช้คัตแบกแอสฟัลต์ เนื่องจากคัตแบกแอสฟัลต์นั้นติดไฟได้ง่าย การปฏิบัติงาน
จะต้องระมัดระวังมิให้เปลวไฟมาถูกได้ ทั้งในขณะต้ม หรือขณะลาดคัตแบกแอสฟัลต์
(2) การขนส่งแอสฟัลต์อิมัลชันแบบบรรจุถัง Drum โดยเฉพาะการขนขึ้น และขนลงต้อง
ระมัดระวังไม่ให้ถังบรรจุแอสฟัลต์อิมัลชันได้รับการกระทบกระเทือนรุนแรง เพราะอาจจะทําให้แอสฟัลต์
อิมัลชันแตกตัวได้
(3) การใช้แอสฟัลต์อิมัลชันแบบบรรจุถัง Drum ก่อนถ่ายเทแอสฟัลต์อิมัลชันลงในเครื่ องพ่น
แอสฟัลต์ ควรกลิ้งถังไปมาหรือกวนให้เข้ากันเสียก่อน ทั้งนี้ เพื่อให้แอสฟัลต์อิมัลชันมีลักษณะเดียวกันทั่วถึงหากใช้
ไม่หมดถังควรปิดฝาไว้อย่างดีเพื่อป้องกันน้ําในแอสฟัลต์อิมัลชันในถังระเหยออกไปทําให้แอสฟัลต์อิมัลชันแตกตัว
และหมดคุณภาพการเป็นแอสฟัลต์อิมัลชัน
(4) หลังการลาดแอสฟัลต์ประจําวัน ควรดูดแอสฟัลต์ในเครื่องพ่นแอสฟัลต์ออกให้หมดแล้วล้าง
เครื่องพ่นแอสฟัลต์โดยเฉพาะที่ท่อพ่นแอสฟัลต์ การล้างควรให้น้ํามันก๊าด หรือสารทําลาย ใด ๆ สูบผ่าท่อต่าง ๆ
ของเครื่องพ่นแอสฟัลต์เพื่อล้างส่วนที่ตกค้างอยู่ออกให้หมด ทั้งนี้ เพื่อป้องกันแอสฟัลต์เกาะติดแน่นทําให้ไม่สะดวก
ในการทํางานครั้งต่อไป และช่วยป้องกันไม่ให้บรรจุแอสฟัลต์ในเครื่องพ่นแอสฟัลต์ถูกกรดในแอสฟัลต์ อิมัลชันบาง
ชนิดกันทะลุเสียหายได้
(5) ในการผสมน้ํ า มัน (Cutter) กับ แอสฟัล ต์ซ ีเ มนต์ ให้ดํ า เนิน การตามรายละเอีย ดใน
ข้อกําหนดโดยเคร่งครัด เพื่อป้องกันอันตรายจากการลุกไหม้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 41 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

5.11 งานแอสฟัลต์ติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)


(1) ลักษณะงาน
หมายถึง การก่อสร้างชั้นพื้นทาง ปรับระดับ รองผิวทาง ผิวทางหรือไหล่ทางด้วยวัสดุ ผ สม
ที่ได้จากการผสมร้อนระหว่างมวลรวมกับแอสฟัลต์ซีเมนต์ โดยการปูหรือเกลี่ยแต่งและบดทับชั้นทางใด ๆ
ที่ได้เตรียมไว้แล้ว ให้ได้แนวและรูปร่างตามที่แสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด
(2) วัสดุ
(2.1) แอสฟัลต์
ในกรณีที่ไม่ได้ระบุชนิดของแอสฟัลต์ไว้เป็นอย่างอื่น ให้แอสฟัลต์ซีเมนต์ AC 60-70 ตาม
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแอสฟัลต์ซีเมนต์สําหรับงานทาง มาตรฐานเลขที่ มอก.851-2561 และต้อง
ผ่านการวิเคราะห์คุณภาพให้ใช้ได้แล้ว
การใช้แอสฟัลต์อื่น ๆ หรือแอสฟัลต์ที่ปรับปรุงคุณสมบัติด้วยสารใด ๆ นอกเหนือจากนี้
ต้องมีคุณภาพเท่าหรือดีกว่า ทั้งนี้ต้องผ่านการทดสอบคุณภาพและพิจารณาความเหมาะสมรวมทั้งต้องได้รับ
อนุมัติให้ใช้ได้จากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นกรณีไป
ปริมาณการใช้แอสฟัลต์โดยประมาณ ให้เป็นไปตามตารางที่ 5-11
(2.2) มวลรวม
มวลรวมประกอบด้ ว ยมวลหยาบ (Coarse Aggregate) และมวลละเอี ย ด (Fine
Aggregate) กรณีที่มวลละเอี ยดมีส่วนละเอียดไม่พอหรือต้องการปรับปรุงคุ ณภาพและความแข็งแรงของ
แอสฟัลต์คอนกรีต อาจเพิ่มวัสดุผสมแทรก (Mineral Filler) ด้วยก็ได้
ขนาดคละของมวลรวม ให้เป็นไปตามตารางที่ 5-11
(2.2.1) มวลหยาบ หมายถึ ง ส่ ว นที่ ค้ า งตะแกรงขนาด 4.75 มิ ล ลิ เ มตร เป็ น หิ น ย่ อ ย
(Crushed Rock) หรือวัสดุอื่นใดที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุอนุมัติให้ใช้ได้ ต้องเป็นวัสดุที่แข็งและคงทน
(Hard and Durable) สะอาดปราศจากวัสดุไม่พึงประสงค์ใด ๆ ปะปนอยู่
ในกรณีที่ไม่ได้ระบุคุณสมบัติไว้เป็นอย่างอื่น มวลหยาบต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
(ก) มีค่าความสึกหรอเมื่อทดลองตาม “วิธีการทดลองหาความสึกหรอของ Coarse
Aggregate โดยใช้เครื่อง Los Angeles Abrasion” หรือ AASHTO T-96 ไม่เกินร้อยละ 40
(ข) มีค่าของส่วนที่ไม่คงทน (Loss) เมื่อทดลองตาม “วิธีการทดลองหาความคงทน
(Soundness) ของมวลรวม” หรือ AASHTO T-104 โดยใช้โซเดียมซัลเฟต จํานวน 5 รอบ ไม่เกินร้อยละ 9
(ค) มวลหยาบจากแหล่ ง เดิ ม ที่ มี ห ลั ก ฐานแสดงผลทดลองหาความคงทนว่ า ใช้ ได้
อาจจะยกเว้นไม่ต้องทดลองอีกก็ได้ ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ที่ใช้ผลการทดลอง
เดิมที่มีอยู่
(ง) ผิ ว ของมวลหยาบต้ อ งมี แ อสฟั ล ต์ เ คลื อ บ เมื่ อ ทดลองตาม AASHTO T-182:
Coating and Stripping of Bitumen - Aggregate Mixtures ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 42 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

ตารางที่ 5-11 ขนาดคละของมวลรวมและปริมาณแอสฟัลต์ซีเมนต์ที่ใช้


ขนาดที่ใช้เรียก มิลลิเมตร 9.5 12.5 19.0 25.0
(นิ้ว) (3/8) (1/2) (3/4) (1)
สําหรับชั้นทาง Wearing Wearing Binder Binder
Course Course Course Course
ความหนา มิลลิเมตร 25-35 40-70 40-80 70-100
ขนาดตะแกรง มิลลิเมตร (นิ้ว) ปริมาณผ่านตะแกรง ร้อยละโดยมวล
37.5 (1 1/2) 100
25.0 (1) 100 90-100
19.0 (3/4) 100 90-100 -
12.5 (1/2) 100 80-100 - 56-80
9.5 (3/8) 90-100 - 56-80 -
4.75 (เบอร์ 4) 55-85 44-74 35-65 29-59
2.36 (เบอร์ 8) 32-67 25-58 23-49 19-45
1.18 (เบอร์ 16) - - - -
0.600 (เบอร์ 30) - - - -
0.300 (เบอร์ 50) 7-23 5-21 5-19 5-17
0.150 (เบอร์ 100) - - 5 -
0.075 (เบอร์ 200) 2-10 2-10 2-8 1-7
ปริมาณแอสฟัลต์ซีเมนต์ 4.0-80 3.0-7.0 3.0-6.5 3.0-6.0
ร้อยละโดยมวลรวม

(2.2.2) มวลละเอียด หมายถึง ส่วนที่ผ่านตะแกรงขนาด 4.75 มิลลิเมตร (เบอร์ 4) เป็น


หินฝุ่นหรือทรายที่สะอาด ปราศจากสิ่งสกปรกหรือวัสดุอันไม่พึงประสงค์ใด ๆ ปะปนอยู่
ในกรณีที่ไม่ได้ระบุคุณสมบัติไว้เป็นอย่างอื่น มวลละเอียดต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
(ก) มี ค่ า Sand Equivalent เมื่ อ ทดลองตาม “วิ ธี ก ารทดลองหาค่ า Sand
Equivalent” หรือ AASHTO T-176 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
(ข) มีค่าของส่วนที่ไม่คงทน (Loss) เมื่อทดลองตาม “วิธีการทดลองหาความคงทน
(Soundness) หรือ AASHTO T-104 โดยใช้โซเดียมซัลเฟต จํานวน 5 รอบ ไม่เกินร้อยละ 9
(2.3) วัสดุผสมแทรก
ใช้ผสมเพิ่มในกรณีเมื่อผสมมวลหยาบ กับมวลละเอียดเป็นมวลรวมแล้วส่วนละเอียดใน
มวลรวมยังมีไม่พอ หรือใช้ผสมเพื่อปรับปรุงคุณภาพของแอสฟัลต์คอนกรีต วัสดุผสมแทรกอาจเป็น Stone
Dust, Portland Cement, Silica Cement, Hydrated Lime หรือวัสดุอื่นใดที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
อนุมัติให้ใช้ได้
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 43 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

วัสดุผสมแทรกต้องแห้งไม่จับกันเป็นก้อน เมื่อทดลองตาม “วิธีการทดลองหาขนาดเม็ด


วัสดุโดยผ่านตะแกรงแบบล้าง” หรือ AASHTO T-11 ต้องมีขนาดคละตามตารางที่ 5-12
ตารางที่ 5-12 ขนาดคละของวัสดุผสมแทรก
ขนาดตะแกรง ปริมาณผ่านตะแกรง
มิลลิเมตร ร้อยละโดยมวล
0.600 (เบอร์ 30) 100
0.300 (เบอร์ 50) 75-100
0.075 (เบอร์ 200) 55-100
ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นว่าวัสดุที่มีขนาดคละแตกต่างไปจากตารางที่ 5-12 แต่
เมื่อนํามาใช้เป็นวัสดุผสมแทรกแล้ว จะทําให้แอสฟัลต์คอนกรีตมีคุณภาพดีขึ้น ก็อาจอนุมัติให้ใช้วัสดุนั้นเป็น
วัสดุผสมแทรกได้
(3) การใช้งาน
ส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตสามารถใช้ในงานทางได้ดังต่อไปนี้
(3.1) งานซ่อมผิวทาง (Patching)
เพื่อปะซ่อม (Skin Patching) ขุดซ่อม (Deep Patching)
(3.2) งานปรับระดับ (Leveling)
เพื่อปรับผิวถนนเดิมให้ได้ระดับตามที่ต้องการ
(3.3) งานเสริมผิว (Overlay)
เพื่อเสริมความแข็งแรงของผิวทางเดิม หรือเพิ่มความฝืดให้กับผิวทางเดิม
(3.4) งานชั้นพื้นทาง (Base Course)
โดยปูแอสฟัลต์คอนกรีตบนชั้นรองพื้นทางหรือชั้นอื่นใดที่ได้เตรียมไว้เรียบร้อยแล้ว
(3.5) งานชั้นรองผิวทาง (Binder Course)
โดยปูแอสฟัลต์คอนกรีตบนชั้นพื้นทางที่ได้เตรียมไว้เรียบร้อยแล้ว หรือปูบนผิวทางเดิมที่จะ
บูรณะก่อสร้างใหม่
(3.6) งานชั้นผิวทาง (Wearing Course)
โดยปูแอสฟัลต์คอนกรีตบนชั้นรองผิวทาง ชั้นพื้นทางหรือชั้นอื่นใดที่ได้เตรียมไว้เรียบร้อยแล้ว
(3.7) งานไหล่ทาง (Shoulder)
ที่มีผิวไหล่ทางเป็นแอสฟัลต์คอนกรีตโดยปูแอสฟัลต์คอนกรีตบนไหล่ทาง หรือชั้นอื่นใดที่
ได้เตรียมไว้เรียบร้อยแล้ว
(4) เครื่องจักรและเครื่องมือ
เครื่องจักรและเครื่องมือทุกชนิดที่จะนํามาใช้งาน จะต้องมีสภาพใช้งานได้ดีโดยจะต้องผ่าน
การตรวจสอบและ/หรือตรวจปรับ และผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างอนุญาตให้ใช้ได้ ในระหว่างการ
ก่อสร้างผู้รับจ้างจะต้องบํารุงรักษาเครื่องจักรและเครื่องมือทุกชนิดให้อยู่ในสภาพดีอยู่เสมอ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 44 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

(4.1) โรงงานผสมแอสฟัลต์คอนกรีต (Asphalt Concrete Mixing Plant)


(4.1.1) ข้อกําหนดทั่วไปของโรงงานผสมแอสฟัลต์คอนกรีต
ผู้รับจ้างต้องมีโรงงานแอสฟัลต์คอนกรีตตั้งอยู่ในสายทางที่ก่อสร้าง หากจําเป็นอาจ
ตั้งอยู่นอกสายทางภายในระยะเวลาขนส่งไม่เกิน 2 ชั่วโมง นับจากผสมเสร็จจนถึงปูลงพื้นถนน ทั้งนี้ต้องมี
อุณหภูมิถูกต้อง เพื่อให้สามารถควบคุมอุณหภูมิของส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีต ได้ตามที่กําหนด โรงงานผสม
แอสฟัลต์คอนกรีตนี้ต้องมีกําลังการผลิต (Rated Capacity) ไม่น้อยกว่า 60 ตันต่อชั่วโมง โดยจะเป็นแบบ
Batch Type หรือแบบผสมต่อเนื่อง (Continuous Type) ก็ได้ แต่ต้องสามารถผลิตส่วนแอสฟัลต์คอนกรีตเพื่อ
ป้ อ นเครื่ อ งปู (Paver) ให้ ส ามารถปูไ ด้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งและเป็ น ส่ว นผสมที่มี คุณ ภาพสม่ํา เสมอตรงตามสูตร
ส่วนผสมเฉพาะงาน โดยมีอุณหภูมิถูกต้องตามข้อกําหนดด้วย
- โรงงานผสมต้องมีสภาพใช้งานได้ดี และอย่างน้อยต้องมีเครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ
ดังต่อไปนี้
- อุปกรณ์สําหรับการเตรียมแอสฟัลต์ (Equipment for Preparation of Asphalt)
โรงงานผสมต้องมีถังเก็บแอสฟัลต์ (Storage Tank) ซึ่งมีอุปกรณ์ให้ความร้อนประเภทท่อเวียนไอน้ําร้อนหรือ
น้ํามันร้อน (Steam or Oil Coil) หรือประเภทใช้ไฟฟ้า (Electricity) หรือประเภทอื่นใดที่ไม่มีเปลวไฟสัมผัสกับ
ถังเก็บแอสฟัลต์โดยตรง อุปกรณ์ทุกประเภทต้องสามารถทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพมีเครื่องควบคุมให้
อุณหภูมิของแอสฟัลต์ได้ตรงตามข้อกําหนด และต้องมีระบบทําให้แอสฟัลต์ไหลเวียน (Circulating System)
ที่เหมาะสมที่ทําให้แอสฟัลต์ไหลเวียนได้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลาขณะทํางาน พร้อมกันนี้ต้องมีอุปกรณ์ให้หรือ
รักษาความร้ อนที่ระบบท่อไหลเวี ยน โดยอาจเป็นประเภทใช้ไอน้ําร้อน (Steam Jacket) หรือน้ํามันร้อน
(Hot Oil Jacket) หรื อ ประเภทฉนวนรั ก ษาความร้ อ น (Insulation) เพื่ อ รั ก ษาอุ ณ หภู มิ ข องแอสฟั ล ต์ ใ น
ท่อส่งแอสฟัลต์ มาตรวัดแอสฟัลต์ ท่อพ่นแอสฟัลต์ ถังบรรจุแอสฟัลต์ และอื่น ๆ ให้มีอุณหภูมิตามที่กําหนด
ปลายท่อไหลเวียนแอสฟัลต์ต้องอยู่ที่ใต้ระดับแอสฟัลต์ในถังเก็บแอสฟัลต์ขณะปั๊มแอสฟัลต์ทํางาน
- ยุ้งหินเย็น (Cold Bin) และเครื่องป้อนหินเย็น (Aggregate Feeder) โรงงานผสม
ต้องมียุ้งหินเย็นไม่น้อยกว่า 4 ยุ้ง สําหรับแยกใส่วัสดุหินหรือวัสดุอื่น ๆ แต่ละขนาด ช่องเปิดปากยุ้งจะต้องเป็น
แบบปรับได้ ยุ้งหินเย็นต้องประกอบด้วยเครื่องป้อนหินเย็นแบบที่เหมาะสม สามารถป้อนหินเย็นได้สม่ําเสมอไป
ยังหม้อเผา (Dryer) ได้ถูกต้องตามอัตราส่วนที่ต้องการโดยเฉพาะอย่างยิ่งเครื่องป้อนหินเย็นสําหรับยุ้งมวล
ละเอียด เช่น หินฝุ่น หรือทรายจะต้องเป็นแบบสายพานยางต่อเนื่อง หรือสายพานอื่น ๆ ใดที่ให้ผลเทียบเท่า
- หม้อเผา (Dryer) โรงงานผสมต้องมีหม้อเผาที่อยู่ในสภาพดี มีประสิทธิภาพในการ
ทํางานดีพอที่จะทําให้มวลรวมแห้งและมีอุณหภูมิตามที่กําหนด โดยต้องมีเครื่องวัดอุณหภูมิที่เหมาะสม เช่น
เครื่องวัดอุณหภูมิแบบแปรความร้อนเป็นค่าไฟฟ้า (Electric Pyrometer) ที่อ่านอุณหภูมิได้ละเอียดถึง 2.5
องศาเซลเซียส ติดตั้งอยู่ที่ปากทางที่มวลรวมเคลื่อนตัวออกและจะต้องมีเครื่องบันทึกอุณหภูมิของมวลรวมที่วัด
ได้โดยอัตโนมัติ
- ชุดตะแกรงร่อน (Screening Unit) โรงงานผสมต้องมีชุดตะแกรงร่อนมวลรวมที่ผ่าน
มาจากหม้อเผา เพื่อแยกมวลรวมเป็นขนาดต่าง ๆ ตามที่ต้องการ โดยในชุดตะแกรงร่อนนี้ต้องประกอบด้วย

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 45 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

ตะแกรงคัด (Scalping Screen) สําหรับคัดมวลรวมก้อนโตเกินขนาดที่กําหนดออกทิ้ง ตะแกรงทุกขนาดต้องอยู่


ในสภาพดี เหล็กตะแกรงไม่ขาดหรือสึกหรอมากเกินไป อันจะทําให้มวลรวมที่ร่อนออกมาผิดขนาดไปจากที่
ต้องการ
- ยุ้งหินร้อน (Hot Bin) โรงงานผสมต้องมียุ้งหินร้อนอย่างน้อย 4 ยุ้ง ทั้งนี้ไม่รวมยุ้ง
วัสดุผสมแทรกสําหรับเก็บมวลรวมร้อนที่ผ่านตะแกรงแยกขนาดแล้ว ยุ้งหินร้อนนี้ต้องมีผนังแข็งแรงไม่มีรอยรั่ว
มีความสูงพอที่จะป้องกันไม่ได้มวลรวมไหลข้ามยุ้งไปปะปนกันได้ และต้องมีความจุมากพอที่จะป้อนมวลรวม
ให้กับห้องผสม (Pugmill Mixer) ได้อย่างสม่ําเสมอ เมื่อโรงงานผสมทําการผสมเต็มกําลังการผลิต ในแต่ละยุ้ง
ต้องมีท่อสําหรับให้มวลรวมไหลออกไปข้างนอก เพื่อป้องกันไม่ให้ไปผสมกับมวลรวมที่อยู่ในยุ้งอื่น ๆ ในกรณีที่มี
มวลรวมในยุ้งนั้น ๆ มากเกินไป
- ยุ้งเก็บวัสดุผสมแทรก (Mineral Filler Storage Bin) โรงงานผสมต้องมียุ้งเก็บวัสดุ
ผสมแทรกต่างหากพร้อมกับมีเครื่องชั่ง หรือเครื่องป้อนวัสดุผสมแทรก ซึ่งสามารถควบคุมปริมาณวัสดุเข้าสู่
ห้องผสมอย่างถูกต้องและสามารถปรับเทียบ (Calibrate) ได้
- เครื่องเก็บฝุ่น (Dust Collector) โรงงานผสมต้องมีเครื่องเก็บฝุ่นสําหรับเก็บวัสดุ
ส่วนละเอียดหรือฝุ่นที่มีประสิทธิภาพดีเหมาะสมที่สามารถเก็บฝุ่นกลับเข้าไปใช้ได้อย่างสม่ําเสมอ หรือนําไปทิ้ง
ได้ทั้งหมดหรือบางส่วน และเครื่องเก็บฝุ่นดังกล่าวต้องสามารถควบคุมฝุ่นไม่ให้มีฝุ่นเหลือออกไปสู่อากาศ
ภายนอกมาก จนทําให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม โรงงานผสมต้องมีเครื่องเก็บฝุ่นทั้งชุดหลัก (Primary) และ
ชุ ด รอง (Secondary) ชุ ด หลั ก เป็ น แบบแห้ ง (Dry Type) และชุ ด รองเป็ น แบบเปี ย ก (Wet Type) หรื อ
แบบอื่น ๆ ที่มีประสิทธิภาพทัดเทียมกัน
- เครื่องวัดอุณหภูมิ (Thermometric Equipment) โรงงานผสมต้องมีเทอร์โมมิเตอร์แบบ
แท่งแก้วหุ้มด้วยปลอกโลหะ (Armoured Thermometer) หรือแบบอื่นใดซึ่งวัดอุณหภูมิได้ระหว่าง 90-200
องศาเซลเซียส ติดตั้งไว้ที่ท่อส่งแอสฟัลต์ในตําแหน่งที่เหมาะสมใกล้ทางออกของแอสฟัลต์ที่ห้องผสม นอกจากนี้
จะต้องมีเครื่องวัดอุณหภูมิ เช่น เทอร์โมมิเตอร์แบบใช้ปรอทชนิดมีหน้าปัทม์ (Dial Scale Mercury Activated
Thermometer) เครื่องวัดอุณหภูมิแบบแปรความร้อนเป็นค่าไฟฟ้า (Electric Pyrometer) หรือแบบอื่น ๆ
ที่เหมาะสมที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างอนุญาตให้ใช้ได้ ติดตั้งที่ปลายทางออกของมวลรวม เพื่อใช้วัดอุณหภูมิ
ได้อย่างถูกต้องเมื่อมีอัตราการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิเร็วกว่า 5 องศาเซลเซียสต่อนาที
- ชุดอุปกรณ์ควบคุมปริมาณแอสฟัลต์ (Asphalt Control Unit) โรงงานผสมต้องมีชุด
อุปกรณ์ควบคุมปริมาณแอสฟัลต์ ซึ่งอาจใช้วิธีชั่งน้ําหนักหรือวิธีวัดปริมาตรก็ได้ แต่ต้องสามารถควบคุมปริมาณ
แอสฟัลต์ที่ใช้ได้อยู่ในช่วงที่กําหนดไว้ในสูตรส่วนผสมเฉพาะงาน กรณีที่ใช้วิธีชั่งน้ําหนักเครื่องชั่งที่ใช้ต้องมีความ
ละเอียดไม่น้อยกว่าร้อยละ 2 ของน้ําหนักแอสฟัลต์ที่ต้องการใช้ผสม กรณีที่ใช้วัดปริมาตรมาตรที่ใช้วัดอัตราการ
ไหลของแอสฟั ลต์ ที่ปล่อยเข้าสู่ห้องผสมจะต้ องเที่ยงตรง โดยยอมให้คลาดเคลื่อนจากปริมาณแอสฟัลต์ที่
ต้องการใช้ เมื่อเทียบเป็นน้ําหนักไม่เกินร้อยละ 2

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 46 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

(4.1.2) ข้อกําหนดพิเศษของโรงงานผสมแบบชุด
- ถังชั่งมวลรวม (Weight Box or Hopper) โรงงานผสมแบบชุดต้องมีอุปกรณ์สําหรับ
ชั่งมวลรวมที่ปล่อยออกมาแต่ละยุ้งได้อย่างละเอียดถูกต้อง ถังชั่งน้ําหนักต้องแขวนอยู่กับเครื่องชั่งและต้องมี
ขนาดใหญ่พอที่จะบรรจุมวลรวมได้เต็มชุด (Batch) โดยมวลรวมไม่ล้นถัง ถังชั่งน้ําหนักจะต้องวางบนฟัลครัม
(Fulcrum) ซึ่งวางอยู่บนขอบใบมีด (Knife Edge) อย่างแน่นหนาอีกทีหนึ่ง ชั่งเมื่อทํางาน ฟัลครัมและขอบ
ใบมีดต้องไม่เคลื่อนตัวออกจากแนวเดิม ประตูยุ้งหินร้อนและถังชั่งน้ําหนักต้องแข็งแรงและไม่รั่ว
- ห้องผสม (Pugmill Mixer) ห้องผสมของโรงงานผสมแบบชุดนี้ จะต้องเป็นชนิด
มีเพลาผสมคู่ มีอุปกรณ์ให้ความร้อนห้องผสม และสามารถผลิตแอสฟัลต์ได้ส่วนผสมที่สม่ําเสมอ ประตูปล่อย
ส่วนผสมเมื่อปิดจะต้องปิดสนิทโดยไม่มีวัสดุรั่วไหล ต้องมีเครื่องตั้งเวลาและควบคุมเวลาการผสมเป็นแบบ
อัตโนมัติ ซึ่งจะควบคุมไม่ให้ประตูห้องผสมเปิดจนกว่าจะได้เวลาตามที่กําหนดไว้ ภายในห้องผสมจะต้อง
ประกอบด้วย ใบพาย (Paddle Tip) จํานวนเพียงพอจัดเรียงตัวกันอย่างเหมาะสมที่จะผสมส่วนผสมแอสฟัลต์
คอนกรีตได้อย่างถูกต้องสม่ําเสมอระยะห่างระหว่างปลายใบพาย และผนังห้องผสมจะต้องน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของ
ขนาดมวลรวมก้อนโตสุด
- เครื่องชั่ง (Plant Scale) เครื่องชั่งต้องมีความละเอียด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 0.5 ของ
มวลรวมสูงสุด ที่ต้องการชั่ง หน้าปัทม์เครื่องชั่งต้องมีขนาดใหญ่พอ ซึ่งสามารถอ่านน้ําหนักได้ในระยะห่าง
อย่างน้อย 7 เมตร และต้องอยู่ในตําแหน่งที่พนักงานควบคุมเครื่องมองเห็นได้ชัดเจน หน้าปัทม์เครื่องชั่งมวล
รวมจะต้องมีเข็มชี้น้ําหนักแต่ละยุ้ง สําหรับเครื่องชั่งต้องมีลูกตุ้มน้ําหนักมาตรฐานหนักตุ้มละ 25 กิโลกรัม
ไม่น้อยกว่า 10 ตุ้ม หรือจํานวนเพียงพอที่จะใช้ตรวจสอบความถูกต้องของเครื่องชั่ง การควบคุมปริมาณ
มวลรวม และแอสฟัลต์ที่ใช้ผสมในแต่ละชุด จะต้องเป็นแบบอัตโนมัติ
(4.1.3) ข้อกําหนดพิเศษของโรงงานผสมแบบต่อเนื่อง
- ชุดอุปกรณ์ควบคุมมวลรวม (Gradation Control Unit) โรงงานผสมแบบนี้ต้องมี
อุปกรณ์ควบคุมปริมาณมวลรวมที่ไหลออกมาจากยุ้งหินร้อนแต่ละยุ้งได้อย่างถูกต้องแน่นอน ประกอบด้วย
เครื่องป้อนหิน (Feeder) อยู่ภายใต้ยุ้งหินร้อน สําหรับการป้อนวัสดุผสมแทรกจะต้องมีอุปกรณ์ควบคุมปริมาณ
ต่างหาก ติดตั้งในตําแหน่งที่ทําให้ควบคุมการป้อนวัสดุผสมแทรกลงในห้องผสม เพื่อผสมกับมวลรวมในจังหวะ
ของการผสมแห้ง (Dry Mixing) ก่อนที่จะไปผสมกับแอสฟัลต์ที่จ่ายเข้ามาภายหลังในจังหวะของการผสมเปียก
(Wet Mixing)
- จังหวะสัมพันธ์ของการควบคุมการป้อนมวลรวมและแอสฟัลต์ (Synchronization of
Aggregate and Asphalt Feed) โรงงานผสมแบบนี้ต้องมีอุปกรณ์ควบคุมการป้อนมวลรวมแต่ละขนาดและ
แอสฟัลต์เข้าห้องผสม เป็นแบบขับเคลื่อนที่สัมพันธ์กัน เพื่อให้ได้อัตราส่วนผสมที่คงที่ตลอดเวลา
- ชุดห้องผสม (Pugmill Mixer Unit) ห้องผสมของโรงงานผสมแบบต่อเนื่องนี้ต้อง
เป็นแบบทํางานต่อเนื่อง (Continuous Mixer) เป็นชนิดมีเพลาผสมคู่ มีอุปกรณ์ให้ความร้อนห้องผสม และ
สามารถผลิตแอสฟัลต์คอนกรีตได้ส่วนผสมที่สม่ําเสมอ ใบพายจะต้องเป็นชนิดปรับมุมให้ไปในทางเดียวกัน
เพื่อให้ส่วนผสมเคลื่อนตัวได้เร็ว หรือให้กลับทางกันเพื่อถ่วงเวลาให้ส่วนผสมเคลื่อนตัวช้าลงได้ และห้องผสม

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 47 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

จะต้องมีอุปกรณ์ควบคุมระดับของส่วนผสมด้วยระยะห่างระหว่างปลายใบพายและผนังห้องผสมจะต้องน้อย
กว่ าครึ่ งหนึ่ง จะของขนาดมวลรวมก้ อ นโตสุ ด ที่ห้ องผสมจะต้อ งมี แ ผ่น แสดงปริ ม าตรของห้ อ งผสม เมื่อมี
ส่วนผสมบรรจุในห้องผสมที่ความสูงต่าง ๆ ติดตั้งไว้อย่างถาวร นอกจากนั้นจะต้องมีตารางแสดงอัตราการป้อน
วัสดุมวลรวมต่อนาที เมื่อโรงงานผสมทํางานในอัตราเร็วปกติ การคํานวณเวลาในการผสม ให้กําหนดโดยใช้
น้ําหนักตามสูตรดังนี้ คือ
A
เวลาในการผสม (วินาที) =
B

เมื่อ A = ปริมาณงานของส่วนผสมทั้งหมดในห้องผสม (Pugmill Dead Capacity)


มีหน่วยเป็นกิโลกรัม
B = ส่วนผสมที่ออกจากห้องผสม (Pugmill Output) มีหน่วยเป็นกิโลกรัมต่อวินาที
- ยุ้ ง พั ก ส่ ว นผสม (Discharge Hopper) โรงงานผสมแบบนี้ ต้ อ งประกอบด้ ว ยยุ้ ง
สําหรับพักส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตที่ออกมาจากห้องผสม ยุ้งพักส่วนผสมนี้มีประตูเปิดที่ด้านล่างของยุ้งและ
จะปล่อยส่วนผสมได้เมื่อส่วนผสมเต็มยุ้งแล้ว
- สัญญาณแจ้งปริมาณมวลรวมในยุ้งหินร้อน โรงงานผสมต้องมีสัญญาณ ซึ่งจะแจ้งให้
ทราบว่าปริมาณมวลรวมในยุ้งหินร้อน ยังมีปริมาณเพียงพอที่จะดําเนินการต่อไปได้หรือไม่ ถ้าปริมาณมวลรวม
ยุ้งใดขาดไปหรือน้อยไป สัญญาณดังกล่าวจะทําให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างทราบทันที ผู้รับจ้างต้อง
หยุดการดําเนินการ และทําการแก้ไขจนกว่าผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง จะเห็นสมควร จึงจะอนุญาตให้
ดําเนินการต่อไป
(4.2) รถบรรทุก (Haul Truck)
รถบรรทุกที่นํามาใช้จะต้องมีจํานวนพอเพียงกับกําลังผลิตของโรงงานผสม ความจุของ
รถบรรทุก เวลาในการบรรจุส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตลงรถบรรทุก ระยะทางและระยะเวลาในการขนส่ง
เวลาในการรอและการเทส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตลงในเครื่องปู ความสามารถในการปูของเครื่องปูและอื่น ๆ
กระบะรถบรรทุกจะต้องไม่รั่ว พื้นกระบะจะต้องเป็นแผ่นโลหะเรียบภายในกระบะจะต้องสะอาดปราศจากวัสดุ
ที่ไม่พึงประสงค์ใด ๆ ตกค้างอยู่ ก่อนใช้ขนส่งส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตจะต้องพ่นหรือเคลือบภายในกระบะ
ด้วยน้ําสบู่ น้ําปูนขาว หรือสารเคมีเคลือบชนิดใด ๆ ที่มีน้ํามันผสมไม่เกินร้อยละ 5 โดยได้รับความเห็นชอบจาก
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง ห้ามใช้น้ํามันเบนซิน น้ํามันก๊าด น้ํามันดีเซล หรือน้ํามันประเภทเดียวกัน
การพ่นหรือเคลือบภายในกระบะให้ทําเพียงบาง ๆ เท่านั้น และก่อนบรรจุส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตลงกระบะ
ให้ยกกระบะเทวัสดุหรือสารเคลือบ ที่อาจมีมากเกินความจําเป็นออกให้หมด
(4.3) เครื่องปู (Paver of Finisher)
- เครื่ อ งปู ส่ ว นผสมแอสฟั ล ต์ ค อนกรี ต จะต้ อ งเป็ น แบบขั บ เคลื่ อ นได้ ด้ ว ยตั ว เอง
โดยจะเป็นชนิดล้อเหล็กตีนตะขาบ หรือชนิดล้อยางที่มีคุณภาพเทียบเท่า มีกําลังมากพอและสามารถควบคุม
ความเร็วในการเคลื่อนที่ได้อย่างสม่ําเสมอ ทั้งในขณะที่เคลื่อนตัวไปพร้อมกับรถบรรทุกส่วนผสมแอสฟัลต์
คอนกรีต และในขณะเคลื่อนตัวไปตามลําพัง เครื่องปูจะต้องสามารถปรับความเร็วการปูได้หลายอัตราและ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 48 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

ปูด้วยส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตได้ความลาดผิวทาง และได้ระดับถูกต้องตามรูปแบบอย่างเรียบร้อย โดยมี


ลักษณะผิวเรียบสม่ําเสมอ เครื่องปูประกอบด้วยส่วนสําคัญ ๆ ดังนี้
(1) ส่วนขับเคลื่อน (Tractor Unit) ประกอบด้วยเครื่องยนต์ต้นกําลังมีอุปกรณ์
ควบคุมความเร็วรอบเครื่องยนต์ (Governor) ให้คงที่ระหว่างทํางาน กระบะบรรจุส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีต
(Hopper) จะต้องเป็นแบบข้างกระบะหุ้ม ได้ สายพานป้ อนส่ว นผสมแอสฟัล ต์คอนกรีต (Slat Conveyor)
เกลียวเกลี่ยจ่ายส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีต (Auger หรือ Screw Conveyor) แยกเป็น 2 ข้าง ซ้ายและขวา ซึ่ง
สามารถแยกทํางานเป็นอิสระแก่กันได้ ประตูควบคุมการไหล (Flow Gate) ของส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีต
สามารถปรับระดับความสูงของช่องประตูได้
(2) ส่ ว นเตารี ด (Screed Unit) ประกอบด้ ว ยอุ ป กรณ์ ค วบคุ ม ความหนา
(Thickness Control) อุปกรณ์ควบคุมความลาดเอียงที่ผิว (Crow Control) อุปกรณ์ให้ความร้อนแผ่นเตารีด
(Screed Heater) แผ่นเตารีด (Screed Plate) และอุปกรณ์ประกอบอื่น ๆ ที่จําเป็น ระบบการควบคุมความ
ลาดชัน (Grade Control) และระดับแอสฟัลต์คอนกรีตควรเป็นแบบอัตโนมัติโดยอาจเป็นแบบ ก. Erected
Grade Line แบบ ข. Mobile String Line แบบ ค. Ski แบบ ง. Floating Beam หรื อ แบบ จ. Joint-
Matching Shoe สําหรับแบบ ข. แบบ ค. และแบบ ง. ต้องมีความยาวไม่น้อยกว่า 9 เมตร แผ่นเตารีด
จะต้องมีความยาวไม่น้อยกว่า 2.4 เมตร และสามารถขยายได้ยาวไม่น้อยกว่า 3.5 เมตร แผ่นเตารีดจะต้อง
ตรงแนวและได้ระดับไม่บิดงอหรือสึกหรอมากเกินสมควร ไม่ลึกเป็นหลุม มีระบบการอัดแอสฟัลต์คอนกรีต
ขั้นต้นเป็นแบบสั่นสะเทือน (Vibratory Screed) หรือแบบคานกระแทก (Tamper Bar) หรือเป็นทั้ง 2 แบบ
ประกอบกัน ซึ่งสามารถปรับความถี่ของการสั่นสะเทือนหรือการกระแทกได้ตามต้องการ สําหรับแบบคาน
กระแทกจะต้องมีระยะห่างระหว่างแผ่นเตารีดกับคานกระแทก 0.25-0.50 มิลลิเมตร ผิวของคานกระแทก
ด้านล่างที่ใช้อัดแอสฟัลต์คอนกรีตต้องอยู่ในสภาพดี และไม่สึกหรอมากกว่าครึ่งหนึ่งของขนาดของความหนา
ของใหม่
(4.4) รถเกลี่ยปรับระดับ (Motor Grader)
รถเกลี่ยปรับระดับนี้ถ้าจําเป็นต้องนํามาใช้งาน จะต้องเป็นชนิดขับเคลื่อนได้ด้วยตัวเอง
มี ล้ อ ยางผิ ว เรี ย บ มี ใ บมี ด ยาวไม่ น้ อ ยกว่ า 3.6 เมตร และมี ค วามยาวของช่ ว งเพลา (Wheel Base)
ไม่น้อยกว่า 4.8 เมตร การใช้งานให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(4.5) เครื่องจักรบดทับ
- เครื่องจักรบดทับทุกชนิดจะต้องเป็นแบบขับเคลื่อนได้ด้วยตัวเอง ต้องมีน้ําหนักและ
คุณสมบัติอื่น ๆ ถูกต้องตามที่ได้ระบุไว้ในรายละเอียดที่กําหนดสําหรับเครื่องจักรบดทับแต่ละชนิดน้ําหนักใน
การบดทับของเครื่องจักรบดทับแต่ละชนิด จะต้องเหมาะสมกับชนิดและลักษณะของส่วนผสม ความหนาของ
ชั้นที่ปู ขั้นตอนการบดทับและอื่น ๆ เครื่องจักรบดทับต้องมีจํานวนเพียงพอที่จะอํานวยในการก่อสร้างชั้นทาง
แอสฟัลต์คอนกรีตที่มีความแน่น ความเรียบ และคุณสมบัติอื่น ๆ ตามที่กําหนด การกําหนดน้ําหนักเครื่องจักร
บดทับ น้ําหนักในการบดทับของเครื่องจักรแต่ละคันตลอดจนการเพิ่มจํานวนเครื่องจักรบดทับจากจํานวนขั้นต่ํา
ที่กําหนดไว้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง เครื่องจักรบดทับจะต้องประกอบด้วย

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 49 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

เครื่องจักรชนิดต่าง ๆ ซึ่งต้องได้รับการตรวจสอบและอนุมัติให้ใช้ได้จากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุก่อน
โดยมีรถบดล้อเหล็กชนิด 2 ล้อ ไม่น้อยกว่า 1 คัน และรถบดสั่นสะเทือน 1 คัน หรือรถบดล้อเหล็กชนิด 2 ล้อ
ไม่ น้ อ ยกว่ า 2 คั น ในกรณี ที่ ไ ม่ มี ร ถบดสั่ น สะเทื อ น และรถบดล้ อ ยางไม่ น้ อ ยกว่ า 3 คั น รายละเอี ย ดของ
เครื่องจักรชนิดต่าง ๆ เป็นดังนี้
(1) รถบดล้อเหล็ก 2 ล้อ (Steel-Tired Tandem Roller) ต้องมีขนาดน้ําหนักไม่
น้อยกว่า 8 ตัน และสามารถเพิ่มน้ําหนักได้จนมีน้ําหนักไม่น้อยกว่า 10 ตัน จะต้องมีน้ําหนักต่อความกว้างของ
ล้อรถบดไม่น้อยกว่า 3.8 กิโลกรัมต่อมิลลิเมตร อยู่ในสภาพดี สามารถขับเคลื่อนเดินหน้าและถอยหลังได้ การ
ขับเคลื่อนไปข้างหน้า การหยุด และการถอยหลังจะต้องเรียบสม่ําเสมอ ล้อเหล็กทั้ง 2 ข้าง จะต้องตรงแนว
ที่ผิวล้อเหล็กจะต้องเรียบ ไม่เป็นร่อง (Groove) ลึกเป็นหลุมหรือเป็นรอยบุ๋ม (Pit) สลักยึดล้อ (King Pin) และ
ลูกปืนล้อ (Wheel Bearing) ต้องไม่สึกหรอมากเกินไปจนทําให้ล้อหลวม ต้องมีถังน้ํามีระบบฉีดน้ํา (Sprinkler
System) มีอุปกรณ์คราดผิวล้อเหล็ก (Scraper) และแผ่นวัสดุสําหรับซึมซับน้ํา และเกลี่ยกระจายน้ําสําหรับ
เลี้ยงล้อรถบดที่ใช้การได้ดี และถูกต้องตามที่ต้องการ เพื่อป้องกันไม่ให้ส่วนแอสฟัลต์คอนกรีตติดล้อและบดอัด
(2) รถบดล้อยาง (Pneumatic-Tired Roller) ต้องมีขนาดน้ําหนักไม่น้อยกว่า 10 ตัน
และสามารถเพิ่มน้ําหนักได้ มีล้อยางไม่น้อยกว่า 9 ล้อ เป็นชนิดผิวหน้าเรียบ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางขอบล้อ
(Rim Diameter) ไม่น้อยกว่า 500 มิลลิเมตร มีผิวหน้าล้อยางกว้างไม่น้อยกว่า 225 มิลลิเมตร มีขนาดและ
จํานวนชั้นผ้าใบเท่ากันทุกล้อ ส่วนล้อและเพลาเคลื่อนตัวขึ้นลงได้อิสระอย่างน้อย 1 แถว มีแรงอัดที่ผิวหน้า
สัมผัสของล้อขณะบดอัดไม่มากกว่า 620 กิโลพาสคัล (90 ปอนด์แรงต่อตารางนิ้ว) และต้องมีถังน้ํา มีระบบ
ฉีดน้ํา มีอุปกรณ์คราดผิวล้อยางและแผ่นวัสดุสําหรับซึมซับน้ํา และเกลี่ยกระจายน้ําสําหรับเลี้ยงล้อรถบดที่ใช้
การได้ดี และถูกต้องตามที่ต้องการเพื่อป้องกันไม่ให้ส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตติดล้อขณะบดทับ รถบดล้อยาง
ขณะใช้ งานจะต้องมีความดั นลมยางเท่ากันทุกล้อ โดยให้ มีความดั นลมยางแต่ ละล้ อแตกต่างกันได้ไม่เกิน
35 กิโลพาสคัล (5 ปอนด์แรงต่อตารางนิ้ว)
(3) รถบดสั่นสะเทือน (Vibratory Roller) ต้องมีขนาดน้ําหนักไม่น้อยกว่า 4 ตัน
สําหรับชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตที่มีความหนาไม่เกิน 35 มิลลิเมตร และต้องมีขนาดน้ําหนักไม่น้อยกว่า 6 ตัน
สําหรับชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตที่มีความหนาตั้งแต่ 40 มิลลิเมตรขึ้นไป โดยอาจเป็นแบบสั่นสะเทือนล้อเดี่ยว
หรือสองล้อก็ได้ ต้องมีความถี่การสั่นสะเทือน (Frequency) ไม่น้อยกว่า 35 เฮิรตซ์ (2,000 รอบต่อนาที) และ
มีระยะเต้น (Amplitude) ระหว่าง 0.20-0.80 มิลลิเมตร น้ําหนักต่อความกว้างของล้อรถบดไม่น้อยกว่า 2.2
กิโลกรัมต่อมิลลิเมตร รถบดจะต้องอยู่ในสภาพดีสามารถบดทับโดยการเดินหน้าและถอยหลังได้ การขับเคลื่อน
ไปข้างหน้า การหยุดและการถอยหลังจะต้องเรียบสม่ําเสมอ ล้อทั้ง 2 ข้าง จะต้องตรงแนว ที่ผิวล้อเหล็กจะต้อง
เรียบไม่ลึกเป็นหลุมหรือเป็นรอยบุ๋ม สลักล้อและลูกปืนต้องไม่สึกหรอเกินไป จนทําให้ล้อหลวม ต้องมีถังน้ํามี
ระบบฉีดน้ํา มีอุปกรณ์คราดผิวล้อและแผ่นวัสดุสําหรับซึมซับน้ํา และเกลี่ยกระจายน้ําเลี้ยงรถบด เพื่อป้องกัน
ไม่ให้ส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตติดล้อขณะบดทับ มีระบบการสั่นสะเทือนที่อยู่ในสภาพดี

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 50 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

(4.6) เครื่องจักรและเครื่องมือทําความสะอาดพื้นที่ที่จะก่อสร้าง
(1) รถบรรทุกน้ํา (Water Truck) ต้องอยู่ในสภาพดี มีท่อพ่นน้ําและอุปกรณ์ฉีดน้ําที่ใช้
การได้ดี
(2) เครื่องกวาดฝุ่น (Rotary Broom) อาจเป็นแบบลาก แบบขับเคลื่อนได้ด้วยตัวเอง
หรือแบบติดตั้งที่รถไถนา (Farm Tractor) หรือรถอื่นใด แต่ต้องเป็นแบบไม้กวาดหมุนโดยเครื่องกล ขนไม้กวาด
อาจทําด้วยไฟเบอร์ ลวดเหล็ก ไนล่อน หวาย หรือวัสดุอื่นใดที่เหมาะสม โดยได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุ ทั้งนี้จะต้องมีประสิทธิภาพพอที่จะทําให้พื้นที่ที่จะก่อสร้างสะอาด
(3) เครื่องเป่าลม (Blower) เป็นแบบติดตั้งที่รถไถนาหรือรถอื่นใด มีใบพัดขนาดใหญ่
ให้กําลังลมแรง และมีประสิทธิภาพพอเพียงที่จะทําให้พื้นที่ที่จะก่อสร้างสะอาด
(4.7) เครื่องมือประกอบ
(1) เครื่องมือบดทับแบบสั่นสะเทือนขนาดเล็ก (Small Vibratory Compactor) ต้อง
มีขนาดน้ําหนักเหมาะสม ที่จะใช้บดทับแอสฟัลต์คอนกรีตบริเวณที่รถบดไม่สามารถเข้าไปดําเนินการได้ หรือใช้
ในงานซ่อมขนาดเล็ก การใช้งานให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(2) เครื่ อ งกระทุ้ ง แอสฟั ล ต์ ค อนกรี ต (Hand Tamper) ต้ อ งเป็ น แบบและมี ข นาด
น้ําหนักเหมาะสมที่จะใช้กระทุ้งแอสฟัลต์คอนกรีตบริเวณที่เครื่องบดทับขนาดเล็กเข้าไปบดทับไม่ได้ หรือ
ใช้งานซ่อมขนาดย่อย การใช้งานให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(3) เครื่ อ งมื อ ตั ด รอยต่ อ อาจเป็ น แบบติ ด กั บ รถบดล้ อ เหล็ ก หรื อ เป็ น แบบรถเข็ น
ขนาดเล็ก หรือจะมีทั้ง 2 แบบ ก็ได้ หรือมีแบบอื่น ๆ ซึ่งสามารถตัดแนวรอยต่อได้เรียบร้อย ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลย
พินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(4) เครื่องมือเจาะตัวอย่างอาจเป็นชนิดใช้เครื่องยนต์ หรือใช้ไฟฟ้าที่สามารถใช้เจาะ
ตัวอย่างที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 100 มิลลิเมตร ได้อย่างเรียบร้อย
(5) ไม้ บรรทัดวั ดความเรียบ (Straightedge) ต้องเป็ นไม้บรรทัดวั ดความเรี ยบที่มี
ขนาดเหมาะสม มีความยาว 3.00 เมตร
เครื่องจักรและเครื่องมือ หรืออุปกรณ์อื่นใด นอกเหนือจากที่กําหนดไว้แล้วข้างต้น การ
นํามาใช้งานและการใช้งานให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(5) ข้อกําหนดในการออกแบบส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีต
(5.1) ก่ อ นเริ่ ม งานแอสฟั ล ต์ ค อนกรี ต ไม่ น้ อ ยกว่ า 30 วั น ผู้ รั บ จ้ า งต้ อ งเสนอเอกสาร
ออกแบบส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุพิจารณา แล้วคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
จะทําการเก็บตัวอย่างวัสดุที่จะใช้ส่งทดสอบคุณสมบัติวัสดุที่หน่วยงานตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
เห็นสมควร รวมทั้งส่งเอกสารการออกแบบส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตมาพร้อมกัน เพื่อทําการตรวจสอบด้วย
ค่าใช้จ่ายในการนี้ผู้รับจ้างต้องเป็นผู้รับผิดชอบทั้งสิ้น

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 51 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

(5.2) คุ ณ ภาพทั่ ว ไปของวั ส ดุ ที่ จ ะใช้ ทํ า แอสฟั ล ต์ ค อนกรี ต ให้ เ ป็ น ไปตามข้ อ (2)
ส่วนขนาดคละและปริมาณแอสฟัลต์ซีเมนต์ให้เป็นไปตาม ตารางที่ 5-12
(5.3) ข้อกําหนดในการออกแบบแอสฟัลต์คอนกรีตให้เป็นไปตามตารางที่ 5-13
(5.4) หน่วยงานตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควรจะเป็นผู้ตรวจสอบเอกสาร
การออกแบบ พร้อมทั้งพิจารณากําหนดสูตรผสมเฉพาะงาน (Job Mix Formula) ซึ่งมีขอบเขตต่าง ๆ ตาม
ตารางที่ 5-13 เพื่อใช้ควบคุมงานนั้น ๆ
กรณีที่สํ านักวิ จัยและทดลองเห็น ควรให้กําหนดขอบเขตของสูตรส่วนผสมเฉพาะงาน
แตกต่างไปจากตารางที่ 5-13 ก็สามารถดําเนินการได้ตามความเหมาะสม
(5.5) ในการผสมแอสฟัลต์คอนกรีตในสนาม ถ้ามวลรวมขนาดหนึ่งขนาดใด หรือปริมาณ
แอสฟัลต์ซีเมนต์ หรือคุณสมบัติอื่นใดคลาดเคลื่อนเกินกว่าขอบเขตที่กําหนดไว้ในสูตรส่วนผสมเฉพาะงาน
จะถือว่าส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตที่ผสมไว้ในแต่ละครั้งนั้นมีคุณภาพไม่ถูกต้องตามที่กําหนด ผู้รับจ้างจะต้อง
ทําการปรับปรุงแก้ไข ค่าใช้จ่ายในการนี้ผู้รับจ้างต้องเป็นผู้รับผิดชอบทั้งสิ้น
(5.6) ผู้รับจ้างขอเปลี่ยนสูตรผสมเฉพาะงานใหม่ได้ ถ้าวัสดุที่ใช้ผสมทําแอสฟัลต์คอนกรีต
เกิ ด การเปลี่ ย นแปลงไปด้ ว ยสาเหตุ ใ ด ๆ ก็ ต าม การเปลี่ ย นสู ต รส่ ว นผสมเฉพาะงานทุ ก ครั้ ง ต้ อ งได้ รั บ
การอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุก่อน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ อาจตรวจสอบ แก้ไข เปลี่ยนแปลง ปรับปรุง หรือกําหนด
สูตรส่วนผสมเฉพาะงานใหม่ได้ตามความเหมาะสมตลอดเวลาที่ปฎิบัติงาน
(5.7) การทดลองและตรวจสอบการออกแบบส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตทุกครั้ง หรือ
ทุกสัญญาผู้รับจ้างต้องชําระค่าธรรมเนียมตามอัตราที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุกําหนด

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 52 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

ตารางที่ 5-13 ข้อกําหนดในการออกแบบแอสฟัลต์คอนกรีต


ชั้นทาง
Wearing Wearing
รายการ Course Course Binder Base Shoulder
ขนาด 9.2 ขนาด 12.5 Course Course Course
มิลลิเมตร มิลลิเมตร
Blows 75 75 75 75 75
Stability N 8,006 8,006 8,006 7,117 7,117
(lb) (1,800) (1,800) (1,800) (1,600) (1,600)
Flow 0.25 mm (0.01) in 8-16 8-16 8-16 8-16 8-16
Percent Air Voids 3-5 3-5 3-6 3-6 3-5
Percent Voids in Mineral
Aggregate (VMAX) Min 15 14 13 12 14
Stability/Flow Min
N/0.25 mm 712 712 712 645 645
(lb/0.01 in) (160) (160) (160) (145) (145)
Percent Strength Index Min 75 75 75 75 75
หมายเหตุ (1) การทดลองเพื่อออกแบบส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีต ให้ดําเนินการตาม “วิธีการทดลอง
แอสฟัลต์คอนกรีต โดยวิธี Marshall” หรือ AASHTO T245
(2) การออกแบบไหล่ ท างแอสฟั ล ต์ ค อนกรี ต ตามข้ อ กํ า หนดในตารางที่ 5-12 ให้ ใ ช้
มวลรวมขนาด 12.5 มิ ล ลิ เ มตร ยกเว้ น กรณี ที่ แ บบกํ า หนดให้ ชั้ น Binder Course เป็ น
ไหล่ทางด้วย ให้ใช้ข้อกําหนดในการออกแบบแอสฟัลต์คอนกรีตของชั้น Binder Course เป็น
ข้อกําหนดในการออกแบบแอสฟัลต์คอนกรีตของไหล่ทาง
(3) การทดลองหาค่ า Percent Strength Index ใช้ วิ ธี Ontario Vacuum Immersion
Marshall Test หรื อ วิ ธี อื่ น ที่ เ ที ย บเท่ า การทดลองรายการนี้ ผู้ ค วบคุ ม งานก่ อ สร้ า งของ
ผู้ว่าจ้าง จะพิจารณาทําการทดลองตามความเหมาะสม

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 53 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

ตารางที่ 5-14 เกณฑ์ความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้สําหรับสูตรส่วนผสมเฉพาะงาน


ผ่านตะแกรงขนาด ร้อยละโดยน้ําหนัก
2.36 มม. (เบอร์ 8) และขนาดใหญ่กว่า ±5
1.18 มม. (เบอร์ 16) 0.600 มม. (เบอร์ 30) ±4
และ 0.300 มม. (เบอร์ 50)
0.150 มม. (เบอร์ 100) ±3
0.075 มม. (เบอร์ 200) ±2
ปริมาณแอสฟัลต์ ± 0.3

(6) วิธีการก่อสร้าง
(6.1) การเตรียมการก่อนการก่อสร้าง
(1) การเตรียมมวลรวมและวัสดุผสมแทรก
- บริเวณกองวัสดุจะต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
ก่อน โดยปราศจากวัสดุไม่พึงประสงค์ต่าง ๆ
- การกองวัสดุแต่ละขนาด จะต้องกองแยกไว้อย่างชัดเจน โดยการกองแยกให้ห่างกัน
ตามสมควร หรือทํายุ้งกั้นไว้เพื่อป้องกันวัสดุที่จะใช้แต่ละชนิด แต่ละขนาด ไม่ให้ปะปนกัน หรือปะปนกับวัสดุ
อื่นใด การกองวัสดุต้องดําเนินการให้ถูกต้อง เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการแยกตัว โดยการกองวัสดุเป็นชั้น ๆ
สูงชั้นละไม่เกินความสูงของกองวัสดุกองเดี่ยว ๆ เมื่อเทจากรถบรรทุกเทท้ายคันหนึ่ง ๆ ถ้าจะกองวัสดุชั้นต่อไป
จะต้องแต่งระดับยอดกองให้เสมอและไม่ควรกองวัสดุสูงเป็นรูปกรวย
- กองวัส ดุที่ใช้ ทุกชนิด จะต้ องมีมาตรการป้องกันไม่ให้วัส ดุ เปียกน้ําฝน โดยการ
กองวัสดุในโรงที่มีหลังคาคลุมหรือคลุมด้วยผ้าใบ หรือแผ่นวัสดุอื่นใดที่เหมาะสม หรือโดยวิธีอื่นใดที่ได้รับความ
เห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
- วั ส ดุ ที่ ใ ช้ ทุ ก ชนิ ด เมื่ อ ป้ อ นเข้ า โรงงานผสม ต้ อ งไม่ มี ค วามชื้ น เกิ น กํ า หนด
ตามข้อแนะนําของบริษัทผู้ผลิตโรงงานผสมที่ใช้งานนั้น ๆ ทั้งนี้เพื่อให้โรงงานผสมทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มวลรวมที่ใช้แต่ละชนิดก่อนนําไปใช้งานจะต้องบรรจุในยุ้งหินเย็นแยกกันแต่ล ะยุ้ง และการผสมมวลรวม
แต่ ละชนิดจะต้อ งดํ า เนิ น โดยผ่า นยุ้ งหิ น เย็น เท่ านั้น ห้ามนํ า มาผสมกัน ภายนอกยุ้ งหิ น เย็ นในทุ กกรณี วั ส ดุ
วัสดุผสมแทรกหากนํามาใช้จะต้องแยกใส่ยุ้งวัสดุผสมแทรกโดยเฉพาะ การป้อนวัสดุผสมแทรกจะต้องแยก
ต่างหากโดยไม่ปะปนกับวัสดุอื่น ๆ และจะต้องป้อนเข้าห้องผสมโดยตรง
(2) การเตรียมแอสฟัลต์
- แอสฟัลต์ซีเมนต์ในถังเก็บแอสฟัลต์ต้องมีอุณหภูมิไม่สูงกว่า 100 องศาเซลเซียส
(212 องศาฟาเรนโฮต์) เมื่อผสมกับมวลรวมที่โรงงานผสมจะต้องให้ความร้อนจนได้อุณหภูมิ 159 ± 8 องศา
เซลเซี ย ส (318 ± 15 องศาฟาเรนไฮต์ ) หรื อ มี อุ ณ หภู มิ ที่ แ อสฟั ล ต์ มี ค วามหนื ด 170 ± 20 เซนติ ส โตกส์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 54 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

(Centistokes) หรื อ อุ ณ หภู มิ ต รงตามที่ ร ะบุ ไ ว้ ใ นสู ต รส่ ว นผสมเฉพาะงาน การจ่ า ยแอสฟั ล ต์ ซี เ มนต์ ไ ปยั ง
ห้องผสม จะต้องเป็นไปโดยต่อเนื่องและอุณหภูมิที่กําหนดสม่ําเสมอตลอดเวลา
(3) การเตรียมเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ที่ใช้ในการก่อสร้าง
- เครื่ อ งจั ก ร เครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ์ ทุ ก ชนิ ด ที่ นํ า มาใช้ ง านมี ส ภาพใช้ ง านได้ ดี
โดยจะต้องผ่านการตรวจสอบและหรือตรวจปรับ ตามรายการและวิธีการกําหนด และผู้ควบคุมงานก่อสร้างของ
ผู้ว่าจ้างเห็นชอบให้ใช้ได้ก่อน เครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ทุกชนิด ต้องมีจํานวนพอเพียงที่จะอํานวยให้
การก่อสร้างชั้นทางแอสฟัล ต์คอนกรีต ดําเนินไปโดยต่อเนื่องไม่ติดขัดหรือหยุดชะงัก และในระหว่างการ
ก่อสร้างจะต้องบํารุงรักษาให้อยู่ในสภาพดีอยู่เสมอตลอดระยะเวลาทํางาน
(4) การเตรียมพื้นที่ก่อสร้าง
- รองพื้นทาง พื้นทาง หรือไหล่ทาง จะต้องเรียบสม่ําเสมอ ได้ระดับและความลาดตาม
รูปแบบก่อนทําชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตทับ กรณีที่รองพื้นทางหรือพื้นทางหรือไหล่ทางมีความเสียหายเป็น
คลื่นเป็นหลุมบ่อ มีจุดอ่อนตัว หรือไม่ถูกต้องตามรูปแบบ ให้แก้ไขให้ถูกต้องโดยได้รับความเห็นชอบจาก
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
- ผิวทางลาดยางเดิมที่จะทําชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตทับ มีผิวหน้าไม่สม่ําเสมอหรือ
เป็นคลื่นและไม่มีการทําชั้นปรับระดับ ให้ปรับแต่งให้สม่ําเสมอ ถ้ามีหลุมบ่อ รอยแตก จุดอ่อนตัวหรือความ
เสียหายของชั้นทางใด ๆ จะต้องตัด หรือขุดลอกแล้วปะซ่อม หรือขุดซ่อมแล้วแต่กรณี แล้วบดทับให้แน่นและ
มีผิวหน้าที่เรียบสม่ําเสมอ โดยให้มีระดับและความลาดถูกต้องตามแบบรูปและรายการละเอียด วัสดุที่นํามาใช้
จะต้องมีคุณภาพดี ขนาดและปริมาณวัสดุที่ใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะความเสียหายและพื้นที่ที่จะซ่อม
- พื้นที่หรือไหล่ทางที่มี Prime Coat หลุดหรือเสียหาย ต้องแก้ไขใหม่ให้เรียบร้อยตาม
วิธีการที่ผู้ควบคุมงานก่ อสร้ างของผู้ ว่าจ้างกําหนด แล้วทิ้งไว้จนครบกํ าหนดเวลาบ่ม ตัวของแอสฟัล ต์ ที่ใ ช้
ซ่อมก่อน จึงทําชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตทับได้
- พื้นทางหรือไหล่ทางที่ทํา Prime Coat ทิ้งไว้ มีผิวหลุดเสียหายเป็นพื้นที่ต่อเนื่องมาก
เกินกว่าที่จะซ่อมให้ได้ผลดี ให้พิจารณาคราด (Scarify) พื้นทางหรือไหล่ทางนั้น แล้วบดทับใหม่ให้ความแน่น
ตามที่กําหนด แล้วทํา Prime Coat ใหม่ ทิ้งไว้จนครบกําหนดเวลาบ่มตัวของแอสฟัลต์ที่ใช้ทํา Prime Coat
จึงทําชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตทับได้
- พื้ น ทางหรื อ ไหล่ ท างที่ ทํ า Prime Coat ทิ้ ง ไว้ น านโดยไม่ ไ ด้ ทํ า ชั้ น ทางแอสฟั ล ต์
คอนกรีตตามขั้นตอนการก่อสร้างปกติ แต่ Prime Coat ไม่หลุดเสียหาย ก่อนทําชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตทับ
อาจพิจารณาให้ทํา Tack Coat ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
- ในงานเสริมผิวทาง (Overlay) ด้วยแอสฟัลต์คอนกรีตบนผิวทางเดิมซึ่งเกิดการยุบตัว
(Sag and Depression) หรือเป็นแอ่งเฉพาะแห่ง แต่ไม่ใช่จุดอ่อนตัว (Soft Spot) ให้ดําเนินการดังนี้
(ก) กรณียุบตัวหรือเป็นแอ่งลึกไม่เกิน 30 มิลลิเมตร อาจแยกปูเสริมเพื่อปรับระดับ
เฉพาะส่วนที่ยุบตัวหรือเป็นแอ่งก่อน หรือจะปูรวมไปพร้อมกับการปูชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตก็ได้โดยให้อยู่ใน

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 55 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

ดุ ล ยพิ นิ จ ของผู้ ค วบคุ ม งานก่ อ สร้ า งของผู้ ว่ า จ้ า ง แต่ ทั้ ง นี้ ค วามหนารวมที่ ปู จ ะต้ อ งไม่ เ กิ น 80 มิ ล ลิ เ มตร
หากความหนารวมเกิน 80 มิลลิเมตร จะต้องแยกปูเสริมเพื่อปรับระดับเฉพาะส่วนที่ยุบตัวหรือเป็นแอ่งก่อน
(ข) กรณียุบตั วหรือเป็น แอ่งลึกเกิน 50 มิ ล ลิ เมตร จะต้องแยกปู เ สริมปรั บ ระดั บ
เฉพาะส่วนที่ยุบตัวหรือเป็นแอ่งก่อน โดยให้ปูเป็นชั้น ๆ หนาไม่เกินชั้นละ 50 มิลลิเมตร
- รองพื้ น ทาง พื้ น ทาง ไหล่ ท าง หรื อ ผิ ว ทางลาดยางเดิ ม ที่ จ ะทํา ชั้ น ทางแอสฟัล ต์
คอนกรีตทับต้องสะอาดปราศจากฝุ่น วัสดุสกปรก หรือวัสดุไม่พึงประสงค์อื่น ๆ ปะปน
- การทําความสะอาดรองพื้นทาง พื้นทาง ไหล่ทาง หรือผิวทางลาดยางเดิมที่จะทํา
ชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตทับ โดยการกวาดฝุ่น วัสดุหลุดหลวม ทรายที่สาดทับ Prime Coat ออกจนหมดด้วย
เครื่องกวาดฝุ่นต้องปรับอัตราเร็วการหมุน และน้ําหนักกดที่กดลงบนรองพื้นทาง พื้นทาง ไหล่ทาง หรือผิวทาง
ลาดยางเดิมให้พอดีโดยไม่ทําให้รองพื้นทาง พื้นทาง ไหล่ทาง หรือผิวทางเดิมเสียหาย แล้วใช้เครื่องเป่าลมเป่า
ฝุ่นหรือวัสดุที่หลุดหลวมออกจนหมด
- กรณีที่มีคราบฝุ่นหรือวัสดุจับตัวแข็งอยู่ที่พื้นทาง ไหล่ทาง หรือผิวทางลาดยางเดิมที่
จะทําให้ชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตทับ ให้กําจัดคราบแข็งดังกล่าวออก โดยการใช้เครื่องมือใด ๆ ที่เหมาะสม
ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างกําหนด หรือเห็นชอบ ขูดลอก ล้าง
ให้สะอาดทิ้งไว้ให้แห้ง ใช้เครื่องกวาดฝุ่นกวาด แล้วใช้เครื่องเป่าลม เป่าฝุ่นหรือวัสดุที่หลวมออกให้หมด
- ผิวทางลาดยางเดิมที่มีแอสฟัลต์เยิ้ม ก่อนทําชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตทับจะต้อง
แก้ไขให้เรียบร้อยก่อน โดยการปาดแอสฟัลต์ที่เยิ้มออก หรือโดยวิธีการอื่นใดที่เหมาะสมที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง
ของผู้ว่าจ้างกําหนดหรือเห็นชอบ
- ผิวทางลาดยางเดิมหรือชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตใด ๆ ที่จะทําชั้นทางแอสฟัลต์
คอนกรีตทับ จะต้องทํา Tack Coat ก่อน
- ขอบโครงสร้างคอนกรีตใด ๆ หรือผิวหน้าตัดชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตเดิมที่ต่อเชื่อม
กับแอสฟัลต์คอนกรีตที่จะก่อสร้างใหม่จะต้องทํา Tack Coat ก่อน
- ผิวพื้นสะพานคอนกรีต ที่จะต้องปูชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีต จะต้องขูดวัสดุยาแนว
รอยแตกและรอยต่อส่วนเกินที่ติดอยู่ที่ผิวพื้นคอนกรีตออกให้หมด ล้างทําความสะอาดทิ้งไว้ให้แห้งแล้วใช้เครื่อง
เป่าลมเป่าฝุ่นออกให้หมด แล้วทํา Tack Coat
(6.2) การก่อสร้าง
(1) การควบคุมการผลิตส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตที่โรงงานผสม
- คุ ณ ภาพของส่ ว นผสมแอสฟั ล ต์ ค อนกรี ต ต้ อ งสม่ํ า เสมอ ตรงตามสู ต รส่ ว นผสม
เฉพาะงานที่ได้กําหนดชั้นสําหรับแอสฟัลต์คอนกรีตนั้น ๆ
- การควบคุมเวลาในการผสมส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตโรงงานผสมต้องมีเครื่องตั้ง
เวลา และควบคุมเวลาแบบอัตโนมัติ ที่สามารถตั้งและปรับเวลาในการผสมแห้งและผสมเปียกได้ตามต้องการ
สําหรับโรงงานผสมแบบชุด ระยะเวลาในการผสมแห้งและผสมเปียกควรใช้ประมาณ 15 วินาที และ 30 วินาที
ตามลําดับสําหรับโรงงานผสมแบบต่อเนื่อง

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 56 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

- ในการผสมส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตโดยโรงงานผสมทั้ง 2 แบบ ต้องได้ส่วนผสม


แอสฟัลต์คอนกรีตสม่ําเสมอ ในกรณีที่ผสมกันตามเวลาที่กําหนดไว้แล้ว แต่ส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตยังผสม
กันได้ไม่สม่ําเสมอตามต้องการ ก็ให้เพิ่มเวลาในการผสมนี้ขึ้นอีกก็ได้ แต่เวลาที่ใช้ในการผสมทั้งหมดต้องไม่เกิน
60 วินาที ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
- การกําหนดเวลาในการผสมของโรงงานผสมใด ๆ ให้กําหนดโดยการทดลองหา
ปริมาณที่แอสฟัลต์เคลือบผิวมวลรวม ตาม AASHTO T-195 : Dectermining Degree of Particle Coating
of Bituminous-Aggregate Mixtures โดยให้เป็นไปตามตารางที่ 5-15
ตารางที่ 5-15 ปริมาณที่แอสฟัลต์เคลือบผิวมวลรวม
ปริมาณที่แอสฟัลต์เคลือบผิวมวลรวม
ชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีต
ร้อยละโดยพื้นที่
พื้นทาง ไม่น้อยกว่า 90
ผิวทาง รองผิวทาง ไหล่ทาง ปรับระดับ ไม่น้อยกว่า 95

- การควบคุมอุณหภูมิของวัสดุก่อนการผสมและอุณหภูมิของส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีต
(ก) มวลรวมก่อนการผสมต้องให้ความร้อนจนได้อุณหภูมิ 163 ± 8 องศาเซลเซียส
(325 ± 15 องศาฟาเรนไฮต์) และมีความชื้นไม่เกินร้อยละ 1 โดยมวลของมวลรวม และเมื่อขณะผสมกับ
แอสฟัลต์ซีเมนต์ที่โรงงานผสมจะต้องมีอุณหภูมิตรงตามที่ระบุไว้ในสูตรส่วนผสมเฉพาะงาน
(ข) แอสฟัลต์ซีเมนต์ ขณะเก็บในถังเก็บแอสฟัลต์ต้องมีอุณหภูมิไม่สูงกว่า 100 องศา
เซลเซียส (212 องศาฟาเรนไฮต์) เมื่อจะผสมกับมวลรวมที่โรงงานผสมจะต้องให้ความร้อนจนได้อุณหภูมิ 159 ± 8
องศาเซลเซียส (318 ± 5 องศาฟาเรนไฮต์) หรือมีอุณหภูมิที่แอสฟัลต์ซีเมนต์ มีความหนืด 170 ± 20 เซนติสโตกส์
หรือมีอุณหภูมิตรงตามที่ระบุไว้ในสูตรส่วนผสมเฉพาะงาน
(ค) ส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตเมื่อผสมเสร็จ ก่อนนําออกจากโรงงานผสมจะต้องมี
อุณหภูมิระหว่าง 121 - 168 องศาเซลเซียส (250 - 335 องศาฟาเรนไฮต์) หรือตามที่ระบุไว้ในสูตรส่วนผสม
เฉพาะงาน ถ้ามีอุณหภูมิแตกต่างไปกว่าที่กําหนดนี้ ห้ามนําส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตดังกล่าวไปใช้งาน
(ง) ต้องมีการบันทึกอุณหภูมิของมวลรวมที่ผ่านหม้อเผา อุณหภูมิของแอสฟัลต์ซีเมนต์
ขณะก่อนผสมกับมวลรวม และอุณหภูมิของส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน โดยใช้เครื่อง
บันทึกอุณหภูมิแบบอัตโนมัติ พร้อมที่จะให้ตรวจสอบได้ตลอดเวลา และผู้รับจ้างจะต้องส่งบันทึกรายการ
อุณหภูมิดังกล่าวประจําวันแก่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างทุกวันที่ปฏิบัติงาน
(จ) การวัดอุณหภูมิของส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตที่อยู่ในรถบรรทุก ต้องใช้เครื่องวัด
อุณหภูมิที่อ่านอุณหภูมิได้อย่างรวดเร็ว การวัดอุณหภูมิให้วัดผ่านรูที่เจาะไว้ข้างกระบะรถบรรทุกทั้ง 2 ด้าน
ที่ประมาณกึ่งกลางความยาวของกระบะและสูงจากพื้นกระบะประมาณ 150 มิลลิเมตร การวัดอุณหภูมิ
ให้วัดจากการบรรทุกทุกคันแล้วจดบันทึกอุณหภูมิไว้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 57 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

(2) การขนส่งส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีต
การขนส่งส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีต จากโรงงานผสมไปยังสถานที่ก่อสร้าง ต้องใช้
รถบรรทุกที่เตรียมไว้แล้ว ในการขนส่งจะต้องมีผ้าใบหรือแผ่นวัสดุอื่นใดที่ใช้ได้อย่างเหมาะสม คลุมส่วนผสม
แอสฟัลต์คอนกรีต เพื่อรักษาอุณหภูมิและป้องกันน้ําฝนหรือสิ่งสกปรกประกอบอื่น ๆ
(3) การปูส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีต
การปูส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีต จะต้องคํานวณความเร็วของเครื่องปูให้เหมาะสมกับ
กําลังผลิตของโรงงานผสมและปัจจัยเกี่ยวข้องอื่น ๆ การปูจะต้องดําเนินการไปโดยต่อเนื่องมากที่สุดด้วย
ความเร็ว การปูที่สม่ําเสมอ ปริมาณส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตที่ออกจากเตารีดของเครื่องปูจะต้องมีปริมาณ
สม่ําเสมอตลอดความกว้างของพื้นที่ที่ปู โดยขณะปูควรป้อนส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตจากกระบะบรรจุผ่านไป
ยังเกลียวเกลี่ยจ่ายทั้ง 2 ข้าง จนถึงส่วนเตารีดโดยสม่ําเสมอ มีระดับส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตคงที่ และในการ
ปฏิบัติให้เป็นไปโดยต่อเนื่องมากที่สุด ในส่วนของเตารีด อัตราเร็วการกระแทกของคานกระแทก และจํานวน
รอบการสั่นสะเทือนของเตารีดแบบสั่นสะเทือน ตลอดจนระยะเต้นจะต้องคงที่และใช้ให้เหมาะสมกับชนิด
ลักษณะของชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตขณะยังไม่ได้บดทับ จะต้องมีลักษณะผิวหน้าที่มีความเรียบแน่นสม่ําเสมอ
ทั้งทางด้านตามขวางและตามยาว โดยไม่มีรอยฉีก (Tearing) รอยเคลื่อนตัวเป็นแอ่ง (Shoving) การแยกตัว
ของส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตหรือลักษณะความเสียหายอื่น ๆ ขณะปูหากปรากฏว่ามีความเสียหายใด ๆ
เกิดขึ้นได้รีบแก้ไขในทันที ส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตที่มีลักษณะจับตัวเป็นก้อนแข็งห้ามนํามาใช้
- สภาพผิวชั้ นทางก่อนการปูส่วนผสมแอสฟัล ต์ คอนกรีตจะต้ องแห้ ง ห้ามปู ส่วนผสม
แอสฟัลต์คอนกรีตขณะฝนตกหรือเมื่อผิวชั้นทางที่จะปูเปียกชื้น อุณหภูมิของส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตขณะปู
ไม่ควรคลาดเคลื่อนไปจากอุณหภูมิเมื่อออกจากโรงงานผสม ที่กําหนดให้โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือ
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง เกินกว่า 14 องศาเซลเซียส (25 องศาฟาเรนไฮต์) แต่ทั้งนี้จะต้องไม่ต่ํากว่า
120 องศาเซลเซียส การตรวจวัดอุณหภูมิของส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตที่ปูแล้วจะต้องดําเนินการเป็นระยะ ๆ
ตลอดเวลาของการปู หากปรากฎว่ า อุ ณ หภู มิ ข องส่ ว นผสมแอสฟั ล ต์ ค อนกรี ต ไม่ ถู ก ต้ อ งตามที่ กํ า หนดให้
ตรวจสอบหาสาเหตุและแก้ไขโดยทันที
- ก่อนการก่อสร้างชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตทุกชั้น จะต้องวางแนวขอบชั้นทางที่จะปูก่อน
โดยการใช้เชือกขึงวางแนว และยึดติดกับพื้นที่ที่จะปูส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตให้แน่น หรือวิธีการกําหนดแนว
อื่นใดที่เหมาะสมตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นชอบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อจะปูชั้นทางแอสฟัลต์
คอนกรีตช่องจราจรแรกของชั้นทางแต่ละชั้น ทั้งนี้เพื่อให้ได้ชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตที่ตรงแนวเรียบร้อย
ตามแบบรูปและรายการละเอียด การดําเนินการนี้ไม่รวมถึงการปูชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตติดกับ Curb และ
Gutter หรือส่วนของโครงสร้างใด ๆ ที่มีแนวถูกต้องตามแบบรูปและรายการละเอียดอยู่แล้ว
- การก่อสร้างรอยต่อตามขวาง รอยต่อตามขวาง หมายถึง แนวก่อสร้างชั้นทางแอสฟัลต์
คอนกรีตตามขวางที่ปลายแปลงก่อสร้างที่สิ้นสุดการก่อสร้างประจําวัน

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 58 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

- การก่อสร้างรอยต่อตามขวาง อาจดําเนินการได้หลายวิธี ดังนี้


(ก) การใช้ไม้แบบ โดยใช้ไม้แบบที่มีความหนาเท่ากับความหนาของชั้นทางที่ปู วางที่
จุดสิ้นสุดของการปูแต่ละแปลงให้ตั้งฉากกับแนวการปู เมื่อปูแอสฟัลต์คอนกรีตถึงไม้แบบนี้ให้ปูเลยไปเป็น
ทางลาดที่มีความยาวเพียงพอที่จะไม่ทําให้ยวดยานสะดุดเมื่อแล่นผ่าน และอาจอนุญาตให้ใช้ทรายรองพื้นส่วน
ทางลาดได้ เพื่อความสะดวกในการลอกแอสฟัลต์คอนกรีตส่วนที่เป็นทางลาดออก โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของ
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(ข) การใช้กระดาษแข็งสําเร็จรูปหรือแผ่นวัสดุสําเร็จรูปใด ๆ ที่ใช้สําหรับทํารอยต่อ
ตามขวาง โดยเฉพาะซึ่งใช้งานได้ตามวัตถุประสงค์และผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นชอบ โดยนํามาวาง
ที่จุดสิ้นสุดของการปูแต่ละแปลง ให้ตั้งฉากกับแนวการปูแล้วปูแอสฟัลต์คอนกรีตทับเป็นทางลาดที่มีความยาว
เพียงพอที่จะไม่ทําให้ยวดยานสะดุดเมื่อแล่นผ่าน
- เมื่ อ จะปู ชั้ น ทางแอสฟั ล ต์ ค อนกรี ต ต่ อ จากรอยต่ อ ตามขวางนั้ น ก็ ใ ห้ ย กไม้ แ บบ
แผ่นกระดาษแข็ง หรือแผ่นวัสดุสําเร็จรูปนั้น รวมทั้งชั้นทางส่วนที่ปูเป็นทางลาดออกไป ตรวจสอบระดับด้วย
ไม้บรรทัด วัดความเรียบหากระดับหรือความหนาของชั้นทางส่วนใดไม่ถูกต้องตามแบบรูปและรายการละเอียด
ให้ตัดชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตส่วนนั้นออกไป จนถึงชั้นทางส่วนที่มีระดับและความหนาถูกต้องตามแบบรูป
และรายการละเอียด ด้วยเครื่องตัดรอยต่อแอสฟัลต์คอนกรีตได้ได้แนวตรงและตั้งฉากโดยเรียบร้อย ก่อนที่จะ
ปูชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตต่อไป ให้ทารอยต่อตามขวางนั้นด้วยการทําแอสฟัลต์ Tack Coat บาง ๆ เพื่อให้
รอยต่อเชื่อมกับชั้นทางที่จะปูใหม่ได้ดี
- กรณีการปูส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตหยุดชะงักด้วยเหตุใดก็ตามระหว่างการก่อสร้าง
ประจําวัน จนทําให้อุณหภูมิของส่ วนผสมแอสฟัลต์ คอนกรีตบริเวณหน้าเตารี ดลดลงต่ํากว่าที่กําหนดก็ใ ห้
ทํารอยต่อตามขวางที่บริเวณนั้นด้วย โดยให้ตัดรอยต่อถึงบริเวณที่มีความหนาตามแบบรูปและรายการละเอียด
และได้บดทั บเรียบร้อยแล้ว โดยตัดให้ตั้งฉากพร้อมกับตักส่วนผสมแอสฟัล ต์คอนกรีตส่วนที่ตัดออกทิ้งไป
ให้ทารอยต่อตามขวางนั้นด้วยการทําแอสฟัลต์ Tack Coat บาง ๆ เพื่อให้รอยต่อเชื่อมกับชั้นทางที่จะปูใหม่ได้ดี
- การปูชั้นทางแอสฟัลต์ คอนกรีตต่อเชื่อมกับรอยต่อตามขวางในครั้งใด ๆ เมื่ อเริ่มปู
ส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตไปได้กระบะแรกให้ใช้ไม้บรรทัดวัดความเรียบตรวจสอบระดับที่รอยต่อ หากไม่ได้
ระดับตามที่กําหนดให้ดําเนินการแก้ไขโดยด่วนขณะที่ส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตที่ปูใหม่นั้นยังร้อนอยู่
- ในการปูชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตแต่ละช่องจราจร รอยต่อตามขวางการก่อสร้างชั้นทาง
ที่ ช่องจราจรข้ างเคี ย งต้ องไม่ อ ยู่ ใ นแนวเดี ยวกั น โดยต้องก่อสร้างให้มีร ะยะห่ างไม่น้ อ ยกว่ า 5 เมตร ทั้งนี้
เพื่อไม่ได้เกิดเป็นจุดอ่อนทําให้เกิดความเสียหายภายหลังได้
- กรณีที่ปูแอสฟัลต์คอนกรีตหลายชั้น รอยต่อตามขวางแต่ละชั้นจะต้องห่างกันไม่น้อยกว่า
5 เมตร และจะต้องห่างจากรอยต่อตามขวางของช่องจราจรข้างเคียงไม่น้อยกว่า 5 เมตร ด้วย
- การก่อสร้างรอยต่อตามยาว ก่อนจะปูชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตใหม่ ประกบชั้นทางของ
ช่องจราจรที่ได้ดําเนินการเรียบร้อยแล้ว ให้ตัดแต่งรอยต่อตามยาวนั้นด้วยเครื่องมือตัดรอยต่อ โดยตัดให้ตั้งฉาก
กั บชั้นทางที่ปูทั บและรอยต่ อนั้นจะต้ องตรงแนว เรียบร้อย คม ไม่ฉีกขาด เสร็จ แล้วให้ทารอยต่ อนั้นด้วย

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 59 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

การทํ า แอสฟั ล ต์ Tack Coat บาง ๆ เพื่ อ ให้ ร อยต่ อ ต่ อ เชื่ อ มกั น ได้ ดี กั บ ชั้ น ทางที่ ป ระกบ ในการปู ชั้ น ทาง
แอสฟัลต์คอนกรีตประกบกับชั้นทางช่องจราจรข้างเคียง ที่ได้ดําเนินการเรียบร้อยแล้วนั้น อาจทําได้ 2 วิธีดังนี้
(ก) การปูส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตให้เหลื่อมเข้าไปในชั้นทางช่องจราจรข้างเคียงที่
ได้ ดํ า เนิ น การเรี ย บร้ อ ยแล้ ว 25-50 มิ ล ลิ เ มตร แล้ ว ดั น ส่ ว นผสมแอสฟั ล ต์ ค อนกรี ต ส่ ว นที่ เ หลื่ อ มเข้ า ไปนี้
ให้ชนแนวรอยต่อ โดยให้สูงกว่าระดับที่ด้านนอกถัดไปให้มากพอที่เมื่อบดทับแล้ว รถบดจะไปอัดส่วนผสม
แอสฟัลต์คอนกรีตตรงรอยต่อนั้น แน่นและเรียบได้ระดับสม่ําเสมอกับผิวชั้นทางที่ก่อสร้างประกบนั้น
(ข) การปูส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตให้เหลื่อมเข้าไปในชั้นทางช่องจราจรข้างเคียง
ที่ ไ ด้ ดํ า เนิ น การเรี ย บร้ อ ยแล้ ว 25-50 มิ ล ลิ เ มตร คั ด เม็ ด วั ส ดุ ก้ อ นโตบริ เ วณที่เ หลื่อ มกั น ตรงรอยต่อนั้น
ออกทิ้งไป ซึ่งเมื่อบดทับแล้วจะได้รอยต่อตามยาวที่แน่น ไม่ขรุขระและเรียบได้ระดับสม่ําเสมอกับผิวทาง
ที่ก่อสร้างประกบนั้น
- ในการปูชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตหลายชั้น แต่ละชั้นให้ก่อสร้างให้มีรอยต่อตามยาว
เหลื่อมกันไม่น้อยกว่า 150 มิลลิเมตร ถ้าเป็นชั้นทาง 2 ช่องจราจร รอยต่อตามยาวของชั้นทางชั้นบนสุดให้อยู่ที่
เส้นแบ่งกึ่งกลางถนน แต่ถ้าเป็นชั้นทางหลายช่องจราจร รอยต่อตามยาวของชั้นทางชั้นบนสุดให้อยู่ที่แนวขอบ
ช่องจราจรตามแบบรูปและรายการละเอียด
- การปูชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตหลายช่องจราจร พร้อมกันโดยใช้เครื่องปูหลายเครื่อง
การปูชั้นทางโดยเครื่องปูที่ตามหลัง ให้ปูส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตเหลื่อมเข้าไปในชั้นทางที่กําลังปูโดยเครื่อง
ปู เครื่องหน้า 25-50 มิลลิเมตร ในกรณีเช่นนี้ไม่จําเป็นต้องตัดรอยต่อตามยาวและไม่ต้องทํา Tack Coat
- การปูส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตในทางโค้ง ให้ปูช่องจราจรด้านโค้งในก่อนไปตามลําดับ
จนถึงโค้งนอก แต่ถ้าก่อสร้างฤดูฝนจะต้องดําเนินการก่อสร้างให้เสร็จเต็มโค้งโดยเร็วที่สุด เพื่อป้องกันน้ําขัง
บนชั้นทาง
- การตรวจวัดความหนาของชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีต ให้ตรวจวัดความหนาของชั้นทาง
แอสฟัลต์คอนกรีตที่ปูแล้ว แต่ยังไม่ได้บดทับเป็นระยะ ๆ ช่วงละไม่เกิน 8 เมตร โดยให้ตรวจวัดความหนาตลอด
ความกว้างของชั้นทาง หากปรากฏว่าความหนาของชั้นทางคลาดเคลื่อนไปจากความหนาที่กําหนดให้คราดผิว
แล้วนําส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตที่มีคุณภาพถูกต้องมาปูเสริมเกลี่ยให้ได้ระดับสม่ําเสมอ แล้วตรวจสอบระดับ
ให้ถูกต้อง
- การปูส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตรถเกลี่ยปรับระดับ โดยปูส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีต
บริเวณที่เครื่องปูไม่สามารถเข้าไปดําเนินการได้ หรือไม่เหมาะสมที่จะเข้าไปดําเนินการ อาจพิจารณาให้ใช้
รถเกลี่ยปรับระดับดําเนินการได้ แล้วตรวจสอบด้วยไม้บรรทัดวัดความเรียบให้ได้ระดับถูกต้อง ทั้งนี้ให้อยู่ใน
ดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
- การปูด้วยแรงคน กรณีเป็นพื้นที่จํากัด หรือพื้นที่ที่ต้องการปรับระดับ พื้นที่ที่มีสิ่งกีดขวาง
และอื่น ๆ ที่เครื่องปูและรถเกลี่ยปรับระดับเข้าไปดําเนินการไม่ได้ ไม่เหมาะสม หรือ ไม่สะดวกที่จะเข้าไป
ดําเนินการ อาจพิจารณาใช้คนปูส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตในบริเวณดังกล่าวได้ ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของ
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างในการใช้คนดําเนินการนี้ ให้ใช้พลั่วตักส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตไปกอง

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 60 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

เรียบกันบนพื้นที่ที่ต้องการปู แต่ละกองเป็นกองเดี่ยว ๆ ห้ามกองทับกันเป็นกองสูง เกลี่ยแต่งให้เรียบสม่ําเสมอ


แล้วตรวจสอบด้วยไม้บรรทัดวัดความเรียบให้ได้ระดับถูกต้อง
- การตรวจสอบความเรียบในการปูส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีต ให้ดําเนินการตรวจสอบ
ภายหลังจากการบดทับเที่ยวแรก โดยใช้ไม้บรรทัดวัดความเรียบวางทาบไปบนผิวหน้าชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีต
หากต้องเสริมแต่งปรับระดับใหม่ให้ดําเนินการขณะที่ส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตยังมีอุณหภูมิตามที่กําหนด
(4) การบดทับชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีต
- การบดทับชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตนั้น จะต้องใช้เครื่องจักรบดทับที่ถูกต้องตามที่
กําหนด และมีจํานวนเพียงพอที่จะอํานวยให้การก่อสร้างชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตดําเนินไปโดยปกติ ไม่ติดขัด
หรือหยุดชะงัก เครื่องจักรบดทับต่าง ๆ ก่อนนําไปใช้งานจะต้องผ่านการตรวจสอบ ตรวจปรับให้เหมาะสมตาม
รายการและวิธีการตามที่กําหนด และอนุญาตให้ใช้ได้จากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
- การบดทับจะต้องกระทําทันทีหลังจากการปูส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีต และเริ่มบดทับ
ขณะที่ส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตยังร้อนอยู่ โดยมีอุณหภูมิระหว่าง 120 - 150 องศาเซลเซียส (248 - 302
องศาฟาเรนไฮต์) เมื่อบดทับแล้วจะต้องได้ชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตที่มีความแน่น ความเรียบสม่ําเสมอได้ระดับ
และความลาดตามแบบรูปและรายการละเอียด ไม่มีรอยแตก รอยเคลื่อนตัวเป็นแอ่งรอยคลื่น รอยล้อรถบด
หรือความเสียหายของผิวชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตอื่น ๆ
- ในกรณีที่ไม่ได้ระบุวิธีการบดทับเป็นอย่างอื่น การบดทับให้พิจารณาดําเนินการดังนี้
(ก) หลักการบดทับโดยทั่ว ๆ ไป ในเบื้องต้นให้บดทับรอยต่อต่าง ๆ ก่อนโดยทันที
ต่อจากนั้นก็ให้บดทับขั้นต้น (Initial or Breakdown Rolling) โดยให้รถบดทับตามหลังเครื่องปูให้ใกล้ชิดเครื่อง
ปูมากที่สุดเท่ าที่จะทําได้ และในการบดทับชั้นทางแอสฟัล ต์คอนกรีตที่กําลังบดทับต้องไม่ มีรอยแตกไม่มี
ส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตติดล้อรถบด ต่อไปเป็นการบดทับชั้นกลาง (Intermediate Rolling) โดยให้บดทับ
ตามติดการบดทับในขั้นต้นให้ใกล้ชิดที่สุดเท่าที่สามารถจะทําได้ และต้องดําเนินการขณะที่ส่วนผสมแอสฟัลต์
คอนกรีตยังมีอุณหภูมิเหมาะสมที่จะทําให้ได้ความแน่นตามที่กําหนด ต่อจากนั้นเป็นการบดทับขั้นสุดท้าย
(Finish Rolling) ซึ่งจะต้องดําเนินการขณะที่ส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตยังมีอุณหภูมิเหมาะสมที่รถบดจะ
สามารถลบรอยล้อรถบดในการบดทับที่ผ่านมาได้เรียบร้อย
(ข) ในการบดทั บ จะต้ อ งเริ่ ม บดทั บ ที่ ข อบชั้ น ทางแอสฟั ล ต์ ค อนกรี ต ด้ า นต่ํ า หรื อ
ด้านขอบนอกก่อนแล้วจึงค่อย ๆ บดทับเหลื่อมเข้าไปสู่ด้านเส้นแบ่งกึ่งกลางถนน เว้นแต่การบดทับช่วงการยก
โค้ง ซึ่งจะต้องบดทับทางด้านต่ําก่อนแล้วจึงบดทับเหลื่อมไปทางด้านสูง การบดทับแต่ละเที่ยวให้บดทับขนาน
ไปกับเส้นแบ่งกึ่งกลางถนน และให้แนวบดทับเหลื่อมกัน (Overlap) ประมาณ 150 มิลลิเมตร แต่ถ้าบดทับแล้ว
เกิดเป็นคลื่นตามขวาง หรือส่วนผสมเคลื่อนตัวเป็นแอ่งก็ให้เปลี่ยนเป็นบดทับเหลื่อมกันครึ่งหนึ่งของความกว้าง
ของล้อรถบด การหยุดรถบดแต่ละเที่ยวของการบดทับ ต้องไม่หยุดที่แนวเดียวกับรอยหยุดของรถบดเที่ยวก่อน
แต่ควรหยุดรถบดให้เหลื่อมกันเป็นระยะห่างพอสมควร
(ค) ในระหว่างการบดทับ หากมีส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตติดล้อรถบด ควรใช้น้ําหรือ
สารสําหรับเคลือบล้อรถบดใด ๆ ที่เหมาะสมที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือผู้ควบคุมงานก่อสร้างเห็นชอบ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 61 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

พ่นล้อรถบดบาง ๆ เพียงเพื่อเคลือบผิวหน้าล้อรถบดให้เปียกชื้น เพื่อป้องกันไม่ให้ส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีต


ติดล้อรถบด หากหมดความจําเป็นแล้วให้เลิกการใช้ การบดทับรถบดจะต้องวิ่งด้วย ความเร็วต่ําและสม่ําเสมอ
โดยใช้ล้อขับ (Drive Wheel) นําหน้าให้ใกล้ชิดเครื่องปูมากที่สุด หากมีการเปลี่ยนความเร็วรถบดขณะบดทับ
จะต้องค่อย ๆ เปลี่ยนความเร็วทีละน้อย ในช่องทางการบดทับช่องทางใด ๆ การบดทับเดินหน้าและถอยหลัง
ให้อยู่ในแนวช่องทางการบดทับเดียวกัน ก่อนเดินหน้าและถอยหลังรถบดจะต้องหยุดนิ่งก่อน ถ้าเป็นรถบด
สั่นสะเทือนจะต้องหยุดการสั่นสะเทือนก่อนด้วย การเปลี่ยนแนวช่องทางบดทับจะต้องค่อย ๆ เปลี่ยนโดยให้ไป
เปลี่ยนบนชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตบริเวณที่ได้บดทับและเย็นตัวแล้ว ห้ามเปลี่ยนบนผิวชั้นทางแอสฟัลต์
คอนกรี ต ที่ กํ า ลั ง บดทั บ หรื อ บดทั บ เสร็ จ แล้ ว ให้ จ อดบนผิว ชั้ น ทางแอสฟั ล ต์ ค อนกรี ต บริเ วณที่ เ ย็นตัวแล้ว
ห้ามจอดบนผิวชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตที่ยังร้อนอยู่ ถ้าในการบดทับทําให้ส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตเกิดการ
เคลื่อนตัวออกไปต้องแก้ไขโดยด่วน โดยการคราดส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตบริเวณดังกล่าวให้หลวม แล้วนํา
ส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตที่มีคุณภาพ และอุณหภูมิถูกต้องมาเพิ่มพร้อมกับแต่งระดับให้สม่ําเสมอได้ระดับ
ถูกต้องแล้วจึงบดทับใหม่
(ง) ความเร็วของรถบดในการบดทับ ในการบดทับโดยทั่ว ๆ ไป รถบดจะต้องวิ่งด้วย
ความเร็วต่ําและสม่ําเสมอ ความเร็วสูงสุดที่ใช้ในการบดทับขึ้นอยู่กับชนิดของรถบด อุณหภูมิ ชนิดลักษณะ และ
ความหนาของส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีต ขั้นตอนการบดทับ และปัจจัยที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ ความเร็วสูงสุดในการ
บดทับสําหรับรถบดล้อเหล็กแบบไม่สั่นสะเทือน รถบดล้อเหล็กแบบสั่นสะเทือน ซึ่งบดทับโดยไม่สั่นสะเทือน
และรถบดล้อยาง ควรจะเป็นไปตามตารางที่ 5-16
(จ) ความเร็ ว สู ง สุ ด ของการบดทั บ สํ า หรั บ รถบดสั่ น สะเทื อ นที่ มี ค วามถี่ ใ นการ
สั่นสะเทือนใด ๆ ขึ้นอยู่กับระยะกระแทกของล้อรถบด (Impact Spacing) ซึ่งตามปกติระยะการกระแทกของ
ล้อรถบดจะน้อยกว่าความหนาของชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตที่บดทับแล้ว ในการบดทับระยะกระแทกของล้อ
รถบดไม่ควรน้อยกว่า 10 ครั้ง ต่อระยะทาง 300 มิลลิเมตร (33 ครั้งต่อระยะทาง 1 เมตร) ที่รถบดเคลื่อนตัวไป
สําหรับความเร็วที่เหมาะสมในการบดทับของรถบดสั่นสะเทือนที่ความถี่การสั่นสะเทือนใด ๆ ที่ใช้ และระยะ
กระแทกของล้อรถบดที่กําหนด ควรจะเป็นไปตามตารางที่ 5-17
ตารางที่ 5-16 ความเร็วของรถบดในการบดทับ
ความเร็วของรถบดในการบดทับ
ขนิดของรถบด การบดทับขั้นต้น การบดทับขั้นกลาง การบดทับขั้นสุดท้าย
กม./ชม. ไมล์/ชม. กม./ชม. ไมล์/ชม. กม./ชม. ไมล์/ชม.
รถบดล้อเหล็กชนิด 2 ล้อ 3 2 5 3 5* 3*
รถบดล้อยาง 5 3 5 3 8 5
รถบดสั่นสะเทือน** 4-5 2.5-3 4-5 2.5-3 - -
หมายเหตุ * รวมถึงรถบดสั่นสะเทือนบดทับไม่สั่นสะเทือน
** ดูตารางที่ 5-17

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 62 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

ตารางที่ 5-17 ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็ว ความถี่ และจํานวนครัง้ การกระแทก


ความถี่
จํานวนครั้งการกระแทกต่อระยะ 1 เมตร*
การสัน่ สะเทือน
(จํานวนครั้งการกระแทกต่อระยะ 1 ฟุต)
เฮิรตซ์ (รอบต่อนาที)
30 (1,800) 45.0 33.8 27.0 22.5 19.3
(13.6) (10.2) (8.2) (6.8) (5.8)
33 (2,000) 50.0 37.5 30.0 25.0 21.4
(15.2) (11.4) (9.1) (7.6) (6.5)
37 (2,200) 55.0 41.3 33.0 27.5 23.6
(16.7) (12.5) (10.0) (8.3) (7.1)
40 (2,400) 60.0 45.0 36.0 30.0 25.7
(18.2) (13.6) (10.09 (9.1) (7.8)
43 (2,600) 65.0 48.8 39.0 32.5 27.9
(19.7) (14.8) (11.8) (9.8) (8.4)
47 (2,800) 70.0 52.5 42.0 35.0 30.0
(21.2) (15.9) (12.7) (10.6) (9.1)
50 (3,000) 75.0 56.3 45.0 37.5 32.1
(22.7) (17.0) (13.6) (11.4) (9.7)
ความเร็วรถบด
กิโลเมตร/ชั่วโมง 2.4 3.2* 4.0 4.8* 5.6
ไมล์/ชั่วโมง 1.5 2.0* 2.5 3.0* 3.5
เมตร/นาที 40.0 53.3* 66.7 80.0* 93.3
ฟุต/นาที 132 176* 220 264* 308
หมายเหตุ * ช่วงที่ควรใช้
- การทําแปลงทดลองเพื่อกําหนดรูปแบบของการบดทับ ก่อนเริ่มการก่อสร้างชั้นทาง
แอสฟัลต์คอนกรีต เพื่อให้ใช้เครื่องจักรบดทับที่มีอยู่ได้ถูกต้องเหมาะสมต่องานและเกิดประโยชน์สูงสุด ควรทํา
แปลงทดลองในสนามยาวประมาณ 100-150 เมตร เพื่อกําหนดรูปแบบของการบดทับ (Pattern of Rolling)
ที่เหมาะสมกับชนิด จํานวน สภาพเครื่องจักรที่นํามาใช้งาน โดยเมื่อบดทับเสร็จแล้ว จะต้องได้ชั้นทางแอสฟัลต์
คอนกรีตที่มีความเรี ยบร้อย ความแน่ นสม่ําเสมอ ได้ระดับความลาดตามแบบรู ป และรายการละเอี ย ด และ
มีคุณสมบัติอื่น ๆ ที่ถูกต้องตามที่กําหนดการทําแปลงทดลองบดทับนี้ให้ดําเนินการแก้ไขปรับการใช้งาน หรือ
เพิ่มจํานวนเครื่องจักรบดทับได้แล้วแต่กรณี จนกว่าจะสามารถบดทับได้ถูกต้องตามที่กําหนดและผู้ควบคุมงาน
ก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นชอบ จึงนําไปใช้เป็นบรรทัดฐานในการก่อสร้างชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตในงานนั้น ๆ
ต่อไป ในระหว่างการก่อสร้างหากมีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ เกี่ยวกับส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตหรือทําแปลง
ทดลองในสนามเพื่อทดลองหาความเหมาะสมใหม่ก็ได้ ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของ
ผู้ว่าจ้าง
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 63 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

- การกําหนดรูปแบบการบดทับที่เหมาะสมสําหรับเครื่องจักรบดทับชุดใด ๆ ที่ใช้งานนั้น
ให้ผู้รับจ้างดําเนินการทดลองบดทับ เพื่อกําหนดขนาดพื้นที่บดทับที่สัมพันธ์กับกําลังผลิตส่วนผสมแอสฟัลต์
คอนกรีตของโรงงานผสม อัตราการปูส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีต และเพื่อทราบจํานวนเที่ยวการบดทับเต็มผิว
แอสฟัลต์คอนกรีต (Coverage) จํานวนเที่ยวการบดทับซ้ําที่ช่องทางบดทับแต่ละช่อง (Pass) ความเร็วของ
รถบดแต่ละชนิดในการบดทับและอื่น ๆ
- ลําดับขั้นตอนการบดทับชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีต เมื่อปูชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตช่อง
จราจรแรก หรือเต็มผิวจราจรในคราวเดียวการบดทับจะต้องดําเนินการตามลําดับคือ ก. บดทับรอยต่อตาม
ขวาง ข. บดทับขอบผิวชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตด้านนอก ค. บดทับขั้นต้น ง. บดทับขั้นกลาง และ จ. บดทับ
ขั้นสุดท้าย
- เมื่ อ ปู ชั้ น ทางแอสฟั ล ต์ ค อนกรีต หลายช่ อ งจราจรพร้ อ มกั น หรื อ ปู ชั้ น ทางแอสฟั ล ต์
คอนกรีตใหม่ประกบกับช่องจราจรเดิมที่ได้ดําเนินการเรียบร้อยแล้ว หรือประกบกับแนวโครงสร้างใดที่มีอยู่แล้ว
การบดทับจะต้องดําเนินการตามลําดับดังนี้ ก. บดทับรอยต่อตามขวาง ข. บดทับรอยต่อตามยาว ค. บดทับ
ขอบผิวชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตด้านนอก ง. บดทับขั้นต้น จ. บดทับขั้นกลาง และ ฉ. บดทับขั้นสุดท้าย
(ก) การบดทับรอยต่อตามขวาง ให้ใช้รถบดล้อเหล็ก 2 ล้อ หรือรถบดสั่นสะเทือนแต่
ให้บดทับโดยไม่สั่นสะเทือน สําหรับการก่อสร้างชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตช่องจราจรแรก ก่อนการบดทับ
รอยต่อตามขวางควรใช้แผ่นไม้ที่มีความหนาเหมาะสม วางรองชิดขอบชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตบริเวณรอยต่อ
ตามขวางทั้ง 2 ด้าน เพื่อรองรับล้อรถบดเวลาบดทับเลยขอบชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตออกไป เป็นการป้องกัน
มิให้ขอบชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตที่ปลายรอยต่อตามขวางเสียหาย เสร็จแล้วจึงบดทับรอยต่อตามขวาง โดยใน
การบดทับเที่ยวแรกให้รถบดวิ่งชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตที่ก่อสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว และให้ล้อรถบดเหลื่อม
เข้าในบริเวณชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตที่ปูใหม่ประมาณ 50 มิลลิเมตร ใช้ไม้บรรทัดวัดความเรียบตรวจสอบ
ความเรียบของรอยต่อ หากไม่ถูกต้องให้แก้ไขให้เรียบร้อยทันที และในการบดทับเที่ยวต่อ ๆ ไป ให้แนวบดทับ
ค่อย ๆ เลื่อนเข้าไปในบริเวณชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตที่ปูใหม่ทั้งหมด
สํ า หรั บ การก่ อ สร้ า งชั้ น ทางแอสฟั ล ต์ ค อนกรี ต ช่ อ งจราจรประกบกั บ ชั้ น ทาง
แอสฟัลต์คอนกรีตช่องจราจรที่ได้ก่อสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว การบดทับในครั้งแรกให้บดทับบริเวณปลาย
รอยต่อตามขวางด้านที่บรรจบกับรอยต่อตามยาว โดยให้บดทับขนานไปตามรอยต่อตามยาวเป็นระยะประมาณ
0.5 - 1 เมตร แล้ วใช้ไม้บรรทัดวั ดความเรียบตรวจสอบความเรียบของรอยต่ อ หากไม่ถูกต้องให้ แ ก้ไขให้
เรียบร้อยทันที ต่อจากนั้นให้เริ่มบดทับรอยต่อตามขวางก่อนบดทับควรใช้แผ่นไม้ที่มีความหนาเหมาะสมวาง
รองชิดขอบชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตบริเวณรอยต่อตามขวางด้านนอก เสร็จแล้วให้บดทับรอยต่อตามขวางโดย
ให้ดําเนินการตามวิธีการบดทับดังกล่าวข้างต้น
(ข) การบดทับรอยต่อตามยาว รอยต่อตามยาวแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ
- รอยต่อเย็ นหรือรอยต่อเก่ า (Cold Joint) หมายถึง รอยต่ อตามยาวระหว่าง
ช่องจราจรที่ได้ก่อสร้างชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตและบดทับเรียบร้อยแล้ว กับชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตใหม่
ที่ก่อสร้างประกบกัน

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 64 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

- ในการบดทั บ รอยต่ อ ตามยาว เมื่ อ ใช้ ร ถบดล้ อ เหล็ ก ชนิ ด ไม่ สั่ น สะเทื อ น
การบดทับเที่ยวแรก ให้ล้อรถบดส่วนใหญ่อยู่บนชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตที่ก่อสร้างเสร็จแล้ว โดยให้ล้อรถบด
เหลื่อมเข้าไปบนชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตที่ก่อสร้างใหม่ 100 - 150 มิลลิเมตร และในการบดทับเที่ยวต่อ ๆ ไป
ให้ล้อรถบดค่อย ๆ เลื่อนแนวบดทับเหลื่อมเข้าไปบนชั้นทางที่ก่อสร้างใหม่เพิ่มขึ้น จนกระทั่งล้อรถบดทั้งหมด
จะอยู่ในบนชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตที่ก่อสร้างใหม่ ในกรณีใช้รถบดสั่นสะเทือนบดทับ การบดทับจะต้องให้ล้อ
รถบดส่วนใหญ่อยู่บนชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตที่ก่อสร้างใหม่ โดยให้ล้อรถบดเหลื่อมเข้าไปบนชั้นทางแอสฟัลต์
คอนกรีตที่ก่อสร้างแล้ว 100 - 150 มิลลิเมตร และให้ดําเนินการบดทับซ้ําตามแนวบดทับดังกล่าว จนกระทั่งได้
รอยต่อตามยาวที่เรียบร้อยและได้ความแน่นตามที่กําหนด
- รอยต่อร้อนหรือรอยต่อใหม่ (Hot Joint) หมายถึง รอยต่อตามยาวของชั้นทาง
แอสฟัลต์คอนกรีตระหว่างช่องจราจร 2 ช่อง ที่ก่อสร้างพร้อมกันโดยการปูด้วยเครื่องปู 2 ชุด
- ในการบดทับรอยต่อตามยาวแบบนี้ให้ใช้รถบดทับพื้นที่บริเวณรอยต่อทั้ง 2 ข้าง
รอยต่อตามยาวกว้างประมาณ 400 มิลลิเมตร ที่เว้นไว้ในการบดทับขั้นต้น การบดทับให้แนวรอยต่อตามยาว
อยู่กึ่งกลางความกว้างของล้อรถบด โดยให้บดทับจนกว่าจะได้รอยต่อตามยาวที่เรียบร้อยและได้ความแน่น
ตามที่กําหนด
(ค) การบดทับขั้นต้น (Initial of Breakdown Rolling) ภายหลังจากที่บดทับรอยต่อ
ต่าง ๆ เสร็จเรียบร้อยแล้วให้ดําเนินการบดทับขั้นต้นเมื่อส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตมีอุณหภูมิ ไม่ต่ํากว่า 120
องศาเซลเซียส (248 องศาฟาเรนไฮต์) การบดทับให้ใช้ได้ทั้งรถบดล้อเหล็กแบบไม่สั่นสะเทือนหรือรถบด
สั่นสะเทือน โดยน้ําหนักรถบด น้ําหนักรถทับ น้ําหนักต่อความกว้างล้อรถบด ความถี่การสั่นสะเทือน ระยะเต้น
ของล้อรถบด ความเร็วของรถบด และปัจจัยเกี่ยวข้องอื่น ๆ จะต้องพิจารณาใช้ให้เหมาะสมกับชนิด ลักษณะ
ความคงตัว อุณหภูมิ ความหนาของชั้นทางที่ปู และสภาพของชั้นทางที่อยู่ภายใต้ที่จะก่อสร้างชั้นทางแอสฟัลต์
คอนกรีตทับ การบดทับให้เริ่มบดทับจากขอบชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตด้านต่ํา หรือขอบชั้นทางด้านนอกไปหา
ขอบชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตด้านสูงหรือขอบชั้นทางด้านใน
- การบดทับโดยใช้รถบดสั่นสะเทือน ควรใช้ความถี่การสั่นสะเทือน และระยะเต้น
ของล้อรถบดให้เหมาะสม ความถี่การสั่นสะเทือนควรอยู่ระหว่าง 33 - 50 เฮิรตซ์ (2,000 - 3,000 รอบต่อนาที)
และระยะเต้นของล้อรถบดควรอยู่ระหว่าง 0.2 - 0.8 มิลลิเมตร สําหรับการบดทับชั้นผิวทางหรือผิวไหล่ทาง
แอสฟัลต์คอนกรีต ควรใช้ค่าความถี่สั่นสะเทือนด้านสูง และใช้ค่าระยะเต้นด้านต่ํา แต่ถ้าเป็นชั้นทางแอสฟัลต์
คอนกรีตที่ไม่ใช้ชั้นผิวทางและมีความหนามากกว่า 50 มิลลิเมตร อาจใช้ค่าความถี่การสั่นสะเทือนและค่าระยะ
เต้นของรถบดในการบดทับ ให้พิจารณาจากผลการทําแปลงทดลอง
- การบดทั บ ชั้ น ทางแอสฟั ล ต์ ค อนกรี ต ที่ มี ค วามหนาน้ อ ยกว่ า 25 มิ ล ลิ เ มตร
ต้องพิจารณาความเหมาะสมเป็นพิเศษ หากใช้รถบดล้อเหล็ก ไม่ควรบดทับโดยการสั่นสะเทือน หากจะใช้รถบด
ทับโดยการสั่นสะเทือน ก็ให้ใช้ค่าระยะเต้นของล้อรถบดด้านค่าต่ํา โดยเมื่อบดทับแล้วจะต้องไม่เกิดความ
เสียหายของชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีต เช่น เกิดการยุบตัว ทั้งนี้ต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงาน
ก่อสร้างของผู้ว่าจ้างก่อน

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 65 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

- การบดทับชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตที่มีความหนาระหว่าง 25 - 50 มิลลิเมตร
หากใช้รถบดสั่นสะเทือนบดทับ ควรใช้ค่าความถี่การสั่นสะเทือนด้านสูงและใช้ค่าระยะเต้นของล้อรถบดด้านต่ํา
- การบดทับชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตที่มีความหนามากกว่า 50 มิลลิเมตร ด้วย
รถบดสั่นสะเทือน สํ าหรับการบดทับชั้นทางแอสฟัล ต์ค อนกรี ตที่ ไม่ใ ช้ ชั้นผิ ว ทาง อาจใช้ค่าระยะเต้ น ของ
ล้อรถบดด้านสูงได้ แต่สําหรับชั้นผิวทางแอสฟัลต์คอนกรีต ควรจะใช้ค่าความถี่การสั่นสะเทือนด้านสูง และ
ใช้ค่าระยะเต้นของล้อรถบดด้านต่ํา
- การบดทับชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตที่มีความหนามากกว่า 50 มิลลิเมตร และ
ไม่มีแนวสิ่งก่อสร้าง เช่น Curb หรือชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตที่ก่อสร้างแล้วช่วยอัดด้านข้างไว้ หากบดทับตาม
วิธีการปกติแล้วปรากฏว่ามีการเคลื่อนตัวของส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตด้านข้างให้เปลี่ยนวิธีการบดทับใหม่
โดยให้ ร่ น แนวบดทั บ เที่ ย วแรกเข้ า ไปให้ ห่ า งจากขอบชั้ น ทางแอสฟั ล ต์ ค อนกรี ต ประมาณ 300 มิ ล ลิ เ มตร
หลังจากนั้นให้บดทับต่อไปตามปกติ เสร็จแล้วจึงกลับมาบดทับขอบชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตส่วนที่เว้นไว้นั้นใน
เที่ยวสุดท้ายของการบดทับเต็มหน้าเที่ยวแรกต่อไป
- การก่ อ สร้ า งชั้ น ทางแอสฟั ล ต์ ค อนกรี ต 2 ช่ อ งจราจรพร้ อ มกั น การบดทั บ
ในชั้นต้นนี้ให้ดําเนินการพร้อมกันทั้ง 2 ช่องจราจร โดยให้เว้นระยะของแนวบดทับให้ห่างจากรอยต่อร้อนหรือ
รอยต่อใหม่ของแต่ละช่องจราจรไว้ข้างละประมาณ 200 มิลลิเมตร พื้นที่แนวรอยต่อดังกล่าวนี้ให้ดําเนินการ
บดทับ แบบการบดทับรอยต่อร้อนหรือรอยต่อใหม่ต่อเนื่องกันไป
(ง) การบดทับขั้นกลาง (Intermediate Rolling) ให้เริ่มดําเนินการบดทับเมื่อชั้นทาง
แอสฟั ล ต์ ค อนกรี ต มี อุ ณ หภู มิ ไ ม่ ต่ํ า กว่ า 95 องศาเซลเซี ย ส (203 องศาฟาเรนไฮต์ ) การบดทั บ ขั้ น กลาง
ควรดํ า เนิ น การตามรู ป แบบการบดทั บ ขั้ น ต้ น โดยให้ บ ดทั บ ตามหลั ง การบดทั บ ขั้ น ต้ น ให้ ใ กล้ ชิ ด ที่ สุ ด และ
ให้บดทับโดยต่อเนื่องไปจนกว่าจะได้ความแน่นตามที่กําหนดและสม่ําเสมอทั่วแปลงที่ก่อสร้างการบดทับ
ขั้ น กลาง ตามปกติ ใ ห้ ใ ช้ ร ถบดล้ อ ยางเป็ น หลั ก โดยเฉพาะชั้ น ผิ ว ทางและผิ ว ไหล่ ท างแอสฟั ล ต์ ค อนกรี ต
ให้ปรับน้ําหนักรถบด และความดันลมยาง เพื่อให้ได้แรงอัดที่ผิวหน้าสัมผัสของล้อรถบดที่เหมาะสมกับชั้นทาง
แอสฟัลต์คอนกรีตที่กําลังบดทับ
- สํ า หรั บ ชั้ น ทางแอสฟั ล ต์ ค อนกรี ต อื่ น ๆ หรื อ ชั้ น ทางแอสฟั ล ต์ ค อนกรี ต ที่ มี
ความหนามากกว่ า 50 มิ ล ลิ เมตร ที่ไม่ใ ช่ชั้นผิวทางและผิวไหล่ทางแอสฟั ลต์คอนกรีต อาจพิจารณาให้ใช้
รถบดล้อเหล็กรถบดสั่นสะเทือนบดทับร่วมกับรถบดล้อยางด้วยได้ตามความเหมาะสมโดยมีน้ําหนักรถบด
น้ําหนักบดทับ น้ําหนักต่อความกว้างของล้อรถบด ความถี่การสั่นสะเทือน ระยะเต้นของล้อรถบด และปัจจัย
ที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ เหมาะสมกับชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตที่กําลังบดทับ ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้ควบคุมงาน
ก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(จ) การบดทับขั้นสุดท้าย (Finish Rolling) มีจุดประสงค์เพื่อลบรอยล้อรถบดที่ผิวหน้า
และทําให้ผิวหน้าเรียบสม่ําเสมอเท่านั้น ทั้งนี้ให้เริ่มดําเนินการเมื่อขั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตมีอุณหภูมิไม่ต่ํากว่า
66 องศาเซลเซียส (150 องศาฟาเรนไฮต์) ให้ใช้รถบดล้อเหล็กแบบไม่สั่นสะเทือนหรือใช้รถบดสั่นสะเทือน

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 66 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

แต่บดทับโดยไม่สั่นสะเทือนเท่านั้นโดยน้ําหนักรถบด น้ําหนักบดทับ น้ําหนักต่อความกว้างของล้อรถบด และ


ปัจจัยที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ เหมาะสมกับชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตที่กําลังบดทับ
(ฉ) การบดทับพื้นที่พิเศษ
- การบดทับบนพื้นที่ลาดชันสูง (Steep Grade) สําหรับชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีต
ที่ก่ อสร้างบนพื้ นที่มี ค วามลาดชั นสู ง หรือในทางโค้ งที่ มี ก ารยกโค้ งสู ง การบดทั บโดยรถบดล้ อ เหล็ ก แบบ
ไม่สั่นสะเทือน ให้ใช้ล้อตาม (Tiller Wheel) เดินหน้าโดยให้บดทับตามหลังเครื่องปูโดยใกล้ชิดที่สุด ไม่ว่าเครื่อง
ปูจะปูส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตขึ้นทางลาดชันหรือปูลงตามทางลาดชัน ก็ตาม ในการบดทับโดยใช้รถบด
สั่นสะเทือนนั้นการบดทับในเที่ยวแรกให้บดทับโดยไม่สั่นสะเทือน แต่หลังจากที่ส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตของ
ชั้นทางมีความคงตัว (Stability) สูงขึ้นมากพอที่จะบดทับโดยการสั่นสะเทือนได้ ก็ให้บดทับต่อไปโดยการ
สั่นสะเทือน โดยให้ใช้ค่าระยะเต้นของล้อรถบดด้านต่ํา
- การบดทับบนพื้นที่ที่รถบดเข้าไปดําเนินการไม่ได้ (Inaccessible Area) สําหรับ
พื้นที่ก่อสร้างชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตที่รถบดเข้าไปดําเนินการไม่ได้ เช่น บริเวณที่ชิดกับ Curb และ Gutter
สะพาน ขอบบ่อพัก (Manhole) และสิ่งกีดขวางอื่น ๆ จะต้องใช้เครื่องจักรหรือเครื่องมือบดทับขนาดเล็ก
ที่ถูกต้อง การนํามาใช้และการใช้งานให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
- การบดทับบริเวณทางแยก ทางเชื่อม (Bell Mouth Area) อาจดําเนินการได้ 2 วิธี คือ
* การบดทับทะแยงมุม ในขั้นแรกให้ดําเนินการบดทับที่มุม ต่อจากนั้น
จึงบดขนานกับขอบทางโค้ง
* การบดทับ ขนาน ในขั้ นแรกได้ ดําเนิน การบดทั บตั้ งฉากแนวเส้ น แบ่ ง
กึ่งกลางทางแยกต่อจากนั้นจึงบดทับขนานกับขอบทางโค้ง
(5) การควบคุมการจราจรระหว่างการก่อสร้าง
ในระหว่างการก่อสร้างชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตจะต้องจัดและควบคุมการจราจรไม่ให้
ผ่ า นชั้ น ทางแอสฟั ล ต์ ค อนกรี ต ที่ ก่ อ สร้ า งใหม่ จนกว่ า ชั้ น ทางแอสฟั ล ต์ ค อนกรี ต จะเย็ น ตั ว ลงมากพอที่
เมื่อเปิ ด ให้การจราจรผ่า นแล้วจะไม่ทํ า ให้ เกิดร่ องรอยบนชั้น ทางแอสฟัล ต์ค อนกรีตนั้ น โดยจะต้อ งติ ด ตั้ ง
ป้ายจราจร พร้อมอุปกรณ์ควบคุมการจราจรอื่น ๆ ที่จําเป็นตามที่กําหนด พร้อมจัดบุคลากรเพื่ออํานวยการ
จราจรให้ผ่านพื้นที่ก่อสร้างได้โดยสะดวก ปลอดภัย และไม่ทําให้ชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีต ที่ก่อสร้างใหม่นั้น
เสียหาย ระยะเวลาในการปิดและเปิดการจราจร ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(6) การตรวจสอบ
(ก) การตรวจสอบลักษณะผิว (Surface Texture)
ชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตที่ก่อสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะต้องได้ระดับและความ
ลาดตามแบบรูปและรายการละเอียด มีลักษณะผิว และลักษณะการบดทับที่สม่ําเสมอ ไม่ปรากฏความเสียหาย
เช่น แอสฟัลต์คอนกรีตที่ผิวหน้าหลุด (Pull) รอยฉีก (Torn) ผิวหน้าหลวมหรือแยกตัว (Segregation) เป็นคลื่น
(Ripple) หรือความเสียหายอื่น ๆ หากตรวจสอบแล้วปรากฎความเสียหายดังกล่าวจะต้องดําเนินการแก้ไขให้
ถูกต้องเรียบร้อยตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นสมควร

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 67 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

(ข) การตรวจสอบความเรียบที่ผิว (Surface Tolerance)


เมื่อใช้ไม้บรรทัดวัดความเรียบ วางทาบบนผิวของชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตใน
แนวตั้งฉากและในแนวขนานกับแนวเส้นแบ่ งกึ่งกลางถนน ระดับผิวของชั้นทางแอสฟัล ต์คอนกรีตภายใต้
ไม้บรรทัดวัดความเรียบจะแตกต่างจากระดับของไม้บรรทัดวัดความเรียบได้ไม่เกิน 6 มิลลิเมตร และ 3 มิลลิเมตร
ตามลําดับ
(ค) การตรวจสอบความแน่น (Density)
การตรวจสอบความแน่นของชั้นทางแอสฟัลต์ ที่ก่อสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว ได้จาก
การเปรียบเทียบค่าความแน่นของตัวอย่างชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีต กับค่าความแน่นของตัวอย่างที่บดอัดใน
ห้องทดลองตาม “วิธีการทดลองแอสฟัลต์คอนกรีต โดยวิธี Marshall” หรือ AASHTO T-245 โดยคํานวณเป็น
ค่าความแน่นร้อยละของค่าความแน่นของตัวอย่างที่บดอัดในห้องทดลอง
(1) การจัดเตรียมก้อนตัวอย่างแอสฟัลต์คอนกรีตในห้องทดลอง
ให้เก็บตัวอย่างส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตจากรถบรรทุกที่โรงงานผสมก่อนขนส่ง
ออกไปยังสถานที่ก่อสร้าง โดยการสุ่มตัวอย่างจากรถบรรทุก จากการผลิตส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตประจําวัน
เป็นระยะ ๆ แล้วนําไปดําเนินการในห้องทดลอง โดยให้ได้ก้อนตัวอย่างอย่างน้อย 8 ก้อนตัวอย่างในแต่ละวันที่
ปฏิบัติงานทดลองหาค่าความแน่น แล้วนําค่าความแน่นที่ทดลองได้จากก้อนตัวอย่างทั้งหมดมาหาค่าเฉลี่ย
เป็ นค่ าความแน่นในห้องทดลองประจําวันสํ าหรับ ใช้ ในการคํานวณเปรียบเที ยบเป็นค่าความแน่ นร้อยละ
ของตัวอย่างชั้นทางแอสฟัลต์คอนกรีตในสนาม
การเก็บตัวอย่างและการเตรียมตัวอย่างส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตให้ดําเนินการ
ตามรายละเอียดและวิธีการที่กําหนด การทดลองหาค่าความแน่นให้ดําเนินการตาม “วิธีการทดลองแอสฟัลต์
คอนกรีตโดยวิธี Marshall” หรือ AASHTO T-245 สําหรับอุณหภูมิของส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตในขณะ
บดอัดก้อนตัวอย่างในห้องทดลอง จะต้องตรงตามที่ระบุไว้ในสูตรส่วนผสมเฉพาะงาน สําหรับตัวอย่างส่วนผสม
แอสฟัลต์คอนกรีตระหว่างดําเนินการในห้องทดลองนั้นอนุญาตให้นําเข้าอบในเตาอบเพื่อรักษาอุณหภูมิสําหรับ
การบดอัดที่กําหนด ได้นานไม่เกิน 30 นาที ในระหว่างดําเนินการถ้าอุณหภูมิของตัวอย่างส่วนผสมแอสฟัลต์
คอนกรีต ลดลงต่ํากว่าอุณหภูมิการบดอัดที่กําหนดให้ทิ้งตัวอย่างส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตดังกล่าว ห้ามนําไป
อบเพื่อเพิ่มอุณหภูมิเพื่อนํามาใช้บดอัดทําก้อนตัวอย่างทดลองอีกต่อไป
(2) การจัดเตรียมก้อนตัวอย่างแอสฟัลต์คอนกรีตในสนาม
ให้ เ จาะก้ อ นตั ว อย่ า งของชั้ น ทางแอสฟั ล ต์ ค อนกรี ต ในสนาม ที่ ก่ อ สร้ า งเสร็ จ
เรียบร้อยแล้วด้วยเครื่องเจาะตัวอย่าง โดยเจาะเก็บก้อนตัวอย่างจํานวน 1 ก้อนตัวอย่าง ทุก ๆ ระยะทาง
ประมาณ 250 เมตร หรือทุก ๆ ส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตที่นํามาใช้งานประมาณ 100 ตัน แล้วนําไปทดลอง
หาค่าความแน่นตาม “วิธีการทดลองแอสฟัลต์คอนกรีต โดยวิธี Marshall” หรือ AASHTO T-245
สํ า หรั บ ชั้ น ผิ ว ทาง ชั้ น รองผิ ว ทาง และชั้ น ปรั บ ระดั บ แอสฟั ล ต์ ค อนกรี ต ที่ มี
ความหนาแน่ น ไม่ น้ อ ยกว่ า 25 มิ ล ลิ เ มตร ค่ า ความแน่ น ของชั้ น ทางแอสฟั ล ต์ ค อนกรี ต ในสนามจะต้ อ ง
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 98 ของค่าความแน่นเฉลี่ยของก้อนตัวอย่างจากห้องทดลองที่ใช้เปรียบเทียบประจําวัน

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 68 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

สําหรับชั้นพื้นทาง และผิวไหล่ทางแอสฟัลต์คอนกรีต ค่าความแน่นของชั้นทาง


แอสฟัลต์คอนกรีตในสนามจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 97 และ 96 ของค่าความแน่นเฉลี่ยของก้อนตัวอย่างจาก
ห้องทดลองที่ใช้เปรียบเทียบประจําวันตามลําดับ
5.12 งานเส้นจราจรชนิด THERMOPLASTIC PAINT
หมายถึง การจัดทําเครื่องหมายจราจร (Traffic Marking) โดยการตีเส้นแบ่งทิศทางจราจรด้วยเส้นทึบ
หรือเส้นประ เส้นขอบทาง เส้นหยุด ลูกศร หรือเครื่องหมายอื่นใด บนผิวจราจรด้วยสีชนิด THERMOPLASTIC
PAINT สีเหลือง และสีขาว
(1) วัสดุ
(1.1) สีตีเส้นแบ่งทิศทางจราจร เส้นขอบทาง และเส้นหยุด ให้ใช้สีเทอร์โมพลาสติก ผสมลูกแก้ว
สะท้อนแสง ร้อยละ 13 ถึง 22 โดยน้ําหนักของส่วนผสม วัสดุเทอร์โมพลาสติกสะท้อนแสงสําหรับทําเครื่องหมาย
บนผิวทาง มีคุณสมบัติตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.542-2549 และลูกแก้วที่ใช้กับวัสดุทํา
เครื่องหมายบนผิวทางมีคุณสมบัติตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.543-2549
(ก) ลูกแก้วสะท้อนแสง ต้องมีขนาดผ่านตะแกรงเบอร์ 12 และส่วนที่ผ่านตะแกรงเบอร์ 40
ไม่เกินร้อยละ 10 มีรูปร่างกลมใส ปริมาณมากกว่าร้อยละ 80 และไม่มีรูปร่างเหลี่ยม มุมแหลมคมปะปน
(ข) มีคุณสมบัติคงรูป ขณะตีเส้นบนถนนที่มีอุณหภูมิสูงสุดในสภาพการจราจรปกติ
(ค) มีคุณสมบัติยืดหยุ่นตัว ภายใต้สภาวะอุณหภูมิของถนนต่ําสุด
(ง) มีคุณสมบัติสะท้อนแสงอย่างน้อย 18 เดือน ในการใช้งานภายใต้สภาพการจราจรปกติ
(จ) สัดส่วนการผสม ไม่มีผลในการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางเคมี วิธีการผสม วิธีการใช้งาน
ระยะเวลาการแข็งตัว จุดวาบไฟ และจุดอ่อนตัว
(1.2) ลูกศร และเครื่องหมายอื่นใด ให้ใช้สีสะท้อนแสงสีขาวผสมลูกแก้ว 330-500 กรัมต่อลิตร
(ก) ลูกแก้วสะท้อนแสง ต้องมีขนาดผ่านตะแกรงเบอร์ 20 และส่วนที่ผ่านตะแกรงเบอร์ 100
ไม่เกินร้อยละ 5
(ข) มีรูปร่างกลมใส มากกว่าร้อยละ 75 และไม่มีส่วนที่มีรูปร่างเหลี่ยม มุมแหลมคม
ปะปนอยู่
(2) วิธีการก่อสร้าง
(ก) ผิวทางที่จะตีเส้น หรือทําเครื่องหมายจราจร ต้องแห้ง และสะอาด
(ข) ไม่ตีเส้นหรือทําเครื่องหมายจราจรบนผิวทางที่มีวัสดุหลุดหลวม มีคราบโคลนแข็ง หรือบนสี
ตีเส้น และเครือ่ งหมายจราจรเดิมที่ชํารุดเสียหาย
(ค) กรณีที่ผิวทางเดิมเป็นแอสฟัลต์ หรือคอนกรีตที่ผิวขัดเรียบ ต้องทําการราดแอสฟัลต์ Tack
Coat ตามอัตราที่ผู้ผลิตสีเทอร์โมพลาสติก แนะนําโดยได้รับความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
ก่อนดําเนินการ ตีเส้น หรือทําเครื่องหมายจราจรทับหน้า
(ง) สีเทอร์โมพลาสติก หรือสีสะท้อนแสงผสมลูกแก้ว ต้องกวนให้เข้ากันสม่ําเสมอเป็นเนื้อ
เดียวกันตลอด และให้ความร้อนตามคําแนะนําของผู้ผลิต
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 69 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

(จ) สีเทอร์โมพลาสติก หรือสีสะท้อนแสงผสมลูกแก้วที่ให้ความร้อนสูงเกินกว่าอุณหภูมิสูงสุดที่


ผู้ผลิตกําหนด หรือให้ความร้อนไว้นานเกิน 4 ชั่วโมง ห้ามนํามาใช้งาน
(ฉ) การตีเส้นแบ่งทิศทางจราจร เส้นทึบ เส้นประ เส้นขอบทาง ต้องให้ได้แนว ขนาด ตามแบบ
รูปและรายการละเอียด โดยใช้เครื่องจักรในการตีเส้น
(ช) การตีเส้นหยุด ลูกศร หรือเครื่องหมายจราจรอื่น อาจใช้เครื่องตีเส้นชนิดลาก หรือแรงงาน
ดําเนินการได้โดยได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าผู้ควบคุมงานของผู้ว่าจ้างก่อน
(ซ) หลั งจากตีเส้ น หรื อทําเครื่องหมายจราจรเสร็ จ ต้ องทิ้ งไว้ให้ วัสดุ เย็ นตั ว หรือครบตาม
ระยะเวลาที่ผู้ผลิตกําหนด ก่อนเปิดให้การจราจรผ่านได้
(ฌ) ความหนาในการตีเส้นหรือทําเครื่องหมายจราจร ไม่น้อยกว่า 3 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 6
มิลลิเมตร
5.13 แผ่นป้ายจราจร (SIGN PLATE) พร้อมเสาป้ายคอนกรีต (R.C.SIGN POST)
หมายถึง งานจัดหาและติดตั้งแผ่นป้ายจราจร (SIGN PLATE) พร้อมเสาป้ายคอนกรีต (R.C.SIGN
POST) โดยเป็นการติดตั้งป้ายหยุด ป้ายบังคับ ป้ายเตือน หรือป้ายแนะนําชนิดต่าง ๆ ที่มีรูปร่าง สี ขนาด
เครื่องหมาย สัญลักษณ์ ตัวเลข ตัวอักษร และตําแหน่งการติดตั้งตามที่ระบุไว้ในแบบก่อสร้าง
(1) วัสดุ
(ก) แผ่นเหล็กที่ใช้ต้องอาบสังกะสี และมีคุณสมบัติตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
เลขที่ มอก.50-2548 โดยมีความหนา 1.2 มิลลิเมตร ที่ขอบป้ายและรูที่เจาะสําหรับใส่สลักเกลียวและแป้น
เกลียวยึดกับเสา ต้องทาด้วยสีกันสนิม โดยไม่ให้เลอะทับด้านหน้าและด้านหลังของแผ่นป้าย
(ข) แผ่นเทปสะท้อนแสงที่ใช้แสดงเครื่องหมายบนป้ายจราจรต้องมีแถบกาวอยู่ด้านหลัง
และมีคุณสมบัติตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.606-2549
(ค) สํ า หรั บ ป้ า ยแนะนํ า โครงเหล็ ก ยึ ด แผ่ น ป้ า ย ทํ า ด้ ว ยเหล็ ก กลวงสี่ เ หลี่ ย ม ขนาด
50x25x1.6 มิลลิเมตร การประกอบเหล็กให้เป็นโครงยึดป้าย ให้ใช้วิธีการเชื่อม และผิวการเชื่อมต้องขัดเรียบ
และทาสีกันสนิมรองพื้นก่อนทาสีดําปิดทับ
(ง) สีกันสนิมเป็นสีแดง ชั้น 3 ได้ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.389-2531
(2) รูปร่างและขนาดของป้ายจราจร
(ก) ป้ายบังคับ โดยทั่วไปเป็นรูปกลมใช้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 60 เซนติเมตร ยกเว้นป้าย
หยุดเป็นรูปแปดเหลี่ยมใช้ขนาด 75x75 เซนติเมตร
(ข) ป้ายเตือน โดยทั่วไปเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสตั้งมุมขึ้นใช้ขนาด 60x60 เซนติเมตรหรือ
ตามที่ระบุไว้ในแบบ
(ค) ป้ายแนะนํา โดยทั่วไปเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าใช้ 2 ขนาด
- ป้ายแนะนําทางเข้า “โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่”
ใช้ขนาด 90 x 240 เซนติเมตร

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 70 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

- ป้ายแนะนําอื่น ใช้ขนาด 60 x 180 เซนติเมตร สําหรับรัศมีของมุมป้ายให้เป็นไปตาม


ตารางที่ 5-18
(3) สีของป้ายจราจร
(ก) ป้ายบังคับ โดยทั่วไปใช้สีขาวเป็นพื้น เส้นขอบป้ าย เส้ นขีดกลางใช้สีแดง เครื่ องหมาย
สัญลักษณ์ ตัวเลข และตัวอักษรบนป้ายใช้สีดํา ยกเว้น
- ป้ายห้ามจอดรถ พื้นป้ายสีนํา้ เงิน เส้นขอบป้ายและเส้นขีดกลางใช้สีแดง
- ป้ายหยุด พื้นป้ายสีแดง เส้นขอบป้ายและตัวอักษรใช้สีขาว
- ป้ายสุดเขตบังคับ พื้นป้ายสีขาว เส้นขอบป้ายและเส้นขีดกลางสีดํา
(ข) ป้ายเตือน โดยทั่วไปใช้สีเหลืองเป็นพื้น เส้นขอบป้ายเครื่องหมาย สัญลักษณ์ ตัวเลข และตัว
อักษรบนป้ายใช้สีดํา
(ค) ป้ายเตือนเกี่ยวเนื่องกับการก่อสร้าง ใช้พื้นสีแสด เส้นขอบป้าย เครื่องหมาย สัญลักษณ์
ตัวเลข และตัวอักษรบนป้ายใช้สีดํา
(ง) ป้ายแนะนํา ใช้พื้นป้ายสีขาว เส้นขอบป้าย เครื่องหมาย สัญลักษณ์ ตัวเลข และตัวอักษรบน
ป้ายใช้สีดํา
(4) เส้นขอบป้าย
ป้ายจราจรทุกประเภทต้องมีเส้นขอบป้ายหนาเพียงพอทําให้สามารถมองเห็นป้ายจราจรได้ชัดเจน
ยิ่งขึ้น เส้นขอบป้ายแบ่งออกเป็น 2 แบบ
(ก) เส้นขอบป้ายแบบเว้นช่องว่างจากขอบป้าย สําหรับป้ายจราจรซึ่งมีเส้นขอบป้ายสีเข้มบนพื้น
ป้ายสีอ่อน ได้แก่ ป้ายเตือน และป้ายแนะนําโดยมีขนาดตามตารางข้างล่างนี้
(ข) เส้นขอบป้ายแบบอยู่ชิดขอบป้ายพอดี สําหรับป้ายจราจรซึง่ มีเส้นขอบป้ายสีอ่อนบนพื้นป้าย
สีเข้ม และป้ายบังคับ โดยมีขนาดตามตารางข้างล่างนี้
ตารางที่ 5-18 ขนาดป้ายและเส้นขอบป้ายจราจร
ส่วนที่แคบ เว้นขอบป้าย เส้นขอบป้าย รัศมีมุมป้าย รัศมีภายนอก
ที่สุดของป้าย ของเส้นขอบป้าย
(ซม.) (ซม.) (ซม.) (ซม.)
60 - 4.0 3.0 3.0
60 1.2 1.6 3.6 2.4
75 - 5.0 3.8 3.8
90 1.8 2.4 5.4 3.6

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 71 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

(5) วิธีการติดตั้ง
(ก) ให้ติดตั้งป้ายจราจรทางด้านซ้ายของผิวจราจร โดยให้มีระยะห่างจากขอบป้าย ถึงขอบไหล่
ทาง ไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตร แต่ไม่ให้ห่างจากขอบผิวจราจรเกินกว่า 400 เซนติเมตร
(ข) ป้ายจราจรทุกป้ายจะต้องปัก หรือติดตั้งหันหน้าเข้าหาทิศทางของยวดยานโดยติดตั้งให้เอียง
ออกจากแนวตั้งฉากการจราจรเล็กน้อย ประมาณ 5 องศา
(ค) เสาและป้ายจราจรจะต้องปักหรือติดตั้งให้อยู่ในแนวดิ่ง ไม่โยกคลอนหรือบิดไปมาได้ โคน
เสาให้เทคอนกรีตยึดเสาให้แน่น
(ง) ห้ามติดตั้งป้ายจราจรร่วมกับป้ายประเภทอื่น นอกจากที่กําหนดไว้โดยเฉพาะ
(จ) ความสู งของป้ ายจราจร ต้ องให้ส่วนล่างของป้ายสูงจากขอบผิวจราจรไม่น้อยกว่า 150
เซนติเมตร
(ฉ) ระยะห่างการติดตั้ง ป้ายจราจรสองป้ายที่มีวัตถุประสงค์แตกต่างกัน ไม่ควรจะตั้งห่างกัน
น้อยกว่า 60 เมตร
(ช) ระยะห่างการติดตั้งป้ายจราจร โดยปกติจะติดไว้ล่วงหน้าก่อนที่จะถึงจุดที่ต้องการจะเตือน
หรือแนะนําผู้ขับขี่ ประมาณ 100-150 เมตร ยกเว้นป้ายบังคับป้ายหยุดให้ติดตั้งใกล้จุดที่ต้องการให้รถหยุด
5.12 การวัดปริมาณงานและการจ่ายเงิน
5.12.1 งานถางป่าและขุดตอ ขนาดเบา (CLEARING AND GRUBBING)
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานถางป่าและขุดตอ ขนาดเบา (CLEARING
AND GRUBBING) ตามรายการที่แสดงไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้
ทํ า งานเสร็ จ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว และมี ร ะยะทางต่ อ เนื่ อ งตามที่ ค ณะกรรมการตรวจรั บ พั ส ดุ เห็ นสมควร โดย
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นตารางเมตร ตามขอบเขตที่แบบรูปและ
รายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดย
ให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณี งานถางป่ าและขุ ดตอ ขนาดเบา (CLEARING AND GRUBBING) อยู่ภายในขอบเขต
สําหรับงานอาคารตามที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้ในงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นตารางเมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงาน
และราคาของสัญญานี้ อัตราต่อหน่วยในงานที่เกี่ยวข้องนี้ให้รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร วัสดุ อุปกรณ์
ทางลําเลียง ค่าขนส่ง ค่าเครื่องหมายจราจรต่าง ๆ ในระหว่างการก่อสร้าง ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ
เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 72 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

5.12.2 งานดินถมคันทาง (EARTH EMBANKMENT)


การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานดินถมคันทาง (EARTH EMBANKMENT)
ตามรายการที่แสดงไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานเสร็จเรียบร้อย
แล้วและมีระยะทางต่อเนื่องตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
จะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้
หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงาน
ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานดินถมคันทาง (EARTH EMBANKMENT) อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคาร
ตามที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัด
ให้แต่จะคิดรวมไว้ในงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้ง
ปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ อัตราต่อหน่วยในงานที่เกี่ยวข้องนี้ให้รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร
วัสดุ อุปกรณ์ ทางลําเลียง ค่าขนส่ง ค่าเครื่องหมายจราจรต่าง ๆ ในระหว่างการก่อสร้าง ค่าแรงงาน และ
ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์
5.12.3 งานวัสดุคัดเลือก ข (SELECTED MATERIAL B)
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานวัสดุคัดเลือก ข (SELECTED MATERIAL B)
ตามรายการที่แสดงไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานเสร็จเรียบร้อย
แล้วและมีระยะทางต่อเนื่องตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
จะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้
หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงาน
ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานวัสดุคัดเลือก ข (SELECTED MATERIAL B) อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคาร
ตามที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัด
ให้แต่จะคิดรวมไว้ในงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้ง
ปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ อัตราต่อหน่วยในงานที่เกี่ยวข้องนี้ให้รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร
วัสดุ อุปกรณ์ ทางลําเลียง ค่าขนส่ง ค่าเครื่องหมายจราจรต่าง ๆ ในระหว่างการก่อสร้าง ค่าแรงงาน และ
ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 73 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

5.12.4 งานวัสดุคัดเลือก ก (SELECTED MATERIAL A)


การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานวัสดุคัดเลือก ก (SELECTED MATERIAL A)
ตามรายการที่แสดงไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานเสร็จเรียบร้อย
แล้วและมีระยะทางต่อเนื่องตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
จะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้
หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงาน
ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานวัสดุคัดเลือก ก (SELECTED MATERIAL A) อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคาร
ตามที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัด
ให้แต่จะคิดรวมไว้ในงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้ง
ปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ อัตราต่อหน่วยในงานที่เกี่ยวข้องนี้ให้รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร
วัสดุ อุปกรณ์ ทางลําเลียง ค่าขนส่ง ค่าเครื่องหมายจราจรต่าง ๆ ในระหว่างการก่อสร้าง ค่าแรงงาน และ
ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์
5.12.5 งานรองพื้นทางวัสดุมวลรวม (SOIL AGGREGATE SUBBASE)
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานรองพื้นทางวัสดุมวลรวม (SOIL AGGREGATE
SUBBASE) ตามรายการที่แสดงไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางาน
เสร็จเรียบร้อยแล้วและมีระยะทางต่อเนื่องตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการ
ละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้
ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานรองพื้นทางวัสดุมวลรวม (SOIL AGGREGATE SUBBASE) อยู่ภายในขอบเขตสําหรับ
งานอาคารตามที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่
แยกตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้ในงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้ง
ปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ อัตราต่อหน่วยในงานที่เกี่ยวข้องนี้ให้รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร
วัสดุ อุปกรณ์ ทางลําเลียง ค่าขนส่ง ค่าเครื่องหมายจราจรต่าง ๆ ในระหว่างการก่อสร้าง ค่าแรงงาน และ
ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 74 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

5.12.6 งานพื้นทางหินคลุก (CRUSHED ROCK SOIL AGGREGATE BASE)


การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานพื้นทางหินคลุก (CRUSHED ROCK SOIL
AGGREGATE BASE) ตามรายการที่แสดงไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้
ทํ า งานเสร็ จ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว และมี ร ะยะทางต่ อ เนื่ อ งตามที่ ค ณะกรรมการตรวจรั บ พั ส ดุ เ ห็ น สมควร โดย
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามขอบเขตที่แบบรูป
และรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ
โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานพื้นทางหินคลุก (CRUSHED ROCK SOIL AGGREGATE BASE) อยู่ภายในขอบเขต
สําหรับงานอาคารตามที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้ในงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้ง
ปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ อัตราต่อหน่วยในงานที่เกี่ยวข้องนี้ให้รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร
วัสดุ อุปกรณ์ ทางลําเลียง ค่าขนส่ง ค่าเครื่องหมายจราจรต่าง ๆ ในระหว่างการก่อสร้าง ค่าแรงงาน และ
ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์
5.12.7 งานลาดแอสฟัลต์ไพรม์โค้ต (PRIME COAT) (พื้นทางหินคลุก)
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานลาดแอสฟั ลต์ ไพรม์โค้ต (PRIME COAT)
(พื้นทางหินคลุก) ตามรายการที่แสดงไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้
ทํ า งานเสร็ จ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว และมี ร ะยะทางต่ อ เนื่ อ งตามที่ ค ณะกรรมการตรวจรั บ พั ส ดุ เ ห็ น สมควร โดย
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นตารางเมตร ตามขอบเขตที่แบบรูป
และรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ
โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานลาดแอสฟัลต์ไพรม์โค้ต (PRIME COAT) (พื้นทางหินคลุก) อยู่ภายในขอบเขตสําหรับ
งานอาคารตามที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่
แยกตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้ในงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นตารางเมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณ
งานและราคาของสัญญานี้ อัตราต่อหน่วยในงานที่เกี่ยวข้องนี้ให้รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร วัสดุ
อุปกรณ์ ทางลําเลียง ค่าขนส่ง ค่าเครื่องหมายจราจรต่าง ๆ ในระหว่างการก่อสร้าง ค่าแรงงาน และ
ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 75 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

5.12.8 งานผิวทาง Asphaltic Concrete หนา 5 ซม.


การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานผิวทาง Asphaltic Concrete หนา
5 ซม. ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานเสร็จเรียบร้อย
แล้วและมีพื้นที่ต่อเนื่องตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทํา
การตรวจวัดปริมาณงานที่ทําจริงมีหน่วยเป็นตารางเมตร โดยให้ยึดถือวิธีการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานผิวทาง Asphaltic Concrete หนา 5 ซม. อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคาร
ตามที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัด
ให้แต่จะคิดรวมไว้ในงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นตารางเมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณ
งานและราคาของสัญญานี้ อัตราต่อหน่วยในงานที่เกี่ยวข้องนี้ให้รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร วัสดุ
อุปกรณ์ ทางลําเลียง ค่าขนส่ง ค่าเครื่องหมายจราจรต่าง ๆ ในระหว่างการก่อสร้าง ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่าย
อื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์
5.12.9 งานเส้นจราจรชนิด THERMOPLASTIC PAINT
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานเส้นจราจรชนิด THERMOPLASTIC PAINT
ตามรายการที่แสดงไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานเสร็จเรียบร้อย
แล้วและมีระยะทางต่อเนื่องตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทํา
การตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นตารางเมตร ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือ
ตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานเส้นจราจรชนิด THERMOPLASTIC PAINT อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคาร
ตามที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัด
ให้แต่จะคิดรวมไว้ในงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นตารางเมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณ
งานและราคาของสัญญานี้ อัตราต่อหน่วยในงานที่เกี่ยวข้องนี้ให้รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร วัสดุ
อุปกรณ์ ทางลําเลียง ค่าขนส่ง ค่าเครื่องหมายจราจรต่าง ๆ ในระหว่างการก่อสร้าง ค่าแรงงาน และ
ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 76 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 5 : งานถนน

5.12.10 งานทางเบี่ยง
คณะกรรมการตรวจรั บ พั ส ดุ จ ะไม่ แ ยกตรวจวั ด ปริ ม าณงานทางเบี่ ย งให้ แต่ ใ ห้ ผู้ รั บ จ้ า ง
คิดค่าใช้จ่ายรวมไว้ในขอบเขตสําหรับงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณ
งานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่งของสัญญานี้
5.11.11 งานรื้อย้ายทางเบีย่ ง (หลังก่อสร้าง)
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานรื้อย้ายทางเบี่ยง (หลังก่อสร้าง) ตามรายการ
ที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างทํางานได้ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
เห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานที่ทําจริงมีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร
โดยให้ยึดถือวิธีการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานรื้อย้ายทางเบี่ยง (หลังก่อสร้าง) อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารตามที่แสดงไว้ใน
ใบแจ้งปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิด
รวมไว้ในงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ ว่าจ้ างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่ วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามรายการที่แสดงไว้ ในใบแจ้ง
ปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ อัตราต่อหน่วยในงานที่เกี่ยวข้องนี้ให้รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหา เครื่องจักร -
เครื่องมือ ค่าแรงงาน ค่าขนย้ายไปกองและเกลี่ยยังสถานที่ที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุกําหนดให้ ตลอดจน
ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
5 - 77 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

บทที่ 6
งานท่อส่งน้ํา
6.1 ขอบเขตของงาน
งานในบทนี้มีขอบเขตของงานที่ผู้รับจ้างต้องจัดหาและติดตั้งงานท่อ เพื่อการส่งน้ําโดยประกอบด้วย
การจัดหาท่อเหล็กกล้า ท่อพีวีซี อุปกรณ์ท่อ ประตูน้ํา และอุปกรณ์เพิ่มเติมต่าง ๆ ที่จําเป็นต้องใช้ในงาน
ก่ อ สร้ า งวางท่ อ และงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งต่ า ง ๆ ตามที่ กํ า หนดไว้ ใ นแบบรู ป และรายการละเอี ย ดหรื อ ตามที่
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ ทั้งนี้โดยที่ท่อเหล็กกล้า ท่อพีวีซี อุปกรณ์ท่อ ประตูน้ํา และอุปกรณ์
เพิ่มเติมต่าง ๆ เหล่านั้นต้องเป็นของใหม่ ไม่เคยใช้งานมาก่อน และมีคุณสมบัติที่ต้องการเป็นไปตามที่กําหนด
ไว้ในรายละเอียดนี้
ในกรณีที่ท่อเหล็กกล้า ท่อพีวีซี อุปกรณ์ท่อ ประตูน้ําและอุปกรณ์เพิ่มเติมต่าง ๆ มีผู้ได้รับใบอนุญาต
ให้แสดงเครื่องหมายมาตรฐานกับผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม จากสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ตั้งแต่สามรายขึ้นไป ผู้รับจ้างจะต้องใช้ท่อเหล็กกล้า ท่อพีวีซี อุปกรณ์ท่อ ประตูน้ํา และอุปกรณ์เพิ่มเติม
ต่าง ๆ ที่ได้รับใบอนุญาตการแสดงเครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม และผลิตในประเทศไทย
ในกรณีที่ท่อเหล็กกล้า ท่อพีวีซี อุปกรณ์ท่อ ประตูน้ํา และอุปกรณ์เพิ่มเติมต่าง ๆ เป็นผลิตภัณฑ์ที่
ประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแล้วแต่มีผู้ได้รับใบอนุญาตให้แสดงเครื่องหมายมาตรฐานกับ
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมจากสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไม่ถึงสามราย และหรือมีผู้ได้รับการ
จดทะเบียนผลิตภัณฑ์จากกระทรวงอุตสาหกรรมแล้ว ผู้รับจ้างจะต้องใช้ท่อเหล็กกล้า ท่อพีวีซี อุปกรณ์ท่อ
ประตูน้ํา และอุปกรณ์เพิ่มเติมต่าง ๆ ที่ผลิตในประเทศไทย
ท่อเหล็กกล้า ท่อพีวีซี อุปกรณ์ท่อ ประตูน้ํา และอุปกรณ์เพิ่มเติมต่าง ๆ ที่จะต้องมีอุปกรณ์ประกอบ
ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาเป็นชุด เช่น อุปกรณ์ท่อที่เป็นข้อต่อหน้าจานจะต้องประกอบด้วยปะเก็นยาง สลักเกลียว
และแป้นเกลียว ข้อต่อยีโบลท์จะต้องประกอบด้วย แหวนยาง สลักเกลียวและแป้นเกลียว เป็นต้น
พร้อมนี้ ผู้รับจ้างต้องขนส่งและติดตั้งท่อเหล็กกล้า ท่อพีวีซี อุปกรณ์ท่อ ประตูน้ํา และอุปกรณ์เพิ่มเติม
ต่าง ๆ ให้ถูกต้องตามข้อกําหนดต่าง ๆ ในสัญญา และสามารถใช้งานได้เป็นอย่างดีตามวัตถุประสงค์ของงาน
6.2 ข้อกําหนดทั่วไป
6.2.1 ผู้รับจ้างต้องเสนอแผนงานการจัดหาและติดตั้ง ท่อเหล็กกล้า ท่อพีวีซี อุปกรณ์ท่อ ประตูน้ํา
และอุปกรณ์เพิ่มเติมต่าง ๆ ต่อคณะกรรมการตรวจรั บพัส ดุเพื่อพิ จารณาอนุมัติก่อนเริ่ม ดําเนิ นการ และ
ให้เสนอต่อคณะกรรมการตรวจรับพัสดุก่อนเริ่มงานไม่น้อยกว่า 30 (สามสิบ) วัน
6.2.2 ผู้ รั บจ้างต้องตรวจสอบความถู กต้ องของแบบรูป และรายการละเอีย ดประกอบต่า ง ๆ ให้
เรียบร้อยก่อนที่จะเริ่มดําเนินการ หากแบบรูปและรายการละเอียดมีข้อผิดพลาด ไม่ชัดเจน หรือขัดแย้งกับ
ข้อกําหนดต่าง ๆ ในสัญญา ผู้รับจ้างต้องเสนอรายละเอียดดังกล่าวต่อคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ เพื่อ
พิจารณาสั่งการ
6.2.3 ผู้รับจ้างต้องจัดหาหรือเตรียมเครื่องมือชนิดต่าง ๆ ให้กับผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างหรือ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเพื่อใช้ในการตรวจสอบคุณภาพงาน
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6-1 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

6.2.4 ผู้รับจ้างต้องจัดทําและส่งมอบแบบหลักฐาน (As-built drawings) แสดงตําแหน่งของวัสดุ


อุปกรณ์ต่าง ๆ รวมทั้งการแก้ไขอื่น ๆ ที่ปรากฏในระหว่างการติดตั้งให้กับคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ก่อนที่
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุตรวจรับงานงวดสุดท้าย
6.2.5 วัสดุและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่จะนํามาใช้ในงาน หรือใช้ในการผลิต หรือประกอบติดตั้ง จะต้อง
เป็นของใหม่ ไม่ผ่านการใช้งานมาก่อน และต้องมีคุณสมบัติตามที่กําหนดให้ หรือเทียบเท่า
6.2.6 คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสามารถสั่งให้มีการแก้ไขรายละเอียดงานได้ เมื่อพบว่าผลงานการ
ผลิตหรือติดตั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ไม่เรียบร้อย ไม่เหมาะสมหรือไม่ถูกต้องตามข้อกําหนดต่าง ๆ ในสัญญา หรือ
ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุได้ให้การอนุมัติไว้ หรือถ้ามีข้อสงสัยในคุณภาพงาน สามารถเรียกเอกสาร
ต่าง ๆ เช่น หนังสือรับรองจากผู้จําหน่ายหรือผู้ผลิต หรือผลทดสอบฯลฯ เพิ่มเติมจากผู้รับจ้างได้ และ
ค่ า ใช้ จ่ า ยต่ า ง ๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการแก้ ไ ข เปลี่ ย นแปลง ตรวจสอบหรื อ ทดสอบเพิ่ ม เติ ม นี้ ผู้ รั บ จ้ า งต้ อ ง
รับผิดชอบทั้งหมด
6.3 แบบเพิ่มเติม (Shop Drawings)
ผู้รับจ้างจะต้องจัดส่งแบบเพิ่มเติม (Shop Drawings) แสดงรายละเอียดส่วนประกอบของท่อเหล็กกล้า
ท่อพีวีซี อุปกรณ์ท่อ ประตูน้ํา และอุปกรณ์เพิ่มเติมต่าง ๆ ที่จะนํามาใช้ในงานก่อสร้างให้คณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุเพื่อพิจารณาอนุมัติในกรณีดังต่อไปนี้
6.3.1 กรณีที่ในแบบรูปและรายการละเอียดการก่อสร้างไม่ได้กําหนดรายละเอียดคุณสมบัติของ
ท่อเหล็กกล้า ท่อพีวีซี อุปกรณ์ท่อ ประตูน้ํา และอุปกรณ์เพิ่มเติมต่าง ๆ ไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด
หรือในรายละเอียดด้านวิศวกรรมสัญญานี้ และท่อเหล็กกล้า ท่อพีวีซี อุปกรณ์ท่อ ประตูน้ํา และอุปกรณ์
เพิ่มเติมต่าง ๆ ดังกล่าว มีความจําเป็นต้องนํามาใช้ในงานก่อสร้าง
6.3.2 กรณีที่ผู้รับจ้างต้องการเสนอท่อเหล็กกล้า ท่อพีวีซี อุปกรณ์ท่อ ประตูน้ํา และอุปกรณ์
เพิ่มเติมต่าง ๆ ซึ่งมีรายละเอียดและคุณสมบัติแตกต่างไปจากที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียดของ
ผู้ว่าจ้าง
6.3.3 กรณีที่ผู้รับจ้างพิจารณาแล้วเห็นว่า มีความจําเป็นต้องเพิ่มเติมรายละเอียดจําเพาะบางประการ
ของท่อเหล็กกล้า ท่อพีวีซี อุปกรณ์ท่อ ประตูน้ํา และอุปกรณ์เพิ่มเติมต่าง ๆ ที่จะจัดส่งให้แก่ผู้ว่าจ้าง
แบบเพิ่มเติม (Shop Drawings) ที่เสนอจะต้องแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ที่จําเป็นอย่างชัดเจนและ
อย่างน้อยต้องแสดงรายละเอียดดังต่อไปนี้
- ขนาดและมิติต่าง ๆ
- รายการวัสดุ คุณสมบัติของวัสดุทั้งทางกลและทางเคมี รวมถึงมาตรฐานอ้างอิง (Reference
Standard) ที่จะนํามาใช้ในการผลิต
- ชื่อโรงงานผู้ผลิต

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6-2 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

6.4 การควบคุมการผลิต
ผู้รับจ้างต้องจัดทํารายการวัสดุและวัตถุดิบที่จะนํามาใช้ในการผลิตท่อเหล็กกล้า ท่อพีวีซี อุปกรณ์ท่อ
ประตูน้ํา และอุปกรณ์เพิ่มเติมต่าง ๆ ที่จะมาใช้ในงานก่อสร้าง ในแต่ละรอบการผลิต รวมทั้งแผนการผลิต
เสนอขอรับการอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุก่อนการผลิต
รายการวัสดุหรือวัตถุดิบที่เสนอ จะต้องมีรายละเอียดประกอบต่าง ๆ ที่จําเป็น เช่น ปริมาณ หรือ
จํานวน มาตรฐานและชั้นคุณภาพของวัสดุหรือวัตถุดิบ ชื่อผู้ผลิต และชื่อผู้รับจ้าง เป็นต้น
ผู้รับจ้างต้องแจ้งคณะกรรมการตรวจรับพัสดุล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 30 (สามสิบ) วัน ก่อนทํา
การผลิตท่อเหล็กกล้า ท่อพีวีซี อุปกรณ์ท่อ ประตูน้ํา และอุปกรณ์เพิ่มเติมต่าง ๆ เพื่อที่คณะกรรมการตรวจรับ
พัสดุจะจัดส่งเจ้าหน้าที่เป็นตัวแทนไปตรวจสอบวัตถุดิบที่จะใช้ในการผลิต ควบคุมการผลิต ชักตัวอย่างวัตถุดิบ
ณ โรงงานผู้ผลิตของผู้รับจ้าง รวมถึงทดสอบการใช้งานตามที่กําหนดในรายละเอียดนี้ และในระหว่างที่ผลิต
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง หรือคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ มีสิทธิที่จะเข้าตรวจสอบการผลิตที่โรงงาน
ผู้ผลิตได้โดยไม่ต้องแจ้งล่วงหน้า โดยที่ผู้รับจ้างจะต้องมีหนังสือยินยอมจากผู้ผลิตมอบไว้เป็นหลักฐาน
ในกรณีที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง หรือคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ไม่สามารถตรวจสอบ
วัสดุ ท่อเหล็กกล้า ท่อพีวีซี อุปกรณ์ท่อ ประตูน้ํา และอุปกรณ์เพิ่มเติมต่าง ๆ ได้เอง ผู้รับจ้างสามารถจัดส่ง
ตัวอย่างไปให้หน่วยงานที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเชื่อถือตรวจสอบแทนได้
การที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุส่งเจ้าหน้าที่เข้าควบคุมการผลิตท่อเหล็กกล้า ท่อพีวีซี อุปกรณ์ท่อ
ประตู น้ํ า และอุ ป กรณ์ เ พิ่ ม เติ ม ต่ า ง ๆ ที่ จ ะจั ด ส่ ง สํ า หรั บ ใช้ ง านการก่ อ สร้ า ง มิ ไ ด้ ทํ า ให้ ผู้ รั บ จ้ า งพ้ น จาก
ความรับผิดชอบตามสัญญานี้แม้แต่ประการใดไม่ ผู้รับจ้างจะต้องยอมรับแก้ไขและจัดทํางานซึ่งได้ตรวจพบว่า
ได้ถูกกระทําอย่างไม่ถูกต้องหรือไม่ประณีตเรียบร้อย โดยค่าใช้จ่ายเป็นของผู้รับจ้างทั้งสิ้น
6.5 ใบรับรองการผลิต
ผู้รับจ้างต้องแสดงใบรับรองการผลิตท่อเหล็กกล้า ท่อพีวีซี อุปกรณ์ท่อ ประตูน้ํา และอุปกรณ์
เพิ่มเติมต่าง ๆ ในแต่ละรอบการผลิต ที่จะส่งไปถึงหน่วยงานก่อสร้าง ใบรับรองดังกล่าวต้องรับรองโดยผู้ผลิต
เท่านั้น
ท่อเหล็กกล้า ท่อพีวีซี อุปกรณ์ท่อ ประตูน้ํา และอุปกรณ์เพิ่มเติมต่าง ๆ ที่ไม่มีใบรับรองการผลิต
จะไม่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าตให้ นํ า มาใช้ ใ นงานก่ อ สร้ า งจนกว่ า คณะกรรมการตรวจรั บ พั ส ดุ จ ะได้ รั บ การชี้ แ จงเป็ น
ลายลักษณ์อักษรจากผู้รับจ้างเป็นที่พอใจว่าท่อเหล็กกล้า ท่อพีวีซี อุปกรณ์ท่อ ประตูน้ํา และอุปกรณ์เพิ่มเติม
ต่าง ๆ เหล่านั้นเป็นชนิด ขนาด และมีคุณภาพตามที่กําหนดไว้ในรายละเอียดนี้ทุกประการ
6.6 การยก ขนส่ง และเก็บรักษาท่อเหล็กกล้า ท่อพีวีซี อุปกรณ์ท่อ ประตูน้ํา และอุปกรณ์ประกอบ
6.6.1 ท่อเหล็กกล้าและอุปกรณ์ท่อ
นอกจากจะกําหนดเป็นอย่างอื่นแล้ว การยก ขนส่ง และเก็บรักษาท่อเหล็กกล้าและอุปกรณ์
ท่อให้ปฏิบัติตามที่กําหนดในมาตรฐาน AWWA M 11 และ AWWA C 604 ตามลําดับ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6-3 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

ท่อเหล็กและอุปกรณ์ท่อต้องได้รับการค้ํายันภายใน (Internal Bracing) ที่ปลายท่อ โดยใช้ไม้


ค้ํายันหรือท่อเหล็กค้ํายันหรือวัสดุอื่นที่เหมาะสม เพื่อป้องกันมิให้เกิดการบิดเบี้ยวของท่อและอุปกรณ์ท่อ หาก
ใช้ไม้ค้ํายัน ท่อเหล็กค้ํายัน ท่อและอุปกรณ์ท่อ รายละเอียดของการค้ํายัน ดังตารางที่ 6-1
ตารางที่ 6-1 รายละเอียดของการค้ํายัน
จํานวนค้ํายัน ขนาดไม้คา้ํ ยัน ขนาดท่อนเหล็กค้ํายัน
ขนาดระบุ
(ท่อน) (นิ้ว) (มิลลิเมตร x มิลลิเมตร)
400 - 700 2 2x4 48.0 x 2.6
800 - 1100 3 2x4 48.0 x 2.6
1200 - 1500 4 2x4 48.0 x 3.2
1800 - 2100 4 2x4 60.0 x 4.5
ในกรณีที่จะใช้วัสดุอื่นค้ํายัน ผู้รับจ้างต้องขอรับการอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุก่อน
ห้ามมิให้ใช้ขอ (Hook) หรือแคล้มป์รัด เกี่ยวหรือหนีบรัดกับปากท่อโดยตรงในขณะทําการยก
และขนส่ง
การยกและกองท่อบนรถบรรทุก ต้องระมัดระวังไม่ให้ท่อเกิดการเสียดสีอันจะทําให้ผิวเคลือบ
ท่อและปลายท่อเสียหายได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งท่อแบบปากระฆัง (Bell and Spigot Pipe) ต้องให้ความ
ระมัดระวังเป็นพิเศษ การกองท่อบนรถบรรทุกต้องระวังไม่ให้เกิดการบิดเบี้ยวของท่อในระหว่างทําการขนส่ง
การยกท่อขึ้นลงจากรถบรรทุกต้องระวังมิให้เกิดความเสียหายแก่ผิวเคลือบท่อ อุปกรณ์ที่ควร
ใช้ในการยกท่อ ได้แก่ ผ้าใบผืนกว้าง (Wide Canvas) แถบผ้าไนลอน (Nylon Strap) และลวดสลิงที่มี
สิ่งห่อหุ้ม (Padded Slings) เป็นต้น
ห้ามมิให้ใช้โซ่เปลือย ลวดสลิง ขอเกี่ยว หรือแท่งโลหะ ในการยกท่อ
ห้ามมิให้ทิ้งหรือกลิ้งท่อลงจากรถบรรทุก
ในกรณี ที่จํ า เป็ น ต้ อ งกองท่ อในไหล่ ท างที่ เป็ น กรวดหรือ หิ น ต้ อ งใช้ แ ท่น ไม้ ถุ ง ทรายหรือ
กองทราย (Sand Mould) รองรับที่ปลายท่อทั้งสองข้าง จุดที่รองรับควรมีระยะห่างจากปลายท่อประมาณ
1/4 เท่าของความยาว
ท่อและอุปกรณ์ท่อต้องจัดเก็บไว้ในที่ปลอดภัย มีหลังคากันแดดหรือวัสดุป้องกันแสงแดดที่
เหมาะสม การกองเก็บให้จัดเรียงท่อเป็นชั้น ๆ อย่างเป็นระเบียบ ความสูงของกองท่อต้องไม่สูงเกินกว่าที่
ผู้ผลิตแนะนํา
การกองท่อชนิด Spigot and Socket Pipe ต้องจัดท่อเรียงสลับปลายในแต่ละชั้นดังนี้ ปลาย
Socket กับปลาย Spigot และปลาย Spigot กับปลาย Socket สลับกันไป
การกองท่อต้องมีไม้หมอนรองหนุนท่อที่กองแต่ละชั้น และมีลิ่มไม้ (Chock) หนุนเพื่อป้องกัน
ไม่ให้เกิดการลื่นไถลของท่อที่กอง ท่อจะต้องไม่วางติดกับผิวดิน ขนาดไม้หมอนต้องไม่เล็กกว่า 100 x 100
มิลลิเมตร

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6-4 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

6.6.2 ท่อพีวีซีและอุปกรณ์ท่อ
การขนส่งและเก็บรักษาท่อพีวีซี ต้องปฏิบัติตามคําแนะนําของผู้ผลิตและต้องทําด้วยความ
ระมัดระวัง เพื่อมิให้เกิดความเสียหายแก่ท่อ ไม่ว่าจะขนส่งด้วยวิธีใดก็ตาม ห้ามลากท่อไปบนผิวดินหรือ
ผิวถนนและต้องระวังมิให้ท่อกระทบกระแทกกับสิ่งมีคมต่าง ๆ โดยเฉพาะปลายท่อที่ต่อด้วยข้อต่อแบบหัวสวม
กันรั่วด้วยแหวนยางจะต้องมีสิ่งห่อหุ้มปลายท่อ เพื่อป้องกันความเสียหายเนื่องจากการขูดขีดหรือถูกทําให้เป็น
รอยโดยวิธีการต่าง ๆ ท่อจะต้องเก็บไว้ในร่มที่มีอากาศถ่ายเทดี หากจําเป็นต้องเก็บรักษากลางแจ้งต้องมี
สิ่งห่อหุ้มปกคลุมท่อที่เหมาะสมเพื่อมิให้ท่อถูกแสงแดดโดยตรงและมิให้ท่อสกปรกเปรอะเปื้อน ความสูงของ
กองท่อต้องไม่สูงกว่าที่ผู้ผลิตแนะนําและต้องมีไม้หมอนหนุนท่อที่ชั้นล่างสุด การหนุนด้วยไม้หมอนจะต้อง
จัดระยะระหว่างไม้หมอนให้เหมาะสมเพื่อป้องกันการโค้งบิดงอของตัวท่อ
6.6.3 ประตูน้ําเหล็กหล่อและประตูระบายอากาศ
การยกและการขนส่งประตูน้ําเหล็กหล่อ และประตูระบายอากาศ ต้องทําด้วยความระมัดระวัง
เพื่ อไม่ ให้ เกิ ดความเสี ยหายโดยที่ ประตู น้ํ าเหล็ กหล่ อ และประตู ระบายอากาศ ต้ องอยู่ ในสภาพปิ ดสนิ ท
ปากทางเข้าออกของประตูน้ําเหล็กหล่อ และปากทางเข้าของประตูระบายอากาศ จะต้องมีสิ่งปกปิดเพื่อป้องกัน
สิ่งสกปรก สิ่งแปลกปลอมเข้าภายในตัวเรือน ชนิดของสิ่งปกปิดจะต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุ
การเก็บรักษาประตูน้ําเหล็กหล่อ และประตูระบายอากาศ ต้องเก็บในร่ม หากจําเป็นต้องเก็บ
รักษาไว้กลางแจ้งจะต้องมีวัสดุห่อหุ้มปกคลุมที่เหมาะสม
สําหรับประตูน้ําเหล็กหล่อลิ้นหุ้มยาง ห้ามมิให้เก็บรักษาไว้กลางแจ้ง
ประตูน้ําเหล็กหล่อ และประตูระบายอากาศ จะต้องห่อหุ้มด้วยพลาสติกหรือกระดาษกันน้ํา
6.6.4 ประตูน้ําเหล็กหล่อลิ้นปีกผีเสื้อ
การยกและการขนส่งประตูน้ําเหล็กหล่อลิ้นปีกผีเสื้อ อาจทําโดยใช้รถโฟล์คลิฟท์ (Folklift)
หรือใช้ลวดสลิงมัดรอบตัวประตูน้ํา หรือใช้แท่น (Skids) รองรับตัวประตูน้ําสําหรับยก ลวดสลิงและรอกที่ใช้
ในการขนย้ายต้องมีความแข็งแรงเพียงพอในการรับน้ําหนักของประตูน้ํา
ห้ามมิให้ใช้ขอเกี่ยวหรือโซ่เกี่ยว หรือผูกกับลิ้นประตูน้ํา ชุดเกียร์ หรือพวงมาลัยในการยก
ขนย้ายประตูน้ํา
สําหรับประตูน้ําที่มีขนาด 400 มิลลิเมตร และใหญ่กว่าต้องทําแท่นรองรับประตูน้ําและ
ยึดประตู น้ําติดแน่ นกับแท่นเพื่ อสะดวกและปลอดภั ยในการขนย้าย ประตูน้ําอาจเก็บรักษาไว้ในร่มหรือ
กลางแจ้งก็ได้ และต้องปิดหน้าจานทั้งสองข้างของประตูน้ําด้วยหน้าจานตาบอดซึ่งทําด้วยไม้อัด หรือวัสดุอื่นที่
เทียบเท่า
ประตูน้ําต้องเก็บรักษาในตําแหน่งลิ้นปีกผีเสื้ออยู่ในแนวดิ่งและอยู่ในตําแหน่งปิดสนิท
ประตูน้ําต้องห่อหุ้มด้วยพลาสติกหรือกระดาษกันน้ํา

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6-5 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

6.6.5 ปะเก็นยางและแหวนยาง
ปะเก็นยาง แหวนยาง และวัสดุอื่นซึ่งจะเสื่อมคุณภาพเมื่อถูกแสงแดด จะต้องห่อหุ้มด้วยวัสดุ
ที่เหมาะสมเพื่อป้องกันแสงแดดและต้องเก็บรักษาในที่ที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก
ห้ามเก็บปะเก็นยางและแหวนยางไว้ในที่ชื้นแฉะ
ห้ามมิให้ปะเก็นยางและแหวนยางถูกน้ํามันหรือผลิตภัณฑ์น้ํามัน
ปะเก็นยางสําหรับหน้าจาน จะต้องบรรจุในถุงพลาสติกจํานวนไม่มากกว่า 10 แผ่นต่อถุง
บนถุงพลาสติกจะต้องพิมพ์ข้อความ วิธีการเก็บรักษา
แหวนยางสํ า หรั บ ข้ อ ต่ อ ยี โ บลท์ แ ละข้ อ ต่ อ ท่ อ เหล็ ก กล้ า (Mechanical and Flexible
Couplings) จะต้องบรรจุในถุงพลาสติกเป็นชุดต่อ 1 ข้อต่อ (2 เส้น) บนถุงพลาสติกจะต้องพิมพ์ข้อความ
วิธีการเก็บรักษา
6.6.6 การบรรจุหีบห่อ
ประตูน้ํา ประตูระบายอากาศ อุปกรณ์ท่อทําด้วยเหล็กหล่อและข้อต่อเหล็กกล้าพร้อมอุปกรณ์
จะต้องหุ้มด้วยกระดาษกันน้ําหรือพลาสติกแล้วบรรจุในลังไม้ ลังไม้จะต้องมีความแข็งแรงพอเพียงที่จะซ้อนลัง
ได้สูงไม่น้อยกว่า 3 ชั้น ที่ฐานของลังจะต้องยกพื้นลังเพื่อให้ลังมีความเหมาะสมกับการยกขึ้น-ลง โดยใช้
รถโฟล์คลิฟท์ (Folklift)
ขนาดลังและขนาดของไม้ที่ใช้ทําลังจะต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของ
ผู้ว่าจ้างก่อน
อุปกรณ์อื่น ๆ (ถ้ามี) เช่น ประตูน้ําทองแดงเจือแบบลิ้นยก Ball Valve แคล้มป์รัดท่อ เฟอรูล
พิเศษ อุปกรณ์มาตรวัดน้ํา สลักเกลียวและแป้นเกลียว จะต้องหุ้มด้วยกระดาษกันน้ํา หรือพลาสติก (ต่อตัว)
แล้วบรรจุลงในกล่องกระดาษหรือลังไม้
กล่องกระดาษหรือลังไม้จะต้องทําเครื่องหมายแสดงรายละเอียดให้จําแนกชนิดของสินค้าที่
บรรจุได้โดยไม่ต้องเปิดกล่องดังนี้
- ชื่อของสินค้าที่บรรจุ
- ปริมาณ
- ชื่อสัญญา
- ปีที่ผลิต
6.7 การทดสอบวัสดุ
6.7.1 วัสดุใดที่จะนํามาใช้ในการผลิตหรือจัดทําท่อเหล็กกล้า ท่อพีวีซี อุปกรณ์ท่อ ประตูน้ํา และ
อุ ปกรณ์อื่น ๆ ต้องได้รั บการตรวจสอบคุ ณสมบั ติทางกลหรือทางเคมี โดยสถาบั นทดสอบวัสดุ สถาบันใด
สถาบันหนึ่งหรือหลายสถาบัน ตามที่กําหนดให้ ดังต่อไปนี้
(1) สํานักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน
(2) คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(3) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6-6 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

(4) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
(5) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
(6) กรมวิทยาศาสตร์บริการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(7) สถาบันอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุอนุมัติ
6.7.2 ก่อนนําส่งวัสดุให้สถาบันทดสอบวัสดุทําการทดสอบหรือตรวจสอบคุณสมบัติ ผู้รับจ้างต้อง
เสนอรายการวัสดุพร้อมมาตรฐานอ้างอิง วิธีการทดสอบและชื่อสถาบันที่จะทําหน้าที่เป็นผู้ทดสอบ ต่อ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเพื่อตรวจสอบความถูกต้องก่อน ในการเก็บชิ้นตัวอย่างวัสดุเพื่อส่งทดสอบนั้น ให้
ดําเนินการเก็บชิ้นตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มและผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างหรือผู้แทนเป็นผู้ดําเนินการ และ
ให้สนับสนุนโดยผู้รับจ้าง พร้อมนี้ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการทดสอบ ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบทั้งหมด
6.7.3 เมื่อสถาบันทดสอบวัสดุได้ทําการทดสอบหรือตรวจสอบคุณสมบัติวัสดุเรียบร้อยแล้ว ก่อนนํา
วัสดุดังกล่าวไปใช้ในงาน ผู้รับจ้างต้องเสนอผลทดสอบต่อคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเพื่อพิจารณาอนุมัติก่อน
ทั้งนี้การอนุมัติให้ผู้รับจ้างนําวัสดุมาใช้ในงาน มิได้ทําให้ผู้รับจ้างพ้นจากความรับผิดชอบในสัญญา
6.8 รายละเอียดท่อเหล็กกล้า
ท่อเหล็กกล้าตามรายละเอียดนี้ ให้หมายถึง ท่อเหล็ก (Steel Pipe) ตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและ
รายละเอียด
6.8.1 มาตรฐานวัสดุ
(1) เหล็กแผ่นหรือเหล็กม้วน ให้ใช้ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.1479-2558
“เหล็กกล้าคาร์บอนรีดร้อนแผ่นม้วน แผ่นแถบ แผ่นหนา และแผ่นบางสําหรับงานโครงสร้างทั่วไป” ชั้นคุณภาพ
SS400 หรือ JIS G3101 “Rolled Steel for General Structure” Class SS400 หรือ ASTM A36 “Carbon
Structural Steel” หรือ ASTM A283 “Low and Intermediate Tensile Strength Carbon Steel Plates”
Grade D หรื อไม่ ต่ํ ากว่ าชั้ นคุ ณภาพ “ค” ตามมาตรฐานผลิ ตภั ณฑ์ อุ ตสาหกรรม เลขที่ มอก.427-2531
“ท่อเหล็กกล้าเชื่อมด้วยไฟฟ้าสําหรับส่งน้ํา”
(2) ลวดเชื่อมไฟฟ้าเหล็กกล้าคาร์บอนหุ้มฟลักซ์สําหรับการเชื่อมอาร์กด้วยมือ ให้ใช้ตาม
มาตรฐาน AWS A5.1 “Carbon Steel Electrodes for Shielded Metal Arc Welding” Class E7016
หรือตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.49-2556 “ลวดเชื่อมมีสารพอกหุ้มใช้เชื่อมเหล็กกล้า
ละมุนด้วยอาร์ก” ประเภทสัญลักษณ์ E51 4B26
(3) ลวดเชื่อมไฟฟ้าเหล็กกล้าคาร์บอนและฟลักซ์สําหรับการเชื่อมใต้ฟลักซ์ ให้ใช้ตามมาตรฐาน
AWS A5.17 “Carbon Steel Electrodes and Fluxes for Submerged Arc Welding” Class F7A0-EM 12K
หรือ F7A2-EM 12K หรือ F7A4-EM 12K

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6-7 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

6.8.2 การผลิตท่อ
(1) ผู้ผลิตท่อ จะต้องได้รับใบรับรองระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001 พร้อมนี้ ใบรับรอง
จะต้องไม่หมดอายุก่อนการส่งมอบพัสดุ และได้รับใบอนุญาตตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่
มอก.427-2531 “ท่อเหล็กกล้าเชื่อมด้วยไฟฟ้าสําหรับส่งน้ํา” ขนาดระบุและความหนาท่อกําหนดตามแบบ
รูปและรายการละอียด ชั้นคุณภาพ “ค” แบบตะเข็บเกลียวหรือตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุอนุมัติ
(2) ช่างเชื่อมและช่างควบคุมอุปกรณ์การเชื่อมต้องผ่านการทดสอบฝีมือและมีหนังสือรับรอง
ฝีมือที่เหมาะสมกับลักษณะงาน จากหน่วยงานราชการ หรือสถาบันที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุอนุมัติ
(3) ข้ อ กํ า หนดการเชื่ อ ม (Welding Procedure Specification ; WPS) ให้ จั ด ทํ า ตาม
มาตรฐาน AWS D1.1”Structural Welding Code-Steel” หรือมาตรฐาน ASME Section IX “Welding
and Brazing Qualifications”
(4) ท่อให้จัดทําด้วยวัสดุตามหัวข้อ 6.8.1 “มาตรฐานวัสดุ” วัสดุผ่านการตรวจสอบคุณสมบัติ
ต่าง ๆ ตามหัวข้อ 6.7 “การทดสอบวัสดุ” และท่อให้จัดทําตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่
มอก.427-2531 ขนาดระบุและความหนาท่อกําหนดตามแบบรูปและรายการละเอียด และทําการเชื่อมท่อ
แบบตะเข็บเกลียวหรือตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุอนุมัติ
(5) อุปกรณ์ท่อ หมายถึง ท่อเฉพาะตอน ซึ่งเป็นท่อที่ทํามาจากท่อเหล็กกล้าประเภทท่อตรง
เพื่อประโยชน์ในการเปลี่ยนแนว หรือระดับ หรือขนาด เช่น ข้อโค้ง (Curve) ท่อสามทาง (Tee) ท่อแยก
(Branch) ท่อลด (Reducer) และท่อเฉพาะตอนแบบอื่น ๆ พร้อมนี้อุปกรณ์ท่อและท่อปลอกให้จัดทําด้วย
ท่อตามหัวข้อ (4)
6.8.3 ขนาดและมิติ
(1) ขนาดและมิติของท่อเหล็กกล้าต้องเป็นไปตามที่กําหนดในตารางที่ 6-2 และแบบรูปและ
รายการละเอียด ความยาวท่อที่แตกต่างไปจากที่กําหนด และจําเป็นต้องใช้เพื่อให้เหมาะสมกับระยะการวาง
ในสนาม ต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
(2) ขนาดและมิติของอุปกรณ์ท่อเหล็กกล้าต้องเป็นไปตามแบบรูปและรายการละเอียด ขนาด
เส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก ความหนาของแผ่นเหล็กที่ใช้ทําอุปกรณ์ทอ่ ต้องเป็นไปตามที่กําหนดในตารางที่ 6-2
หากมิได้ระบุในแบบรูปและรายการละเอียดนี้ ขนาดและมิติของอุปกรณ์ท่อ จะต้องเป็นไป
ตามมาตรฐาน AWWA C 208 หรือแบบที่เหมาะสมกับสภาพงานวางท่อและผู้รับจ้างจะต้ องเสนอแบบ
เพิ่มเติม (Shop Drawings) นั้นขอรับการอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุก่อน

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6-8 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

ตารางที่ 6-2 ขนาด มิติ ท่อเหล็กกล้า อุปกรณ์ท่อและท่อปลอก


เส้นผ่าน ความยาว ความหนาของผนัง ความหนาของผนัง
ศูนย์กลาง ท่อใต้ดิน ท่อ และอุปกรณ์ท่อ ท่อปลอกก่อนทําการ
ขนาด ความยาว
ภายนอกท่อ และ ก่อนทําการเคลือบผิว เคลือบผิว
ระบุ ท่อปลอก
อุปกรณ์ท่อ ท่อบนดิน ใต้ดิน บนดิน วิธีดันท่อ วิธีขุดเปิด
(มิลลิเมตร) (เมตร)
และท่อปลอก (เมตร) (มิลลิเมตร) (มิลลิเมตร) (มิลลิเมตร) (มิลลิเมตร)
(เมตร)
100 114.3 6.00 2.65 4.50
150 168.3 6.00 3.45 5.50 - - -
200 219.1 6.00 4.50 6.00 - - -
250 273.0 6.00 4.80 6.00 - - -
300 323.9 6.00 6.00 6.00 6.00 6.00 3.00
400 406.4 9.00 6.00 7.90 7.90 6.00 3.00
500 508.0 9.00 6.00 7.90 7.90 6.00 3.00
600 609.6 9.00 6.00 11.10 11.10 6.00 3.00
700 711.2 9.00 6.00 11.10 11.10 6.00 3.00
800 812.8 9.00 7.90 12.70 - - -
900 914.4 9.00 7.90 12.70 12.70 7.90 3.00
1000 1016.0 9.00 9.50 12.70 12.70 9.50 3.00
1100 1117.6 9.00 9.50 12.70 12.70 9.50 3.00
1200 1219.2 9.00 11.10 15.90 13.50 11.10 3.00
1300 1320.8 - - - 13.50 11.10 3.00
1500 1524.0 9.00 12.70 19.10 15.00 11.10 3.00
1800 1820.0 6.00 15.90 25.40 19.10 12.70 3.00
2000 2020.0 6.00 19.10 25.40 - 15.90 3.00
2100 2120.0 - - - 25.40 15.90 3.00
หมายเหตุ
(1) เส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก ท่อเหล็กกล้า อุปกรณ์ท่อ และท่อปลอก ยินยอมให้ต่างจาก
ค่าที่กําหนดไว้ในตารางที่ 6-1 ได้ไม่เกิน ± 1.6 มิลลิเมตร สําหรับขนาดระบุ 100 มิลลิเมตร ถึง 1500
มิลลิเมตร และได้ไม่เกิน ± 3.0 มิลลิเมตร สําหรับขนาดระบุ 1800 มิลลิเมตร ถึง 2100 มิลลิเมตร
(2) ความยาวท่อใต้ดิน ท่อบนดินและท่อปลอก ยินยอมให้ต่างจากค่าที่กําหนดไว้ในตารางที่
6-2 ได้ไม่เกิน ± 0.05 เมตร

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6-9 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

(3) ความหนาของผนัง ท่อเหล็กกล้า อุปกรณ์ท่อ และท่อปลอก ก่อนทําการเคลือบผิว


ยินยอมให้น้อยกว่าค่าที่กําหนดไว้ในตารางที่ 6-2 ได้ไม่เกิน - 0.25 มิลลิเมตร
(4) มิติต่าง ๆ เป็นมิลลิเมตร นอกจากจะกําหนดเป็นอย่างอื่น
6.8.4 การเตรียมปลายท่อ
ท่ อ เหล็ ก กล้ า อุ ป กรณ์ ท่ อ เหล็ ก กล้ า และท่ อ ปลอก ให้ เ ตรี ย มปลายท่ อ ตามรายละเอี ย ด
ดังต่อไปนี้
(1) ท่อบนดินและท่อใต้ดินขนาด 100-700 มิลลิเมตร ความหนาน้อยกว่า 6 มิลลิเมตร
ต้องเป็นแบบปลายเรียบ และความหนาไม่น้อยกว่า 6 มิลลิเมตร ต้องเป็นแบบปลายลบมุม (Bevelled Ends)
โดยขนาดและมิติต่าง ๆ กําหนดตามแบบรูปและรายการละเอียด สําหรับต่อบรรจบโดยใช้การเชื่อมต่อชนในสนาม
(Butt Welding)
(2) ท่ อ ใต้ ดิ น ขนาด 800-2000 มิ ล ลิ เ มตร ต้ อ งเป็ น แบบปลายปากระฆั ง (Spigot and
Socket End) สําหรับต่อบรรจบโดยใช้การเชื่อมแบบ Surface Sleeve Welding
(3) ท่อบนดินขนาด 800-2000 มิลลิเมตร และท่อปลอกขนาด 300-2100 มิลลิเมตร
ความหนาไม่น้อยกว่า 6 มิลลิเมตร ต้องเป็นแบบปลายลบมุม โดยขนาดและมิติต่าง ๆ กําหนดตามแบบรูป
และรายการละเอียด สําหรับต่อบรรจบโดยใช้การเชื่อมต่อชนในสนาม
(4) อุปกรณ์ท่อบนดินและอุปกรณ์ท่อใต้ดิน ความหนาน้อยกว่า 6 มิลลิเมตร ต้องเป็นแบบ
ปลายเรียบ และความหนาไม่น้อยกว่า 6 มิลลิเมตร ต้องเป็นแบบปลายลบมุม สําหรับต่อบรรจบโดยใช้
การเชื่อมต่อชนในสนาม
(5) ปลายท่อและอุปกรณ์ท่อบนดิน ใต้ดิน สําหรับต่อด้วย Mechanical Coupling ข้อต่อยึดรั้ง
(Restrained Joint) หรือหน้าจาน (Flanges) ต้องเป็นแบบปลายเรียบ
6.8.5 การทดสอบความดันน้ํา
(1) ท่อทุกท่อนจะต้องผ่านการทดสอบด้วยความดันน้ํา ก่อนทําการเคลือบผิวภายในและ
ภายนอก โดยความดันและระยะเวลาในการทดสอบ ต้องเป็นไปตามที่กําหนดในตารางที่ 6-3
(2) อุปกรณ์ท่อทุกท่อนจะต้องผ่านการทดสอบด้วยความดันน้ํา ก่อนทําการเคลือบผิวภายใน
และภายนอก โดยความดันทดสอบต่ําสุด 15 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 2 นาที
ตารางที่ 6-3 ความดันน้ําทดสอบสําหรับท่อเหล็กกล้า
ความดันทดสอบ
ขนาดระบุ เวลาทดสอบอย่างน้อย
(กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร)
(มิลลิเมตร) (วินาที)
ท่อใต้ดิน ท่อบนดิน
100-250 50 50 5
300 40 50 5
400 35 50 5
500 30 35 10
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6 - 10 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

ตารางที่ 6-3 ความดันน้ําทดสอบสําหรับท่อเหล็กกล้า


ความดันทดสอบ
ขนาดระบุ เวลาทดสอบอย่างน้อย
(กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร)
(มิลลิเมตร) (วินาที)
ท่อใต้ดิน ท่อบนดิน
600 25 35 10
700-800 20 35 30
900-1500 20 30 30
1800-2100 20 25 30
6.8.6 การเคลือบผิวท่อเหล็ก
(1) ท่อเหล็กกล้า อุปกรณ์ท่อเหล็กกล้าและท่อปลอก ที่ผ่านการทดสอบด้วยความดันน้ําแล้ว
ให้ทําการเตรียมผิว โดยวิธีการพ่นทรายหรือเม็ดโลหะ ให้ผิวท่อปราศจากสนิมหรือสิ่งสกปรกต่าง ๆ ตามมาตรฐาน
SSPC-SP10 (Near-White Metal Blast Cleaning) และเมื่อเตรียมผิวแล้วเสร็จให้เคลือบสีรองพื้นทันที
(2) พื้ น ผิ ว ภายใน ท่ อ บนดิ น ท่ อ ใต้ ดิ น และอุ ป กรณ์ ท่ อ ให้ เ คลื อ บด้ ว ย Liquid Epoxy
(ชนิดไม่มีส่วนผสมของ Coal Tar) ตามมาตรฐาน AWWA C210 “Liquid Epoxy Coating System for
the Interior and Exterior of Steel Water Pipelines” ความหนารวมทั้ ง หมดของผิ ว เคลื อ บเมื่ อ แห้ ง
ไม่น้อยกว่า 406 ไมครอน และผิวชั้นนอกจะต้องเป็นสีฟ้า การเคลือบจะต้องดําเนินการในโรงงานโดยวิธี
Air Spray หรือ Airless Spray ตามกรรมวิธีของผู้ผลิตสารเคลือบ
(3) พื้นผิวภายนอกท่อบนดินและอุปกรณ์ท่อบนดิน ให้เคลือบด้วย Non-Bleeding Type
Coal Tar Epoxy ความหนาของผิวเคลือบเมื่อแห้งไม่น้อยกว่า 150 ไมครอน และทับหน้าด้วย Epoxy-
Resinous Micaccous Iron Oxide (MIO) ความหนาผิวเคลือบเมื่อแห้งไม่น้อยกว่า 60 ไมครอน และ MIO
ที่ใช้จะต้องเป็นสีเทาหรือเทาดํา การเคลือบต้องดําเนินการในโรงงานโดยวิธี Air Spray หรือ Airless Spray
ตามกรรมวิธีของผู้ผลิตสารเคลือบ
(4) พื้นผิวภายนอก ท่อใต้ดินและอุปกรณ์ท่อใต้ดิน นอกจากกําหนดไว้เป็นอย่างอื่นให้เคลือบ
ด้ ว ย Polyurethane ตามมาตรฐาน AWWA C222 “Polyurethane Coatings for the Interior and
Exterior of Steel Water Pipe and Fittings” เฉดสีฟ้าหรือสีอื่นตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นชอบ
การเคลือบจะต้องดําเนินการในโรงงานตามคําแนะนําของผู้ผลิตสารเคลือบโดยเคร่งครัด ความหนารวมของ
การเคลือบเมื่อแห้งไม่น้อยกว่า 625 ไมครอน
(5) พื้ นผิ วภายในและภายนอกท่ อปลอก ให้ เคลื อบด้ วย Non-Bleeding Type Coal Tar
Epoxy ความหนาของผิวเคลือบเมื่อแห้งไม่น้อยกว่า 100 ไมครอน สารเคลือบเป็นสีเทาหรือสีเทาดํา และ
การเคลือบต้องดําเนินการในโรงงานโดยวิธี Air Spray หรือ Airless Spray ตามกรรมวิธีของผู้ผลิตสารเคลือบ
(6) พื้นผิวภายนอกท่อและอุปกรณ์ท่อ Steel Liner ไม่ต้องทําการเคลือบผิว
(7) ปลายท่อและอุปกรณ์ท่อใต้ดินสําหรับประกอบ Mechanical Coupling และปลายท่อ
บริเวณปากระฆังสําหรับต่อบรรจบโดยการเชื่อมจะต้องเคลือบด้วย Liquid Epoxy ตามมาตรฐาน AWWA C210
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6 - 11 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

ความหนารวมของผิวเคลือบเมื่อแห้งไม่น้อยกว่า 406 ไมครอน และบริเวณที่จะเคลือบให้เป็นไปตามที่ระบุไว้ใน


แบบรูปและรายการละเอียด
6.8.7 การทดสอบวัสดุเคลือบผิวท่อเหล็กกล้าและอุปกรณ์ท่อ
(1) วัสดุเคลือบผิวท่อเหล็กกล้าและอุปกรณ์ท่อ ก่อนนํามาใช้งานจะต้องได้รับการทดสอบ
คุณสมบัติต่าง ๆ ตามมาตรฐานที่กําหนด โดยรายละเอียดต่าง ๆ มีดังนี้
(ก) สีเคลื อบผิ วภายใน ท่อบนดิน ท่อ ใต้ดิน อุปกรณ์ ท่อบนดิน อุปกรณ์ท่อ ใต้ดิ น
ท่อ Steel Liner และอุปกรณ์ท่อ Steel Liner ให้ทดสอบตามมาตรฐาน AWWA C210
(ข) สีเคลือบผิวภายนอก ท่อและอุปกรณ์ท่อใต้ดิน ให้ทดสอบตามมาตรฐาน AWWA
C222
(ค) ผลการทดสอบคุณสมบัติวัสดุเคลือบผิวท่อและอุปกรณ์ท่อจะต้องผ่านเกณฑ์ตาม
มาตรฐานที่กําหนดจึงจะสามารถนํามาใช้ในงานได้
(ง) ค่าใช้จ่ายในการทดสอบเป็นความรับผิดชอบของผู้รับจ้างทั้งสิ้น
(2) ท่อเหล็กกล้าและอุปกรณ์ท่อที่ผ่านการเคลือบผิวเรียบร้อยแล้ว จะต้องได้รับการทดสอบ
คุณสมบัติการยึดเกาะของวัสดุที่ใช้เคลือบผิวท่อและอุปกรณ์ท่อตามมาตรฐานที่กําหนด โดยรายละเอียดต่าง ๆ
มีดังนี้
(ก) ผิวเคลือบภายในท่อและอุปกรณ์ท่อ ให้ทดสอบตามมาตรฐาน AWWA C 210
(ข) ผิวเคลือบภายนอกท่อใต้ดินและอุปกรณ์ท่อใต้ดิน ให้ทดสอบตามมาตรฐาน AWWA
C222
(ค) ผลการทดสอบคุณสมบัติการยึดเกาะของวัส ดุจะต้ องผ่ านเกณฑ์ตามมาตรฐานที่
กําหนดจึงจะสามารถยอมรับได้
(ง) ค่ า ใช้ จ่ า ยในการทดสอบ รวมถึ ง การซ่ อ มแซมการเคลื อ บผิ ว ท่อ และอุ ป กรณ์ท่อ
ที่ทําการทดสอบเป็นความรับผิดชอบของผู้รับจ้างทั้งสิ้น
(3) ท่อเหล็กกล้าและอุปกรณ์ท่อที่ผ่านการเคลือบผิวเรียบร้อยแล้ว จะต้องได้รับการทดสอบ
การเคลือบโดยใช้เครื่อง Holiday Detector ตามวิธีการในมาตรฐานที่กําหนด โดยรายละเอียดต่าง ๆ มีดังนี้
(ก) ผิวเคลือบภายในท่อและอุปกรณ์ท่อ ให้ทดสอบตามมาตรฐาน AWWA C 210
(ข) ผิวเคลือบภายนอกท่อใต้ดินและอุปกรณ์ท่อใต้ดิน ให้ทดสอบตามมาตรฐาน AWWA
C222
(ค) ผลการทดสอบต้องไม่มีจุดบกพร่องตามมาตรฐานกําหนดจึงจะสามารถยอมรับได้
(ง) ค่าใช้จ่ายในการทดสอบ รวมถึงการซ่อมแซมการเคลือบผิวท่อและอุปกรณ์ท่อที่
ทําการทดสอบเป็นความรับผิดชอบของผู้รับจ้างทั้งสิ้น

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6 - 12 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

6.8.8 การทําเครื่องหมาย
ท่อเหล็กกล้าและอุปกรณ์ท่อทุกชิ้นต้องมีเครื่องหมายแสดงที่ภายใน โดยมีรายละเอียด ดังนี้
(1) ชื่อหรืออักษรย่อของบริษัทผู้ผลิตหรือเครื่องหมายการค้า
(2) ปีที่ผลิต
(3) ขนาดระบุ
(4) ความดันใช้งาน
(5) หมายเลขรุ่น (Lot number)
(6) “ชป.” หรือ “RID”
สีที่ใช้พ่นทําเครื่องหมายต้องเป็นชนิดไม่เป็นพิษ (Non-toxic Paint)
6.8.9 การเสนอรายละเอียดประกอบการพิจารณา
ก่อนทําการผลิตท่อเหล็กกล้าและอุปกรณ์ท่อไม่น้อยกว่า 30 (สามสิบ) วัน ผู้รับจ้างจะต้อง
เสนอรายละเอียดต่าง ๆ ต่อคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเพื่อพิจารณาอนุมัติก่อน โดยรายละเอียดต่าง ๆ มีดังนี้
(1) ใบรับรองระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001 ของโรงงานผู้ผลิต
(2) ใบอนุญาต เลขที่ มอก.427-2531 ของโรงงานผู้ผลิต
(3) หนังสือรับรองคุณสมบัติวัสดุที่จะนํามาใช้ในการผลิตท่อพร้อมมาตรฐานอ้างอิง
(4) ขั้นตอนการผลิตและเครื่องจักรที่ใช้ในกระบวนการผลิต
(5) รายละเอียดของกระบวนการเชื่อมประกอบ WPS PQR และ WQT
(6) หนังสือรับรองคุณสมบัติวัสดุที่จะนํามาเคลือบผิวภายในและภายนอกท่อพร้อมมาตรฐาน
อ้างอิง
(7) รายละเอียดวิธีการควบคุมคุณภาพในการผลิตและการเคลือบผิว
(8) รายละเอียดแผนงานการจัดส่ง วิธีการขนส่งและการป้องกันความเสียหาย
6.9 รายละเอียดท่อพีวีซี และอุปกรณ์ประกอบ
ท่อพีวีซีและอุปกรณ์ท่อนี้ ครอบคลุมเฉพาะท่อและข้อต่อท่อพีวีซีแข็งซึ่งทําขึ้นจาก พอลิไวนิลคลอไรด์
โดยไม่ผสมพลาสติไซเซอร์ (Un-plasticized Polyvinyl Chloride: UPVC)
6.9.1 คุณสมบัติทั่วไป
(1) ท่ อ พี วี ซี และข้ อ ต่ อ ทํ า ด้ ว ยวั ส ดุ พี วี ซี ชั้ น คุ ณ ภาพ 8.5 ต้ อ งได้ รั บ ใบอนุ ญ าตทํ า
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่มีพระราชกฤษฎีกากําหนดให้ต้องเป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่
มอก.17-2532 “ท่อพีวีซีแข็งสําหรับใช้เป็นท่อน้ําดื่ม แบบท่อปลายบานชนิดต่อด้วยแหวนยาง” ในรายละเอียด
นี้ เรี ยกว่ า ปลายท่ อแบบปากระฆั ง และตามมาตรฐานผลิ ตภั ณฑ์ อุ ตสาหกรรม เลขที่ มอก.1131-2535
“ข้อต่อท่อพีวีซีแข็งสําหรับใช้กับท่อรับความดัน” ประเภทที่ทําด้วยวิธีขึ้นรูปด้วยความร้อน (Heat Fabrication)
ชนิดต่อด้วยแหวนยาง มีความดันใช้งานไม่น้อยกว่า 8.5 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ที่อุณหภูมิ 27 องศา
เซลเซียส และสีของท่อเป็นสีน้ําเงิน (Arctic Blue) มีความถ่วงจําเพาะ (Specific Gravity) ไม่มากกว่า 1.425

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6 - 13 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

(2) ท่ อ พี วี ซี และข้ อ ต่ อ ทํ า ด้ ว ยวั ส ดุ พี วี ซี ชั้ น คุ ณ ภาพ 13.5 ต้ อ งได้ รั บ ใบอนุ ญ าตทํ า


ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่มีพระราชกฤษฎีกากําหนดให้ต้องเป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่
มอก.17-2532 “ท่อพีวีซีแข็งสําหรับใช้เป็นท่อน้ําดื่ม แบบท่อปลายบานชนิดต่อด้วยแหวนยาง” ในรายละเอียด
นี้ เรี ยกว่ า ปลายท่ อแบบปากระฆั ง และตามมาตรฐานผลิ ตภั ณฑ์ อุ ตสาหกรรม เลขที่ มอก.1131-2535
“ข้อต่อท่อพีวีซีแข็งสําหรับใช้กับท่อรับความดัน” ประเภทที่ทําด้วยวิธีขึ้นรูปด้วยความร้อน (Heat Fabrication)
ชนิดต่อด้วยแหวนยาง มีความดันใช้งานไม่น้อยกว่า 13.5 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ที่อุณหภูมิ 27 องศา
เซลเซียส และสีของท่อเป็นสีน้ําเงิน (Arctic Blue) มีความถ่วงจําเพาะ (Specific Gravity) ไม่มากกว่า 1.425
6.9.2 ขนาดมิติ วัสดุ ของท่อพีวีซีและอุปกรณ์ท่อ
(1) ท่อพีวีซี ปลายข้างหนึ่งเป็นแบบปากระฆัง ข้างหนึ่งเป็นปลายเรียบ รูปแบบ ขนาดมิติ ของ
ปลายปากระฆั ง และแหวนยาง เป็ น ไปตามการออกแบบของผู้ ผ ลิ ต และจะต้ อ งได้ รั บ การอนุ มั ติ จ าก
คณะกรรมการตรวจรับพัส ดุ โดยมีความหนาของผนังท่อบริ เวณสวมหัวต้องไม่น้อยกว่ าที่ กําหนดไว้ตาม
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.17-2532

รูปที่ 6-1 ระยะความลึกของหัวสวม “A” และความยาวใช้งาน


ความยาวใช้งาน (Working Length) “Z” ไม่น้อยกว่า 6.00 เมตร แต่ไม่เกิน 6.03 เมตร
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในตารางที่ 6-4
ความหนาของผนังท่อ เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในตารางที่ 6-4
ระยะความลึกของหัวสวม “A” (Minimum Depth of Engagement) เป็นไปตารางที่ 6-4
มิติปลายปากระฆังจะต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6 - 14 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

ตารางที่ 6-4 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก ความหนาของผนังท่อและระยะความลึกของหัวสวม “A”


เส้นผ่านศูนย์กลาง ระยะความลึก
ขนาดระบุ ความหนาผนังท่อ (มิลลิเมตร)
ภายนอก (มิลลิเมตร) ของหัวสวม
มิลลิเมตร
ชั้นคุณภาพ 8.5 (A) (ต่ําสุด)
(นิ้ว) ชั้นคุณภาพ 8.5 ชั้นคุณภาพ 13.5
และ 13.5 (มิลลิเมตร)
100 (4) 114±0.30 5.2±0.35 8.1±0.50 50
150 (6) 165±0.40 7.5±0.45 11.7±0.65 61
200 (8) 216±0.50 8.8±050 13.7±0.75 72
250 (10) 267±0.70 10.9±0.60 16.9±0.90 84
300 (12) 318±080 12.9±070 20.1±1.05 84
400 (16) 420±1.10 17.0±0.90 26.5±1.35 98
(2) อุปกรณ์ท่อ
(2.1) ข้อต่อทําด้วยวัสดุพีวีซี
นอกจากจะกล่าวเป็นอย่างอื่นแล้ว ข้อต่อทําด้วยวัสดุพีวีซีจะต้องเป็นไปตามมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.1131-2535
รู ป แบบ ขนาดมิ ติ ของปลายปากระฆั ง และแหวนยาง เป็ น ไปตามการออกแบบ
ของผู้ผลิตและจะต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ โดยมีความหนาของผนังท่อบริเวณ
หัวสวมต้องไม่น้อยกว่าที่กําหนดไว้ในมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.17-2532 และระยะ
ความลึกของหัวสวม “A” ตามรูปที่ 6-1 ไม่น้อยกว่าที่กําหนดไว้ใน ตารางที่ 6-4 ของรายละเอียดนี้
(2.2) การเชื่อมต่อแบบหน้าจาน และ Backing Ring
การเชื่อมต่อแบบหน้าจาน ให้เป็นไปตามการออกแบบของผู้ผลิต และจะต้องได้รับ
ความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ การเจาะรูหน้าจานเป็นไปตามมาตรฐาน ISO 7005 ชั้นคุณภาพ
PN10 หรือ โดยการใช้ Backing Ring สําหรับต่อกับหน้าจาน การเจาะ Backing Ring เป็นไปตามมาตรฐาน
ISO 7005 ชั้นคุณภาพ PN10
Backing Ring ต้องทําดัวยวัสดุเหล็กหล่อ หรือเหล็กหล่อเหนียว หรือเหล็กเหนียว
เป็นไปตามรายละเอียดการประปานครหลวงเลขที่ 39-005 ฉบับล่าสุด SPE. ท่อโพลิเอทิลีนความหนาแน่นสูง
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 110-400 มิลลิเมตร ในรายละเอียดนี้ Backing Ring ต้องเคลือบผิวป้องกันสนิมด้วย
Liquid Epoxy ตามมาตรฐาน AWWA C210 “Liquid Epoxy Coating System for Interior and Exterior of
Steel Water Pipelines” เฉดสีฟ้า No. RAL 5015 ความหนาเคลือบผิวเมื่อแห้งไม่น้อยกว่า 200 ไมครอน
สําหรับเหล็กหล่อและเหล็กหล่อเหนียว และความหนาผิวเคลือบเมื่อแห้งไม่น้อยกว่า 406 ไมครอน สําหรับ
เหล็กเหนียว
การต่ อ โดยใช้ Backing Ring ปลายท่ อ และอุ ป กรณ์ ที่ เ ป็ น แบบ Tappered Corn
อนุญาตให้มีการเชื่อมประสาน Tappered Corn ภายในโดยน้ํายาเชื่อมประสาน (Solvent Cement) ได้
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6 - 15 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

สลักเกลียว แป้นเกลียว และปะเก็นยางหน้าจาน มีขนาดมิติและคุณสมบัติวัสดุ


เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในแบบมาตรฐาน ยกเว้นขนาดความยาวสลักเกลียวให้เป็นไปตามคําแนะนําของผู้ผลิต
(2.3) อุปกรณ์ที่ทําด้วยเหล็กหล่อ เหล็กหล่อเหนียว ให้เป็นไปตามรายละเอียดการประปา
นครหลวงเลขที่ 13-002-ฉบับล่าสุด SPE. อุปกรณ์เหล็กหล่อ และเลขที่ 33-050-ฉบับล่าสุด SPE. อุปกรณ์
เหล็กหล่อเหนียว ขนาด มิติและรายละเอียดต่างๆ ให้เป็นไปตามแบบมาตรฐาน
(2.4) แคล้มป์รัดท่อ (Service Clamp)
(2.4.1) คุณสมบัติทั่วไปของแคล้มป์รัดท่อ
แคล้มป์รัดท่อตามรายละเอียดนี้ ต้องออกแบบมาเพื่อใช้กับท่อพีวีซี ชั้นคุณภาพ
8.5 และชั้นคุณภาพ 13.5 มีความกว้างตัวแคล้มป์ไม่น้อยกว่า 50 มิลลิเมตร ใช้รัดรอบท่อพีวีซี โดยไม่ก่อให้เกิด
ความเสียหายและเสียรูปต่อตัวท่อในขณะใช้งานที่ความดันน้ํา 10 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร และต่ํากว่า
ปลายแยกสําหรับต่อท่อบริการเป็นแบบเกลียวเรียว ขนาดมิติเกลียวเป็นไปตามมาตรฐาน BS หรือมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.281-2532
ปะเก็นยางหรือเหวนยาง ที่ใ ช้ ประกอบแคล้ม ป์รั ดท่อจะต้องติดตั้งมาพร้อม
แคล้มป์รัดโดยไม่หลุดเพื่อสะดวกในการใช้งาน
สลักเกลียวและแป้นเกลียวที่ใช้ในการรัดยึดท่อ ต้องมีวิธีการจับยึดสลักเกลียว
หรือแป้นเกลียวให้ติดกับแคล้มป์รัดท่อด้านล่างไม่ให้หมุนตามการขันยึด และไม่ให้หล่นในขณะติดตั้ง
(2.4.2) คุณสมบัติของวัสดุที่ใช้ทํา ท่อพีวีซี อุปกรณ์ท่อ การเก็บตัวอย่างวัสดุและ
เกณฑ์การตัดสิน
6.9.3 คุณสมบัติวัสดุ
(1) พีวีซี
ท่อพีวีซีต้องผลิตจากพอลิไวนิลคลอไรด์เรซิน ชั้นคุณภาพไม่ต่ํากว่า K 66 (ค่า K มีค่าตั้งแต่
65 ถึง 67) ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.632-2551 “พอลิไวนิลคลอไรด์เรซิน” พร้อม
แนบใบรับรองผลวิเคราะห์คุณภาพวัสดุ
ข้อต่อทําด้วยวัสดุพีวีซีที่ผลิตด้วยกรรมวิธีการขึ้นรูปด้วยการหล่อ (Molding) หรือการขึ้นรูป
จากท่อ (Machiningู from Extruded stock) ต้องผลิตจากพอลิไวนิลคลอไรต์เรซิน ชั้นคุณภาพไม่ต่ํากว่า K 66
(ค่า K มีค่าตั้งแต่ 65 ถึง 67) ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.632-2551 และในกรณีที่ผลิต
ด้วยวิธี Injection Molding ต้องผลิตจากพอลิไวนิลคลอไรด์เรซิน ชั้นคุณภาพไม่ต่ํากว่า K 57 (ค่า K มีค่าตั้งแต่
56 ถึง 58) ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.632-2551 พร้อมแนบใบรับรองผลวิเคราะห์
คุณภาพวัสดุ
กระบวนการผลิตท่อและข้อต่อทําด้วยวัสดุพีวีซีไม่อนุญาตให้เติม Additive ที่เป็น Filler
เพื่อเพิ่มปริมาณผลิตภัณฑ์ในการลดต้นทุน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะไม่ยอมรับอุปกรณ์ฯ ที่ทําขึ้นด้วยกรรมวิธีเชื่อมประสานด้วย
ความร้อน หรือการเชื่อมต่อด้วยการใช้น้ํายา (Fabricated by Heat Fusion or Solvent Cement Techniques)

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6 - 16 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

(2) แหวนยาง
แหวนยางปากระฆังสําหรับต่อและข้อต่อทําด้วยวัสดุพีวีซีที่นํามาใช้ตามรายละเอียดนี้ ต้อง
เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.237-2552 “แหวนยางสําหรับท่อน้ํา” หรือตาม
ASTM F 477 “Elastomeric Seals (Gaskets) for Joining Plastic Pipe” หรือเทียบเท่า
คณะกรรมการตรวจรั บ พั ส ดุ ส งวนสิ ท ธิ์ ก ารพิ จ ารณาเฉพาะท่ อ ปลายปากระฆั ง ที่ มี
ร่องสําหรับนั่งแหวนยางและแหวนยาง ที่สามารถสลับการใช้งานกับกลุ่มท่อและแหวนยางที่มีอยู่ในงานตาม
สัญญานี้ และสงวนสิทธิ์ที่จะทําการทดลอง สลับการใช้แหวนยางกับกลุ่มท่อและแหวนยางที่มีอยู่ในงานตาม
สัญญานี้
6.9.4 การเก็บตัวอย่างวัสดุ และเกณฑ์การตัดสิน
(1) ท่อพีวีซี
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะเก็บตัวอย่างท่อพีวีซี จํานาน 1 ท่อน จากท่อแต่ละรุ่น
(รุ่นละไม่เกิน 600 ท่อน) นําไปเพื่อทดสอบตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.17-2532 จึงจะ
ถือว่าท่อรุ่นนั้นผ่านเกณฑ์ที่กําหนด
(2) ข้อต่อทําด้วยวัสดุพีวีซี
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะเก็บตัวอย่างข้อต่อทําด้วยวัสดุพีวีซี จํานวน 1 ชิ้น จากข้อต่อ
แต่ละรุ่น (รุ่นละไม่เกิน 1,600 ชิ้น) นําไปทดสอบตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.1131-2535
จึงจะถือว่าข้อต่อรุ่นนั้นผ่านเกณฑ์ที่กําหนด
(3) แหวนยาง
คณะกรรมการตรวจรั บ พั ส ดุ จะเก็ บ ตั ว อย่ า งคุ ณ สมบั ติ ข องยาง ตามการชั ก ตั ว อย่ า ง
และเกณฑ์การตัดสินที่กําหนดไว้ ดังนี้
(3.1) การชักตัวอย่าง
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะดําเนินการชักตัวอย่างยางเป็นแผ่น ณ โรงงานผู้ผลิต
หรือจากผลิตภัณฑ์สําเร็จรูป ให้เป็นไปตามตารางที่ 6-5
ตารางที่ 6-5 จํานวนการเก็บตัวอย่าง
ขนาดผลิตภัณฑ์ทสี่ ง่ มอบใน ขนาดตัวอย่าง เลขจํานวนที่
คราวเดียวกัน (จํานวนชิ้น) (จํานวนชิน้ ) ยอมรับ
ไม่เกิน 800 3 1
801 ถึง 3,000 6 2
3,201 ถึง 8,000 8 2
8,000 ขึ้นไป 10 3

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6 - 17 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

(ก) ในกรณีที่เก็บตัวอย่างยางเป็นแผ่น ณ โรงงานผู้ผลิตคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ


จะเก็บตัวอย่างเฉลี่ยจากการผสมแต่ละครั้ง
สําหรับทดสอบแรงดึง
- ยางแผ่นขนาด 200x400 มิลลิเมตร ความหนา 2-3 มิลลิเมตร
สําหรับทดสอบความแข็ง
- ยางแผ่นขนาด 200x200 มิลลิเมตร ความหนา 10 มิลลิเมตร
สําหรับทดสอบความอยู่ตัวเมื่อได้รับแรงอัด
- ยางแผ่นขนาด 200x200 มิลลิเมตร ความหนา 6.3 ± 0.3 มิลลิเมตร
(ข) ในกรณี ที่เ ก็ บ ตั ว อย่ า งจากชิ้ น ผลิต ภั ณฑ์ ค ณะกรรมการตรวจรั บ พั ส ดุ จะเก็ บ
ตัวอย่างจากแหวนยางที่ส่งมอบในคราวเดียวกัน ณ สถานที่เก็บกอง
(3.2) การทดสอบและเกณฑ์ตัดสิน
การทดสอบ
(ก) วิธีการทดสอบเป็นไปตามที่กําหนดในมาตรฐาน ASTM F 477 “Elastomeric
Seals (Gaskets) for Joining Plastic Pipe”
(ข) ในกรณี ที่ คณะกรรมการตรวจรั บพั สดุ อนุ ญาตให้ ผู้ รั บจ้ างผลิ ตแหวนยางตาม
มาตรฐานอื่นที่ผู้ขายหรือผู้รับจ้างผลิตเสนอมาพร้อมใบเสนอราคาให้ใช้วิธีการทดสอบตามที่มาตรฐานนั้น ๆ กําหนด
เกณฑ์การตัดสิน
(ก) ในกรณีที่เก็บตัวอย่างยางเป็นแผ่น ณ โรงงานผู้ผลิต ผลการทดสอบคุณสมบัติ
ทางกลของตัวอย่างทดสอบจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานทุกตัวอย่าง
(ข) ในกรณีที่เก็บตัวอย่างจากชิ้นผลิตภัณฑ์สําเร็จรูป ผลการทดสอบคุณสมบัติ
ทางกลของตัวอย่างทดสอบยอมให้เกิดความผิดพลาดได้ไม่เกินเลขจํานวนที่ยอมรับที่กําหนดในตารางที่ 6-5
ค่าใช้จ่ายในการทดสอบทั้งหมดเป็นภาระของผู้ขายหรือผู้รับจ้างผลิตทั้งสิ้น
6.9.5 การทําเครื่องหมาย
(1) ท่ อ ทุ ก ท่ อ นและข้ อ ต่ อ ทุ ก ตั ว ที่ ทํ า ด้ ว ยพี วี ซี จะต้ อ งทํ า เครื่ อ งหมายให้ อ่ า นได้ ชั ด เจน
เครื่องหมายจะต้องติดแน่นไม่ลบเลือนง่าย และประกอบด้วย
(1.1) ชื่อหรืออักษรย่อของผู้ผลิตหรือเครื่องหมายการค้า
(1.2) ขนาดระบุและชั้นคุณภาพ
(1.3) วัน / เดือน / ปี ที่ทําการผลิต
(1.4) หมายเลขรุ่น
(1.5) “PVC”
(1.6) เครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (เฉพาะท่อ)

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6 - 18 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

(1.7) เครื่องหมายบริเวณปากระฆังเป็นเครื่องหมายติดแน่นไม่ลบเลือนง่าย ไม่น้อยกว่า


2 ตําแหน่ง เพื่อจําแนกแบบของแหวนยางที่จะใช้ เครื่องหมายจะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุ
(1.8) เครื่องหมายบริเวณปลายเรียบแสดงระยะความลึกของระยะสวม “B” ซึ่งระยะ
ดังกล่าวต้องเป็นไปตามแบบมาตรฐานของผู้ผลิต
(2) แหวนยางทุกเส้น จะต้องมีเครื่องหมายเป็นตัวนูนที่ผวิ ภายนอก ดังนี้
(2.1) ชื่อหรืออักษรย่อของผู้ผลิตหรือเครื่องหมายการค้า
(2.2) ขนาดระบุ
(2.3) ปีที่ทําการผลิต
(2.4) “PVC”
6.9.6 การป้องกันปลายท่อ
ปลายท่อของพีวีซีทุกท่อน และข้อต่อที่ทําด้วยวัสดุพีวีซีทุกตัว จะต้องปิดด้วยฝาครอบพลาสติก
หรือวัสดุอื่นที่เทียบเท่า เพื่อป้องกันสิ่งสกปรก สิ่งแปลกปลอมเข้าภายในท่อภายในตัวอุปกรณ์ท่อ และจะต้อง
ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
6.9.7 การตรวจสอบการผลิต และผลิตภัณฑ์สําเร็จรูป
ผู้รับจ้างจะต้องแจ้งแผนการผลิตท่อพีวีซี และอุปกรณ์ท่อที่ประกวดราคาได้ให้คณะกรรมการ
ตรวจรั บ พั ส ดุ ท ราบก่ อ นการดํ า เนิ น การผลิ ต ไม่ น้ อ ยกว่ า 30 วั น ในการนี้ ค ณะกรรมการตรวจรั บ พั ส ดุ
จะส่งเจ้าหน้าที่ ไ ปเก็ บ ตั ว อย่ า งวั ส ดุ เ พื่ อทดสอบคุ ณ สมบัติตามมาตรฐานผลิตภั ณฑ์อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง
เพื่ อ ออกในรายงานผลการทดสอบไว้ เ ป็ น หลั ก ฐาน หากผลการทดสอบวั ส ดุ เ ป็ น ไปตามข้ อ กํ า หนด
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะดําเนินการสุ่มทดสอบการทนทานความดันน้ํา และการตรวจสอบผลิตภัณฑ์
สําเร็จรูป หากผลการตรวจสอบเป็นไปตามข้อกําหนดจะออกใบรับรองคุณภาพท่อและอุปกรณ์ไว้ให้เป็น
หลั ก ฐาน ค่ า ใช้ จ่ า ยต่ า งๆ ในการดํ า เนิ น การทดสอบเป็ น ของผู้ รั บ จ้ า งทํ า ทั้ ง สิ้ น และในระหว่ า งที่ ผ ลิ ต
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุมีสิทธิ์ที่จะเข้าตรวจสอบการผลิตที่โรงงานผู้ผลิตได้โดยไม่ต้องแจ้งล่วงหน้า
(1) ท่อ และข้อต่อที่ทําด้วยพีวีซี
ผู้ ผ ลิ ต จะต้ อ งทํ า การสุ่ ม ตั ว อย่ า งเพื่ อ ตรวจสอบ ควบคุ ม คุ ณ ภาพท่ อ และอุ ป กรณ์ ต าม
ระยะเวลาที่กําหนด โดยทดสอบตามวิธีและเกณฑ์การตัดสินที่กําหนดตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
เลขที่ มอก.17-2532 หรือตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.1131-2535 รายการที่ทําการ
ทดสอบจะต้องไม่น้อยกว่าที่กําหนดไว้ตามตารางที่ 6-6 ดังต่อไปนี้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6 - 19 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

ตารางที่ 6-6 รายการทดสอบท่อพีวีซี


ระยะเวลาที่ตอ้ งสุ่ม
ลําดับ
การทดสอบ ตัวอย่างทดสอบต่อครั้ง
ที่
(ไม่มากกว่า)
1 ความต้านแรงกด (Flattening) 8 ชั่วโมง
2 ความต้านแรงกระแทก (Impact Resistance) 8 ชั่วโมง
3 การเปลี่ยนแปลง ณ อุณหภูมิ (Reversion) 8 ชั่วโมง
4 ความทนทานต่ออะซีโทน (Anhydrous Acetone) 8 ชั่วโมง
5 ความทนทานต่อการรั่วซึมของหัวต่อ 8 ชั่วโมง
(Hydrostatig Pressure of the joint)
6 ความทนทานต่อความดันในระยะเวลาสั้น 8 ชั่วโมง
(Short Term Hydrostatic Pressure)
7 ความทนทานต่อความดันในระยะเวลาสั้นของหัวต่อ 1 เดือน
(Short Term Hydrostatic Pressure of the joint)
8 ความทนทานต่อความดันในระยะเวลานาน 1 ปี
(Long Term Hydrostatic Pressure)
9 ความทนทานต่อกรดซัลฟูริก (Sulphuric Acid 1 ปี
Immersion)
10 การตรวจสอบผลที่เกิดจากน้าํ (Effect on Water) 1 ปี

การตรวจสอบและทดสอบนี้ จะมีการทดสอบตามรายการในตารางที่ 6-6 ผู้ผลิตต้อง


บันทึกรายงานผลการทดสอบไว้ด้วย เพื่อรวบรวมไว้และคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ สงวนสิทธิ์จะตรวจสอบ
บันทึกรายงานผล หากไม่มีบันทึกดังกล่าว คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่ตรวจรับท่อรุ่น (Lot) ดังกล่าว
ในระหว่างที่ผลิตคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ มีสิทธิ์ที่จะเข้าไปตรวจสอบการผลิตที่โรงงาน
ผู้ผลิตได้ตลอดเวลาโดยที่ผู้ขายหรือผู้รับจ้างทําจะต้องมีหนังสือยินยอมจากผู้ผลิตมอบให้คณะกรรมการตรวจรับ
พัสดุไว้เป็นหลักฐาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะสุ่มตัวอย่างท่อ 1 ชุดตัวอย่าง จากท่อจํานวนไม่เกิน 600
ท่อน เพื่อทดสอบคุณสมบัติตามตารางที่ 6-6 ข้อที่ 1 ถึงข้อที่ 7 และสุ่มตัวอย่างอุปกรณ์ท่อทําด้วยพีวีซี จํานวน
1 ชุด เพื่อทดสอบคุณสมบัติตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.1131-2535

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6 - 20 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

6.9.8 การทดสอบซ้ําในการตรวจรับ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ สงวนสิทธิ์ ที่จะสุ่มตัวอย่างท่อพีวีซี จํานวนพอเพียงสําหรับใช้ใน
การทดสอบ 1 ชุด เพื่อทดสอบตามรายการที่กําหนดไว้ใน ข้อ 6.9.3 “คุณสมบัติวัสดุ” หากผลการทดสอบ
ไม่เป็นไปตามเกณฑ์การตัดสิน ตามที่กําหนดไว้ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.17-2532 และ
ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.1131-2535 ถือว่าท่อพีวีซีรุ่นนั้นไม่ถูกต้อง
6.10 รายละเอียดอุปกรณ์ประกอบอาคาร
อุปกรณ์ประกอบอาคาร เช่น อาคารจ่ายน้ํา อาคารประตูระบายอากาศ (Air Valve) อาคารจุดทิ้ง
ตะกอน (Blow Off) อาคารควบคุม อาคารปลายท่อส่งน้ําและอื่น ๆ ขนาดและมิติต่าง ๆ ให้เป็นไปตามแบบรูป
และรายการละเอียดหรือตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุอนุมัติ โดยวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ มีคุณสมบัติ ดังนี้
6.10.1 ท่อเหล็กอาบสังกะสี ให้ใช้ประเภทที่ 2 แบบมีตะเข็บ ชนิดปลายเรียบหรือชนิดต่อด้วย
เกลียว และผลิตตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.277-2532 “ท่อเหล็กกล้าอาบสังกะสี”
6.10.2 ประตูน้ําเหล็กหล่อ (Gate Valve) ขนาดระบุ 100 - 400 มิลลิเมตร ให้ใช้ชนิดก้านไม่ยก
มี เกลียวในตั วเรือน มี ปลายหน้าจาน ความดัน ใช้งานระบุ 1.0 เมกะพาสคัล และผลิตตามมาตรฐาน
ผลิ ตภัณ ฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.1413-2540 “ประตูน้ําเหล็กหล่อ : ลิ้ นยกแบบลิ้นหุ้มยางสําหรับ
งานประปา”
6.10.3 ประตูน้ําเหล็กหล่อ (Gate Valve) ขนาดระบุ 500 มิลลิเมตรขึ้นไป ให้ใช้ชนิดมีเกียร์ทด
ก้านไม่ยก มีเกลียวในตัวเรือน ปลายหน้าจาน ความดันใช้งานระบุ 1.0 เมกะพาสคัล และผลิตตาม
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.256-2540 “ประตูน้ําเหล็กหล่อ : ลิ้นยกแบบรองลิ้นโลหะ
สําหรับงานประปา” พร้อมนี้ประตูน้ําเหล็กหล่อขนาดระบุ 800 มิลลิเมตร ขึ้นไป (ถ้ามี) ให้ติดตั้งชุดขับเปิด
ปิดแบบไฟฟ้า (Electric Actuator) หรือตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยรายละเอียด
ชุดขับเปิดปิดประตูน้ําดังกล่าว กําหนดตามหัวข้อ 6.12 “การวางท่อ”
6.10.4 ประตูน้ําเหล็กหล่อลิ้นปีกผีเสื้อ (Butterfly Valve) ให้ใช้ประเภทปิดสนิท แบบหน้าจานคู่
ชั้นคุณภาพ 10 ระดับ 2 และผลิตตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.382-2531 “ประตูน้ํา
เหล็กหล่อ : ลิ้นปีกผีเสื้อ” พร้อมนี้ประตูน้ําเหล็กหล่อลิ้นปีกผีเสื้อขนาดระบุ 800 มิลลิเมตร ขึ้นไป ให้ติดตั้ง
ชุ ดขั บเปิดปิด แบบไฟฟ้ า (Electric Actuator) หรื อตามที่ ค ณะกรรมการตรวจรับ พั ส ดุ เห็ น สมควร โดย
รายละเอียดชุดขับเปิดปิดประตูน้ําดังกล่าว กําหนดตามหัวข้อ 6.11 “รายละเอียดชุดขับเปิดปิดประตูน้ําแบบ
ไฟฟ้า (Electric Actuator)”
6.10.5 ประตูระบายอากาศ (Air Valve) ขนาด 25 มิลลิเมตร ให้ใช้แบบลูกลอยเดี่ยว ขนาด 50 -
100 มิลลิเมตร ให้ใช้แบบลูกลอยคู่ และขนาด 150 - 200 มิลลิเมตร ให้ใช้แบบระบายเร็ว ส่วนที่ติดตั้งเป็น
หน้ า จาน ชั้ น คุ ณ ภาพ PN10 ความดั น ใช้ ง านระบุ 1.0 เมกะพาสคั ล และผลิ ต ตามมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.1368-2539 “ประตูระบายอากาศสําหรับงานประปา”
6.10.6 อุปกรณ์และข้อต่อเหล็กหล่อ ชนิดและแบบต่าง ๆ ให้ใช้ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
เลขที่ มอก.918-2535 “อุปกรณ์และข้อต่อเหล็กหล่อเทาสําหรับท่อส่งน้ําชนิดทนความดัน”

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6 - 21 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

6.10.7 หน้าจานขนาด 100 - 600 มิลลิเมตร ให้ใช้เป็นหน้าจานสําหรับเชื่อม และหน้าจานขนาด


700 - 1800 มิลลิเมตร ให้ใช้เป็นหน้าจานแบบมีคอสําหรับเชื่อมต่อชน รวมถึงหน้าจานตาบอดขนาด 100-
1800 มิลลิเมตร ให้ใช้ตามมาตรฐาน BS 4501 Section 3.1
6.10.8 สลักเกลียวและแป้นเกลียว ให้ใช้แบบหัวหกเหลี่ยม ทําด้วยเหล็กกล้ามีคุณสมบัติทางกล
ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.171-2530 ชั้นสมบัติ 4.6 สลักเกลียวและแป้นเกลียว
ให้ชุบด้วยสังกะสีโดยวิธีจุ่มร้อน
6.10.9 ประเก็นให้ใช้ชนิดยางสังเคราะห์ แบบเต็มหน้าจาน มีคุณสมบัติตามมาตรฐาน JIS K6353
Class III Hardness Hs 60±5 หรือ BS 2494 Hardness Range IRHD 56-65
6.10.10 ข้อต่อแบบ Mechanical และ Flexible Couplings เมื่อประกอบเข้ากับท่อที่มีค่ามุม
เบี่ยงเบนตามที่กําหนดแล้ว ต้องสามารถทนความดันน้ําได้ไม่น้อยกว่า 20 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร
เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 5 วินาที โดยไม่มีการรั่วซึม
ข้ อ ต่ อ ต้ อ งมี แ หวนใน (Sleeve) เป็ น แบบ Spherical-sleeve หรื อ เที ย บเท่ า สามารถ
รั บ มุ ม เบี่ ย งเบนในทุ ก ทิ ศ ทางได้ ไ ม่ น้ อ ยกว่ า 2 องศา สํ า หรั บ Mechanical Coupling ขนาด 1500
มิลลิเมตร และต่ํากว่า และไม่น้อยกว่า 1 องศา สําหรับ Mechanical Coupling ขนาด 1800 มิลลิเมตร
และค่ามุมเบี่ยงเบนต่ําสุดสําหรับ Flexible Coupling ต้องเป็นไปตามที่กําหนดในตารางที่ 6-7
ตารางที่ 6-7 ค่ามุมเบีย่ งเบนต่ําสุดของ Flexible Coupling
ค่ามุมเบีย่ งเบนต่ําสุด
ขนาดระบุ
(องศา)
150-700 4.0
800-900 3.5
1000-1500 3.0
1800 2.0
เหล็ ก กล้ า ที่ ใ ช้ ใ นการจั ด ทํ า Mechanical และ Flexible Coupling ต้ อ งเป็ น ชนิ ด และ
ชั้นคุณภาพเดียวกับเหล็กกล้าที่ใช้ในการผลิตท่อเหล็กกล้า ซึ่งได้กําหนดไว้ในหัวข้อ 6.8.1 “มาตรฐานวัสดุ”
แหวนยางสํ า หรั บ ใช้ กั บ Mechanical Coupling และ Flexible Coupling ต้ อ งเป็ น ไป
ตามมาตรฐาน BS 2494 Hardness Range (IRHD) 66-75 หรื อ มาตรฐาน JIS K 6353 Class 1A
Hardness Hs 70±5 หรือมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า
สลั ก เกลี ย วและแป้ น เกลี ย วสํ า หรั บ Mechanical Coupling และ Flexible Coupling
มีคุณสมบัติตามมาตรฐาน ASTM A307 Grade B หรือมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.171-
2530 ชั้นสมบัติ 4.6 สลักเกลียวและแป้นเกลียวให้ชุบด้วยสังกะสีโดยวิธีจุ่มร้อน
ผิวนอกและผิวในของ Coupling ในส่วนที่เป็นเหล็กจะต้องเคลือบด้วย Liquid Epoxy (ชนิดไม่มี
ส่ วนผสมของ Coal Tar) ตามมาตรฐาน AWWA C210 ความหนาของผิวเคลือบเมื่ อแห้ งไม่น้อยกว่ า 406
ไมครอน
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6 - 22 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

6.10.11 ข้อต่อแบบยึดรั้ง (Restrained Joints)


เหล็กที่ ใ ช้ ทํา Harness Lugs ต้องเป็นชนิ ดและชั้ นคุณ ภาพเดีย วกั บ เหล็ กที่ใ ช้ ใ นการผลิ ต
ท่อเหล็กกล้า ซึ่งได้กําหนดไว้ในหัวข้อ 6.8.1 “มาตรฐานวัสดุ”
การเคลือบผิว Harness Lugs จะต้องเคลือบด้วย Liquid Epoxy (ชนิดไม่มีส่วนผสมของ
Coal Tar) ตามมาตรฐาน AWWA C210 ความหนาของผิวเคลือบเมื่อแห้งไม่น้อยกว่า 406 ไมครอน และ
สลักเกลียวปล่อยสองข้าง (Tie Rods) มีคุณสมบัติตามมาตรฐาน ASTM A193 Grade B7 แป้นเกลียว
มีคุณสมบัติตามมาตรฐาน ASTM A194 Grade 2H และต้องชุบสังกะสีโดยวิธีจุ่มร้อน
6.10.12 ข้อต่อยีโบลท์สําหรับท่อเหล็กกล้า
แหวนนอกและแหวนในจัดทําด้วยเหล็กหล่อ แหวนในต้องสามารถรับมุมเบี่ยงเบนในทุกทิศทาง
ได้ไม่น้อยกว่า 3 องศา แหวนยางมีคุณสมบัติตามมาตรฐาน BS 2494 Hardness Range IRHD 66-75 หรือ
JIS K6353 Class 1A Hardness Hs 70±5 สลักเกลียวและแป้นเกลียวทําด้วยเหล็กกล้าไร้สนิมตามมาตรฐาน
ASTM A320”Alloy Steel Bolting Material for Low Temperature” Grade B8 เคลื อ บด้ ว ยสารจํ า พวก
Dry Lubrication High Alloy Metal Coating (Metal Based) เพื่ อป้ องกั นการเกิ ด Galling หรื อ Copper-
Aluminium Alloy CuAl10Fe3 ตามาตรฐาน ISO 428 หรือ Copper Alloy No. C 623000 หรือ BS 1400 AB1
ยีโบลท์ทุกตัวต้องผ่านการทดสอบด้วยความดันน้ําไม่น้อยกว่า 25 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร
สําหรับขนาดระบุ 100-300 มิลลิเมตร และไม่น้อยกว่า 20 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร สําหรับขนาดระบุ
400-600 มิลลิเมตร เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 15 วินาที โดยไม่มีการรั่วซึม
ชิ้นส่วนของยีโบลท์ที่ทําจากเหล็กจะต้องเคลือบผิวภายนอกด้วย Non-Bleeding Type Coal
Tar Epoxy ความหนาของผิวเคลือบเมื่อแห้งไม่น้อยกว่า 200 ไมครอน และเคลือบผิวภายในด้วย Liquid
Epoxy (ชนิดไม่มีส่วนผสมของ Coal Tar) ตามมาตรฐาน AWWA C210 ความหนาของผิวเคลือบเมื่อแห้ง
ไม่น้อยกว่า 200 ไมครอน
6.10.13 ตุ๊กตารับท่อและเหล็กรัดท่อให้จัดทําด้วยเหล็กกล้าตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
เลขที่ มอก.1479-2558 ชั้นคุณภาพ SS400 สลักเกลียวฝังคอนกรีต สลักเกลียวและแป้นเกลียว ให้จัดทํา
ด้วยเหล็กกล้ามีคุณสมบั ติตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.171-2530 ชั้นสมบัติ 4.6
เหล็กรัดท่อ สลักเกลียวและแป้นเกลียวให้ชุบด้วยสังกะสีโดยวิธีจุ่มร้อน ตุ๊กตารับท่อให้เคลือบผิวทั้งหมดด้วย
Non-Bleeding Type Coal Tar Epoxy ความหนาของผิวเคลือบเมื่อแห้งไม่น้อยกว่า 150 ไมครอน และทับหน้า
ด้วย Epoxy-Resinous Micaceous Iron Oxide (MIO) ความหนาผิวเคลือบเมื่อแห้งไม่น้อยกว่า 60 ไมครอน
และ MIO ที่ใช้จะต้องเป็นสีเทาหรือเทาดํา

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6 - 23 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

6.11 รายละเอียดชุดขับเปิดปิดประตูน้ําแบบไฟฟ้า (Electric Actuator)


ประตูน้ําเหล็กหล่อลิ้นปีกผีเสื้อ (Butterfly Valve) และประตูน้ําเหล็กหล่อ (Gate Valve) กรณีที่
แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดให้ติดตั้งชุดขับเปิดปิดประตูน้ําแบบไฟฟ้า หรือตามที่คณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยชุดขับเปิดปิดประตูน้ําดังกล่าว ต้องมีคุณลักษณะต่างๆ ดังนี้
6.11.1 Electric Actuator เป็นผลิตภัณฑ์สําหรับใช้เปิดปิดประตูน้ําโดยเฉพาะแบบ Multi-turn
มีส่วนประกอบเป็นมอเตอร์ไฟฟ้า ชุดเฟืองส่งกําลัง อุปกรณ์บอกตําแหน่งการเปิดปิด สวิทซ์ป้องกันแรงบิดเกิน
สวิทซ์จํากัดการเปิดปิด พวงมาลัยมือหมุนและชุดควบคุม ตัวเรือนจัดทําด้วยเหล็กหล่อหรืออลูมิเนียมหล่อ
อุปกรณ์ทั้งหมดประกอบเป็นชุดเดียวกันสําเร็จจากโรงงานผู้ผลิต ระดับการป้องกันไม่ต่ํากว่า IP67 เคลือบผิว
ด้วยสีอีพ๊อกซี่ ผู้ผลิตได้รับการรับรองตามมาตรฐานระบบบริหาร ISO 9001 และเป็นของใหม่ไม่ผ่านการใช้งาน
มาก่อน
6.11.2 มอเตอร์ไฟฟ้าเป็นแบบกรงกระรอก ฉนวนขดลวด Class F มีอุปกรณ์ป้องกันอุณหภูมิ
ขดลวดเกินพิกัด ใช้กับระบบไฟฟ้า 380 VAC 3 Phase 50 Hz และทํางานด้วยความเร็วรอบคงที่
6.11.3 แรงบิดไม่น้อยกว่า 1.5 เท่าของแรงบิดใช้งานสูงสุด สวิทซ์ป้องกันแรงบิดเกินสามารถปรับตั้ง
ค่าได้ประมาณร้อยละ 40 - 100 ของ Rated Torque สวิทซ์ป้องกันแรงบิดเกินกับสวิทซ์ขีดจํากัดในทิศทาง
เปิดปิดต้องทํางานแยกกันหรือทํางานเป็นอิสระต่อกัน
6.11.4 มีอุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่อาจเกิดจากการทํางานพร้อมกันระหว่างพวงมาลัยมือหมุนกับ
มอเตอร์ไฟฟ้า หรือในกรณีที่มอเตอร์ไฟฟ้าทํางาน พวงมาลัยมือหมุนต้องหยุดทํางานอย่างอัตโนมัติ
6.11.5 มีอุปกรณ์บอกตําแหน่งการเปิดปิดแบบจอภาพ และแสดงผลการเปิดปิดเป็นร้อยละ 0 - 100
6.11.6 หน้าแปลนสําหรับติดตั้งให้ใช้ตามมาตรฐาน ISO 5210 หรือ DIN 3210
6.11.7 ชุดควบคุมต้องมีปุ่มหรืออุปกรณ์สําหรับเลือกทําการควบคุมแบบระยะใกล้หรือระยะไกล มีปุ่ม
เปิดประตูน้ํา ปุ่มปิดประตูน้ํา ปุ่มหยุดการทํางาน และมีสัญญาณ Output 4-20 mA สําหรับแสดงผล
(Display)
6.11.8 ตู้ควบคุมไฟฟ้า มีอุปกรณ์แสดงสถานะเฟสของไฟฟ้าที่จ่ายมายังตู้ควบคุม มีปุ่มเปิดประตูน้ํา
มีปุ่มปิดประตูน้ํา ปุ่มหยุดการทํางาน และมีไฟแสดงสถานการณ์ทํางาน
6.11.9 มีตัวแทนจําหน่ายที่มีหนังสือแต่งตั้งอย่างเป็นทางการจากผู้ผลิตและมีศูนย์บริการหลังการขาย
ในประเทศไทย
6.11.10 ผู้ รั บ จ้ า งต้ อ งจั ด หาพร้ อ มติ ด ตั้ ง Electric Actuator ชุ ด เกี ย ร์ ท ดประตู น้ํ า และอุ ป กรณ์
ประกอบต่าง ๆ การติดตั้งต้องมั่นคง แข็งแรง และต้องปรับตั้งให้ประตูน้ําเปิดปิดด้วยความเร็วประมาณ 15-30
เซนติเมตรต่อนาที
6.11.11 ผู้รับจ้างต้องเสนอแบบรายละเอียดพร้อมรายการคํานวณการติดตั้งชุดขับเปิดปิดประตูน้ํา
แบบไฟฟ้าต่อคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเพื่อพิจารณาให้การอนุมัติก่อนทําการติดตั้ง
6.11.12 การติดตั้งต้องควบคุมโดยผู้ได้รับใบอนุญาตให้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ไม่ต่ํากว่า
ระดับสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมเครื่องกล

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6 - 24 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

6.12 การวางท่อ
6.12.1 ข้อกําหนดทั่วไป
(1) ท่อและอุปกรณ์ที่ใช้ในการวางและติดตั้งทั้งหมดจะต้องเป็นของใหม่ไม่เคยใช้งานมาก่อน
(2) การวางท่อ การประกอบท่อ การติดตั้งข้อต่อท่อ การเตรียมสถานที่ ให้ปฏิบัติตาม
คําแนะนําของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(3) ผู้รับจ้างจะต้องใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับขนาดท่อและอุปกรณ์ต่างๆ ในการต่อท่อ ผู้รับจ้าง
จะต้องตรวจท่อและอุปกรณ์ต่าง ๆ ว่าไม่แตก รั่ว ชํารุดเสียหาย แล้วจึงจะใช้ลงวางในร่องดินได้ ท่อหรืออุปกรณ์
ที่แตกชํารุดห้ามใช้ในการวางท่อ
(4) ท่อและอุปกรณ์ทั้งหมด ผู้รับจ้างจะต้องทําความสะอาดภายในก่อนแล้วจึงนําลงวางต่อใน
ร่องดินได้
(5) ผู้รับจ้างจะต้องทําการวางท่อหลัก ท่อลอด ท่อข้าม ชนิดขนาดต่าง ๆ พร้อมทั้งติดตั้ง
อุปกรณ์ประกอบ เช่น ประตูระบายอากาศ ประตูน้ํา ข้อลด ข้อโค้ง และอื่น ๆ ตามแบบรูปและรายการ
ละเอียดวางท่อสัญญานี้ หรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างพิจารณาให้ติดตั้งเพิ่มเติมเพื่อความ
สมบูรณ์ของงาน
(6) ปลายสุดของท่อและอุปกรณ์ต่าง ๆ เมื่อเลิกหรือหยุดงานทุกครั้ง ผู้รับจ้างจะต้องอุดหรือ
ปิดไว้ให้มิดชิด เพื่อป้องกันผง เศษขยะ ดินหรือสัตว์ ฯลฯ เข้าไปในท่อ
(7) การตัดท่อให้ยาวพอเหมาะกับระยะทาง ผู้รับจ้างจะต้องตัดปลายท่อด้วยความระมัดระวัง
และเรียบร้อย การตัดและแต่งปลายท่อให้ปฏิบัติตามคําแนะนําของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(8) การต่ อท่อเกาะสะพาน ผู้รับจ้างจะต้ องจัดหาอุปกรณ์ ยึดกับสะพานตามแบบรูปและ
รายการละเอียดที่เจ้าของกรรมสิทธิ์สะพานหรือคณะกรรมการตรวจรับพัสดุได้อนุมัติ ท่อที่วางเกาะสะพาน
และวางลอยเหนือพื้นดินให้ใช้ข้อต่อแบบหน้าจาน ความยาวให้ปฏิบัติตามความเหมาะสม บรรดาวัสดุต่าง ๆ
รวมทั้งแรงงานที่ใช้ในการนี้เป็นของผู้รับจ้างเองทั้งสิ้น
(9) การวางท่อลอดถนนตามจุดที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด หรือจุดที่เจ้าของ
กรรมสิทธิ์ในถนนกําหนด ให้ใช้ท่อเหล็กหรือท่อปลอกเหล็ก โดยต้องมีความยาวจากแนวท่อด้านหนึ่งถึงแนว
ท่ออีกด้านหนึ่งหรือถึงสุดแนวเขตทาง หรือตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุอนุมัติแล้วแต่กรณี นอกจากนี้
ต้องปฏิบัติตามระเบียบของเจ้าของกรรมสิทธิ์ในถนนที่วางท่อ
(10) ท่อปลอกให้ใช้เป็นท่อเหล็กขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตามแบบรูปและรายการละเอียด ท่อ
ปลอกความยาวตลอดผิวจราจร (ในกรณีที่มีทางเท้าทั้ง 2 ด้าน) หรือจากสุดของเชิงลาดของไหล่ทางด้าน
หนึ่งถึงสุดขอบเชิงลาดของไหล่ทางอีกด้านหนึ่ง หรือตามที่เจ้าของกรรมสิทธิ์ถนน หรือตามที่คณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุอนุมัติแล้วแต่กรณี
(11) ในกรณีที่มีความจําเป็นต้องใช้ข้อต่อเหล็ กหล่อแบบยีโบลท์และข้ อต่ อ Mechanical
Coupling เฉพาะส่วนที่วางใต้ดิน หลังจากการทดสอบแรงดันน้ําแล้ว ให้เทปูนทรายอัตราส่วนโดยปริมาตร
ของปูนซีเมนต์ต่อทรายประมาณ 1 ส่วนต่อ 3 ส่วน หุ้มข้อต่อโดยการตั้งแบบเท แล้วกระทุ้งจนแน่นทุกจุด

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6 - 25 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

ทั้งนี้ กําหนดให้มี Covering ไม่น้อยกว่าด้ านละ 5 เซนติเมตร ยกเว้ นกรณี ที่ระบบท่อระบุให้ใ ช้ระบบ
Cathodic Protection ไม่ต้องเทปูนทรายหุ้ม
(12) แนวท่อที่วางนอกเขตชุมชนให้ปักหลัก ค.ส.ล. แสดงตําแหน่งท่อไว้ทุกระยะ 100 เมตร
หรือตามแบบรูปและรายการละเอียดกําหนด หรือตามคําแนะนําของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
6.12.2 การเปิดแนวร่องวางท่อและการกลบและบดอัดวัสดุหลังท่อ
(1) การเปิ ดแนวร่องวางท่ อที่ ว างอยู่ ใ นถนนคอนกรีตหรื อทางเท้ าคอนกรี ตหรือผิ วจราจร
แอสฟัลท์หรือผิวจราจรอื่น ๆ ที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นว่าจําเป็นต้องตัดแนว ผู้รับจ้างจะต้องใช้
เครื่องมือที่เหมาะสมมาตัดแนวก่อนทําการขุดร่องดิน ผู้รับจ้างจะต้องรักษาเหล็กเสริมไว้เพื่อใช้ต่อเหล็กเสริม
ในการจัดซ่อมถนนในภายหลัง หากผู้รับจ้างไม่ได้ทําการตัดหรือเจาะผิวจราจรด้วยเครื่องมือที่เหมาะสม
คณะกรรมการตรวจรั บพั สดุมีสิทธิ สั่งระงั บการก่อสร้างของผู้รับจ้างได้ และผู้รับจ้างต้องแก้ไขให้ถูกต้อง
ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในการแก้ไขเป็นของผู้รับจ้างทั้งสิ้น
(2) ผู้รับจ้างต้องเปิดแนวร่องดินวางท่อลึกไม่น้อยกว่าที่กําหนด เฉพาะจุดที่ติดตั้งข้อต่อท่อ
จะต้องปรับความลึกของร่องดินให้มากขึ้นกว่าปกติ เพื่อป้องกันมิให้ข้อต่อเป็นจุด Support ของท่อ ความกว้าง
ร่องดินสําหรับการวางท่อและติดตั้งอุปกรณ์ ให้ปฏิบัติตามคําแนะนําของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(3) การขุดร่องดิน ถ้ามีการขุดผ่านถนนหรือผ่านหน้าบ้าน ซึ่งมีการใช้รถยนต์ผ่าน ผู้รับจ้าง
จะต้องทําสะพานชั่วคราว หรือใช้แผ่นเหล็กขนาดหนาพอที่รถยนต์จะผ่านไปได้โดยไม่เป็นอันตรายมาวางพาดไว้
และจะต้องแสดงเครื่องหมายจราจรให้ยวดยานทีผ่ ่านไปมาทราบชัดเจนทั้งกลางวันและกลางคืนโดยอาศัยข้อบังคับ
ตามกฎจราจร
(4) ดินที่ขุดขึ้นจากร่องดิน ผู้รับจ้างจะต้องกองไว้ข้างร่องดิน โดยมีระยะห่างร่องดินพอสมควร
ซึ่งดินจะไม่ร่วงหล่นลงในร่องดินได้และไม่เป็นที่กีดขวางทางจราจร ส่วนดินที่เหลือจากการกลบท่อ ผู้รับจ้าง
จะต้องขนไปทิ้งในที่ที่เหมาะสมตามความเห็นของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(5) หลังจากขุดร่องดินได้ความลึกตามที่กําหนดแล้ว หากพื้นร่องดินที่ขุดเป็นชั้นของดินอ่อน
ไม่สามารถรับน้ําหนักได้ ให้ผู้รับจ้างขุดลอกชั้นดินอ่อนนั้นต่อไปจนหมด แล้วใช้ทรายหรือวัสดุอื่นที่เหมาะสม
ถมจนถึงระดับความลึกของร่องดินที่กําหนด แล้วรองพื้นร่องดินด้วยทรายและเกลี่ยให้เรียบตลอดความยาว
เพื่อใช้เป็นพื้นฐานรองท่อ ความหนาของชั้นทรายที่รองพื้นจากท้องท่อจนถึงพื้นรองท่อต้องเป็นไปตามที่
กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียดการวางท่อ
(6) เมื่อทําการต่อท่อเสร็จเรียบร้อย ผู้รับจ้างจะต้องเคลือบผิวแนวต่อท่อและข้อต่อต่าง ๆ ให้
เรียบร้อยก่อนจึงจะทําการกลบวัสดุหลังท่อ การกลบวัสดุหลังท่อจะต้องปฏิบัติตามที่กําหนดไว้ในแบบงานวาง
ท่อในร่องดิน และเว้นให้เห็นแนวต่อท่อหรือข้อต่อท่อทุกช่อง หลังจากนั้นให้ทําการทดสอบแรงดันน้ําในเส้นท่อ
(7) เมื่อได้ทดลองความดันน้ําแล้วโดยไม่ปรากฏมีรอยรั่วและท่อไม่แตกหรือชํารุด จึงจะทําการ
กลบและบดอัดวัสดุหลังท่อให้เรียบร้อย ดินที่เหลือให้เฉลี่ยพูนไว้บนร่องดินทั้งหมดหรือนําไปกองไว้คําแนะนํา
ของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง ห้ามใช้ขยะมูลฝอยต่าง ๆ ในการกลบร่องดิน

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6 - 26 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

(8) ในการกลบท่อ ผู้รับจ้างจะต้องอัดหรือกระทุ้งดินให้แน่นและระมัดระวังมิให้เกิดอันตราย


กับท่อที่วางไว้แล้ว กรรมวิธีการกลบดินและการใช้เครื่องมือสําหรับบดอัดดินหลังท่อให้ปฏิบัติตามคําแนะนํา
ของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(9) การขุดร่องดินสําหรับวางท่อบางช่วง ผู้รับจ้างต้องจัดหาอุปกรณ์และเครื่องใช้ในการกรุ
กันดินพัง เพื่อป้องกันมิให้เกิดความเสียหายต่อพื้นผิวถนน สิ่งปลูกสร้างอุปกรณ์สาธารณูปโภคหรือทรัพย์สิน
ส่วนบุคคลที่อยู่ใกล้บริเวณที่ดําเนินการก่อสร้าง การกรุกันดินพังนี้จะต้องทําให้แข็งแรงและเพียงพอที่จะ
ป้องกันการเคลื่อนตัวของดินชั้นล่างหรือตามความเห็นของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง ผู้รับจ้างจะรื้อ
ถอนแผงกรุกันดินพังนี้ได้ก็ต่อเมื่อได้ทําการกลบร่องดินที่ขุดและผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างได้พิจารณา
อนุญาตแล้ว ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในการนี้เป็นของผู้รับจ้างทั้งสิ้น
6.12.3 แนวท่อและระดับของดิน
(1) ผู้รับจ้างจะต้องวางท่อในแนวที่กําหนดให้ด้วยความลาดที่สม่ําเสมอกัน โดยหลีกเลี่ยงการ
ยกท่อขึ้นหรือกดท่อลงโดยกะทันหัน ทั้งนี้ ผู้รับจ้างจะต้องวางท่อให้ระดับความลึกหลังท่อเป็นไปตามแบบรูป
และรายการละเอียด ถ้าไม่อาจวางท่อตามกําหนดไว้ได้ให้ผู้รับจ้างเสนอแนวทางการแก้ไขต่อคณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุเพื่อพิจารณาเห็นชอบและ/หรือสั่งการ เพื่อให้งานดําเนินไปด้วยดีและถูกต้องตามหลักวิชาการ
ระดับความลึกของท่อตามกําหนดนี้อนุญาตให้เปลี่ยนแปลงได้เฉพาะในกรณีต่อไปนี้
(ก) แนวท่อที่วางผ่านบริเวณที่ระดับของพื้นที่เปลี่ยนแปลงโดยกะทันหัน
(ข) แนวท่อที่ต้องวางผ่านสิ่งกีดขวางซึ่งจะหลีกเลี่ยงมิได้ เช่น ต้นไม้ใหญ่หรือสิ่งก่อสร้าง
เช่ น ฐานราก อาคาร ท่อประปาเดิ ม ท่ อระบายน้ํ าฯลฯ การวางท่อในช่ วงนี้ควรวางให้มีความลาดที่
เหมาะสม ดังนั้น ความลึกของท่ออาจเปลี่ยนแปลง เพื่อหลีกเลี่ยงสิ่งกีดขวางดังกล่าวตามความจําเป็น
(ค) แนวท่อช่วงที่วางลอดตัดลําคลอง ที่ลุ่มหรือท่อลอดถนนที่วางเชื่อมท่อ 2 ข้างทาง
โดยวางไปเชื่อมกับท่อเดิมหรือวางไปเชื่อมกับท่อที่มีขนาดต่างกัน เป็นต้น
(ง) โดยปกติระดับความลึกของท่อแต่ละขนาดให้มีความคลาดเคลื่อนจากที่กําหนดโดย
อนุโลมให้วางตื้นกว่าที่กําหนดได้ไม่เกิน 5 เซนติเมตร
นอกจากกรณี ตามข้อ (1) ถ้าการวางท่อจุดใดไม่ได้ระดับความลึกที่กําหนด คณะกรรมการ
ตรวจรั บ พั ส ดุ จ ะพิ จ ารณาสั่ ง การให้ ผู้ รั บ จ้ า งแก้ ไ ขงานจนกว่ า รายละเอี ย ดต่ า ง ๆ ของงานจะเป็ น ไปตาม
ข้อกําหนดในสัญญา
(2) ก่อนวางท่อ ผู้รับจ้างจะต้องปรับพื้นร่องดินให้แน่นและมีผิวหน้าเรียบตลอดความยาวของท่อ
การทําฐานรองรับท่อให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ในกรณีต่าง ๆ ให้ปฏิบัติตามคําแนะนําของผู้ควบคุมงานก่อสร้าง
ของผู้ว่าจ้าง
(3) การวางท่อต้องให้ได้แนวตรง และการเบี่ยงเบนแนวท่อสําหรับข้อต่อแบบต่าง ๆ อาจจะ
กระทําได้แต่ต้องไม่เกินข้อกําหนดของบริษัทผู้ผลิตหรือตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุอนุมัติให้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6 - 27 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

(4) การวางท่อที่ขนานกัน ห้ามวางซ้อนกัน และให้วางห่างจากท่อข้างเคียงให้มากที่สุดตาม


สภาพพื้ น ที่ นั้ น ๆ ในกรณี ที่ ไ ม่ ส ามารถหลี ก เลี่ ย งได้ ให้ ผู้ รั บ จ้ า งเสนอปั ญ หาและแนวทางการแก้ ไ ขต่ อ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเพื่อพิจารณาอนุมัติ
(5) ฝาครอบท่อกันดินประตูน้ําจะต้องยกสูงให้ได้ระดับพอดีกับผิวถนนหรือผิวทางเท้า
(6) แนวท่อ จุดติดตั้งอุปกรณ์ เช่น ประตูน้ําเหล็กหล่อ ประตูระบายอากาศ เป็นต้น ตลอดจน
จุดก่อสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กรับท่อตามกําหนดในแบบรูปและรายการละเอียดผังแนวท่ออาจเปลี่ยนแปลงได้
ตามความเหมาะสม โดยผู้รับจ้างจะต้องปฏิบัติตามคําแนะนําของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
6.12.4 การสูบน้ําในร่องดินที่จะทําการวางท่อ
ผู้รับจ้างจะต้องไม่ปล่อยให้น้ําขังอยู่ในท้องร่อง ซึ่งจะทําให้ดินข้าง ๆ ร่องพังหรือยุบตัวและ
ไม่สะดวกในการวางท่อ ถ้ามีน้ําขังอยู่ในท้องร่อง ซึ่งจะเป็นสาเหตุให้ภายในท่อสกปรก ผู้รับจ้างจะต้องสูบน้ํา
หรือวิดน้ําออกจนแห้ง แล้วจึงทําการต่อท่อหรือติดตั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้
6.12.5 การซ่อมถนนและทางเท้า
ในการวางท่อไปตามถนนหรือทางเท้า ถ้าจําเป็นต้องขุดเจาะถนน ทางเท้า หรือถ้าปรากฏว่า
ทําให้ทรัพย์สินของเอกชนหรือทางราชการชํารุดเสียหาย ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาซ่อมแซมให้มีสภาพดีดุจเดิม
ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เป็นของผู้รับจ้างทั้งสิน
6.12.6 การเชื่อมต่อท่อเหล็กกล้าและอุปกรณ์ท่อเหล็กกล้าในงานสนาม
(1) ระดับและมิติต่าง ๆ หรือแนวการวางท่อกําหนดตามแบบรูปและรายการละเอียด หรือ
ตามคําแนะนําของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(2) การเคลื่อนย้ายท่อและอุปกรณ์ท่อจะต้องดําเนินการด้วยความระมัดระวัง การขนย้ายหรือ
การยกวางในร่องดินต้องใช้สายพานผ้าใบ ห้ามใช้ลวดสลิงในการยกวางและห้ามมิให้ทิ้งหรือกลิ้งท่อหรือ
อุปกรณ์ท่อลงร่องดินโดยเด็ดขาด
(3) การต่อท่อเหล็กและอุปกรณ์ท่อที่หน้างานให้ต่อโดยวิธีการเชื่อมตามมาตรฐาน AWWA C206
“Field Welding of Steel Water Pipe” การประกอบท่ อ ขนาดและพิ กั ด ต่ า ง ๆ ต้ อ งถู ก ต้ อ งตาม WPS
ช่างเชื่อมผ่านการทดสอบฝีมือ มีใบรับรองฝีมือช่างเชื่อมท่าเชื่อม 5G หรือ 5F แล้วแต่กรณี ตามมาตรฐาน
AWS A3.0 หรือมาตรฐาน ASME Section IX ลวดเชื่อมให้ใช้ประเภทสัญลักษณ์ E51 4B26 ตามมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.49-2528 หรือ AWS A5.1 Class E7016 และก่อนทําการเชื่อมต่อท่อ
ไม่น้อยกว่า 30 (สามสิบ) วัน ให้ผู้รับจ้างเสนอ WPS PQR WQT และใบรับรองคุณสมบัติลวดเชื่อม
ให้คณะกรรมการตรวจรับพัส ดุ พิจารณาอนุมัติก่อน ส่วนการต่อท่อหรืออุปกรณ์ท่อกับอุปกรณ์บัง คั บ น้ํ า
ให้ต่อด้วยหน้าจาน
(4) แนวเชื่อมต่อท่อและอุปกรณ์ท่อที่หน้างานทุกแนวให้ตรวจสอบไม่น้อยกว่าร้อยละ 15 โดย
วิ ธี ถ่ า ยภาพด้ ว ยรั ง สี (Radiographic Testing) หรื อ วิ ธี ต รวจสอบด้ ว ยคลื่ น เสี ย งความถี่ สู ง (Ultrasonic
Testing) หรือวิ ธีตรวจสอบด้ วยสารแทรกซึ ม (Penetrant Testing) และให้ ทดสอบด้วยความดันอากาศ
สําหรับแนวเชื่อมต่อท่อปากระฆังตามมาตรฐาน AWWA C206 ก่อนทําการตรวจสอบแนวเชื่อมไม่น้อยกว่า 30

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6 - 28 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

(สามสิบ) วัน ให้ผู้รับจ้างเสนอวิธีการและขั้นตอนการตรวจสอบพร้อมหนังสือรับรองคุณสมบัติผู้ตรวจสอบและ


ผู้รับรองผลการตรวจสอบให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุพิจารณาให้การอนุมัติก่อน และให้ส่งมอบผลการ
ตรวจสอบให้กับคณะกรรมการตรวจรับพัสดุพร้อมการส่งมอบงานในส่วนที่เกี่ยวข้อง
(5) แนวเชื่อมต่อท่อและอุปกรณ์ท่อบนดินที่ผ่านการตรวจสอบตามหัวข้อ (4) แล้วให้เคลือบ
ผิวภายในด้วย Liquid Epoxy ตามมาตรฐาน AWWA C210 และเคลือบผิวภายนอกด้วย Non-Bleeding
Type Coal-Tar Epoxy ความหนาของผิวเคลือบเมื่อแห้งไม่น้อยกว่า 150 ไมครอน และทั บหน้ าด้วย
Epoxy-Resinous Micaceous Iron Oxide (MIO) หรือเทียบเท่า ความหนาผิวเคลือบเมื่อแห้งไม่น้อยกว่า
60 ไมครอน และ MIO ที่ใช้จะต้องเป็นสีเงินเทาหรือเทาดํา
(6) แนวเชื่อมต่อท่อและอุปกรณ์ท่อใต้ดินที่ผ่านการตรวจสอบตามหัวข้อ (4) แล้วให้เคลือบ
ผิวภายในด้วย Liquid Epoxy ตามมาตรฐาน AWWA C210 และผิวภายนอกให้พันด้วยเทปพันท่อตาม
มาตรฐาน AWWA C209 “Cold-Applied Tape Coatings for The Exterior of Special Sections,
Connections and Fittings for Steel Water Pipelines” โดยลําดับขั้นตอนการพันท่อ มีดังนี้
(ก) ทําความสะอาดผิวท่อจนมีความสะอาดระดับ Sa2 และทารองพื้นด้วยน้ํายา Primer
(ข) พันด้วย Monotape เกยทับกันไม่น้อยกว่า 50 มิลลิเมตร ความหนา Monotape
ก่อนพันท่อไม่น้อยกว่า 1 มิลลิเมตร
(ค) ทดสอบการพันท่อโดยวิธี Holiday Test ตามมาตรฐาน AWWA C209
(7) การตัดท่อในสนาม เช่น การตัดท่อเพื่อประกอบหน้าจาน เป็นต้น จะต้องกระทําโดยใช้
เครื่องมือตัดท่อที่เหมาะสม รอยตัดจะต้องเป็นระเบียบเรียบร้อย มีความเหมาะสมในการใช้งาน และต้อง
ได้รับความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างก่อน
(8) การวางท่อ หากมีข้อขัดแย้งใด ๆ เกี่ยวกับข้อกําหนดนี้ ให้ปฏิบัติตามมาตรฐาน AWWA C604
“Installation of Steel Water Pipe - 4 In. (100 mm) and Larger” หรือตามคําแนะนําของผู้ควบคุมงานก่อสร้าง
ของผู้ว่าจ้างก่อน
6.12.8 การติดตั้งอุปกรณ์ประกอบอาคาร
(1) อุปกรณ์ประกอบอาคาร เช่น บ่อพักน้ํา ท่อส่งน้ําเข้านา (FTO) อาคารท่อแยก 3 ทาง
อาคารประตูระบายอากาศ (Air Valve) อาคารระบายตะกอน (Blowoff) อาคารปลายท่อส่งน้ํา และอาคารอื่น ๆ
ให้ติดตั้งตามแบบรูปและรายการละเอียด หรือตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุอนุมัติ
(2) ในการติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ์ หากการใช้ อุ ป กรณ์ ต ามที่ ร ะบุ ใ นแบบรู ป และรายการละเอี ย ด
ไม่เหมาะสมกับลักษณะพื้นที่เฉพาะแห่ง อนุญาตให้ผู้รับจ้างใช้อุปกรณ์แบบพิเศษได้ตามความจําเป็น ทั้งนี้
จะต้องเสนอแบบอุปกรณ์พิเศษนั้น ๆ ให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุพิจารณาอนุมัติก่อน
6.12.9 การทดสอบความดันน้ํา
(1) ผู้รับจ้างต้องจัดหามาตรวัดความดัน (Pressure Gauge) เพื่อใช้วัดความดันในการทดสอบ
ที่มีความละเอียด ± 0.01 เมกะพาสคัล (± 0.10 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร) มาตรวัดความดันที่นํามาใช้
ผู้รับจ้างต้องนําไปปรับความเที่ยงตรง (Calibrate) และผู้รับจ้างต้องจัดหามาตรวัดความดันที่เป็นชนิดและ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6 - 29 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

ขนาดเดียวกับที่ผู้รับจ้างจะใช้ในการทดสอบ จํานวน 1 ชุด ให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุและผู้ควบคุมงาน


ก่อสร้างของผู้ว่าจ้างไว้ใช้ตรวจสอบผลการทดสอบความดันน้ําของผู้รับจ้างด้วย ค่าใช้จ่ายในการจัดหาน้ํา
แรงงาน เครื่องสูบน้ํา มาตรวัดความดันน้ํา ฯลฯ รวมถึงค่าใช้จ่ายในการแก้ไขรอยรั่ว เป็นของผู้รับจ้างทั้งสิ้น
(2) น้ําที่จะใช้ในการทดสอบท่อจะต้องเป็นน้ําสะอาดจากแหล่งน้ําที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของ
ผู้ว่าจ้างได้ให้ความเห็นชอบ
(3) การทดสอบท่อด้วยความดันน้ําให้ทดสอบเป็นช่วง ๆ แต่ละช่วงมีความยาวไม่เกิน 500 เมตร
หรือตามคําแนะนําของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(4) เติมน้ําเข้าเส้นท่อช่วงที่จะทําการทดสอบอย่างช้า ๆ จนน้ําเต็มท่อ ขังน้ําไว้ในเส้นท่อนั้น
เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 24 ชั่วโมง ไล่อากาศภายในเส้นท่อและอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ออกให้หมด
(5) อัดความดันน้ําด้วยวิธีการและเครื่องมือที่เหมาะสมตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุอนุมัติ
ความดันทดสอบ 1.5 เท่าความดันใช้งาน คงความดันนี้ไว้ให้คงที่ไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมง และวัดความดันด้วย
มาตรวัดความดันตามหัวข้อ (1)
(6) ตรวจสอบดูการรั่วซึมของท่อเหล็ก อุปกรณ์ท่อ และข้อต่อต่าง ๆ หากตรวจพบมีการรั่วซึม
จะต้องดําเนินการซ่อมแซมรอยรั่วให้เรียบร้อย ก่อนทําการทดสอบความดันและตรวจสอบดูการรั่วซึมอีกครั้ง
และจะต้องทดสอบจนกว่าจะไม่พบการรั่วซึม
(7) การทดสอบท่อด้วยความดันน้ํา หากมีข้อขัดแย้งใด ๆ เกี่ยวกับข้อกําหนดนี้ ให้ปฏิบัติตาม
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.2195-2547 “ท่อเหล็กเหนียว-การทดสอบความดันน้ําภายหลัง
การติดตั้ง” เท่าที่จะนํามาใช้ได้ หรือตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุอนุมัติ
6.13 การวัดปริมาณงานและการจ่ายเงิน
6.13.1 งานท่อเหล็กกล้า ขนาด 1,000 มม. หนา 9.5 มม. (ชนิดใต้ดิน)
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการวัดปริมาณงานท่อเหล็กกล้า ขนาด 1,000 มม. หนา
9.5 มม. (ชนิดใต้ดิน) ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้
ดําเนินการงานท่อเหล็กกล้าเป็นระยะทางต่อเนื่องตามขอบเขตที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียดหรือ
ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงาน
นั้นมีหน่วยเป็นเมตร ตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้
ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นเมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงาน
และราคาของสัญญานี้ ซึ่งอัตราราคาต่อหน่วยนี้ประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดหา ติดตั้ง และขนส่งท่อ
เหล็ก ค่าเชื่อมต่อท่อ ค่าทดสอบแนวเชื่อมต่อท่อ ค่าเคลือบผิวแนวเชื่อมต่อท่อและทดสอบการเคลือบผิวแนว
เชื่อมต่อ ค่าทดสอบท่อด้วยความดันน้ํา ค่าเครื่องจักร – เครื่องมือ ค่าอุปกรณ์ ค่าแรงงาน ค่าขนย้าย ค่า

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6 - 30 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

ทดสอบวัสดุ ตลอดจนค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์ โดยจะแบ่งจ่ายตามความก้าวหน้าของ


งาน ดังนี้
(1) เมื่อผู้รับจ้างขนส่งท่อเหล็กกล้าที่ผลิตเรียบร้อยแล้ว และถูกต้องตามข้อกําหนดต่าง ๆ
ในสัญญามาจัดเก็บที่พื้นที่ก่อสร้าง จะจ่ายให้ร้อยละ 50 ของราคางานที่ระบุไว้ในสัญญา
(2) เมื่ อผู้ รับจ้ างทํ าการวางท่อ ซึ่งรวมถึงการเชื่อมต่อท่อ ทดสอบแนวเชื่ อมต่อท่ อ
เคลือบผิวแนวเชื่อมต่อท่อและทดสอบการเคลือบผิวแนวเชื่อมต่อท่อเรียบร้อย และถูกต้องตามข้อกําหนดต่าง
ๆ ในสัญญา จะจ่ายให้ร้อยละ 30 ของราคางานที่ระบุไว้ในสัญญา
(3) เมื่อผู้รับจ้างทําการทดสอบท่อด้วยความดันน้ําแล้วเสร็จ และถูกต้องตามข้อกําหนด
ต่าง ๆ ในสัญญา จะจ่ายเงินส่วนที่เหลือร้อยละ 20 ของราคางานที่ระบุไว้ในสัญญา
6.13.2 งานข้อโค้ง มุม 45-67.5 องศา ขนาด 1,000 มม. หนา 9.50 มม. (ชนิดใต้ดิน)
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการวัดปริมาณงานข้อโค้ง ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้ง
ปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ดําเนินการงานท่อเหล็กกล้าเป็นระยะทางต่อเนื่องตาม
ขอบเขตที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียดหรือตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดย
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นชุด ตามปริมาณที่ทําได้จริงภายใน
ขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับ
พัสดุเป็นเกณฑ์
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นชุด ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคา
ของสัญญานี้ ซึ่งอัตราราคาต่อหน่วยนี้ประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดหา ติดตั้ง และขนส่งข้อโค้ง ค่าเชื่อมต่อ
ข้อโค้ง ค่าทดสอบแนวเชื่อมต่อข้อโค้ง ค่าเคลือบผิวแนวเชื่อมต่อข้อโค้ง และทดสอบการเคลือบผิวแนวเชื่อมต่อ
ค่าทดสอบท่อด้วยความดันน้ํา ค่าเครื่องจักร – เครื่องมือ ค่าอุปกรณ์ ค่าแรงงาน ค่าขนย้าย ค่าทดสอบวัสดุ
ตลอดจนค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์ โดยจะแบ่งจ่ายตามความก้าวหน้าของงาน ดังนี้
(1) เมื่อผู้รับจ้างขนส่งข้อโค้งที่ผลิตเรียบร้อยแล้ว และถูกต้องตามข้อกําหนดต่าง ๆ ใน
สัญญามาจัดเก็บที่พื้นที่ก่อสร้าง จะจ่ายให้ร้อยละ 50 ของราคางานที่ระบุไว้ในสัญญา
(2) เมื่อผู้รับจ้างทําการวางข้อโค้ง ซึ่งรวมถึงการเชื่อมต่อข้อโค้ง ทดสอบแนวเชื่อมต่อข้อ
โค้ง เคลือบผิวแนวเชื่อมต่อข้อโค้งและทดสอบการเคลือบผิวแนวเชื่อมต่อข้อโค้งเรียบร้อย และถูกต้องตาม
ข้อกําหนดต่าง ๆ ในสัญญา จะจ่ายให้ร้อยละ 30 ของราคางานที่ระบุไว้ในสัญญา
(3) เมื่ อ ผู้ รั บ จ้ า งทํ า การทดสอบข้ อ โค้ ง ด้ ว ยความดั น น้ํ า แล้ ว เสร็ จ และถู ก ต้ อ งตาม
ข้อกําหนดต่าง ๆ ในสัญญา จะจ่ายเงินส่วนที่เหลือร้อยละ 20 ของราคางานที่ระบุไว้ในสัญญา

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6 - 31 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 : งานท่อส่งน้ํา

6.13.3 งานแท่นคอนกรีตรับข้อโค้งแนวราบ (Thrust Block)


(ก) งานแท่นคอนกรีตรับข้อต่อโค้งแนวราบ มุม 28 องศา
(ข) งานแท่นคอนกรีตรับข้อต่อโค้งแนวราบ มุม 62 องศา
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานแท่นคอนกรีตรับข้อโค้งแนวราบ (Thrust
Block) ตามที่แสดงไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานเสร็จเรียบร้อย
แล้ว ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณ
งานนั้นมีหน่วยเป็นแห่ง ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริง
ภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจ
รับพัสดุเป็นเกณฑ์
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นแห่ง ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและ
ราคาของสัญญานี้ ซึ่งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร-เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ทางลําเลียง ค่า
ขนส่ง ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์
6.13.4 งานอุปกรณ์ท่อ ประตูน้ํา และอุปกรณ์เพิ่มเติมต่าง ๆ ที่จะต้องมีอุปกรณ์ประกอบ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะไม่แยกตรวจวัดปริมาณงานอุปกรณ์ท่อ ประตูน้ํา และอุปกรณ์
เพิ่มเติมต่าง ๆ ที่จะต้องมีอุปกรณ์ประกอบ ซึ่งผู้รับจ้างจะต้องจัดหาเป็นชุด เช่น อุปกรณ์ท่อที่เป็นข้อต่อ
หน้าจาน ซึ่งประกอบด้วยปะเก็นยาง สลักเกลียวและแป้นเกลียว ข้อต่อยีโบลท์ ซึ่งประกอบด้วย แหวนยาง
สลักเกลียวและแป้นเกลียว เป็นต้น ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาเป็นชุดให้ แต่ให้ผู้รับจ้างคิดค่าใช้จ่ายรวมไว้ใน
ขอบเขตสําหรับงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาที่มี
หน่วยเป็นแห่งของสัญญานี้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
6 - 32 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

บทที่ 7
งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอืน่
7.1 งานปักผัง และงานดิน
7.1.1 งานปักผัง
ก่อนที่จะทําการปักผัง ผู้รับจ้างจะต้องทําการถางป่า ขุดตอ และปรับเกลี่ยดินก่อนจนพ้น
บริเวณที่จะทําการก่อสร้างตัวอาคารสถานีสูบน้ํา และอาคารอื่น ๆ ตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
สั่งการ แล้วจึงดําเนินการปักผังตามขั้นตอน ดังนี้
(1) ให้ผู้รับจ้างสอบถามผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างจนแน่ใจว่า บริเวณที่จะทําการ
ปักผังนั้นถูกต้องตามตําแหน่งที่ต้องการ
(2) โครงผังจะต้องห่างจากตัวอาคารที่จะก่อสร้างโดยรอบไม่น้อยกว่า 2 เมตร และต้องพ้น
จากแนวหลุมฐานราก
(3) วัสดุที่ใช้ปักยึด โครงผังจะต้องแน่น แข็งแรง ไม่เป็นอันตรายจนกว่าจะใช้งานเสร็จ และ
หลักต้องปักห่างไม่เกิน 3 เมตร
(4) ไม้โครงผังหากจําเป็นต้องต่อไม่ตรงกับหลักยึด ให้ต่อแบบปลายชนแล้วดามด้วยไม้ขนาด
เดียวกัน ไม้ที่ใช้ดามจะต้องไม่สั้นกว่า 1 เมตร
(5) เมื่อปักผังเรียบร้อยแล้วให้ทําหมุดระดับชั่วคราว โดยหล่อเป็นแท่งคอนกรีตเสริมเหล็ก
ขนาด 0.15x0.15x0.60 เมตร เสริมเหล็กขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 6 มิลลิเมตร จํานวน 4 เส้น และเหล็ก
ปลอกขนาด 6 มิลลิเมตร ทุกระยะ 0.15 เมตร ปลายบนฝังน๊อตหัวกลม ขนาด ½ นิ้ว ยาว 8 นิ้ว จํานวน 1 ตัว
ให้หัวน๊อตโผล่พ้นแท่งคอนกรีตพอดี ปลายอีกด้านหนึ่งของแท่งคอนกรีตจะต้องยื่นเหล็กเสริมไว้ยาวไม่น้อยกว่า
0.15 เมตร ทั้ง 4 เส้น แล้วพับงอเป็นมุมฉากเพื่อฝังยึดติดกับฐานคอนกรีตขนาด 0.45x0.45 เมตร หนา
0.10 เมตร ขณะติดตั้ง เมื่อติดตั้งแท่งคอนกรีตเสร็จให้ทําไม้ล้อมโดยรอบพร้อมทาสีแดงสูง 1 เมตร
7.1.2 งานขุดดินทั่วไป
งานขุดลอกหน้าดิน ขุดดิน ถมดิน และปรับเกลี่ยดิน จะต้องดําเนินการก่อนจึงจะสามารถ
ดําเนินงานอื่นต่อไปได้นั้น ผู้รับจ้างจะต้องทําให้เป็นไปตามแบบรูปและรายการละเอียด และตามข้อกําหนด
ดังนี้
(1) งานลอกหน้าดิน จะต้องลอกหน้าดินออกให้ลึกประมาณ 0.30 เมตร หรือจนกว่าจะพ้น
ชั้นหน้าดิน (Top Soil) หากบริเวณที่ทําการลอกเป็นที่ชื้นแฉะ บ่อน้ํา หนองน้ํา หรือคูน้ําให้ขุดลอกจนหมด
ดินเลน
(2) งานขุดดินจะต้องขุดให้ตรงตามตําแหน่ง และได้ความลึกตามที่แสดงในแบบรูปจะมีความ
คลาดเคลื่อนได้ไม่เกิน ± 2.5 เซนติเมตร และค่าระดับเฉลี่ยต้องไม่ต่ํากว่าที่ระบุไว้ในแบบรูปและรายการ
ละเอียด เพื่อให้ได้ผลงานที่ถูกต้องตามหลักวิชาช่างที่ดี ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาอุปกรณ์วิธีการขุด และการ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7-1 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

ป้องกันการกระทบกระเทือนหรือผลเสียหาย อันอาจจะเกิดขึ้นแก่อาคารสิ่งปลูกสร้าง หรือทรัพย์สินใด ๆ


ภายใน หรือข้างเคียงสถานที่ก่อสร้าง และหากเกิดผลเสียใด ๆ ขึ้น ผู้รับจ้างต้องเป็นผู้รับผิดชอบในทุกกรณี
(3) วั สดุถมให้ใช้วัสดุตามที่ระบุไว้ในแบบรูปและรายการละเอี ยด ในกรณี ที่ไม่ ได้ระบุใน
แบบรูปและรายการละเอียด ให้ใช้ดินถม วัสดุถม จะต้องปราศจากอินทรียวัตถุ หรือวัสดุอื่น ๆ ที่อาจจะทําให้
ความแน่นของวัสดุถมลดลงได้
(4) บริเวณที่จะถมต้องปราศจากน้ํา อินทรียวัตถุ หรือวัสดุอื่น ๆ ที่อาจทําให้ความแน่นของ
วัสดุถมลดลงได้ ในกรณีบริเวณที่จะถมมีตอไม้ให้ขุดออกทั้งหมด
(5) การถมดิน ถ้าไม่แจ้งไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด ให้ถมถึงระดับ ± 0 ในแบบรูปและ
รายการละเอียด และถมดินเลยตัวอาคารออกไปโดยรอบ ด้านละ 2 เมตร แล้วทําลาด 45 องศาทุกด้าน
(6) การถมจะต้องทําเป็นชั้น ๆ โดยวัสดุถมแต่ละชั้นก่อนบดอัดหนาไม่เกินชั้นละ 0.30 เมตร
และมีความชื้นพอเหมาะที่ให้ความแน่นสูงสุด (Optimum Moisture Content) แล้วกระทุ้งด้วยเครื่องบดอัด
ดินให้ได้ความแน่นตามที่ระบุไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด แต่จะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 Modified Proctor
Density
(7) ให้ ทํ า การบดอั ด ให้ ไ ด้ ค วามแน่ น ร้ อ ยละ 95 Modified Proctor Density สํ า หรั บ
บริเวณที่รับน้ําหนักมาก เช่น พื้นอาคารที่รับน้ําหนักตั้งแต่ 300 กิโลกรัมต่อตารางเมตร ขึ้นไป พื้นโรงรถ ชั้น
สุดท้ายที่ถมเมื่อบดอัดแล้วโดยเฉลี่ย จะต้องได้ระดับตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด และไม่มี
บริเวณใดคลาดเคลื่อนเกินกว่า ± 2.5 เซนติเมตร
(8) การถมรับพื้นคอนกรีต ชั้นบนสุดจะต้องใช้ทรายถมและอัดแน่น หนาไม่น้อยกว่า 0.05 เมตร
7.1.3 งานดินสําหรับการก่อสร้างฐานราก
(1) การขุดหลุมฐานราก ให้ขุดกว้างกว่าขนาดของตัวฐานรากจนสามารถตั้ง และถอดแบบ
หล่อได้โดยสะดวก
(2) เมื่อขุดถึงระดับตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียดแล้ว ให้แจ้งผู้ควบคุมงาน
ก่อสร้างของผู้ว่าจ้างทราบ เพื่อตรวจสอบระดับ และความแน่นของดินก้นหลุมสําหรับฐานรากที่ไม่มีเสาเข็ม
หรือตําแหน่ง และความเรียบร้อยของเสาเข็ม สําหรับฐานรากที่มีเสาเข็มรองรับ
(3) ในกรณีที่เป็นฐานแผ่เมื่อขุดดินถึงระดับที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียดแล้ว
หากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างตรวจสอบแล้วพบว่ามีบริเวณใดไม่ปลอดภัยที่จะใช้รับน้ําหนักฐานราก
ผู้รับจ้างจะต้องทําการแก้ไขตามคําแนะนําของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง โดยเคร่งครัด
(4) การกลบดินฐานราก ให้ปฏิบัติตามรายละเอียดใน หัวข้อ 7.1.2 “งานดินทั่วไป” และให้
กระทําภายหลังหล่อคอนกรีตฐานรากแล้วไม่น้อยกว่า 3 (สาม) วัน

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7-2 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

7.1.4 งานดินเพื่อการวางท่อต่าง ๆ
(1) การขุดดินเพื่อวางท่อต่าง ๆ ยกเว้นท่อสุขาภิบาลและท่อเหล็ก ต้องขุดดินให้ได้แนว และ
ระดับ ความลาดตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด ก่อนวางท่อจะต้องรองด้วยทรายหยาบหนา
ไม่น้อยกว่า 0.05 เมตร กระทุ้งแน่นแล้วแจ้งให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างทราบเพื่อตรวจสอบ
(2) การขุดร่อง บ่อ หรือหลุมเพื่อวางท่อต่าง ๆ เมื่อวางแล้วให้ถมด้วยทรายจนระดับสูงจาก
หลังท่อ 0.10 เมตร เว้นแต่ในแบบรูปและรายการละเอียดจะระบุเป็นอย่างอื่น
(3) การถมดินรอบบ่อซึมให้ถมด้วยอิฐหัก หรือกรวดเป็นระยะ 0.50 เมตร โดยรอบบ่อ
นอกจากว่าแบบรูปและรายการละเอียดจะระบุเป็นอย่างอื่น
7.1.5 งานปรับเกลี่ยดิน
(1) การปรั บ เกลี่ ย ดิ น ทั่ ว ไปให้ ถ างป่ า ขุ ด ตอ กํ า จั ด วั ช พื ชผิ วดิ น ให้ ห มด แล้ วจึ งทํ าการ
ปรับเกลี่ยให้เรียบ
(2) หากพื้นที่ที่ปรับเกลี่ยถูกกําหนดให้เป็นบริเวณพื้นที่ปลูกหญ้า หรือพันธุ์ไม้ใด ๆ ผู้รับจ้าง
จะต้องถมด้วยหน้าดินที่ไม่มีวัชพืชไม่น้อยกว่า 0.15 เมตร หรือตามที่ระบุในแบบรูปและรายการละเอียดแล้วเกลี่ย
ให้เรียบอีกครั้ง
(3) หากพื้นที่ที่ปรับเกลี่ยถูกกําหนดให้เป็นพื้นที่ปลูกสร้างอาคารจะต้องทําการลอกหน้าดิน
ด้วยและหากมีการขุดดินถมดินให้ดําเนินการตามรายละเอียดใน หัวข้อ 7.1.2 “งานดินทั่วไป”
(4) หากบริเวณที่ปรับเกลี่ยถูกกําหนดให้เป็นบริเวณก้นบ่อหรืออ่างเก็บน้ําผู้รับจ้างจะต้องทํา
การบดอัดดินจนได้ความแน่นไม่ต่ํากว่าร้อยละ 95% Modified Proctor Density ก่อนที่จะปูด้วยวัสดุอื่น
7.1.6 การเก็บตัวอย่าง และการทดสอบดิน
ในกรณีที่ส่วนหนึ่งส่วนใดของอาคาร ใช้ดินรับน้ําหนักตั้งแต่ 6 ตันต่อตารางเมตรขึ้นไป ผู้รับจ้าง
จะต้องให้สถาบันทดสอบมาทําการเก็บตัวอย่างดิน และทดสอบความสามารถในการรับน้ําหนักของดินบริเวณนั้น
ณ ความลึกระดับเดียวกันกับที่องค์อาคารนั้นสัมผัสดิน และจะต้องส่งผลการทดสอบต่อผู้ควบคุมงานก่อสร้างของ
ผู้ว่าจ้างเพื่อตรวจสอบ เมื่อผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างตรวจสอบ และแจ้งว่าใช้ได้แล้วจึงจะดําเนินการ
ต่อไปได้
ทั้งนี้ ผู้รับจ้างจะต้องเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายในการทดสอบเองทั้งสิ้น สําหรับจํานวนจุดและตัวอย่างดิน
ที่จะทําการทดสอบให้เป็นไปตามข้อกําหนด ดังนี้
(1) พื้นที่ 1-100 ตารางเมตร ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างจะกําหนดให้ตามความเหมาะสม
(2) พื้นที่ 101-500 ตารางเมตร จะต้องทดสอบและเก็บตัวอย่างดินไม่น้อยกว่า 2 จุด ต่อชั้นดินถม
(3) พื้นที่ 501 ตารางเมตรขึ้นไป จะต้องทดสอบและเก็บตัวอย่างดินไม่น้อยกว่า 3 จุดต่อชั้นดินถม
(4) กรณีกลบดินฐานราก ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างจะกําหนดให้ตามความเหมาะสม

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7-3 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

7.2 งานฐานราก
(1) งานฐานรากในกรณีที่ใช้ฐานแผ่ ดินใต้ฐานรากต้องสามารถรับน้ําหนักบรรทุกปลอดภัยได้
ไม่น้อยกว่า 10 ตันต่อตารางเมตร หรือตามที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนด หรือตามที่ผู้ควบคุมงาน
ก่อสร้างของผู้ว่าจ้างอนุมัติ ความลึกของฐานรากอาจน้อยกว่า หรือมากกว่าตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและ
รายการละเอียดก็ได้ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับผลการทดสอบดิน หรือผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นสมควร
(2) งานดิ น สํ า หรั บ การก่ อ สร้ า งฐานรากให้ ดํ า เนิ น การตามรายละเอี ย ดใน หั ว ข้ อ 7.1.3
“งานดินสําหรับการก่อสร้างฐานราก”
(3) เมื่อขุดดินถึงระดับตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด และได้รับการตรวจสอบ
จากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างแล้ว ให้รีบปรับแต่งก้นหลุมแล้วรองด้วยทรายหยาบ หนาไม่น้อยกว่า
0.05 เมตร กระทุ้งให้แน่น และเทคอนกรีตหยาบ (1:3:5) ทันทีให้มีความหนาตามที่กําหนดในแบบรูปและ
รายการละเอียด แต่ต้องไม่น้อยกว่า 0.10 เมตร โดยเทแผ่เต็มก้นหลุม
(4) เมื่อคอนกรีตหยาบแข็งตัว และมีอายุไม่น้อยกว่า 24 ชั่วโมง ให้ตรวจสอบผัง และหา
ศูนย์กลางฐานรากอีกครั้ง พร้อมทั้งทําเครื่องหมายลงบนคอนกรีตหยาบ หากปรากฏว่ามีส่วนใดของฐานราก
มิได้ตั้งอยู่บนคอนกรีตหยาบ ให้ขยายคอนกรีตหยาบจนกว่าจะรองรับฐานรากได้ทั่วถึงโดยตลอดแล้วจึงวาง
เหล็กตะแกรง และตั้งแบบหล่อเพื่อเทคอนกรีตฐานรากต่อไป
(5) ในกรณีก้นหลุมฐานรากมีน้ําขัง ให้สูบน้ําออกให้ก้นหลุมแห้งตลอดเวลาระหว่างการเท
คอนกรีตหยาบและคอนกรีตฐานรากและตอม่อ
(6) เมื่อเทคอนกรีตฐานราก และตอม่อ เสร็จให้แจ้งผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างทราบ
เพื่อตรวจสอบศูนย์กลางเสาและความเรียบร้อยก่อนเมื่อได้รับอนุญาตให้กลบดินจึงจะทําการกลบได้
(7) การกลบดินฐานรากให้ทําตามรายละเอียดใน หัวข้อ 7.1.3 “งานดินสําหรับการก่อสร้าง
ฐานราก”
7.3 งานลดระดับน้าํ ระหว่างก่อสร้างอาคาร
7.3.1 ขอบเขตงาน
งานลดระดั บ น้ํ า ระหว่ า งก่ อ สร้ า งอาคาร หมายถึ ง การวางแผนงาน จั ด หาวั ส ดุ อุ ป กรณ์
การก่อสร้าง การดําเนินการ การสูบน้ํา และการบํารุงรักษาใด ๆ ทั้งหมดที่จะป้องกันมิให้มีน้ํารบกวนระหว่าง
การก่อสร้างอาคารชลประทาน สําหรับสิ่งก่อสร้างใด ๆ ที่ผู้รับจ้างสร้างขึ้นเพื่องานนี้ และเมื่อใช้งานตาม
วั ต ถุ ป ระสงค์ แ ล้ ว ไม่ จํ า เป็ น ต้ อ งใช้ อี ก ต่ อไป จะต้ องทํ าการรื้ อย้ ายและตกแต่ งให้ มีสภาพดังเดิม หรื อตามที่
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุพิจารณาเห็นสมควร
ผู้รับจ้างต้องรับผิดชอบต่อความเสียหายใด ๆ ในการนี้ทั้งหมดที่เกิดขึ้นทั้งในระหว่างก่อสร้าง
และภายหลังการก่อสร้าง อันเนื่องมาจากความผิดพลาดในการวางแผนงาน การก่อสร้างและการดําเนินการ
งานลดระดับน้ําระหว่างการก่อสร้างอาคาร
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7-4 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

7.3.2 การวางแผนงาน
ผู้รับจ้างจะต้องออกแบบ แสดงรายละเอียดวิธีการ พร้อมแผนงานลดระดับน้ําระหว่างก่อสร้าง
อาคารและการสูบน้ําที่สอดคล้องกับแผนงานก่อสร้าง เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการตรวจรับพัสดุพิจารณาอนุมัติ
อย่างน้อย 30 (สามสิบ) วัน ก่อนการเริ่มงาน
การวางแผนงาน คํานวณ ออกแบบ งานดังกล่าวผู้รับจ้างจะต้องศึกษารายละเอียดข้อมูลทาง
อุทกศาสตร์เกี่ยวกับปริมาณน้ําฝน ปริมาณน้ําที่จะไหลผ่าน ตลอดจนระดับน้ําใต้ดิน เพื่อให้เป็นที่มั่นใจในความ
พอเพียงและปลอดภัยในการดําเนินงานดังกล่าว แผนงานที่ได้รับอนุมัติโดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุดังกล่าว
แล้ว ไม่ถือว่าลดความรับผิดชอบทั้งหมดของผู้รับจ้างในเมื่อการลดระดับน้ําระหว่างการก่อสร้างไม่เพียงพอ
และทําให้เกิดความเสียหายขึ้น ผู้ว่าจ้างจะไม่รับประกันและไม่รับผิดชอบเกี่ยวกับข้อมูลต่าง ๆ ที่ผู้รับจ้างได้รับ
จากผู้ว่าจ้าง และนําไปใช้ในการนี้ทั้งหมด
7.3.3 การดําเนินการสูบน้ํา
การสูบน้ําออกจากบ่อก่อสร้างอาคารหรือร่องขุด ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาและติดตั้งเครื่องมือ
ตลอดจนเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้ในการสูบน้ํา ก่อนการดําเนินการสูบน้ํา ผู้รับจ้างจะต้องแจ้งขนาด จํานวน
และเวลาที่สูบน้ํา ต่อคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเพื่อการอนุมัติก่อน จึงจะดําเนินการได้
7.4 งานแบบหล่อ และงานนั่งร้าน
7.4.1 ข้อกําหนดทั่วไป
(1) แบบหล่อจะใช้วัสดุใดก็ได้ที่สามารถประกอบเป็นรูปขององค์อาคารนั้น ๆ แต่ต้องไม่ดูด
ซับน้ําปูนจากคอนกรีตที่เทลงแบบหล่อ
(2) แบบหล่อจะต้องเข้ามุมให้เรียบร้อย และไม่มีรอยรั่วจนน้ําปูนไหลออกได้
(3) ถ้าเป็นคอนกรีตเปลือย วัสดุทําแบบหล่อจะต้องมีผิวเรียบ ถ้าใช้ไม้จะต้องไสเรียบ และ/หรือ
สําหรับพื้นคอนกรีตเปลือยที่ไม่มีฝ้าเพดานปิด และหากไม่ได้ระบุไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด ให้ใช้วัสดุทํา
แบบหล่อเป็นไม้หน้ากว้างขนาดเดียวกันไม่เกิน 8 นิ้ว ยาวตลอด ถ้าเป็นคอนกรีตเปลือยที่มองเห็นได้จะต้องใช้
น้ํามันทาวัสดุทาแบบหล่อ
(4) แบบหล่อเมื่อติดตั้งเสร็จจะต้องทําความสะอาดภายในให้เรียบร้อย พร้อมทั้งทาน้ํามัน
ชนิดที่ไม่มีพาราฟินผสมอยู่ก่อนที่จะวางเหล็กเสริม
(5) ก่อนเทคอนกรีต ผู้รับจ้างจะต้องตรวจสอบระดับ และความถูกต้องของการติดตั้งแบบหล่อ
ตลอดจนอุดรูยาแนวรอยต่อต่าง ๆ ของแบบหล่อให้เรียบร้อย เพื่อป้องกันน้ําปูนรั่ว และต้องไม่ให้วัสดุที่ใช้อุด
ล้ําเข้ าไปในเนื้อคอนกรี ต และต้ องแจ้งให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างตรวจสอบให้เรียบร้อยเสียก่อน
จึงจะดําเนินการต่อไปได้
(6) แบบหล่อหากจะใช้ซ้ําอีกจะต้องทําความสะอาดผิวด้านใน ซ่อมแซมส่วนที่ชํารุด ถอน
ตะปูที่ยื่นออกให้หมด และปรับแต่งให้เรียบร้อยเช่นเดียวกับที่ใช้ครั้งแรก
(7) ในกรณีที่องค์อาคารอยู่ใต้ดิน ห้ามใช้ดินเป็นแบบหล่อ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7-5 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

(8) เมื่อถอดแบบหล่อแล้ว ห้ามไม่ให้ทําการซ่อมแซม หรือตกแต่งผิวคอนกรีตก่อนรายงานให้


ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างทราบ (วิธีซ่อมให้ดําเนินการตามรายละเอียดใน หัวข้อ 7.5.18 “การซ่อมปะผิว
คอนกรีตที่ชํารุด”)
7.4.2 การถอดแบบหล่อ
การถอดแบบหล่อ และที่รองรับ หลังจากเทคอนกรีตแล้วจะต้องคงที่รองรับไว้กับที่เป็นเวลา
ไม่น้อยกว่าที่กําหนดไว้ข้างล่างนี้ ในกรณีที่ใช้ปูนซีเมนต์ชนิดให้กําลังสูงเร็ว อาจลดระยะเวลาดังกล่าวได้ตาม
การอนุมัติของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
ผนัง 2 วัน
เสา 2 วัน
ข้างคาน 2 วัน
ท้องคานท้องพื้น 14 วัน
อื่น ๆ ตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างกําหนด
(เมื่อถอดแบบหล่อท้องคานท้องพื้นแล้ว ให้ค้ํายันไว้ทุกระยะ 2 เมตร ทันทีอีก 14 (สิบสี่) วัน
อย่างไรก็ดี ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างอาจสั่งให้ยืดเวลาในการถอดแบบหล่อออกไป
อีกได้หากเห็นเป็นการสมควร ถ้าปรากฏว่ามีส่วนหนึ่งส่วนใดของงานเกิดชํารุด เนื่องจากการถอดแบบเร็วกว่า
กําหนด ผู้รับจ้างจะต้องทุบส่วนนั้นทิ้งและสร้างขึ้นใหม่แทนทั้งหมดและจะเรียกร้องค่าใช้จ่ายใด ๆ ไม่ได้
7.4.3 งานนั่งร้าน
เพื่อความปลอดภัย ผู้รับจ้างต้องปฏิบัติตามข้อกําหนดนั่งร้านงานก่อสร้างอาคารในมาตรฐาน
ความปลอดภัยของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย
7.5 งานคอนกรีตเสริมเหล็ก
7.5.1 เหล็กเสริมคอนกรีต
คุณภาพของเหล็กที่ ใช้ เสริ มคอนกรีต จะต้องตรงตามเกณฑ์ กําหนดของมาตรฐานผลิ ตภัณฑ์
อุตสาหกรรมไทยทั้งขนาด น้ําหนัก และคุณสมบัติอื่น ๆ ผู้รับจ้างจะต้องจัดส่งตัวอย่างเหล็กเสริมไปทดสอบ
และผู้รับจ้างต้องเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายทั้งหมดในการทดสอบและอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
7.5.2 การเก็บรักษาเหล็กเสริมคอนกรีต
จะต้องเก็บเหล็กเส้นเสริมคอนกรีตไว้เหนือพื้นดิน และอยู่ในอาคาร หรือทําหลังคาคลุม
เมื่อจัดเรียงเหล็กเส้นเข้าพร้อมที่จะเทคอนกรีตแล้ว เหล็กนั้นจะต้องสะอาดปราศจากฝุ่น น้ํามัน สี สนิมขุม
หรือสะเก็ด

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7-6 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

7.5.3 วิธีการก่อสร้างเหล็กเสริมคอนกรีต
(1) การตัด และประกอบ
(1.1) เหล็กเสริมจะต้องมี ขนาด และรูปร่างตรงตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการ
ละเอียด และในการตัด และดัดจะต้องไม่ทําให้เหล็กเสริมชํารุดเสียหาย การดัดให้ใช้วิธีดัดงอเย็น
(1.2) ของอ หากในแบบรูปและรายการละเอียดไม่ได้ระบุถึงรัศมีของการงอเหล็ก ให้งอตาม
เกณฑ์กําหนด ดังนี้
(ก) ส่วนที่งอเป็นครึ่งวงกลม ต้องมีส่วนที่ยื่นต่อออกไปอีกอย่างน้อย 4 เท่าของ ขนาด
เส้นผ่านศูนย์กลางของเหล็กนั้น แต่ระยะยื่นนี้ต้องไม่น้อยกว่า 6 เซนติเมตร หรือ
(ข) ส่วนที่งอเป็นมุมฉาก ต้องมีส่วนที่ยื่นต่อออกไปถึงปลายสุดของเหล็กอีกอย่างน้อย
12 เท่าของขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเหล็กนั้น
(ค) เฉพาะเหล็กลูกตั้ง และเหล็กปลอกให้งอ 90 องศา หรือ 135 องศา โดยมีส่วนที่
ยื่นถึงปลายขออีกอย่างน้อย 6 เท่า ของเส้นผ่านศูนย์กลางของเหล็ก แต่ต้องไม่น้อยกว่า 6 เซนติเมตร
(1.3) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่เล็กที่สุดสําหรับข้องอ เส้นผ่านศูนย์กลางของการงอเหล็กให้วัด
ด้านในของเหล็กที่งอ สําหรับของอมาตรฐานขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ใช้ ต้องไม่เล็กกว่าค่าที่ให้ไว้ในตารางต่อไปนี้
ตารางที่ 7-1 แสดงขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่เล็กทีส่ ุด สําหรับของอเหล็กเสริมคอนกรีต
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางทีเ่ ล็กที่สุดเป็นจํานวนเท่า
ขนาดของเหล็ก ของเส้นผ่านศูนย์กลางเหล็ก
เหล็กเส้นกลม เหล็กข้ออ้อย
9 ถึง 15 มิลลิเมตร 4 5
19 ถึง 25 มิลลิเมตร 5 6

(2) การเรียงเหล็กเสริม
(2.1) ก่อนเรียงเข้าที่ จะต้องทําความสะอาดเหล็กมิให้มีสนิมขุม สะเก็ด และวัสดุเคลือบต่าง ๆ
ที่จะทําให้การยึดหน่วงเสียไป
(2.2) จะต้องเรียงเหล็กเสริมอย่างประณีตให้อยู่ในตําแหน่งที่ถูกต้องพอดี และยึดติดให้
แน่นหนาระหว่างการเทคอนกรีต หากจําเป็นก็อาจใช้เหล็กเสริมพิเศษช่วยในการติดตั้งได้
(2.3) ที่จุดตัดกันของเหล็กเส้นทุกแห่ง จะต้องผูกให้แน่นด้วยลวดผูกเหล็กขนาดไม่ต่ํากว่า
เบอร์ 18 โดยพันสองรอบ และพับปลายลวดเข้าในส่วนที่จะเป็นเนื้อคอนกรีตภายใน

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7-7 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

(2.4) ให้รักษาระยะห่างระหว่างแบบหล่อกับเหล็กเสริมให้ถูกต้อง โดยใช้เหล็กแขวนก้อน


ลูกปูน เหล็กยึด หรือวิธีอื่นใดซึ่งผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างอนุมัติแล้ว ก้อนลูกปูนให้ใช้ส่วนผสมซีเมนต์
1 ส่วน ต่อ ทรายที่ใช้ผสมคอนกรีต 1 ส่วน
(2.5) หลังจากผู กเหล็ก เสริม เสร็จ แล้ว จะต้ องให้ ผู้ ควบคุมงานก่ อสร้ างของผู้ว่ า จ้ า ง
ตรวจสอบก่อนเทคอนกรีตทุกครั้ง หากผูกทิ้งไว้นานเกินควร จะต้องทําความสะอาดและให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง
ของผู้ว่าจ้างตรวจอีกครั้ง ก่อนเทคอนกรีต
(3) การต่อเหล็กเสริม
(3.1) ในกรณีที่มีความจําเป็นต่อเหล็กเสริมนอกจุดที่กําหนดในแบบรูป หรือที่ระบุใน
ตารางต่อไปนี้ ทั้งตําแหน่งและวิธีต่อจะต้องได้รับอนุมัติจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างก่อน
ตารางที่ 7-2 แสดงรอยต่อของเหล็กเสริม
ชนิดขององค์อาคาร ตําแหน่งของรอยต่อ
พื้นทั่วไป บริเวณใต้เหล็กคอม้า สําหรับเหล็กล่าง
พื้นยื่น เหล็กบนห้ามต่อ เหล็กล่างตามข้อกําหนด
คานทั่วไป เหล็กบนกลางช่วงคาน เหล็กล่างบริเวณหน้าเสาถึงระยะ L/5
คานยื่น เหล็กบนห้ามต่อ เหล็กล่างตามข้อกําหนด
เสา เหนือระดับพื้น 1.0 เมตร จนถึงระดับกึ่งกลางความสูงของช่วงเสา
ฐานราก ห้ามต่อ
อื่น ๆ ตามแบบรูปและข้อกําหนดการต่อเหล็กเสริม
(3.2) ในรอยต่อแบบทาบ ระยะทาบต้องไม่น้อยกว่า 48 เท่า ของเส้นผ่านศูนย์กลางของ
เหล็กเส้นในกรณีของเหล็กเส้นธรรมดา และ 40 เท่า สําหรับข้ออ้อย แล้วให้ผูกมัดด้วยลวดผูกเหล็กขนาด
ไม่ต่ํากว่าเบอร์ 18
(3.3) สําหรับเหล็กเสริมที่โผล่ทิ้งไว้เพื่อจะเชื่อมต่อกับเหล็กของส่วนที่จะต่อเติมภายหลัง
จะต้องหาทางป้องกันมิให้เสียหายและผุกร่อน
(3.4) การต่อเหล็กเสริมโดยวิธีเชื่อม จะต้องให้กําลังของรอยเชื่อมไม่น้อยกว่าร้อยละ 125
ของกําลังของเหล็กเสริมนั้น ก่อนเริ่มงานเหล็กจะต้องทําการทดสอบกําลังของรอยต่อเชื่อมโดยสถาบันทดสอบ
และผู้รับจ้างเป็นผู้ออกค่าใช้จ่าย ผู้รับจ้างจะต้องส่งสําเนาผลการทดสอบอย่างน้อย 3 (สาม) ชุด ให้ผู้ควบคุมงาน
ก่อสร้างของผู้ว่าจ้างพิจารณาอนุมัติ และเสนอคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นชอบก่อน
(3.5) ณ หน้าตัดใด ๆ จะมีรอยต่อของเหล็กเสริมเกินร้อยละ 25 ของจํานวนเหล็กเสริม
ทั้งหมดไม่ได้
(3.6) รอยต่อทุกแห่งจะต้องได้รับการตรวจ และอนุมัติโดยผู้ควบคุมงานก่อสร้างของ
ผู้ว่าจ้างพิจารณาอนุมัติก่อนเทคอนกรีต รอยต่อซึ่งไม่ได้รับการอนุมัติให้ถือว่าเป็นรอยต่อเสีย และอาจถูก
ห้ามใช้ก็ได้
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7-8 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

7.5.4 คุณสมบัติของเหล็กเสริม
คุณภาพของเหล็กเสริมให้เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 20-2543
และ มอก. 24-2548
7.5.5 การทดสอบและเก็บตัวอย่าง
(1) การทดสอบให้เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 20-2543 และ
มอก. 24-2548
(2) การเก็บตัวอย่างทดสอบให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างรับผิดชอบในการเก็บทุกครั้ง
ที่มีการขนเหล็กเข้าบริเวณก่อสร้าง จํานวนตัวอย่างที่เก็บในแต่ละขนาดให้เป็นไปตามตารางนี้
ตารางที่ 7-3 แสดงการเก็บตัวอย่างเหล็กเสริมคอนกรีต
น้ําหนักของเหล็กแต่ละขนาด จํานวนตัวอย่างที่เก็บ
น้อยกว่า 5 ตัน 2 ท่อน ยาวท่อนละ 0.60 เมตร (ต่อ 1 ขนาด)
5 ตัน แต่ไม่เกิน 20 ตัน 3 ท่อน ยาวท่อนละ 0.60 เมตร (ต่อ 1 ขนาด)
เกิน 20 ตัน ให้เก็บเพิ่มขึ้นอีก 1 ท่อน ทุก ๆ 20 ตันที่เพิม่
7.5.6 งานคอนกรีต
หากมิได้ระบุในแบบรูปและรายการละเอียด และ/หรือ บทกําหนดนี้ รายละเอียดต่าง ๆ
เกี่ยวกับองค์อาคารคอนกรีต และงานคอนกรีตทั้งหมดให้เป็นไปตาม “มาตรฐานสําหรับอาคารคอนกรีตเสริม
เหล็ก” ของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยที่ 1001-16 ทุกประการ
7.5.7 วัสดุงานคอนกรีต
(1) ปู น ซี เ มนต์ จ ะต้ อ งเป็ น ปู น ซี เ มนต์ ที่ ผ ลิ ต ในประเทศไทย ตามมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์
อุตสาหกรรมเลขที่ มอก.15 เล่ม 1-2555 ประเภท 1 หรือตามมาตรฐาน ASTM Designation : C 150 หรือ
เว้นแต่จะได้ระบุไว้ในแบบรูปเป็นอย่างอื่น และจะต้องเป็นปูนซีเมนต์ใหม่ไม่เสื่อมคุณภาพ อายุนับตั้งแต่ออกจาก
โรงงานจะต้องไม่เกิน 1 (หนึ่ง) เดือน ในฤดูฝน และไม่เกิน 3 (สาม) เดือน ในฤดูแล้ง
(2) ทรายจะต้องเป็นทรายน้ําจืดมีลักษณะเม็ดแกร่ง เนื้อแน่น ทนทาน สะอาด ปราศจาก
อินทรีย์สาร และวัสดุอื่นเจือปน คุณสมบัติ และขนาดของทรายจะต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจ
รับพัสดุก่อนนํามาใช้งานคอนกรีต แต่ทั้งนี้ จะต้องมีค่าโมดูลัสความละเอียดไม่น้อยกว่า 1.5 และไม่เกิน 3.1
(3) หินย่อย หรือกรวด จะต้องมีรูปลักษณะที่มีส่วนแบนเรียวเพียงเล็กน้อยเท่านั้น และ
จะต้องแข็งแกร่งไม่ผุกร่อน สะอาด ปราศจากอินทรีย์สารและวัสดุอื่นเจือปน คุณสมบัติ และขนาดจะต้องได้รับ
การอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจสรับพัสดุก่อนที่จะนํามาใช้กับงานคอนกรีต ขนาดของหินย่อย หรือกรวดที่
ใช้ในงานคอนกรีตนี้จะต้องมีขนาดไม่เกิน 1 นิ้ว
(4) น้ํา ที่ใช้ผสมคอนกรีตจะต้องเป็นน้ําจืด สะอาด ปราศจากน้ํามัน กรด ด่าง หรือวัสดุอื่น
ที่จะทําให้คอนกรีตเสื่อมคุณภาพ
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7-9 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

(5) สารผสมเพิ่ม สําหรับคอนกรีตส่วนที่มิใช่ฐานรากทั้งหมด อนุญาตให้ใช้สารผสมเพิ่มชนิดเพิ่ม


ความสามารถได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งส่วนที่เป็นถังเก็บน้ําทั้งหมด ให้ผสมตัวยากันน้ําซึมชนิดทนแรงดันน้ําได้โดยใช้
ตามคําแนะนําของผู้ผลิตอย่างเคร่งครัด ทั้งนี้ จะต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเสียก่อน
7.5.8 การเก็บวัสดุงานคอนกรีต
(1) ปูนซีเมนต์ถุง จะต้องเก็บในเรือนที่มีหลังคา และผนังปิดโดยรอบ และยกพื้น หรือกรณี
ปูนซีเมนต์ผงให้ใช้ถังเก็บ หรือไซโลที่ป้องกันความชื้น และความสกปรกได้ ในการจัดส่งให้ส่งในปริมาณเพียง
พอที่จะไม่ทําให้งานคอนกรีตชะงัก หรือล่าช้า และจะต้องแยกวัสดุที่ส่งมาแต่ละครั้งให้เป็นสัดส่วนไม่ปะปนกัน
(2) การกองมวลรวม จะต้องป้องกันมิให้เกิดการปะปนกันระหว่างมวลรวมซึ่งมีขนาดและชนิด
ต่างกัน และมิให้เกิดการสกปรกจากดินโคลนหรือสิ่งไม่พึงประสงค์ใด ๆ
(3) การเก็บสารผสมเพิ่ม จะต้องระวั งมิให้เกิดการเปรอะเปื้อน การระเหย หรื อเสื่อม
คุณภาพตามคําแนะนําของบริษัทผู้ผลิต
(4) ปูนซีเมนต์เปียกน้ําหรือได้รับความชื้นจนจับตัวแข็งเป็นก้อน แม้เป็นบางส่วนห้ามนํามาใช้
โดยเด็ดขาด
7.5.9 คุณสมบัติของคอนกรีต
(1) องค์ประกอบ คอนกรีตต้องประกอบด้วยปูนซีเมนต์ ทราย มวลรวมหยาบ น้ํา สารผสมเพิ่ม
ตามแต่จะกําหนดตามความจําเป็นผสมให้เข้ากันอย่างดี โดยมีความข้นเหลวพอเหมาะในการทํางานหรือตามที่
กําหนด
(2) ความข้นเหลว คอนกรีตที่จะใช้กับทุกส่วนของงาน จะต้องผสมให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน
โดยมีความข้นเหลวที่เหมาะสมที่จะสามารถทําให้แน่นได้ภายในแบบหล่อ และรอบเหล็ก และหลังจากอัดแน่น
โดยการกระทุ้ง หรือโดยวิธีใช้เครื่องสั่นคอนกรีตแล้ว จะต้องไม่มีน้ําที่ผิวคอนกรีตมากเกินไป และจะต้องมี
ผิวหน้าเรียบปราศจากโพรง การแยกแยะและรูพรุน
(3) กําลังอั ด คุ ณภาพของคอนกรีต ถ้ามิได้ระบุไว้เป็ นอย่างอื่ นในแบบรูปและรายการ
ละเอียด จะต้องเป็นคอนกรีตที่สามารถรับแรงอัด (Compressive Strength) ได้ไม่น้อยกว่า 175 กิโลกรัมต่อ
ตารางเซนติเมตร จากการทดสอบด้วยแท่งคอนกรีตมาตรฐานรูปทรงกระบอกขนาด Ø 15x30 เซนติเมตร ที่
อายุ 28 วัน หรือไม่น้อยกว่า 210 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร จากการทดสอบด้วยแท่งคอนกรีตมาตรฐาน
รูปทรงลูกบาศก์ ขนาด 15x15x15 เซนติเมตร ที่อายุ 28 วัน
(4) การยุบตัว ค่าการยุบตัวของคอนกรีตซึ่งหาได้โดยวิธีตามมาตรฐาน ASTM C143 จะต้อง
เป็นไปตามค่าที่ให้ไว้ตามตารางที่ 7-4 ข้างล่างนี้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 10 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

ตารางที่ 7-4 แสดงค่าการยุบตัว


ค่าการยุบตัว (เซนติเมตร)
ประเภทของงาน
สูงสุด ต่ําสุด
ฐานราก 5 2.5
พื้น คาน ผนัง ค.ส.ล. 10 5
เสา ครีบ ค.ส.ล. บาง ๆ 12.5 7.5
7.5.10 การผสมคอนกรีต
(1) การผสมคอนกรีตทุกครั้งจะต้องให้มวลรวมผสมเข้าเป็นเนื้อเดียวกัน คอนกรีตที่เหลือค้าง
ในเครื่องผสมจะต้องเทออกให้หมดก่อนจะผสมครั้งใหม่ต่อไป
(2) การผสมคอนกรีต เครื่องผสมจะต้องเป็นแบบที่ได้รับการรับรองแล้ว และหมุนด้วย
ความเร็วที่กําหนดไว้โดยผู้ผลิตหลังจากใส่มวลรวมผสมทั้งหมดลงในเครื่องแล้วจะต้องผสมต่อเนื่องกันไปไม่น้อย
กว่า 2 นาที
(3) ในการบรรจุวัสดุผสมเข้าเครื่อง จะต้องบรรจุน้ําส่วนหนึ่งเข้าเครื่องก่อนซีเมนต์และมวล
รวมแล้วจึงเติมน้ําส่วนที่เหลือ เมื่อผสมไปแล้วประมาณครึ่งนาที จะต้องควบคุมมิให้ปล่อยคอนกรีตออกก่อน
จะถึงเวลากําหนด และต้องปล่อยคอนกรีตออกให้หมดก่อนที่จะบรรจุวัสดุใหม่
(4) ในกรณีที่ใช้คอนกรีตผสมเสร็จ วิธีผสมและวิธีจัดส่งของคอนกรีตผสมเสร็จ จะต้อง
กระทําตามเกณฑ์กําหนดของคอนกรีตผสมเสร็จ
ทั้งนี้ไม่ว่าจะใช้วิธีไหนก็ตาม ผู้รับจ้างจะต้องแสดงผลการจัดปฏิภาคส่วนผสมและการคํานวณ
ออกแบบส่วนผสมเพื่อขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุก่อน
7.5.11 การผสมต่อ
(1) ให้ผสมคอนกรีตเฉพาะเท่าที่ต้องการใช้เท่านั้น ห้ามนําคอนกรีตที่ก่อตัวแล้วมาผสมต่อ
เป็นอันขาดให้ทิ้งไป
(2) ห้ามเติมน้ําเพื่อเพิ่มค่าการยุบตัวเป็นอันขาด โดยการเติมน้ําจะกระทําได้ ณ สถานที่
ก่อสร้าง หรือที่โรงผสมคอนกรีตกลางโดยได้รับอนุมัติจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเท่านั้น แต่ไม่ว่าใน
กรณีใด จะเติมน้ําในระหว่างการขนส่งไม่ได้
7.5.12 การออกแบบ และจัดปฏิภาคส่วนผสม
ผู้รับจ้างจะต้องเตรียมส่วนผสมคอนกรีต และจะต้องหาอัตราส่วนน้ําต่อซีเมนต์ที่เหมาะสม
ในการปฏิบัติงานก่อสร้าง รวมทั้งจัดทําแท่งคอนกรีตตัวอย่างของส่วนผสมต่าง ๆ ที่เสนอมา และส่งเข้า
ทําการทดสอบกําลังอัดโดยห้องปฏิบัติการทดสอบวัสดุของโครงการ หลังจากนั้นผู้รับจ้างจะต้องแจ้งผลการ
ทดสอบพร้อมทั้งรายละเอียดส่วนผสมคอนกรีต ซึ่งจะขอใช้ในการปฏิบัติงานก่อสร้างเพื่อขอรับอนุมัติจาก

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 11 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

คณะกรรมการตรวจรับพัสดุก่อนที่จะเริ่มดําเนินการผสมคอนกรีตเพื่อใช้ในงานก่อสร้างต่อไป ทั้งนี้ ผู้รับจ้าง


จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายต่าง ๆ แต่ผู้เดียว และหากจะมีการเปลี่ยนแปลงส่วนผสมคอนกรีตเมื่อใด
ก็ตาม ไม่ว่าจะโดยผู้รับจ้างขอเปลี่ยนแปลงเอง หรือได้รับคําสั่งให้เปลี่ยนแปลงจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของ
ผู้ว่าจ้างก็ตาม ผู้รับจ้างต้องดําเนินการเช่นกล่าวมาแล้วทุกครั้งโดยค่าใช้จ่ายของผู้รับจ้างเอง
7.5.13 การขนส่ง และการถ่ายเท
(1) การเตรียมก่อนการเท
(1.1) จะต้องทําความสะอาดเครื่องมือทุก ๆ ชิ้นที่ใช้ผสมคอนกรีต ตลอดจนอุปกรณ์ที่ใช้
ขนถ่ายคอนกรีต
(1.2) แบบหล่อจะต้องเสร็จเรียบร้อย สิ่งสกปรกทั้งหลายรวมทั้งน้ําที่ขังอยู่ในที่ที่จะเท
จะต้องเอาออกให้หมด เหล็กเสริมและวัสดุที่จะฝังอยู่ในคอนกรีตจะต้องอยู่ในตําแหน่งที่ถูกต้องเรียบร้อยและ
การเตรียมการต่าง ๆ ทั้งหมดต้องได้รับความเห็นชอบแล้วจึงจะดําเนินการเทได้
(2) การขนส่ง
คอนกรีตที่ขนส่งจากเครื่องผสมไปยังจุดที่จะเทนั้น จะต้องขนด้วยวิธีซึ่งจะป้องกันมิให้
คอนกรีตแยกตัว หรือหกรั่วไป เครื่องมือที่ใช้ขนส่งจะต้องมีประสิทธิภาพดี โดยไม่ทําให้ส่วนผสมของคอนกรีต
แยกตัว และเสียจังหวะในการเท จนกระทั่งเสียแรงเกาะกันระหว่างคอนกรีตที่เทต่อเนื่องกัน
(3) การเทคอนกรีต
(3.1) การเทคอนกรีตพื้นติดดิน ภายในอาคารทั้งหมดจะต้องใช้วัสดุกันความชื้นตามที่
ระบุในแบบรูปและรายการละเอียด ถ้าไม่ได้ระบุไว้ให้ใช้แผ่นพลาสติกหนาไม่น้อยกว่า 0.02 มิลลิเมตร ปูก่อน
เทคอนกรีต แผ่นพลาสติกที่ใช้นั้นจะต้องเป็นชนิด Polyethylene Sheet
(3.2) การเทคอนกรีต จะต้องทําต่อเนื่องกันตลอดทั้งพื้นที่ รอยต่อขณะก่อสร้างจะต้องอยู่ที่
ตําแหน่งซึ่งกําหนดไว้ในแบบรูป หรือได้รับความอนุมัติจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างแล้ว การเทคอนกรีต
จะต้องกระทําในอัตราที่คอนกรีตซึ่งเทไปแล้วจะต่อกับคอนกรีตที่จะเทใหม่ยังคงสภาพเหลวพอที่จะเทต่อกันได้
หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งห้ามเทคอนกรีตต่อกับคอนกรีต ซึ่งเทไว้แล้วเกิน 30 นาที แต่จะต้องทิ้งไว้ประมาณ 20 ชั่วโมง
จึงจะเทต่อได้
(3.3) ห้ า มนํ า คอนกรี ต ที่ แ ข็ ง ตั ว บ้ า งแล้ ว บางส่ ว น หรื อ แข็ ง ตั ว ทั้ ง หมด หรื อ ที่ มี วั ส ดุ
แปลกปลอมมาเทปะปนกันเป็นอันขาด
(3.4) เมื่อเทคอนกรีตลงในแบบหล่อแล้ว จะต้องทําคอนกรีตนั้นให้แน่นภายในเวลา 30 นาที
นับตั้งแต่ปล่อยคอนกรีตออกจากเครื่องผสม นอกจากจะมีเครื่องกวนพิเศษสําหรับการนี้โดยเฉพาะ หรือมี
เครื่องผสมติดรถซึ่งจะกวนตลอดเวลา ในกรณีเช่นนั้นให้เพิ่มเวลาได้เป็น 2 ชั่วโมงนับตั้งแต่บรรจุซีเมนต์เข้า
เครื่องผสม
(3.5) จะต้องเทคอนกรีตให้ใกล้จุดปลายทางมากที่สุดเท่าที่จะทําได้ เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดการ
แยกแยะอันเนื่องจากการโยกย้าย และการไหลตัวของคอนกรีต ต้องระวังอย่าใช้วิธีที่จะทําให้คอนกรีตเกิดการ
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 12 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

แยกแยะ ห้ามปล่อยคอนกรีตเข้าที่จากระยะสูงกว่า 2 เมตร นอกจากจะได้รับอนุมัติจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของ


ผู้ว่าจ้าง
(3.6) หากสภาพต่าง ๆ ทําให้การแน่นตัวของคอนกรีตเป็นไปได้ยาก หรือเมื่อเหล็กเสริม
มีระยะชิดกันมากจะต้องเทปูนทราย (ซีเมนต์xทรายxน้ํา) ที่มีส่วนผสมอย่างเดียวกันกับที่ใช้ในคอนกรีตลงไป
ในแบบหล่อก่อน โดยให้มีความหนาไม่น้อยกว่า 0.03 เมตร
7.5.14 รอยต่อและสิ่งที่ฝังในคอนกรีต
(1) รอยต่อในการก่อสร้าง
(1.1) ในกรณีที่มิได้ระบุตําแหน่ง และรายละเอียดของรอยต่อไว้ในแบบรูป ผู้รับจ้างจะต้อง
จัดทํา และเลือกวางในตําแหน่งที่จะไม่ทําให้โครงสร้างเสียความแข็งแรงมากเกินไป ผิวคอนกรีตตรงรอยต่อ
จะต้องสะอาด และกําจัดฝ้าน้ําปูนออกให้หมด และต้องพรมน้ําให้เปียกทั่ว ราดด้วยน้ําปูนซีเมนต์ข้น ๆ ก่อน
เทคอนกรีตทับรอยต่อกัน
(1.2) ก่อนที่จะเทคอนกรีต คาน หรือแผ่นพื้นซึ่งรองรับด้วยเสาหรือผนัง จะต้องรอให้
คอนกรีต เสา ผนังนั้นแข็งตัวเสียก่อนและให้ถือว่า คาน แป้นหูช้าง หัวเสา และส่วนของคานขยายปลาย
เป็นส่วนหนึ่งของระบบพื้นทั้งหมด ฉะนั้นจะต้องหล่อให้เป็นเนื้อเดียวกัน
(1.3) รอยต่อในการก่อสร้างระบบพื้น อาจจะอยู่บริเวณกึ่งกลางของช่วงแผ่นพื้น หรือ
คานซอยได้ ในกรณีคานซอยตัดกับคานหลักตรงบริเวณกึ่งกลางช่วงให้เลื่อนรอยต่อในคานออกไปอีกเป็นระยะ
สองเท่าของความกว้างของคาน
(2) วัสดุที่ฝังในคอนกรีต
(2.1) ก่อนเทคอนกรีต จะต้องฝังปลอก ไส้ สมอ และวัสดุอื่น ๆ ที่จะต้องทํางานต่อไป
ภายหลังให้เรียบร้อย
(2.2) จะต้องวางแผ่นกั้นน้ํา ท่อประปา ท่อร้อยสายไฟ และสิ่งที่จะฝังอื่น ๆ เข้าที่ให้ถกู
ตําแหน่งอย่างแน่นอน และยึดให้ดีเพื่อมิให้เกิดการเคลื่อนตัว สําหรับช่องว่างในปลอกไส้ และร่องสมอจะต้อง
อุดด้วยวัสดุที่จะเอาออกได้ง่ายเป็นการชั่วคราว เพื่อเป็นการป้องกันมิให้คอนกรีตไหลเข้าไปในช่องว่างนั้น
7.5.15 การบ่มคอนกรีตและการระวังรักษา
หลังจากได้เทคอนกรีตแล้วและอยู่ในระยะแข็งตัว จะต้องป้องกันคอนกรีตนั้นจากอันตรายที่อาจ
เกิดจากแสงแดด ลม ฝน น้ําไหล การกระทบกระเทือน และจากการบรรทุกน้ําหนักเกินสมควร สําหรับคอนกรีตซึ่ง
ใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ประเภทที่ 1 จะต้องรักษาให้ชื้นต่อเนื่องกันเป็นเวลาอย่างน้อย 7 (เจ็ด) วัน โดยวิธีคลุม
ด้วยกระสอบหรือผ้าใบเปียก หรือขัง หรือพ่นน้ํา หรือโดยวิธีที่เหมาะสมอื่น ๆ ตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของ
ผู้ว่าจ้างอนุมัติแล้ว สําหรับผิวคอนกรีตในแนวตั้ง เช่น เสา ผนัง และด้านข้างของคานให้หุ้มกระสอบ หรือผ้าใบ
ให้เหลื่อมซ้อนกัน และรักษาให้ชื้นโดยให้สิ่งที่คลุมนี้แนบติดกับคอนกรีต

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 13 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

7.5.16 การทดสอบ
(1) การทดสอบกําลังอัดของคอนกรีต จะทดสอบโดยใช้แท่งคอนกรีตมาตรฐานรูป ทรง
ลูกบาศก์ขนาด 15x15x15 เซนติเมตร หรือขนาดตามที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนด ผู้รับจ้างจะต้อง
หล่อตัวอย่างคอนกรีต 3 ชุด (ตัวอย่าง 1 ชุดประกอบด้วย แท่งคอนกรีตจํานวน 6 แท่ง) ต่อคอนกรีต 50
ลูกบาศก์เมตร หรือหล่อทุก ๆ วันที่มีการเทคอนกรีต แล้วแต่อย่างไหนมากกว่ากัน หรือเมื่อได้รับคําสั่งจาก
ผู้ควบคุ มงานก่ อสร้างของผู้ว่าจ้าง และนํามาทดสอบที่ห้องปฏิบัติการทดสอบวัสดุของโครงการ วิธีเก็บ
เตรียม บ่ม และทดสอบชิ้นตัวอย่างให้เป็นไปตามมาตรฐาน ASTM C 31 และ C 39 ตามลําดับ รวมทั้งทดสอบ
ตัวอย่างคอนกรีตที่มีอายุ 7 (เจ็ด) วัน ด้วยโดยจะต้องได้แรงกําลังอัดไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของกําลังอัดที่
28 (ยี่สิบแปด) วัน ค่าใช้จ่ายในการทดสอบนี้ ผู้รับจ้างต้องเป็นผู้ออกเองทั้งสิ้น
(2) ผู้รับจ้างจะต้องส่งรายงานผลการทดสอบกําลังอัดคอนกรีตรวม 3 ชุด ต่อผู้แทนผู้ว่าจ้าง
รายงานจะต้องรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ดังนี้
1. วันที่หล่อ
2. วันที่ทดสอบ
3. ประเภทของคอนกรีต
4. ค่าการยุบตัว (ถ้ามี)
5. ส่วนผสม (ถ้ามี)
6. หน่วยน้ําหนัก
7. กําลังอัด
7.5.17 การประเมินผลการทดสอบกําลังอัด
(1) ค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบชิ้นตัวอย่างสามชิ้น หรือมากกว่า ซึ่งบ่มในห้องปฏิบัติการ
ทดสอบวัสดุของโครงการ จะต้องไม่ต่ํากว่าค่าที่กําหนด และจะต้องไม่มีค่าใดต่ํากว่าร้อยละ 85 ของค่า
กําลังอัดที่กําหนด
(2) หากกําลังอัดมีค่าต่ํากว่าที่กําหนด ก็อาจจําเป็นต้องเจาะเอาแก่นคอนกรีตไปทําการ
ทดสอบ ผู้รับจ้างจะต้องดําเนินการให้โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายใด ๆ เพิ่มขึ้น
(3) การทดสอบแก่นคอนกรีตจะต้องปฏิบัติตาม “วิธีเจาะและทดสอบแก่นคอนกรีตที่เจาะ
และคานคอนกรีตที่เลื่อยตัดมา” (ASTM 42) การทดสอบแก่นคอนกรีต ต้องกระทําในสภาพผึ่งแห้งในอากาศ
(4) องค์อาคาร หรือพื้นที่คอนกรีตส่วนใด ที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างพิจารณาเห็น
ว่าไม่แข็งแรงพอ ให้เจาะแก่นอย่างน้อยสองก้อนจากแต่ละองค์อาคาร หรือพื้นที่นั้น ๆ ตําแหน่งที่จะเจาะ
แก่นให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเป็นผู้กําหนด
(5) กําลังของแก่นที่ได้จากแต่ละองค์อาคารหรือพื้นที่ จะต้องมีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า
ร้อยละ 90 ของกําลังที่กําหนดจึงจะถือว่าใช้ได้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 14 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

(6) จะต้องอุดรูซึ่งเจาะเอาแก่นออกมาตามตามรายละเอียดใน หัวข้อ 7.5.18 “การซ่อมปะผิว


คอนกรีตที่ชํารุด”
(7) หากผลการทดสอบแสดงให้เห็นว่าคอนกรีตมีความแข็งแรงไม่พอ จะต้องทุบคอนกรีตนั้นทิ้ง
แล้วหล่อใหม่โดยผู้รับจ้างเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายเองทั้งสิ้น
7.5.18 การซ่อมปะผิวคอนกรีตที่ชํารุด
(1) ห้ามปะซ่อมรูร้อยเหล็กยึดและเนื้อที่ชํารุดทั้งหมด ก่อนที่ผู้ควบคุมงานผู้ว่าจ้างจะได้
ตรวจสอบแล้ว
(2) สําหรับคอนกรีตที่เป็นรูพรุนเล็ก ๆ และชํารุดเล็กน้อย หากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของ
ผู้ว่าจ้างลงความเห็นว่าพอที่จะซ่อมแซมให้ดีได้ จะต้องสกัดคอนกรีตที่ชํารุดออกให้หมดจนถึงคอนกรีตดี ราดน้ํา
บริเวณคอนกรีตที่จะซ่อมเพื่อป้องกันมิให้น้ําในปูนทรายที่จะปะซ่อมนั้นถูกดูดซึมไป และต้องราดน้ําเนื้อที่บริเวณ
โดยรอบเป็นระยะออกมาอีกอย่างน้อย 0.15 เมตร ปูนทรายที่จะใช้เป็นตัวประสานจะต้องประกอบด้วยส่วนผสม
ของซีเมนต์ 1 ส่วน ต่อทรายละเอียดซึ่งผ่านตะแกรงเบอร์ 30 หนึ่งส่วน ให้ละเลงปูนทรายนี้ให้ทั่วพื้นที่ผิว
(3) ส่วนผสมสําหรับใช้อุด ให้ประกอบด้วยซีเมนต์ 1 ส่วน ต่อ ทรายที่ใช้ผสมคอนกรีต 2 ½
ส่วน โดยปริมาตร สําหรับคอนกรีตเปลือยภายนอกให้ผสมซีเมนต์ขาวเข้ากับซีเมนต์ธรรมดาบ้าง เพื่อให้
ส่วนผสมที่ปะซ่อมมีสีกลมกลืนกับสีของคอนกรีตข้างเคียง ทั้งนี้โดยใช้วิธีทดลองหาส่วนผสมเอาเอง
(4) ให้จํากัดปริมาณของน้ําให้พอดีเท่าที่จําเป็นในการยกย้าย และการปะซ่อมเท่านั้น
(5) หลังจากที่น้ําซึ่งค้างบนผิวได้ระเหยออกจากพื้นที่ที่จะปะซ่อมหมดแล้ว ให้ละเลงชั้นยึด
หน่วงลงบนผิวนั้นให้ทั่ว เมื่อชั้นยึดหน่วงนี้เริ่มเสียน้ํา ให้ฉาบปูนทรายที่ใช้ปะซ่อมทันที ให้อัดปูนทรายให้แน่น
โดยทั่วถึงและปาดออกให้เหลือเนื้อนูนกว่าคอนกรีตโดยรอบเล็กน้อย และจะต้องทิ้งไว้เฉย ๆ อย่างน้อย 1 ชั่วโมง
เพื่อให้เกิดการหดตัวชั้นต้นก่อนที่จะตกแต่งชั้นสุดท้าย บริเวณที่ปะซ่อมแล้วให้รักษาให้ชื้นอย่างน้อย 7 (เจ็ด) วัน
สําหรับผิวคอนกรีตเปลือยที่ต้องการรักษาปลายไม้แบบ ห้ามใช้เครื่องมือที่เป็นโลหะฉาบเป็นอันขาด
(6) ในกรณีที่รูพรุนนั้นกว้างมาก หรือลึกจนมองเห็นเหล็กเสริม และหากผู้ควบคุมงานก่อสร้าง
ของผู้ว่าจ้างลงความเห็นว่าอยู่ในวิสยั ที่จะซ่อมแซมได้ ก็ให้ปะซ่อมได้โดยใช้ปูนทรายชนิดที่ผสมตัวยากันการหดตัว
และผสมด้วยผงเหล็กเป็นวัสดุแทนปูนทรายธรรมดา โดยให้ปฏิบัติตามข้อแนะนําของผู้ผลิตโดยเคร่งครัด
(7) ในกรณีที่โพรงใหญ่และลึกมาก หรือเกิดข้อเสียหายใด ๆ เช่น คอนกรีตมีกําลังต่ํากว่า
กําหนด และผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างมีความเห็นว่าอาจทําให้เกิดอันตรายต่อผู้ใช้อาคารได้ ผู้รับจ้าง
จะต้องดําเนินการแก้ไขข้อบกพร่องเหล่านั้น ตามวิธีที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างได้อนุมัติแล้ว หรือหาก
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นว่าการชํารุดมากจนไม่อาจแก้ไขให้ดีได้ ก็อาจสั่งให้ทุบทิ้งแล้วสร้างขึ้น
ใหม่ โดยผู้รับจ้างจะต้องเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายในการนี้ทั้งสิ้น

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 15 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

7.6 งานพื้นคอนกรีตสําเร็จรูป
7.6.1 บททั่วไป
(1) ก่อนที่ผู้รับจ้างจะนําพื้นคอนกรีตสําเร็จรูปเข้ามาใช้งานตามสัญญา จะต้องแจ้งให้ผู้ควบคุม
งานของผู้ว่าจ้างได้ทราบถึง ชนิด ประเภท และบริษัทผู้ผลิตพื้นคอนกรีตสําเร็จรูป นอกจากนี้ ผู้รับจ้างจะต้อง
เสนอแบบรูปเพิ่มเติม (Shop Drawings) เพื่อการก่อสร้างจริง แสดงตําแหน่งช่องท่อที่ผ่านพื้น หรือฝังในพื้น
รายละเอียดช่องเปิดต่าง ๆ ในพื้น แสดงการจัดเรียงแผ่นพื้นการค้ํายันชั่วคราว และการแขวนส่วนประกอบ
ต่าง ๆ ของการก่อสร้าง เช่น ท่อต่าง ๆ และฝ้าเพดาน เป็นต้น พร้อมทั้งรายการคํานวณอย่างละเอียด เพื่อ
ขอรับการอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเสียก่อน
(2) พื้นคอนกรีตสําเร็จรูป จะต้องเป็นระบบที่ระบุตามแบบรูปและรายการละเอียด โดยที่
สภาพกําลังและภาระการใช้งานจะต้องได้ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือวิศวกรรมสถานแห่ง
ประเทศไทย พื้นคอนกรีตสําเร็จรูปที่มีรอยแตกร้าวห้ามนํามาใช้
(3) การติดตั้งพื้นคอนกรีตสําเร็จรูป ต้องดําเนินการตามที่บริษัทผู้ผลิตกําหนดไว้ทุกประการ
และภายใต้การควบคุมของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(4) กําลังอัดของคอนกรีต เททับหน้าพื้นคอนกรีตสําเร็จรูปจะต้องเป็นไปตามกําลังที่ระบุไว้
ในงานคอนกรีตเสริมเหล็ก มีความหนา และเสริมเหล็กตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด
(5) เมื่อเทคอนกรีตทับหน้าเรียบร้อยแล้ว ต้องทําการบ่มคอนกรีตตามกรรมวิธีไม่น้อยกว่า
7 (เจ็ด) วัน
(6) ถึงแม้ว่าจะได้รับอนุมัติจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างแล้วก็ตาม ผู้รับจ้างยังต้อง
รับผิดชอบในคุณภาพ และความแข็งแรงของพื้นคอนกรีตสําเร็จรูปนั้นแต่ผู้เดียวทั้งสิ้น
(7) คุณสมบัติของพื้นคอนกรีตสําเร็จรูปต้องได้มาตรฐานตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและ
รายการละเอียด และมีใบรับรองผลการทดสอบจากสถาบันทดสอบที่เชื่อถือได้ ดังข้อกําหนดต่อไปนี้
(7.1) น้ําหนักของพื้นคอนกรีตสําเร็จรูปไม่เกิน 170 กิโลกรัมต่อตารางเมตร เมื่อไม่รวม
น้ําหนักคอนกรีตทับหน้า หรือตามที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนด
(7.2) จะต้องรับน้ําหนักจรใช้งานได้ ดังนี้
ไม่น้อยกว่า 1.50 เท่าของ 150 กิโลกรัมต่อตารางเมตร สําหรับพื้นบ้านพักอาศัย
ไม่น้อยกว่า 1.50 เท่าของ 250 กิโลกรัมต่อตารางเมตร สําหรับพื้นอาคารสํานักงาน
ไม่น้อยกว่า 1.50 เท่าของ 400 กิโลกรัมต่อตารางเมตร สําหรับอาคารปฏิบัติการ
ไม่น้อยกว่า 1.50 เท่าของ 400 กิโลกรัมต่อตารางเมตร สําหรับอาคารฝึกอบรม
หรือไม่น้อยกว่า 1.50 เท่าของน้ําหนักที่กําหนด
(7.3) ระยะการโก่งตัวภายใต้การรับน้ําหนักจรจะไม่มากกว่า L / 360 หรือ 10 มิลลิเมตร
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 16 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

7.6.2 การเก็บตัวอย่าง และวิธีการทดสอบ


(1) การเก็บตัวอย่าง
การเก็บตัวอย่างพื้นสําเร็จ ให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเป็นผู้เก็บตัวอย่างเพื่อการส่ง
ทดสอบในทุกครั้ง ที่มีการส่งพื้นสําเร็จมายังบริเวณก่อสร้าง ให้เก็บจํานวนตัวอย่างในแต่ละขนาด ดังนี้
ตารางที่ 7-5 แสดงจํานวนตัวอย่าง
ขนเข้ามาแต่ละครั้งภายใน 2 วัน จํานวนตัวอย่าง
ไม่เกิน 300 ตารางเมตร 1
301 – 800 ตารางเมตร 2
801 – 1,300 ตารางเมตร 3
ทุก ๆ 500 ตารางเมตร ที่เพิ่ม เก็บเพิ่ม 1 ตัวอย่าง
ในแต่ละตัวอย่างจะต้องประกอบด้วยชิ้นส่วนของพื้นสําเร็จให้ได้ความกว้างอย่างน้อย 0.50 เมตร
ในกรณีที่ใช้พื้นสําเร็จที่ประกอบด้วย อิฐ / ซีเมนต์บล็อกต้องทดสอบอิฐ / ซีเมนต์บล็อค นั้น ตามมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเลขที่ มอก. 154-2518 หรือ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเลขที่ มอก. 445-2530
(2) วิธีการทดสอบ
การทดสอบแต่ละตัวอย่างต้องประกอบด้วยคอนกรีตเททับผิว และต้องรับน้ําหนักจรได้
ไม่น้อยกว่า 1.50 เท่าของน้ําหนักใช้งาน โดยมีความแอ่นที่จุดกึ่งกลางไม่เกินมาตรฐานที่กําหนด และไม่มีรอย
แตกร้าวใด ๆ เกิดขึ้น
7.7 งานเหล็กรูปพรรณ
7.7.1 บทกําหนดทั่วไป
(1) บทกําหนดส่วนนี้ครอบคลุมถึงเหล็กรูปพรรณทุกชนิด
(2) รายละเอียดเกี่ยวกับเหล็กรูปพรรณ ซึ่งมิได้ระบุในแบบรูป และบทกําหนดนี้ให้ถือปฏิบัติตาม
“มาตรฐานสําหรับอาคารเหล็กรูปพรรณ” ของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยทุกประการ
7.7.2 วัสดุ
เหล็กรูปพรรณทั้งหมดจะต้องมีคุณสมบัติตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
7.7.3 การกองเก็บวัสดุ
การเก็บเหล็กรูปพรรณทั้งที่ประกอบแล้วและยังไม่ได้ประกอบ จะต้องเก็บไว้บนยกพื้นเหนือ
พื้นดิน จะต้องรักษาเหล็กให้ปราศจากฝุ่น ไขมัน หรือสิ่งแปลกปลอมอื่น ๆ และจะต้องระวังรักษาไม่ให้เหล็ก
เป็นสนิม
7.7.4 การต่อ
รายละเอียดในการต่อ เหล็กรูปพรรณให้เป็นไปตามที่ระบุในแบบมาตรฐาน

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 17 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

7.7.5 รู และช่องเปิด
การเจาะหรือตัด หรือกดทะลุให้เป็นรู ต้องกระทําตั้งฉากกับผิวของเหล็ก และห้ามขยายรูด้วย
ความร้อนเป็นอันขาด รูจะต้องเรียบร้อยปราศจากรอยบาก หรือแหว่ง ขอบรูซึ่งคม และยื่น อันเกิดจากการ
เจาะด้วยสว่าน หรือกดทะลุให้เป็นรู ให้ขจัดออกให้หมดด้วยเครื่องมือโดยลบมุม 2 มิลลิเมตร ช่องเปิดอื่น ๆ
นอกเหนื อ จากรู ส ลั ก เกลี ย วจะต้ อ งเสริ ม แหวนเหล็ ก ซึ่ ง มี ค วามหนาไม่ น้ อ ยกว่ า ความหนาขององค์ อ าคาร
ที่เสริมนั้น รู และช่องเปิดภายในของแหวน จะต้องเท่ากับช่องเปิดขององค์อาคารที่เสริมนั้น
7.7.6 การประกอบ และยกติดตั้ง
(1) เพื่อขอรับความเห็นชอบ
(1.1) จะต้ อ งจั ด ทํ า แบบรู ป เพิ่ ม เติ ม (Shop Drawings) ที่ ส มบู ร ณ์ แ สดงรายละเอี ย ด
เกี่ยวกับการตัดต่อ ประกอบ และการติดตั้งรูสลักเกลียวรอยเชื่อม และรอยต่อที่จะกระทําในโรงงาน
(1.2) จะต้องเสนอวิธีการยกติดตั้ง ตลอดจนการยึดโยงชั่วคราวต่อผู้ควบคุมงานก่อสร้าง
ของผู้ว่าจ้างก่อนทําการติดตั้ง
(2) การประกอบและการยก
(2.1) การตัดเฉือน ตัดด้วยไฟ สกัด และกดทะลุ ต้องกระทําอย่างละเอียด ประณีต
(2.2) องค์อาคารที่วางทาบกันจะต้องวางให้แนบสนิทเต็มหน้า
(2.3) การติดตัวเสริมกําลังและองค์อาคารยึดโยง ให้กระทําอย่างประณีต
(2.4) รายละเอียดการปฏิบัติงานให้เป็นไปตาม “มาตรฐานสําหรับอาคารเหล็กรูปพรรณ”
ของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ที่ 1003-18 ทุกประการ
(2.5) ห้ามใช้วิธีเจาะรูด้วยไฟ จะต้องแก้แนวต่าง ๆ ให้ตรงตามแบบรูปและรายการ
ละเอียด รูที่เจาะไว้ไม่ถูกต้องจะต้องอุดให้เต็มด้วยวิธีเชื่อม และเจาะรูใหม่ให้ถูกตําแหน่ง
(2.6) ไฟที่ใช้ตัดควรมีเครื่องกลเป็นตัวนํา
(2.7) การเชื่อม
(ก) ให้เป็นไปตามมาตรฐาน สําหรับการเชื่อมในงานก่อสร้างอาคาร
(ข) ผิวหน้าที่จะทําการเชื่อมจะต้องสะอาดปราศจากสะเก็ดร่อน ตะกรัน สนิม ไขมัน สี
และวัสดุแปลกปลอมอื่น ๆ ที่จะทําให้เกิดผลเสียต่อการเชื่อมได้
(ค) ช่างเชื่อม จะต้องใช้ช่างเชื่อมที่มีความชํานาญเท่านั้น และเพื่อเป็นการพิสูจน์ถึง
ความสามารถอาจจะมีการทดสอบความชํานาญช่างเชื่อมทุก ๆ คน

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 18 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

7.7.7 งานสลักเกลียว
(1) การติดตั้งสลักเกลียวจะต้องกระทําด้วยความประณีต โดยไม่ทําให้เกลียวเสียหาย
(2) ต้องแน่ใจว่าผิวรอยต่อเรียบ และผิวที่รองรับจะต้องสัมผัสกันเต็มหน้าก่อนที่จะทําการ
ขันเกลียว
(3) ขันรอยต่อด้วยสลักเกลียวทุกแห่งให้แน่น โดยใช้ประแจที่ถูกขนาด
7.7.8 การต่อ และประกอบในสนาม
(1) ให้ปฏิบัติตามที่ระบุในแบบรูปแสดงรูปขยาย และคําแนะนําในการยกติดตั้งโดยเคร่งครัด
(2) ค่าผิดพลาดที่เกิดขึ้น จะต้องได้รับความยินยอมจากผู้ออกแบบเป็นลายลักษณ์อักษร
(3) จะต้องทํานั่งร้านค้ํายัน ยึดโยง ฯลฯ ให้พอเพียงเพื่อยึดโครงสร้างให้แน่นหนา และอยู่ใน
แนวตําแหน่งที่ต้องการ และเพื่อความปลอดภัยต่อผู้ปฏิบัติงาน จนกว่างานประกอบจะเสร็จเรียบร้อย และ
แข็งแรงดีแล้ว
(4) หมุดยึด ให้ใช้สําหรับยึดชิ้นส่วนต่าง ๆ เข้าหากันโดยไม่ให้เหล็กเกิดการบิดเบี้ยว หรือชํารุด
เท่านั้น
(5) แผ่ น รองรั บ ให้ ใ ช้ ต ามกํ า หนดในแบบรู ป การปรั บ แนว และระดั บ ให้ ใ ช้ ลิ่ ม เหล็ ก
หลังจากได้ยกติดตั้งเสร็จเรียบร้อยแล้วให้อัดปูนทรายชนิดที่ไม่หดตัว และใช้ผงเหล็กเป็นมวลรวม ใต้แผ่น
รองรับให้แน่น และตัดขอบลิ่มให้เสมอขอบของแผ่นรองรับนั้น
7.7.9 การป้องกันเหล็กมิให้ผุกร่อน
(1) เกณฑ์กําหนดทั่วไป
งานนี้หมายถึง การทาสี และการป้องกันการผุกร่อนของงานเหล็กให้ตรงตามกําหนด
แบบรูปและรายการละเอียดและให้เป็นไปตามข้อกําหนดของสัญญานี้ทุกประการ
(2) ผิวที่จะทาสี
(2.1) ก่ อนจะทํ าสีบนผิวใด ๆ ยกเว้น ผิวที่อาบโลหะ จะต้องขัดผิ วให้ สะอาดโดยใช้
เครื่องมือขัดที่เหมาะสม จากนั้นให้ขัดด้วยแปรงลวดเหล็ก และกระดาษทราย เพื่อขจัดเศษโลหะที่หลุดล่อน
ออกมาให้หมด
(2.2) สําหรั บผิ วเหล็กที่ได้รั บความกระทบกระเทือนจากการเชื่ อม จะต้องเตรีย มผิว
สําหรับทาสีใหม่ เช่นเดียวกับผิวทั่วไป ทําตามรายละเอียดใน หัวข้อนี้ “(2)”
(2.3) ก่อนที่จะทาสีครั้งต่อไปให้ทําความสะอาดผิวที่ทาสีไว้ก่อน หรือผิวที่ฉาบไว้ จะต้อง
ขจัดสีที่หลุดล่อน และสนิมออกให้หมด และจะต้องทําความสะอาดพื้นที่ส่วนที่ถูกน้ํามัน และไขมันต่าง ๆ แล้ว
ปล่อยให้แห้งสนิทก่อนจะทาสีทับ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 19 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

7.8 งานระบบไฟฟ้า
งานระบบไฟฟ้า มีขอบเขตงานประกอบด้วย
7.8.1 งานระบบไฟฟ้าแสงสว่าง และเต้ารับสําหรับอาคารควบคุม
7.8.2 งานระบบป้องกันฟ้าผ้าสําหรับอาคารควบคุม
โดยมีข้อกําหนดและรายละเอียดตามรายละเอียดด้านวิศวกรรมใน บทที่ 10 “งานระบบไฟฟ้า (Electrical Work)”
7.9 งานระบบประปา
7.9.1 หลักเกณฑ์ทั่วไป
งานระบบประปา หมายถึง การจัดหาประกอบติดตั้ง การเดินท่อจ่ายน้ํา และท่อประปาภายใน
อาคาร งานระบบท่ อสุ ขาภิ บาล การติ ดตั้ งเครื่ องสุ ขภั ณฑ์ การติ ดตั้ งประตู น้ํ า และอุ ปกรณ์ ต่ าง ๆ และ
ส่วนประกอบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
7.9.2 ขอบเขตของงาน
ผู้รับจ้างจะต้ องมีหน้ าที่จั ดหา ประกอบ ติดตั้ งผลิตภัณฑ์ และอุปกรณ์งานเดินท่อเพื่อ ให้
ถูกต้องตามแบบรูปและรายการละเอียดตามสัญญานี้
7.9.3 มาตรฐานของผลิตภัณฑ์ และฝีมืองาน
(1) ผลิตภัณฑ์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ จะต้องเป็นของใหม่ได้มาตรฐานที่ได้รับการรับรองจาก
บริษัทผู้ผลิต และได้มาตรฐานที่ได้กําหนดไว้ในแต่ละรายการ
(2) ผลิตภัณฑ์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ จะต้องได้รับการตรวจรับรองจากผู้ควบคุมงานก่อสร้าง
ของผู้ว่าจ้างก่อนที่จะนําไปใช้งาน
(3) ผลิตภัณฑ์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ จะต้องทําการติดตั้งโดยช่างผู้ชํานาญงานตามชนิดของผลิตภัณฑ์
การติดตั้งจะต้องถูกต้องตามหลักวิชาช่าง และตามคําแนะนําของบริษัทผู้ผลิต
7.9.4 แบบรูป รายการ และความขัดแย้ง
(1) แบบรูปและรายการละเอียดของผลิตภัณฑ์ และอุปกรณ์ เป็นเพียงแบบรูปที่กําหนดไว้ใช้
ทั่วไป ผู้รับจ้างสามารถเปลี่ยนแปลงได้บ้าง เพื่อให้เข้ากับหมวด และชนิดของผลิตภัณฑ์ และอุปกรณ์ที่ผู้รับจ้าง
จั ดหามาทํ าการติ ดตั้ ง แต่ ทั้ ง นี้ ผู้ รั บ จ้ า งจะต้ อ งจั ด ทํ า แบบเพิ่ ม เติ ม (Shop Drawings) และรายการที่
เปลี่ยนแปลงเพื่อรับการตรวจสอบ และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเสียก่อน
(2) เมื่อเกิดมีกรณีขัดแย้งกันในแบบรูปและรายการละเอียด และรายละเอียดด้านวิศวกรรม
ให้ผู้ว่าจ้างถือสิ่งที่ดีกว่าเป็นเกณฑ์ตัดสิน
(3) แบบรูปและรายการละเอียด และรายละเอีย ดด้า นวิศ วกรรม อาจจะไม่ได้กําหนด
รายละเอียดปลีกย่อยไว้ แต่ทั้งนี้ ผู้รับจ้างจะต้องทําเพื่อให้งานสําเร็จลุล่วงด้วยดีตามหลักวิชาช่าง ผู้รับจ้าง
จะต้องตรวจสอบ และสอบถามรายละเอียดจากผู้ควบคุมงานของผู้จ้างเสียก่อน
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 20 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

(4) ผู้รับจ้างจะต้องจัดทําแบบหลักฐาน (As-built Drawings) แสดงการติดตั้งจริง ภายหลัง


จากที่ได้ติดตั้งผลิตภัณฑ์และอุปกรณ์ต่าง ๆ เสร็จเรียบร้อยแล้ว ส่งให้แก่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุพิจารณา
อนุมัติ โดยผู้รับจ้างจะต้องเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายดังกล่าว
7.9.5 การทดสอบ
ผู้รับจ้างต้องทําการทดสอบการใช้งานของผลิตภัณฑ์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ตามแต่กรณี และ
ชนิ ด เครื่ อ งจั ก รกลที่ ต้ อ งมี ก ารทดสอบต่ อ ผู้ ค วบคุ ม งานก่ อ สร้ า งของผู้ ว่ า จ้ า ง ทั้ ง นี้ ผู้ รั บ จ้ า งจะต้ อ งเป็ น
ผู้รับผิดชอบในการจัดหาเครื่องมือ วิธีการ และค่าใช้จ่ายในการทดสอบเองทั้งหมด
7.9.6 การบํารุงรักษา และรับประกัน
ภายหลังการตรวจรั บงานแล้ว ผู้รับจ้างจะต้องรับประกันการทํางานของผลิตภัณฑ์ และ
อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่กําหนดติดตั้งเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 2 (สอง) ปี หรือตามที่ได้ระบุไว้ในบทจําเพาะของผลิตภัณฑ์
ชนิดนั้น ๆ เมื่อมีข้อบกพร่องเกิดขึ้นภายในระยะเวลารับประกัน ผู้รับจ้างจะต้องทําการซ่อมให้ หรือเปลี่ยนให้
ใหม่ โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้นในเวลาอันรวดเร็ว อนึ่ง ภายในระยะเวลารับประกัน ผู้รับจ้างจะต้องจัดหา
ช่างมาทําการตรวจตรา บํารุงรักษา ตามวาระแล้วแต่กรณี และชนิดของเครื่องจักรกลนั้น ๆ
7.9.7 งานเดินท่อประปาจ่ายน้ํา และท่อประปาภายในอาคาร
(1) รายการทั่วไป
(1.1) จุดประสงค์ งานก่อสร้างการเดินท่อประปาภายในอาคารจะต้องยึดถือหลักเกณฑ์
และเงื่อนไขภายใต้วัตถุประสงค์ และข้อกําหนดที่ได้ระบุในแบบรูปและรายการละเอียด และรายการประกอบ
งานก่อสร้าง และจะต้องดําเนินการก่อสร้างให้งานเสร็จเรียบร้อยสมบูรณ์
(1.2) ปัญหาใด ๆ ที่เกิดขึ้นในระหว่างการก่อสร้าง ถ้ามีปัญหาใด ๆ ที่เกิดขึ้นอันอาจจะ
เกิดความเสียหายต่องานก่อสร้างหรือตัวอาคารที่ก่อสร้าง หรือจําเป็นต้องแก้ไขให้เหมาะสมตามสภาพของการ
ทํางานให้อยู่ในการพิจารณาและตัดสินโดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
(1.3) ค่าใช้จ่ายในการทดสอบระบบท่อ ระบบท่อทุกชนิดเมื่อติดตั้งเสร็จ จะต้องทําการ
ทดสอบและในการทดสอบ การจัดหาอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่จะใช้ในการทดสอบและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เป็นความ
รับผิดชอบของผู้รับจ้างทั้งสิ้น
(2) คุณภาพ และคุณสมบัติของวัสดุ
มีมาตรฐานเดียวกันกับ หัวข้อ 7.9.8 “งานระบบท่อสุขาภิบาลภายในอาคาร”
(3) รายละเอียดการเดินท่อ
ผู้รับจ้างจะต้องใช้ช่างฝีมือดี มีความชํานาญโดยเฉพาะมาปฏิบัติงาน และต้องปฏิบัติงาน
ด้วยความประณีตและเรียบร้อย

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 21 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

(4) การทดสอบและการทําความสะอาด
(4.1) การทดสอบระบบท่อประปา
(ก) การทดสอบระบบท่อประปาให้ใช้น้ําที่มีคุณภาพได้มาตรฐานน้ําดื่ม อัดเข้าไปใน
ระบบโดยให้มีความดัน 9 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ทิ้งไว้นานเป็นเวลา 1 ชั่วโมง แล้วทําการสํารวจ
รอยรั่วซึม ถ้าหากพบว่าส่วนใดของระบบมีการรั่วซึม จะต้องทําการแก้ไข
(ข) การซ่อมแก้ไขรอยรั่วซึมในระบบท่อ หากผลของการทดสอบ หรือการตรวจสอบ
ปรากฏว่า มีการรั่วซึมตรงข้อต่อท่อ หรือเกิดจากการชํารุดบุบสลาย ไม่ว่าจะเป็นด้วยความบกพร่ องใน
คุณภาพของวัสดุหรือฝีมือการติดตั้งก็ดี ผู้รับจ้างจะต้องจัดการแก้ไข หรือเปลี่ยนแปลงใหม่ให้ และผู้รับจ้างต้อง
ทําการตรวจสอบอีกจนปรากฏว่า ระบบท่อนั้นเรียบร้อยใช้งานได้ถูกต้องตามความประสงค์ทุกประการ
(ค) การซ่อมท่อหรือข้อต่อที่รั่วซึมนี้ ให้ซ่อมโดยวิธีถอดออกต่อใหม่ หรือเปลี่ยนชิ้นส่วน
ที่ชํารุดนั้นเสียใหม่เท่านั้น
(4.2) การทดลองใช้เครื่องสุขภัณฑ์ทั้งระบบประปา หลังจากการติดตั้งสุขภัณฑ์และเดินท่อ
เรียบร้อยแล้วให้ทําการทดลองใช้เครื่องสุขภัณฑ์
(ก) ให้ทําการทดสอบระบบน้ําประปาของสุขภัณฑ์ทั้งหมด เพื่อดูการไหลของน้ํา กรณี
ที่ระบบสมบูรณ์ การไหลของน้ําจากสุขภัณฑ์จะดําเนินไปได้อย่างดี เช่นเดียวกันทุกสุขภัณฑ์
(ข) จากการทดสอบสุขภัณฑ์ต่าง ๆ ถ้ าการทํางานของสุขภั ณฑ์ดําเนินไปอย่างไม่
สมบูรณ์ให้ผู้รับจ้างตรวจหาจุดบกพร่องต่าง ๆ และทําการแก้ไขส่วนที่บกพร่องให้เสร็จสมบูรณ์
7.9.8 งานระบบท่อสุขาภิบาลภายในอาคาร
(1) จุดประสงค์
งานก่อสร้างระบบท่อสุขาภิบาลในอาคารต้องยึดถือหลักเกณฑ์และเงื่อนไขภายใต้วัตถุประสงค์
ข้อกําหนดที่ระบุในแบบและรายการประกอบงานก่อสร้าง และต้องดําเนินการก่อสร้างให้งานเสร็จอย่างสมบูรณ์
(2) คุณภาพและคุณสมบัติของวัสดุที่ใช้ในงาน
(2.1) คุณภาพโดยทั่วไป วัสดุต่าง ๆ ที่ใช้ในงานระบบท่อสุขาภิบาลภายในอาคารจะต้อง
เป็นวัสดุที่ไม่มีตําหนิใด ๆ และมีคุณภาพ คุณสมบัติ และมาตรฐานตามข้อกําหนดของมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
(2.2) ท่ อเหล็ กและอุ ปกรณ์ ข้ อต่ อต่ าง ๆ ท่ อเหล็ กอาบสั งกะสี จะต้ องได้ ตามมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 277-2532 ประเภทที่ 2 อุปกรณ์ข้อต่อตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
เลขที่ มอก. 249-2540

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 22 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

(2.3) ท่อ พีวีซี และอุปกรณ์ข้อต่อต่าง ๆ ท่อ พีวีซี จะต้องได้ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม


เลขที่ มอก. 17-2532 และกําหนดให้ใช้ท่อ พีวีซี ชั้นคุณภาพ 13.5 อุปกรณ์ข้อต่อต่าง ๆ ต้องเป็นอุปกรณ์ข้อต่อ
พีวีซีสําหรับงานท่อระบายน้ําโดยเฉพาะซึ่งต้องได้ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 1131-2535
(2.4) น้ํายาต่อเชื่อมท่อ พีวีซี และน้ํายาทําความสะอาดท่อ พีวีซี น้ํายาต่อเชื่อมท่อ และ
น้ํายาทําความสะอาดท่อ พีวีซี ต้องเป็นน้ํายาที่ใช้เฉพาะงานท่อ พีวีซี มีคุณภาพดี เป็นที่ยอมรับในวงการงาน
เดินท่อ และควรจะเป็นผลิตภัณฑ์จากโรงงานเดียวกันกับท่อ
(3) รายละเอียดการเดินท่อสุขาภิบาลและการติดตั้งเครื่องสุขภัณฑ์
การติดตั้งเครื่องสุขภัณฑ์ ระบบการต่อเชื่อมกับท่อน้ําใช้ หรือต่อเชื่อมกับท่อน้ําทิ้ง หรือ
ท่อส้วม หรือท่อระบายอากาศ จะต้องปราศจากรอยรั่วซึมอันเป็นเหตุให้เกิดความสกปรกกับน้ําใช้ หรือเกิด
ความสกปรกแก่สถานที่ หรือเกิดกลิ่นอันไม่พึงประสงค์ภายในสถานที่ตามแต่กรณีเครื่องสุขภัณฑ์ทุกชนิดจะต้อง
ติดตั้งตามแบบแปลนและถูกต้ องตามคํ าแนะนําของบริ ษั ท ผู้ผ ลิตการติดตั้งจะต้องให้ มี ความแข็ งแรงและ
ปลอดภัยแก่ผู้ใช้
7.10 งานก่ออิฐ
7.10.1 การก่อผนังอิฐ
(1) ขอบเขตของงาน
งานในหมวดนี้ รวมถึงงานก่อผนังอิฐโดยรอบอาคาร งานก่อสร้างผนังอิฐภายใน งานหล่อ
เสาเอ็นและคานทับหลัง ค.ส.ล. และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้งานก่อผนังอิฐเป็นไปตามแบบรูปและรายการ
รายละเอียด
(2) หลักการทั่วไป
(2.1) การเตรียมวัสดุ แผ่นหรือแท่งวัสดุที่นํามาก่อต้องปัดให้สะอาดอย่าให้มีผงหรือเศษที่
แตกออกติดอยู่และต้องทําให้ชื้นเสียก่อน เพื่อมิให้ดูดน้ําจากปูนก่อเร็วเกินไป
(2.2) การเตรียมสถานที่ ส่วนที่ก่อชนกับเสาหรือเสาเอ็นคอนกรีต ต้องเสียบเหล็กเส้น
ผ่านศูนย์กลาง 6 มิลลิเมตร ไว้ที่เสาขณะหล่อเสาทุกระยะไม่เกิน 0.40 เมตร และจะต้องรดน้ําให้ความชื้นเสา
คอนกรีตก่อนทําการก่อ
(2.3) การก่อ
(ก) จะต้องก่อให้ได้แนวทั้งทางตั้งและทางนอนและต้องเรียบ โดยขึงเชือกก่อนก่อและ
ต้องใส่ปูนก่อให้เต็มรอยต่อโดยรอยแผ่น ในกรณีที่มิได้กําหนดความหนาของกําแพงหรือผนังไว้ให้ก่อหนา
ประมาณ 75 มิลลิเมตร (3 นิ้ว)
(ข) ในกรณีที่กําแพงหรือผนังยาวหรือสูงกว่า 3 เมตร จะต้องมีเสาเอ็น หรือทับหลัง
ค.ส.ล. ตลอดความสูง และความยาวของกําแพง ระยะของเสาเอ็น หรือทับหลังจะต้องไม่เกินกว่า 3x3 เมตร
ขนาดของเสาเอ็น หรือทับหลังหนาไม่น้อยกว่า 0.10 เมตร ความกว้างเท่าความหนาของกําแพง เสริมเหล็กยืน
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 23 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

ขนาดเส้ นผ่ านศู นย์ กลาง 6 มิ ลลิ เมตร จํ านวน 2 เส้ น เหล็ กปลอกขนาดเส้ นผ่ านศู นย์ กลาง 6 มิ ลลิ เมตร
ระยะห่าง 0.25 เมตร เสาเอ็น หรือทับหลังจะต้องฝังลึกลงในพื้นคานด้านบน หรือด้านล่างเสาอาจจะทําได้โดย
การฝังเหล็ก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 6 มิลลิเมตร จํานวน 2 เส้น โผล่เตรียมไว้ในคานพื้นเสาก่อนก็ได้
(ค) มุมกําแพงทุกมุม และกําแพงที่หยุดลอย ๆ โดยไม่ติดกับเสา ค.ส.ล. หรือตรง
กําแพงที่ติดกับวงกบ จะต้องมีเสาเอ็น ค.ส.ล. เหนือช่องประตูทุกแห่งที่ก่ออิฐทับด้านบน จะต้องมีทับหลัง
ค.ส.ล. ขนาดของทับหลังต้องไม่เล็กกว่าเสาเอ็น
(ง) ผนังที่ก่อไม่ชนท้องคาน หรือพื้นจะต้องมีทับหลัง ค.ส.ล. ทุกแห่ง และขนาดของทับ
หลังต้องไม่เล็กกว่าเสาเอ็น
(จ) กํ า แพงที่ ก่ อ ใหม่ จ ะต้ อ งไม่ ถู ก กระทบกระเทื อ น หรื อ รั บ น้ํ า หนั ก เป็ น เวลา
ไม่น้อยกว่า 3 (สาม) วันหลังจากก่อเสร็จเรียบร้อยแล้ว
(ฉ) กําแพงที่ก่อชนท้องคาน หรือพื้น ค.ส.ล. ทั้งหมดจะต้องเว้นช่องไว้ประมาณ 0.10
เมตร เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 3 (สาม) วัน เพื่อให้ปูนก่อแข็งตัวและเข้าที่เสียก่อน จึงจะทําการก่ออิฐให้ชนใต้ท้อง
คานหรือพื้นได้
(3) วัสดุ
(3.1) อิฐก่อสร้างสามัญ มี 2 ประเภท คือ
ประเภทที่ 1 อิฐขนาดเล็ก (อิฐมอญ) เป็นอิฐที่มีลักษณะเป็นก้อนสี่เหลี่ยมผิวไม่สู้เรียบ
จะต้องแกร่ง ทนทาน เผาสุกดี ไม่บิดเบี้ยวปราศจากตําหนิ ทําด้วยมือ หรือเครื่องจักร เหมาะสําหรับใช้
ก่อผนังหรือกําแพงที่ฉาบปูน
ประเภทที่ 2 อิฐขนาดใหญ่ เป็นอิฐที่มีลักษณะเป็นก้อนสี่เหลี่ยมขนาดใหญ่กว่าอิฐมอญ
ผิวหน้าเรียบมีร่องสําหรับยึดปูนก่อ เช่น อิฐ บ.ป.ก. ทําด้วยเครื่องจักร เหมาะสําหรับใช้ก่อผนัง หรือกําแพง
(3.2) อิฐกลวงรับน้ําหนัก ใช้อิฐที่ผลิตขึ้นตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่
มอก. 102-2528 คือ อิฐที่มีโพรง หรือรูทั้งสองอย่างขนานกัน ทําด้วยเครื่องจักรเหมาะสําหรับใช้กอ่ รับน้ําหนัก
(3.3) อิ ฐ กลวงไม่ รั บ น้ํ า หนั ก คื อ อิ ฐ ที มี โ พรง หรื อ รู ทั้ ง สองอย่ า งขนานกั น ทํ า ด้ ว ย
เครื่องจักรเหมาะสําหรับใช้ก่อผนังทั่วไป
(3.4) อิฐกลวงก่อแผงไม่รับน้ําหนัก คือ อิฐกลวงใช้ก่อแผง หรือผนังเพื่อการประดับการบัง
หรือประโยชน์อย่างอื่น
(3.5) คอนกรีตบล็อกรับน้ําหนัก ใช้ที่ผลิตขึ้นตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่
มอก. 57-2533
(3.6) คอนกรีตบล็อกไม่รับน้ําหนัก คืออิฐบล็อกไม่รับน้ําหนักทางโครงสร้าง
(3.7) อิฐคอนกรีต ใช้ที่ผลิตขึ้นตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 57-2533
คืออิฐก่อสร้างซึ่งทําจากคอนกรีต รวมทั้งสปลิตบล็อกด้วย
(3.8) ปูนซีเมนต์ ใช้ปูนซีเมนต์ผสม ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 80-2550
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 24 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

(4) ฝีมืองานก่อผนังอิฐ
(4.1) การก่อผนังอิฐทั้งหมดจะต้องได้แนว ได้ดิ่ง และระดับ ผนังอิฐจะต้องเรียบและ
ถูกต้องตามแบบรูป ผนังอิฐที่ก่อโดยรอบช่องเปิดต่าง ๆ เช่น ช่อง DUCT สําหรับระบบปรับอากาศ หรือ
ไฟฟ้า จะต้องเรียบร้อยมีขนาดตามระบุในแบบรูปและรายการละเอียด และจะต้องมีเอ็นหรือทับหลังโดยรอบ
(4.2) ผนังอิฐที่ก่อบนพื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก ผิวหน้าของพื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก จะต้อง
สะอาด และมีผิวขรุขระ โดยการสกัดปูนผิวหน้าออกเสียก่อน ผนังอิฐที่ก่อโดยรอบอาคาร โดยรอบและ
ภายในห้องน้ําให้เทคอนกรีตกว้างเท่าผนังอิฐสูงจากพื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก 0.10 เมตร ก่อนจึงก่ออิฐทับได้
เพื่อกันน้ํา
(4.3) การก่ออิฐจะต้องมีรอยต่อโดยรอบแผ่นประมาณ 1 เซนติเมตร และจะต้องใส่ปูนให้เต็ม
รอยต่อ
(4.4) การก่อผนังอิฐในช่องเดียวกันจะต้องก่ออิฐให้มีความสูงใกล้เคียงกัน ห้ามก่อผนังอิฐ
ส่ ว นหนึ่ ง ส่ ว นใดสู ง กว่ า ส่ ว นที่ เ หลื อ เกิ น 1 เมตร ผนั ง อิ ฐ ที่ ก่ อ ใหม่ จ ะต้ อ งอยู่ ใ นร่ ม และจะต้ อ งไม่ ถู ก
กระทบกระเทือนหรือรับน้ําหนักเป็นเวลาอย่างน้อย 24 ชั่วโมง
(4.5) ผนังอิฐที่ก่อชนเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก หรือเสาเอ็นจะต้องยื่นเหล็กขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลาง 6 มิลลิเมตร ยาว 0.20 เมตร ทุก ๆ ระยะ 0.60 เมตร ในแนวดิ่งผิวหน้าของเสาคอนกรีตเสริม
เหล็กที่ก่ออิฐไปชนจะต้องสะอาด และมีผิวขรุขระโดยการสกัดผิวปูนออก ก่อนก่ออิฐจะต้องรดน้ําผิวหน้า
เสาคอนกรีตเสริมเหล็กให้เปียกเสียก่อน
(4.6) ผนังอิฐที่ก่อชนท้องคานคอนกรีตเสริมเหล็ก หรือพื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก จะต้อง
เว้นช่องไว้ประมาณ 0.10 เมตร เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 3 (สาม) วัน เพื่อให้ปูนก่อแข็งตัว แล้วจึงอัดปูนส่วนที่
เหลือให้เต็ม ก่อนอัดปูนให้เสริมเหล็ก 2 – Ø6 มิลลิเมตร และเหล็กปลอกเช่นเดียวกับคานทับหลังพื้นหรือ
ท้องคาน ส่วนที่ก่อผนังอิฐชนจะต้องโผล่เหล็กเส้นผ่านศูนย์กลาง 6 มิลลิเมตร ยาว 0.20 เมตร ทุก ๆ ระยะ
0.60 เมตร เพื่อกันการแตกร้าว
(5) ตัวอย่าง
ผู้รับจ้างจะต้องส่งตัวอย่างอิฐที่จะใช้ให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุอนุมัติก่อน จึงทํา
การสั่งซื้อและส่งอิฐมายังบริเวณก่อสร้างได้
(6) การเก็บรักษา
ผู้รับจ้างจะต้องเก็บรักษาอิฐโดยการเรียงให้เรียบร้อย อิฐที่เก็บจะต้องเรียงซ้อนกันสูง
ไม่เกิน 2 เมตร

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 25 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

7.10.2 ปูนก่อ
(1) ขอบเขตของงาน
งานในหมวดนี้ รวมถึงงานปูนก่อ ปูนสําหรับเสาเอ็น และคานทับหลัง ปูนที่กรอกภายในแผ่นอิฐ
(2) วัสดุ
(2.1) ปู น ซี เ มนต์ ให้ ใ ช้ ปู น ซี เ มนต์ ผ สมตามมาตรฐานผลิ ตภั ณฑ์ อุ ตสาหกรรม เลขที่
มอก. 80-2550
(2.2) ทราย จะต้องเป็นทรายน้ําจืดที่สะอาด คมและแข็ง
(2.3) น้ํา จะต้องสะอาด ปราศจากน้ํามัน กรด ด่าง เกลือ และพฤกษชาติต่าง ๆ
ในกรณีที่น้ําในบริเวณก่อสร้างมีคุณภาพไม่ดีพอ ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาน้ําจากที่อื่นมาใช้ น้ําที่ขุ่นจะต้องทําให้
ใสเสียก่อนจึงนํามาใช้ได้
(3) การเก็บรักษา
ปู นซี เมนต์ ที่นํ ามาใช้ จะต้ องเก็ บรั กษาไว้ ในที่ ที่ป้ องกันความชื้ น ตามระบุในรายการงาน
คอนกรีต อิฐต่าง ๆ ที่นํามาใช้จะต้องวางซ้อนกันได้เรียบร้อย
(4) ส่วนผสมปูนก่อ
เมื่อผสมปูนซีเมนต์แล้วต้องใช้ให้หมดใน 1 ชั่วโมง
(4.1) ส่วนผสมปูนก่อผนังอิฐที่อยู่ต่ํากว่าระดับดินและปูนฉาบรองพื้น
ปูนซีเมนต์ 1 ส่วน
ทรายหยาบ 3-4 ส่วน
น้ํา ปริมาณพอทํางานได้
ปูนก่อใช้ทรายหยาบ ปูนฉาบรองพื้นใช้ทรายกลาง
(4.2) ส่วนผสมปูนก่อผนังอิฐ หรือระดับพื้นดิน
ปูนซีเมนต์ 1 ส่วน
ปูนขาว 1 ส่วน
ทรายหยาบ 3 ส่วน
น้ํา ปริมาณพอทํางานได้
(4.3) ส่วนผสมปูนเทเหลวแทรกในแนวก่ออิฐ
ปูนซีเมนต์ 1 ส่วน
ทรายหยาบ 1 ส่วน
น้ํา ปริมาณพอทํางานได้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 26 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

(5) ฝีมืองานก่ออิฐ
ให้ปฏิบัติตามระบุในรายการรายละเอียด ข้อ 7.10.1 (4) “ ฝีมืองานก่อผนังอิฐ ”
(6) การทําความสะอาด
เมื่อก่อผนังด้วยปูนก่อเรียบร้อยแล้ว ต้องทําความสะอาดผิวหนังทั้ง 2 ด้าน โดยไม่ให้มี
เศษปูนก่อเกาะติดผิวหนัง ตลอดจนการดูแลรักษาให้ผิวผนังสะอาด และใช้แปรงปัดทําความสะอาดก่อน
ฉาบปูน เศษปูนก่อที่ตกอยู่ที่พื้นจะต้องเก็บให้เรียบร้อยก่อนปูนแข็งตัว
7.11 งานไม้และงานช่างไม้
7.11.1 ขอบเขตของงาน
งานในหมวดนี้รวมถึงการตกแต่ง และติดตั้งงานไม้ และงานช่างไม้ งานติดตั้งโครงคร่าวผนัง
ฝ้าเพดาน และงานที่เกี่ยวข้องในหมวดอื่น ๆ เพื่อให้งานก่อสร้างเป็นไปตามแบบรูปและรายการละเอียด
7.11.2 ข้อกําหนดทั่วไป
ไม้รูปพรรณทั้งหมดจะต้องเป็นไปตามรายการ ดังนี้
(1) ไม้รูปพรรณทั้งหมดจะต้องเลื่อยตัดให้มีขนาดตามแบบรูปและรายการละเอียด โดยอนุญาตให้
เสียคลองเลื่อยไม่เกิน 3/16” จากขนาดที่ระบุไว้ในแบบรูปและรายการละเอียดเมื่อไสตกแต่งเสร็จเรียบร้อยแล้ว
(2) ไม้ที่นํามาใช้จะต้องแห้งสนิทโดยการตากหรือการอบให้แห้ง โดยจะต้องมีความชื้นไม่เกิน
มาตรฐานกรมป่าไม้กําหนด การนําไม้ยางมาใช้ต้องเป็นไม้อบน้ํายา ซึ่งต้องมีมาตรฐานในการอบน้ํายาไม่น้อยกว่า
ของบริษัทในเครือกรมป่าไม้
(3) ไม้ทุ กชิ้นจะต้องแข็ งแรงไม่ คดงอ ปราศจากตาไม้ หรื อรู ต่าง ๆ เกินกว่าที่กําหนดโดย
หน่วยงานราชการ
(4) การประกอบ หรือการเข้าไม้ที่ไม่ได้แสดงรายละเอียดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด
จะต้องเป็นไปตามหลักวิชาช่างไม้ที่ดี
(5) ไม้ทั้งหมดเมื่อไสตกแต่งเรียบร้อยแล้ว จะต้องมีขนาด และรูปร่างตามระบุในแบบรูปและ
รายการละเอียด และจะต้องมีขนาดเท่ากันทั้งแผ่น (โดยอนุญาตให้เสียคลองเลื่อยไม่เกินตามข้อ 7.10.2 (1) )
7.11.3 วัสดุ
หากในแบบรูปได้ระบุ หรือมิได้ระบุชื่อไม้ใดให้ใช้ทําส่วนของอาคารส่วนใดก็ตามสามารถใช้ไม้
ตามประเภทของการใช้งานตามบัญชีต่าง ๆ ประกอบการก่อสร้างส่วนของอาคารนั้น ๆ ได้
(1) ชนิดเนื้อไม้
(1.1) คําว่า “ไม้เนื้อแข็ง” ให้ใช้ไม้ตามบัญชีรายชื่อไม้ 1 และบัญชีรายชื่อไม้ 2 ใช้ตาม
รายละเอียดการใช้งานของไม้แต่ละบัญชีรายชื่อไม้ดังต่อไปนี้
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 27 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

บัญชีรายชื่อไม้ 1 ไม้ต่อไปนี้ให้ใช้ได้กับโครงสร้างทั่วไป (ยกเว้นงานวงกบและงานตกแต่ง)


และใช้แทนไม้ในบัญชีรายชื่อไม้ 2 บัญชีรายชื่อไม้ 3 และบัญชีรายชื่อไม้ 4 ได้
1. กถินพิมาน 22. ตีนนก
2. กะพี้เขาควาย 23. บาเลา
3. กันเกรา หรือ มันปลา 24. บุนนาค
4. กะโดน 25. ประดู่
5. ก่อ 26. พลวง
6. ขานาง หรือ เปลือย 27. มะค่าแต้
7. เขล็ง หรือ นางดํา 28. มะค่าโมง
8. แคทราย 29. มะเกลือเลือด
9. เคี่ยมคะนอง 30. มะซาง
10. เฉียงพร้านางแอ 31. ยมหิน, สะเดาช้าง
11. ชัน เต็งตานี เต็งคง 32. รกฟ้า
12. ชิงชัน หรือ เก็ดแดง 33. รัง
13. ซาก พันชาด 34. เลียงมัน
14. แดง 35. สะทิด
15. ตะเคียนชันตาแมว ตะเคียนชัน 36. สาธร, ขะเจ๊าะ
16. ตะเคียนทอง 37. สักขี้ควาย
17. ตะเคียนหิน 38. หลุมพอ
18. ตะเคียนราก 39. เทียง
19. ตะแบกเลือด 40. แอ๊ก
20. ตะแบกใหญ่ ตะแบก 41. โอบ
21. เต็ง หรือ แงะ
บัญชีรายชื่อไม้ 2 ไม้ ต่อไปนี้ให้ใช้เป็นส่วนประกอบอาคารต่าง ๆ ได้เฉพาะส่วนที่อยู่ในร่ม
ไม่ถูกแดดและฝน และไม่ถูกน้ํา เช่น โครงหลังคา ยกเว้นเชิงชาย โครงพื้น ส่วนที่ไม่ถูกแดดและฝน
1. กะทังหัน 12. ยวน
2. กาลอ 13. ปู่เจ้า หรือหนามกราย
3. เคี่ยม 14. มะปริง
4. แดงควน 15. มะม่วงไข่แลน
5. ตะคร้อ, ตะคร้อไข่ 16. พะวา หรือขวาก
6. ตะคร้อหนาม 17. ยูง
7. ตะเคียนหนู 18. เสลา
8. ตะบูนดํา, ตะบัน 19. หามกราย
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 28 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

9. ตะแบก, ตะแบกใหญ่ 20. หลังคํา


10. ตังหน 21. มะแฟน
11. ทองบึ้ง

บัญชีรายชื่อไม้ 3 ไม้ ต่อไปนี้จัดเป็นไม้ประเภทเนื้ออ่อน ให้ใช้เป็นส่วนประกอบอาคาร


บางส่วน คือ โครงพื้น ให้ใช้เฉพาะบัวเชิงผนัง โครงฝา ยกเว้นเสา

1. ไฉน 4. ยางขาว
2. ตะเคียนทราย 5. ยางแดง
3. พะยอม 6. อินทนิล
บัญชีรายชื่อไม้ 4 ไม้ ต่อไปนี้ให้ใช้ทํากรอบบานและบานประตูหน้าต่างได้ ยกเว้นในแบบ
รูปและรายการละเอียดระบุกรอบบานหรือตัวบานเป็นไม้สักให้ใช้เฉพาะไม้สักเท่านั้น
1. กระท้อน 8. ทัง
2. กาลอ 9. พญาไม้, ปริแหวน
3. ก้านเหลือง 10. สัก
4. กว้าว 11. สยา
5. จําปา, จําปาป่า 12. สองสลึก, ยายบู่
6. จําปีป่า 13. อินทนิล, อินทนิลน้ํา
7. ตะแบก
บัญชีรายชื่อไม้ 5 ไม้ ต่อไปนี้ให้ใช้กับงานของวงกบไม้และงานไม้ตกแต่งคือ
1. กถินพิมาน 19. เต็ง หรือ แงะ
2. กะพี้เขาควาย 20. ตีนนก
3. กันเกรา หรือ มันปลา 21. บาเลา
4. กะโดน 22. บุนนาค
5. ก่อ 23. ประดู่
6. ขานาง หรือ เปลือย 24. มะค่าแต้
7. เขล็ง หรือ นางดํา 25. มะค่าโมง
8. แคทราย 26. มะเกลือเลือด
9. เคี่ยมคะนอง 27. มะซาง
10. เฉียงพร้านางแอ 28. ยมหิน, สะเดาช้าง
11. ชัน เต็งตานี เต็งคง 29. รัง
12. แดง 30. เลียงมัน
13. ตะเคียนชันตาแมว ตะเคียนชัน 31. สะทิด
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 29 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

14. ตะเคียนทอง 32. สาธร, ขะเจ๊าะ


15. ตะเคียนราก 33. สักขี้ควาย
16. ตะเคียน 34. หลุมพอ
17. ตะแบกเลือด 35. แอ๊ก
18. ตะแบกใหญ่ ตะแบก
หมายเหตุ กําหนดการเลือกใช้ตัวไม้
(ก) ตัวไม้ใดที่ใช้ทั้งอยู่ในร่มและในที่ถูกแดด ถูกฝน แผ่นเดียวกัน ให้ใช้ไม้ตามบัญชี
รายชื่อไม้ 1
(ข) ตัวไม้ใดอยู่ในที่ร่มไม่ถูกน้ํา ให้ใช้ตามบัญชีรายชื่อไม้ 2 ได้
(ค) พื้นไม้ คําว่า พื้นไม้เข้าลิ้น ให้ใช้ตามขนาดต่อไปนี้คือ 1x16 นิ้ว 1x4 นิ้ว หรือ
1x3 นิ้ว และถ้าใช้ชนิดลิ้นร่องรอบตัว ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 193-2519 ขนาดต้อง
ไม่เล็กกว่า 1x3 นิ้ว ยาวไม่น้อยกว่า 1 เมตร แทนได้ด้วย ในกรณีที่แบบรูปและรายการละเอียด กําหนดให้ใช้
พื้นไม้ตีชน ผู้รับจ้างสามารถใช้พื้นไม้เข้าลิ้นหรือพื้นไม้ชนิดลิ้นร่องแทนกันได้
(ง) ในกรณีที่ผู้แทนผู้ว่าจ้างไม่สามารถตัดสินชี้ขาดได้ว่าไม้ที่นํามาใช้งานนั้น เป็นไม้
ชนิดใด ชื่อใด ตรงกับที่ระบุตามแบบรูปและรายการละเอียด หรือสัญญาหรือไม่ เป็นหน้าที่ของผู้รับจ้างต้อง
นําส่งตัวอย่างไม้ให้กรมป่าไม้ตรวจสอบคุณสมบัติ แล้วส่งผลพร้อมตัวอย่างไม้ ซึ่งทางกรมป่าไม้ประทับตรา
รับรองไว้บนเนื้อไม้ ว่าเป็นไม้ชนิดใด ชื่อใด ให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างพิจารณาอนุมัติ ค่าใช้จ่ายใน
การนี้เป็นหน้าที่ของผู้รับจ้างทั้งหมด
(จ) ไม้ ช นิ ด ซึ่ ง กรมป่ า ไม้ ไ ด้ ต รวจสอบคุ ณ สมบั ติ แ ละผู้ ว่ า จ้ า งได้ พิ จ ารณาเห็ น ว่ า มี
คุณสมบัติเทียบเท่าไม้ที่ระบุไว้ในบัญชีรายชื่อไม้ใด ให้ใช้ก่อสร้างสําหรับงานตามบัญชีรายชื่อไม้นั้นได้
(ฉ) ไม้พื้นที่มีความกว้างต่างไปจากแบบรูป เช่น 3 นิ้ว 4 นิ้ว 6 นิ้ว เป็นต้น ถือว่าใช้
แทนกันได้ และให้ถือปฏิบัติตามที่กล่าวข้างต้นเช่นกันในกรณีที่เป็นไม้พื้นลิ้นร่องรอบตัว
(1.2) ไม้สัก คือ ไม้สักชั้นหนึ่งและชั้นที่สอง
(1.3) ไม้อัดน้ํายา คือ ไม้อัดน้ํายาตามมาตรฐานขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ หรือ
มาตรฐาน เลขที่ มอก. 516-2531
(1.4) แผ่นไม้อัด คือ แผ่นไม้อัดที่ประกอบด้วยแผ่นไม้บางตั้งแต่ 3 ชั้นขึ้นไปวางสลับกันแล้ว
อัดเป็นแผ่นเดียวกัน โดยมีกาวเป็นตัวประสาน ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 178-2549
(1.5) แผ่นใยไม้อัด คือ แผ่นไม้ที่ผลิตจากเยื่อใยไม้นํามาอัดเป็นแผ่น แผ่นใยไม้อัดมี 2 ชนิด คือ
(ก) แผ่นใยไม้อัดแข็ง ถ้าผลิตโดยกรรมวิธีเปียกตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
เลขที่ มอก. 180-2532
(ข) แผ่นใยไม้อัดฉนวน

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 30 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

(1.6) แผ่นชิ้นไม้อัด คือ แผ่นไม้ที่ทําขึ้นจากไม้ขนาดย่อยอัดติดกันเป็นแผ่น โดยมีกาว


สังเคราะห์เป็นตัวประสาน
(1.7) ไม้ประสาน คือ ท่อนไม้ขนาดเล็กหลายท่อนทากาวแล้วอัดติดกันเป็นท่อนไม้ขนาดใหญ่
(2) หลักเกณฑ์ทั่วไปสําหรับเนื้อไม้
(2.1) ขนาดไม้ที่เลื่อย และไสแล้วยอมให้เสียไม้เป็นคลองเลื่อยและไสกบเล็กกว่าขนาดที่ระบุได้
แต่เมื่อตกแต่งพร้อมที่จะประกอบเข้าเป็นส่วนของสิ่งก่อสร้างแล้ว จะต้องมีขนาดของการลดหย่อนตามตาราง
ต่อไปนี้
ตารางที่ 7-6 แสดงขนาดการลดหย่อนเสียไม้เป็นคลองเลื่อย
ขนาดที่ระบุ (นิ้ว) ½ ¾ 1 1 1/4 1 1/2 2 2 1/2 3 4
ขนาดที่ตกแต่งแล้ว (มม.) 9 14 19 25 30 40 54 67 90
ถ้าไม้ขนาดใหญ่กว่า 4 นิ้ว ให้ใสกบออกได้เพียง 1/2 นิ้ว เป็นอย่างมาก สําหรับไม้พื้นและ
ฝาไม้ขนาดความกว้างให้เล็กลงจากขนาดที่กําหนดให้ 1/2 นิ้ว เป็นอย่างมาก
(2.2) ตาและรู ต้องมีขนาดไม่มากกว่า หรือไม่น้อยกว่าขนาดที่กําหนดไว้ข้างล่างนี้ โดย
วิธีวัดขนาดตา หรือรูแห่งหนึ่ง ด้วยการลากเส้นขนานกับขอบไม้ 2 เส้น กระทบกับขอบตา หรือขอบรูตอนที่
กว้างที่สุด ไม้ที่มีตาเป็นกลุ่มหรือติดต่อกันเป็นกระจุกให้คัดออก ไม้ที่มีเนื้อผุเนื้ออ่อนอยู่ภายในขนาดของตา
ให้นับว่าใช้ได้
ในการพิเคราะห์เรื่องตา รู จะแบ่งเป็นตา รู อยู่ในด้านแคบ (หน้าราบ) ของตงคาน กับ ตา
รู อยู่ในด้านกว้าง (หน้าที่ตั้งขึ้น) ส่วนตาที่อยู่คาบทั้ง 2 ด้าน เพราะอยู่ที่มุมท่อนให้ถือเสมือนเป็นตาอยู่ ในด้าน
แคบของตง คาน ที่มีตา รู อยู่ทั้งขอบบน ขอบล่าง และมีลักษณะเข้าประเภทต่างกัน ให้ถือประเภทที่อยู่สูงกว่า
เป็นเกณฑ์
ตารางที่ 7-7 แสดงขนาดของตา หรือรูทโี่ ตที่สุด

ลักษณะ ตา รู ไม้ที่ใช้ก่อสร้างอาคาร
ตา รู ทุก ๆ แห่งภายในครึ่งท่อน ตอนกลางบนหน้า ไม่ต่ํากว่า 1.5 ของหน้าแคบ
แคบของตงคานวัดรวมกัน
ตาใดตาหนึ่ งภายใน 1/3 ท่ อน ตอนกลางบนหน้า ไม่โตกว่า 3/8 เท่าของหน้าแคบหรือ 6 เซนติเมตร
แคบของตง คาน
ตาใดตาหนึ่งภายใน 1/3 ท่อน ตอนปลายบนหน้า ไม่โตกว่า 3/4 เท่าของหน้าแคบหรือ 10 เซนติเมตร
แคบของตง คาน
ตาใดตาหนึ่งบนหน้ากว้างของตง คาน หรือบนหน้า ไม่ โ ตกว่ า 3/8 เท่ า ของหน้ า กว้ า งหรื อ 11
ใด ๆ ของเสา เซนติเมตรเมื่อตาอยู่กึ่งกลางหน้ากว้าง

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 31 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

(2.3) รอยแตกร้าวที่หน้าตัดปลายท่อน สําหรับคาน ตง และเสา ยอมให้แตกลึกเข้าไป


ในท่อนได้ไม่เกิน 4/9 ของหน้าแคบ
(2.4) เนื้อไม้แหว่งที่ขอบไม้ แหว่งได้กว้างไม่เกิน 1/5 เท่าหน้าแคบ
(2.5) น้ําหนัก ห้ามใช้ไม้ที่มีน้ําหนักเบากว่าปกติ เมื่อเทียบกับไม้ชนิดเดียวกันที่มีขนาด
เท่ากันทําการก่อสร้าง
(2.6) การแบ่งชั้น
ก. ไม้ชั้นที่ 1 สามารถเห็นได้โดยง่ายว่าเป็นไม้ที่ได้คัดเลือกมาอย่างดีแล้ว ต้นต้องไม่
คดโค้ง แตกร้าว มีตําหนิ บิด หรือเสื่อมความงาม สามารถแต่งให้เห็นความงามของเนื้อไม้ตามธรรมชาติได้
ข. ไม้ชั้นที่ 2 ต้องไม่ผุ ไม่มีตากลวงหรือตาผุ ไม่ติดกระพี้หรือแตกร้าวจนเสียกําลัง
ตําหนิอื่น ๆ ยอมให้มีได้บ้างแต่ต้องปะซ่อมให้เรียบร้อย เหมาะสําหรับการตกแต่งโดยวิธีทาสี
7.11.4 ฝีมืองาน
(1) ฝีมืองานสําหรับงานไม้ และงานช่างไม้ทั้งหมดจะต้องกระทําด้วยความประณีต และตาม
หลักปฏิบัติของงานช่างไม้ที่ดี ถึงแม้ว่าจะมิได้แสดงรายละเอียดในรูปแบบและรายการละเอียดก็ตาม
(2) หัวตะปูทั้งหมด จะต้องฝังและอุดให้เรียบร้อย
(3) ไม้ทั้งหมดที่มองเห็นจะต้องไสกบเรียบ หากไสกบแล้วผิวไม่เรียบจะต้องขัดด้วยกระดาษ
ทราย อุดรูและรอยแตกทั้งหมดให้เรียบร้อยก่อนทาสี หรือทาน้ํามันตามระบุในรายการรายละเอียดด้านวิศวกรรม
7.11.5 งานช่างไม้
(1) การเข้าไม้ การเข้าไม้ต้องพอดีตรงตามที่กําหนดให้ การบากไม้ เข้าไม้ ต้องทําให้แนบสนิท
เต็มหน้าส่วนที่ประกบ และแข็งแรง
(2) การต่อไม้ โดยทั่วไปไม่อนุญาตให้ต่อไม้ เว้นแต่มีความจําเป็น ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของ
ผู้ว่าจ้างจะเป็นผู้พิจารณาและกําหนดให้
(3) การตกแต่งไม้และประกอบไม้
(3.1) ไม้ส่วนที่ไม่ต้องไส คือ ส่วนที่มีสิ่งอื่นปกคลุมมองไม่เห็น หรือไม่มีผลต่อความเรียบ
ตรงของสิ่งที่มาปิด เช่น โครงหลังคาส่วนที่อยู่ภายในฝ้าเพดาน กระทงฝ้า เพดานด้านบน และด้านข้าง
เป็นต้น หรือตามที่กําหนดไว้
(3.2) ไม้ส่วนที่ต้องไส คือ ส่วนที่สามารถมองเห็นทั้งหมด และส่วนที่เกี่ยวข้องกับระดับ
ของสิ่งที่มาปิดทับ เช่น ส่วนใต้ของกระทงฝ้าเพดาน เป็นต้น
(3.3) การไสไม้ จะต้องไสตกแต่งจนเรียบตรง ไม่เป็นลอนหรือลูกคลื่น และหากยังมีรอย
คลองเลื่อยหลงเหลืออยู่ ต้องไสหรือตกแต่งใหม่จนเรียบ การไสต้องทําให้ได้ฉากมีมุม หรือรูปทรงและขนาดที่
กําหนดไว้ ส่วนใดที่ไม่อาจไสให้เรียบได้ เช่น ตาไม้ให้ใช้กระดาษทรายขัดตาตกแต่งจนเรียบ
(3.4) ไม้พื้น ต้องได้รับการอบหรือผึ่งให้เนื้อไม้แห้งสนิท และเก็บไว้ให้พ้นแสงแดด ฝน
และความชื้น ต้องไสให้ขนาดหน้ากว้างเท่ากันทั้งหมด เว้นแต่แบบรูปรายการละเอียดจะได้กําหนดเป็นอย่างอื่น

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 32 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

ถ้าไม้พื้นต้องเข้าลิ้น ร่องลิ้นต้องพอดีรับลิ้นและลึกกว่าความกว้างของลิ้น 3 มิลลิเมตร เมื่อตีพื้นเข้าที่ต้อง


วางเรียบเป็นแผ่น ๆ แล้วอัดและปรับให้แนวรอยต่อระหว่างแผ่นแน่นสนิทดี
(3.5) ไม้ฝา ไม้ฝาเข้าลิ้น ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับไม้พื้น
(3.6) ไม้เพดาน ไม้ฝาเข้าลิ้น ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับไม้พื้น
(4) การยึดด้วยตะปู ตะปูควง
(4.1) ชนิดและขนาด
(ก) ตะปู ต้องยาวอย่างน้อย 2.5 เท่าของความหนาของไม้ที่ถูกยึด
(ข) ตะปูควง ต้องโตกว่าเบอร์ 8 และยาวอย่างน้อย 2 เท่าของความหนาของไม้ที่ถูกยึด
(4.2) การเจาะรูสําหรับ ตะปู ตะปูควง หากจําเป็นต้องเจาะนําเพื่อมิให้ไม้แตก
(ก) ตะปู เจาะรูนําได้ไม่เกิน 0.8 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของตะปู
(ข) ตะปูควง เจาะรูนําได้ไม่เกิน 0.9 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของตะปูควง
(4.3) การตีตะปู
(ก) ไม้กระดานไม่เข้าลิ้น
(ก.1) สําหรับไม้กว้างไม่เกิน 7 นิ้วฟุต ยึดด้วยตะปู 2 ตัวทุก ๆ ช่วงตง
(ก.2) สําหรับไม้กว้างเกิน 7 นิ้วฟุต ยึดด้วยตะปู 3 ตัวทุก ๆ ช่วงตง โดยเพิ่มที่
กลางแผ่นอีก 1 ตัว
(ข) ไม้กระดานเข้าลิ้น
(ข.1) สําหรับไม้กว้างไม่เกิน 8 นิ้วฟุต ยึดด้วยตะปูกลางแผ่นตัวเดียวทุก ๆ 1 ช่วงตง
(ข.2) สําหรับไม้กว้างเกิน 8 นิ้วฟุต ยึดด้วยตะปู 2 ตัว ทุก ๆ ช่วงตง
(ค) ระยะห่างในการตอกตะปู นับเป็นจํานวนเท่าของขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ตะปู
ตะปูควง ดังนี้
ตารางที่ 7-8 แสดงระยะห่างของตะปู
ระยะ เมื่อไม่เจาะนํา เมื่อเจาะนํา
ระหว่างปลายไม้กับศูนย์ตะปู 20 เท่า 10 เท่า
ระหว่างขอบไม้กับศูนย์ตะปู 5 เท่า 5 เท่า
ระหว่างแถวตะปูวัดตามหน้ากว้าง 10 เท่า 3 เท่า
ระหว่างตะปูภายในแถววัดตามยาวของท่อนไม้ 20 เท่า 10 เท่า
หมายเหตุ ระยะระหว่างขอบไม้กับศูนย์ตะปู ต้องไม่น้อยกว่า 1 เซนติเมตร
(4.4) การขันตะปูควง ให้ปฏิบัติตาม หัวข้อ (4) การยึดด้วยตะปู ตะปูควง ทุกประการ
แต่ห้ามใช้การตอกโดยเด็ดขาด ให้หมุนเข้าโดยไขควงขนาดที่เหมาะสมกับหัวตะปูควง

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 33 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

(4.5) การยึดด้วยน๊อตหรือสลักเกลียว
(ก) ชนิดและขนาด เป็นเหล็กและต้องมีความยาวที่เหมาะสม
(ข) การเจาะรู ต้องเจาะรูให้พอดี ตอกน๊อต หรือสลักเกลียวเข้าได้โดยง่าย และ
ไม่โตกว่าขนาดน๊อตร้อยละ 6
(ค) แหวนรองน๊อตหรือสลักเกลียวทุกตัว จะต้องมีแหวนมาตรฐานหรือตามที่กําหนด
รองอยู่ใต้แป้นเกลียวทุก ๆ ตัว
(ง) ระยะห่างของรูน๊อต หรือสลักเกลียว
ตารางที่ 7-9 แสดงระยะห่างของรูน๊อต หรือสลักเกลียว
ระยะ จํานวนเท่าอย่างน้อย
เส้นผ่านศูนย์กลางสลักเกลียว
ระหว่างปลายท่อนกับสลักเกลียว
(ก) เมื่อได้รับแรงดึง เช่น ขื่อ แกงแนง ดั้ง 7
(ข) เมื่อได้รับแรงอัด เช่น จันทัน ค้ํายัน 4
ระหว่างแถวสลักเกลียว เมือ่ แรงทําการตามยาว
ของท่อนไม้ เช่น ตัวไม้ในโครงหลังคา (ระยะตามแนวยาว) 4
ระหว่างขอบไม้ที่ต้องสู้แรงดันจากสลักเกลียวกับ (ระยะตามแนวกว้าง) 1.5
ศูนย์สลักเกลียว 4
ระหว่างศูนย์สลักเกลียวเมื่อวัดตามด้านกว้าง 4 สําหรับขนาดสลักเกลียวทีม่ ีขนาดเพียง 1/4
ของไม้ ของความหนาของไม้
7.11.6 ข้อยกเว้นพิเศษ
อนุญาตให้นําไม้ค้ํายันชั่วคราวต่าง ๆ ที่รื้อถอนมาใช้ในการก่อสร้างเป็นส่วนของอาคารได้
เช่น ทําเคร่าฝา เคร่าฝ้าเพดาน เป็นต้น ทั้งนี้ ไม้เหล่านี้ต้องเป็นไม้รูปพรรณและเป็นไม้ใหม่ที่สั่งเข้ามาใช้ใน
สัญญานี้ มีชนิดของเนื้อไม้ขนาดและคุณสมบัติอื่น ๆ ตรงกับที่กําหนดให้ใช้
7.12 งานประตู หน้าต่าง และกระจก
7.12.1 อุปกรณ์สําเร็จ
(1) ขอบเขตของงาน งานในหมวดนี้ รวมถึง การประกอบและติดตั้ง กุญแจ บานพับมือ
จับ กลอน ที่ยึดประตู ที่แขวนผ้า และอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จําเป็นสําหรับอาคารซึ่งผู้รับจ้างจะต้องจัดหา และ
ติดตั้งให้เรียบร้อยตามระบุในรูปแบบและรายการละเอียด

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 34 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

(2) วัสดุ
(2.1) วงกบและกรอบบานไม้สําเร็จรูป ให้ใช้ตามมาตรฐานผลิต ภัณ ฑ์อุต สาหกรรม
เลขที่ มอก. 504-2527
(2.2) วงกบและกรอบบานอลูมิเนียม
(ก) คุณสมบัติของอลูมิเนียม เป็นอลูมิเนียมชุบผิวตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
เลขที่ มอก. 218-2520
สําหรับขนาด และความหนาของหน้าตัดอลูมิเนียม รูปทุกชิ้นของประตู หน้าต่างที่
ติดตั้งทั่วไป ส่วนที่อยู่ภายในอาคารจะต้องได้ความหนาไม่ต่ํากว่าที่ระบุไว้ ดังนี้
- ช่องแสงหรือกรอบติดตาย ความหนาไม่ต่ํากว่า 2 มิลลิเมตร
- ประตู หน้าต่าง ชนิดบานเลื่อน ความหนาไม่ต่ํากว่า 2 มิลลิเมตร
- บานประตูสวิง ความหนาไม่ต่ํากว่า 2.3 มิลลิเมตร
- กรอบบานหน้าต่าง ชนิดผลักกระทุ้ง ความหนาไม่ต่ํากว่า 2 มิลลิเมตร
- อลูมิเนียมตัวประกอบต่าง ๆ ความหนาไม่ต่ํากว่า 1.2 มิลลิเมตร
(ข) อุปกรณ์ประกอบประตูอลูมิเนียมแบบเปิดปิด บานพับสปริงพร้อมธรณี ใช้แบบ
Heavy Duty. Double Acting Hold Open 90๐ กุ ญ แจสํ า หรั บ บานประตู ทุ ก ช่ อ งให้ ใ ช้ ช นิ ด Maximum
Security Mortise 1 Points Deadlock พร้อมลูกกุญแจอย่างน้อย 2 ดอก เฉพาะประตูบานคู่ ให้ติดกุญแจ
ที่บานขวามือ และติดกลอนฝังในบานซ้ายมือ เพื่อยึดให้ติดกับวงกบและธรณีประตู ประตูบานเปิดทุกบานให้
ติดมือจับทั้ง 2 ด้าน โดยใช้มือจับอลูมิเนียม กว้าง 3 1/2” ยาวขวางตลอดบานประตู ตรงกลางมือจับบุ
ฟอร์ไมก้า หนา 1.2 มิลลิเมตร หรือเป็นมือจับแบบอลูมิเนียมข้างบานประตูทั้ง 2 ข้าง ให้กรุเส้นสักหลาด
ตลอดบาน ธรณีประตูเป็นอลูมิเนียมขนาดกว้างไม่น้อยกว่า 4 นิ้ว
(ค) อุปกรณ์หน้าต่าง อลูมิเนียมบานเลื่อน โครงและกล่องรางเลื่อน จะต้องตรง
ไม่คดงอ ติดลูกล้อสําหรับบานเลื่อนหน้าต่าง บานละ 2 ชุด ลูกล้อจะต้องเป็นไนล่อน แข็ง แกนระบบลูกปืน
มีความแข็งแรงคล่องตัว และทนทานต่อการเสียดสีได้เป็นอย่างดี ขนาดและชนิดของลูกล้อต้องใช้ให้เหมาะสม
กับขนาดและน้ําหนักของบานหน้าต่าง มือจับของหน้าต่างใช้แบบกลอนล็อคในตัว หน้าต่างบานเลื่อนทุกบาน
จะต้องมีระบบป้องกันมิให้ล้อหลุดออกจากราง เฉพาะหน้าต่างที่อยู่ภายนอกอาคารรางเลื่อนตัวล่างจะต้อง
เจาะรูขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 6 มิลลิเมตร ระยะห่าง 30 เซนติเมตร เพื่อระบายน้ําออกจากราง
(ง) อุปกรณ์หน้าต่างบานเปิดหรือกระทุ้ง บานพับปรับระดับขนาดใช้ตามมาตรฐาน
ความกว้าง ยาว ของบานหน้าต่างเป็นบานพับก้านฝืด (Friction Hinge) มือจับใช้แบบกลอนล็อคในตัว
(จ) ฝีมือในการประกอบและติดตั้ง ให้ใช้ช่างฝีมือที่มีความชํานาญโดยเฉพาะรอยต่อ
ต่าง ๆ ตัดเชื่อมยึดแน่นสนิท ส่วนประกอบบานประตูหน้าต่างจะต้องมีความแข็งแรงปิด – เปิด หรือเลื่อนได้
คล่องตัว การประกอบติดตั้งจะต้องได้แนว ได้ระดับทั้งแนวดิ่งและแนวนอน มุมประตูหน้าต่างจะต้องได้ฉาก
ทุกมุม ยกเว้น จะระบุให้ทําเป็นอย่างอื่น

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 35 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

กรอบวงกบจะต้องยึดติดแน่นกับพื้น เสา คาน เอ็น หรือทับหลัง ค.ส.ล. โดยใช้ตะปู


ควงที่ไม่เป็นสนิม ขันฝังในวงกบมีพุกไนล่อนทุกระยะ 40 เซนติเมตร ร่องระหว่างวงกบกับพื้นเพดานหรือผนัง
ให้อุดยาแนวด้วย Caulking Compound สีขาวตลอดแนวทั้งด้านนอกและด้านใน
(2.3) วงกบและกรอบบานเหล็ก จะต้องใช้ความหนาไม่ต่ํากว่า 2.0 มิลลิเมตร
(2.4) บานประตู ไ ม้ แ ผ่ น เรี ย บ ให้ ใ ช้ ต ามมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม เลขที่
มอก. 192-2538
(2.5) ประตูเหล็กม้วน เป็นประตูเหล็กม้วนบานทึบและบานโปร่ง รายละเอียดตามแบบ
รูปและรายการละเอียดแผ่นเหล็กบาน ประตูบานทึบทําจากเหล็กกล้า เบอร์ 20 (ความหนา 0.9 มิลลิเมตร)
เคลือบผิวหน้าด้วยสังกะสี และพ่นทับหน้าด้วยสีเคลือบอบความร้อนอีก 2 ครั้ง ส่วนประกอบอื่น ๆ ของประตู
ให้ใช้แบบมาตรฐานของแต่ละบริษัทผู้ผลิต ประตูทุกบานจะต้องมีกลอนล็อคด้านในพร้อมสายยูสําหรับคล้อง
กุญแจ การติดตั้งประตูเหล็กม้วน ต้องกระทําโดยช่างชํานาญงานโดยเฉพาะอุปกรณ์ประกอบ การติดตั้ง
สมบูรณ์ตามแบบมาตรฐานเมื่อเสร็จเรียบร้อยแล้ว ต้องมั่นคง แข็งแรง กันลมและฝนได้ดี ให้ปิดกล่องเก็บ
ประตูด้วยเหล็กแผ่น ทาสีให้เรียบร้อย
(2.6) ประตูฉุกเฉิน กําหนดให้จัดหาและติดตั้งประตูฉุกเฉิน เป็นประตูเหล็กบานเปิด
ขนาดประมาณ 0.90x2 เมตร ความหนาของบานไม่น้อยกว่า 45 มิลลิเมตร แผ่นเหล็ก 2 ด้าน ของบานทํา
ด้วยเหล็กแผ่นหนา 1.6 มิลลิเมตร ทาสีกันสนิม และทาสีทับหน้า 2 ชั้น ภายในบรรจุแผ่นกันความร้อน Rock
Wool หรือ Micro Fiber พร้อมอุปกรณ์ต่าง ๆ วงกบเหล็ก บานพับแสตนเลส และมือจับแบบฉุก เฉิ น
(Panic Device) พร้อมด้วยกุญแจล็อคได้ภายใน
(2.7) กลอน ให้ใช้ตามแบบรูปและรายการละเอียด ถ้าไม่ได้ระบุไว้ให้ใช้กลอนโลหะชุบ
(2.8) บานพับ ให้ใช้ตามแบบรูปและรายการละเอียด ถ้าไม่ได้ระบุไว้ให้ใช้บานพับเหล็ก
ชุบสี ชนิดมีแหวนไนล่อน
(2.9) มือจับ ให้ใช้ตามแบบรูปและรายการละเอียด ถ้าไม่ได้ระบุไว้ให้ใช้มือจับโลหะชุบ
(2.10) กันชนประตู ให้ใช้ตามแบบรูปและรายการละเอียด ถ้าไม่ได้ระบุไว้ให้ใช้กันชน
ประตูโลหะชุบ
(2.11) กุ ญ แจลู ก บิ ด ให้ ใ ช้ ต ามแบบรู ป และรายการละเอี ย ด ถ้ า ไม่ ไ ด้ ร ะบุ ไ ว้ ใ ห้ ใ ช้
ลูกบิดชนิด 6 ลูกปืน
(2.12) กระจกแผ่น กระจกทุกแผ่นจะต้องมีตราของบริษัทผู้ผลิต แสดงคุณภาพ และ
ความหนาติดอยู่ และจะต้องคงเก็บรักษาไว้จนกระทั่งมีการตรวจรับ หากกระจกมิได้ตัดตามขนาดที่ใช้มาจาก
บริษัทผู้ผลิต ผู้รับจ้างจะต้องเตรียมเอกสารการรับรองคุณภาพ และความหนารวมทั้งชนิดของกระจกไว้ด้วย
กระจกใสทั้งหมดจะต้องเป็นกระจกหนา 6 มิลลิเมตร หรือ 1/4” หรืออื่น ๆ ตามที่ได้ระบุไว้ในแบบรูป และ
เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 54-2516

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 36 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

7.12.2 การติดตั้ง
(1) การติดตั้งวงกบและกรอบบานของหน้าต่าง จะต้องได้ดิ่งและฉากถูกต้องตามหลักวิชาช่างที่ดี
(2) การยึดวงกบกับผนังหรือโครงสร้างคอนกรีต ให้ยึดด้วยตะปูควงที่มีพุกฝังไว้ที่ระยะห่าง
40 เมตร แล้วแต่งแนวปูนทรายที่ติดกับวงกบไม้ เช็ดล้างปูนที่เปื้อนวงกบออกในทันทีที่งานแต่งปูนบริเวณ
รอบวงกบเสร็จ
(3) ตะปูควงทุกตัวที่ขันติดกับส่วนที่ไม่ใช่ไม้และวัสดุที่เป็นโลหะ เช่น ผนัง ค.ส.ล. เสา
ค.ส.ล. กําแพงก่ออิฐฉาบปูน เป็นต้น ตะปูควงที่ใช้ขันจะต้องใช้ร่วมกับพุกพลาสติก
(4) ตะปูควงที่ใช้ขันวงกบทุกตัวต้องไม่เป็นสนิม
(5) รอยต่อรอบ ๆ วงกบประตูและหน้าต่างทั้งภายในและภายนอก ส่วนที่แนบติดกับปูนฉาบ
คอนกรีต ไม้ หรือวัสดุอื่นใด จะต้องอุดด้วย Caulking Compound
(6) สําหรับการสัมผัสกันระหว่างอลูมิเนียมกับโลหะอื่น ๆ จะต้องทาด้วย Bituminum Paint
ตลอดบริเวณที่โลหะทั้งสองสัมผัสกันเสียก่อน
(7) การติดตั้งแผ่นกระจกจะต้องใช้วัสดุอุดที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างอนุญาต การ
ติดตั้งกระจกกับกรอบไม้ บริเวณส่วนที่กระจกจะสัมผัสอยู่ทั้งหมดให้ใช้วัสดุอุดก่อนแล้วจึงใช้คิ้วไม้ตียึด ตะปู
ซึ่งตียึดคิ้วไม้นี้จะต้องไม่เป็นสนิม
(8) กระจกทุกแผ่นจะต้องได้รับการขัดเช็ดทําความสะอาดจนเป็นที่เรียบร้อย กระจกที่ชํารุด
ปิ่นแตกหรือแตกร้าว ผู้รับจ้างจะต้องจัดการเปลี่ยนให้เป็นที่เรียบร้อย
(9) การเซาะร่องเพื่อประกอบบานพับและอุปกรณ์ต่าง ๆ จะต้องให้มีขนาดพอดีกับอุปกรณ์
เหล่านั้น การเจาะช่องหรือบากร่องที่ผิดพลาด ไม่อนุญาตให้ใช้ไม้อุดผู้รับจ้าง จะต้องเปลี่ยนกรอบบาน / บาน
และวงกบนั้น ๆ โดยค่าใช้จ่ายของผู้รับจ้าง การขันตะปูเกลียวไม่อนุญาตให้ใช้ค้อนอย่างเด็ดขาด การนําร่อง
ตะปูเกลียวให้ใช้สว่านขนาดเล็กกว่าขนาดของตะปูเกลียว 1/2 เท่า และให้เจาะนําลึกเพียงไม่เกิน 1/2 ของ
ความยาวตะปูเกลียว แล้วขันด้วยไขควงจนจมมิดและแน่น
7.12.3 แบบรูปเพิ่มเติม (Shop Drawings)
(1) ก่ อ นที่ จ ะดํ า เนิ น การติ ด ตั้ ง หน้ า ต่ า งอลู มิ เ นี ย ม ผู้ รั บ จ้ า งจะต้ อ งเขี ย นแบบเพิ่ ม เติ ม
ประกอบการติดตั้ ง (Shop Drawings) มาเสนอต่อคณะกรรมการตรวจรับพัสดุก่อน ผู้ทําการติดตั้งจึงจะ
ดําเนินการประกอบและติดตั้งได้
(2) แบบประกอบการติดตั้ง จะต้องแสดงรายละเอียดการติดตั้ง การยึด การกันน้ําและ
จะต้องแสดงระยะต่าง ๆ ตลอดจนค่าคลาดเคลื่อนโดยละเอียดให้ถูกต้องตามแบบงานสถาปัตยกรรมที่ดี

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 37 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

7.12.4 การป้องกันประตู – หน้าต่าง ขณะกําลังก่อสร้าง


วงกบและกรอบบานประตู – หน้าต่างอลูมิเนียม เมื่อติดตั้งแล้วเสร็จผู้รับจ้างจะต้องป้องกัน
ผิวของวัสดุเอาไว้เพื่อให้ปลอดภัยจากน้ําปูน หรือสิ่งอื่นใดที่อาจจะทําความเสียหายให้กับวงกบ และกรอบบาน
ประตู และหน้าต่างอลูมิเนียม
7.13 การดําเนินงานชั้นเสร็จสมบูรณ์
7.13.1 การฉาบปูน
(1) ขอบเขตของงาน
งานในหมวดนี้ รวมถึงงานฉาบปูนผนั งก่ออิ ฐ ผนัง ค.ส.ล. และงานฉาบปูนโครงสร้าง
คอนกรีตเสริมเหล็ก เช่น คาน เสา และท้องพื้น นอกจากระบุไว้เป็นพิเศษในแบบ การฉาบปูน ผนัง และ
โครงสร้าง ให้ฉาบส่วนที่มองเห็นด้วยตาทั้งหมด
(2) วัสดุ
(2.1) ปู น ซี เ มนต์ ให้ ใ ช้ ปู น ซี เ มนต์ ผ สมตามมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม เลขที่
มอก. 80-2550
(2.2) ทราย จะต้องเป็นทรายน้ําจืดที่สะอาด คม และแข็งแรง ปราศจากวัสดุอื่นเจือปน
และจะต้องเป็นทรายกลางที่มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
- ผ่านตะแกรงร่อนเบอร์ 8 ร้อยละ 100
- ผ่านตะแกรงร่อนเบอร์ 16 ร้อยละ 60-90
- ผ่านตะแกรงร่อนเบอร์ 50 ร้อยละ 10-30
- ผ่านตะแกรงร่อนเบอร์ 100 ร้อยละ 1-10
(2.3) ส่วนผสมเพิ่มในปูนฉาบ
(ก) ให้ใช้น้ํายาผสมปูนฉาบตามที่ระบุในแบบ หรือ
(ข) ปูนขาวที่มีคุณภาพดี ต้องส่งให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างอนุมัติ
(2.4) น้ําสําหรับผสมปูนฉาบให้ใช้น้ําสะอาดปราศจากน้ํามัน กรด ด่าง เกลือ และพฤกษา
ชาติต่าง ๆ น้ําที่ขุ่นจะต้องทําให้ใสเสียก่อน
(3) การเตรียมปูนฉาบ
ผิวอิฐหรือคอนกรีตที่จะฉาบปูน จะต้องสะอาดปราศจากรอยแตกร้าว คราบน้ํามัน และวัสดุ
อื่น ๆ ซึ่งจะทําให้การยึดของปูนเสียไป ผนังอิฐจะต้องรดน้ําให้เปียกเสียก่อน จึงทําการฉาบปูนได้
(4) ส่วนผสมของปูนฉาบ
ปูนฉาบให้ใช้ส่วนผสม ดังนี้
ปูนซีเมนต์ 1 ส่วน
ทราย 3 ส่วน
น้ํายาผสมปูนฉาบ ตามคําแนะนําของบริษัทผู้จําหน่าย
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 38 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

(5) การผสมปูนฉาบ
การผสมปูนฉาบให้ผสมปูน และทรายให้เข้ากันดีแล้วจึงเติมน้ํา ส่วนผสมของน้ําจะต้อง
พอเหมาะกับการฉาบปูนไม่เปียก หรือแห้งเกินไป ทําให้ปูนฉาบไม่เกาะผนัง
(6) การฉาบปูน
การฉาบปูนผนัง เสา คาน เพดาน และส่วนอื่น ๆ ของอาคารที่ระบุให้ฉาบปูน ให้ฉาบปูนรวม
2 ครั้ง คือการฉาบปูนรองพื้น การฉาบปูนตกแต่ง ดังนี้
(6.1) การฉาบปูนรองพื้น ก่อนฉาบปูนรองพื้นจะต้องตั้งเพี้ยมทําระดับให้เรียบร้อยก่อน
ภายหลังปูนที่ตั้งเพี้ยมทําระดับแห้งดีแล้ว ให้รดน้ําผนังให้เปียกโดยทั่วกันแล้วจึงทําการฉาบปูนรองพื้น การฉาบ
ปูนรองพื้นจะต้องให้ได้ระดับใกล้เคียงกับที่ตั้งเพี้ยมไว้ก่อนที่ปูนฉาบรองพื้นจะเริ่มแข็ง ให้ขีดผิวหน้าของปูน
ฉาบให้ขรุขระโดยทั่วกัน เพื่อให้การเกาะตัวของปูนฉาบครั้งต่อไปดีขึ้น ปูนฉาบรองพื้นจะต้องรดน้ําให้เปียกอยู่
เสมอเป็นเวลา 48 ชั่วโมง และทิ้งไว้ให้แห้งก่อน 7 วัน จึงทําการฉาบปูนตกแต่งได้ ปูนฉาบรองพื้นจะมีความหนา
ประมาณ 13 มิลลิเมตร ในกรณีที่จําเป็นให้ฉาบปูนรองพื้นมากกว่า 1 ครั้ง ได้เพื่อให้ได้ความหนาที่ต้องการ
การฉาบปูนรองพื้นบนผิวคอนกรีต และผิวอิฐอัดแรงให้สลัดปูนบนผิวคอนกรีตและอิฐอัดแรงก่อน ปูนสลัดให้ใช้
ส่วนผสมของซีเมนต์ 1 ส่วน ต่อทราย 1 ส่วน ก่อนสลัดปูนจะต้องรดน้ําผิวที่จะสลัดปูนให้เปียกเสียก่อน การ
สลัดปูนให้สลัดด้วยไม้กวาด และจะต้องมีผิวปูนติดเสมอกันทั้งหมด รดน้ําปูนสลัดเสมอเป็นเวลา 48 ชั่วโมง
และทิ้งไว้ให้แห้งจึงทําการฉาบปูนรองพื้นได้
(6.2) การฉาบปูนตกแต่ง ก่อนฉาบปูนตกแต่งให้รดน้ําผนังที่จะฉาบปูนให้เปียกโดยทั่วกัน
เสียก่อน จึงฉาบปูนตกแต่งได้ ปูนฉาบตกแต่งจะต้องมีความหนาประมาณ 5 มิลลิเมตร ในกรณีที่ระบุให้ปูน
ฉาบขัดมัน ให้ฉาบปูนตกแต่งให้ได้ระดับเสียก่อน จึงทําการขัดมันผิวหน้าปูนฉาบตกแต่งจะต้องได้รับการรดน้ํา
ให้เปียกอยู่ตลอดเวลา 48 ชั่วโมง การฉาบปูนภายนอกตรงส่วนที่ผนังอิฐ หรือคอนกรีตบล็อกต่อกับโครงสร้าง
คอนกรีต เช่น เสา คาน หรือเสาเอ็น ค.ส.ล. ให้ป้องกันการแตกร้าว โดยใช้แผ่นลวดกรงไก่ตาขนาด 3/4"
กว้างประมาณ 0.30 เมตร ตอกตะปูอัดติดผนังยาวตลอดรอยต่อ แล้วจึงทําการฉาบปูนรองพื้นได้ผิวของปูน
ฉาบที่แตกร้าว และผิวปูนที่ไม่จับผนังหลังจากฉาบปูนแล้ว จะต้องทําการซ่อมแซมโดยสกัดปูนฉาบออกกว้าง
ไม่ต่ํากว่า 0.10 เมตร ทําผิวกําแพงให้ขรุขระ ล้างให้สะอาด แล้วจึงทําการฉาบปูนใหม่ตามข้อ 1 และ 2 ผิว
ปูนที่ฉาบใหม่จะต้องเรียบสนิทเป็นเนื้อเดียวกับผิวปูนฉาบเดิม
(7) การทําความสะอาด
ภายหลังเสร็จการฉาบปูนแต่ละวัน จะต้องทําความสะอาดปูนที่เปื้อนบนพื้นให้เรียบร้อย
ปูนที่เปื้อนบนผนังที่ฉาบตกแต่งแล้ว จะต้องทิ้งให้แห้งเสียก่อนจึงขูดออกได้
7.13.2 การทําผิวซีเมนต์ขัดมัน
ใช้ซีเมนต์ผสมโรยไปบนพื้นคอนกรีต ซึ่งปรับระดับได้ที่ และยังไม่แข็งตัว และไม่เปียกมากจน
เกินควรขัดถูซีเมนต์ด้วยเกรียงจนเกาะติดแน่นกับพื้นคอนกรีต ผิวที่สําเร็จแล้วจะต้องเรียบลื่น ปราศจากผิว
ขรุขระ หรือเม็ดทราย รอยเกรียง รอยแตก หรือหลุมต่าง ๆ และจะต้องได้รับการบ่มด้วยความชื้นหลังจากที่
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 39 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

ผิวหน้าเริ่มแข็งตัวอย่างน้อย เป็นเวลา 48 ชั่วโมง และหลังจากนั้นจะต้องปิดบังผิวมิให้ได้รับความร้อนโดยตรง


จากแสงแดด เป็นเวลา 7 (เจ็ด) วัน หลังจากนั้นให้ทําความสะอาดและล้างผิวซีเมนต์ขัดมันด้วยแปรงและน้ํา
สิ่งบกพร่องต่าง ๆ จะต้องได้รับการแก้ไขหรือซ่อมแซมโดยด่วน
พื้นผิวคอนกรีตโดยทั่วไป จะต้องมีระดับและความเรียบที่ถูกต้องไม่มีผิวที่ขรุขระเกินสมควร
หรือรอยเกรียง รอยร้าว รอยแตก ผิวที่เรียบ หรือ Texture จะต้องกลมกลืนกันและแบ่งแนวผิวพื้นคอนกรีตตาม
แบบรูป ผิวคอนกรีตจะต้องได้รับการบ่มด้วยความชื้นในลักษณะเดียวกันกับคอนกรีตโครงสร้าง และจะต้อง
ดูแลรักษา พร้อมกับทําความสะอาดให้ผิวหน้าปราศจากสิ่งแปลกปลอมอื่น ๆ
7.13.3 การทําผิวซีเมนต์ขัดมันผสมสี
(1) ขอบเขตของงาน
งานในหมวดนี้ หมายถึง งานผิวสําเร็จขัดมันผสมสีที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการ
ละเอียด
(2) วัสดุ
(2.1) ปู น ซี เ มนต์ ข าว ให้ ใ ช้ ปู น ซี เ มนต์ ข าวตามมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม
เลขที่ มอก. 133-2518
(2.2) สีผสม ใช้สีฝุ่นสําหรับผสมซีเมนต์
(3) การทําความสะอาด
ภายหลังการทําผิวขัดมันผสมสีเรียบร้อยแล้ว พื้นผิวขัดมันจะต้องถูกทิ้งไว้ให้แห้ง โดย
ไม่ถูกกระทบกระเทือนรับน้ําหนักเป็นเวลา 48 ชั่วโมง จึงล้างน้ําทําความสะอาดแล้วขัดด้วยขี้ผึ้ง 2 ครั้ง
7.13.4 การทําผิวทรายล้าง กรวดล้าง
ทรายล้ างให้ใช้ ทรายน้ําจืด ซึ่ งได้ คั ดขนาดแล้ว เม็ ดกลมไม่มี คม ไม่ มี เปลือกหอย หรื อวัสดุ
แปลกปลอมอย่างอื่นเจือปน สี ขนาด และความแน่นของเม็ดทรายจะต้องเป็นไปตามตัวอย่างที่ได้รับอนุมัติแล้ว
พื้นคอนกรีตที่จะปูทับด้วยทรายล้างจะต้องสะอาด ปราศจากคราบไขมันและสิ่งแปลกปลอมอื่น ๆ และราดน้ํา
จนเปียกชุ่มอิ่มตัวดีแล้ว จัดวางไม้แบ่งแนว จัดจุดระดับให้ถูกต้องตามที่ปรากฏในแบบรูปและรายการละเอียด
หรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นชอบ หากพื้นคอนกรีตมิได้เตรียมทําผิวหยาบไว้ให้ใช้ปูนซีเมนต์
ผสมน้ําพอขัน ละเลงให้ทั่วผิวหน้าเสียก่อน เทปูนทรายหนาประมาณ 1 เซนติเมตร ปรับระดับพอเรียบ แล้ว
จึงเทส่วนผสมของทรายล้างให้หนาประมาณ 1.5 เซนติเมตร ลงไปตบให้เรียบและแน่นให้ได้ระดับที่ถูกต้อง
สํ า หรั บ ความหนาของทรายล้ า งส่ ว นที่ เ ป็ น บั ว เชิ ง ผนั ง ต้ อ งทํ า ให้ มี ค วามหนาอย่ า งน้ อ ย
1 เซนติเมตร มุมระหว่างพื้น และบัวเชิงผนังให้ทําเป็นรูปโค้ง เมื่อปล่อยให้ส่วนผสมของทรายล้างเริ่มอยู่ตัวแล้ว
ให้ใช้น้ํา และแปรงลูบล้างซีเมนต์ที่คลุมอยู่บริเวณผิวทรายออกให้หมด การล้างครั้งสุดท้ายให้ใช้น้ําซึ่งเป็นน้ํา
สะอาดไม่มีปูนซีเมนต์เจือปน เพื่อป้องกันมิให้ผิวหน้าของทรายล้างมีคราบน้ําปูนเกาะติด

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 40 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

ผู้รับจ้างจะต้องล้างจนแน่ใจว่า เมื่อผิวทรายล้างแห้งดีแล้วจะไม่มีคราบขาวของน้ําปูนติดอยู่ ผิว


ของทรายล้างที่อยู่ใกล้เคียงกันจะต้องมีสี และ Texture ที่เหมือนกัน ลักษณะของพื้นผิวที่ไม่พึงประสงค์จะต้อง
ทุบออก และทําใหม่ผิวทรายล้างจะต้องได้รับการล้างด้วยน้ําสะอาด และขัดด้วยแปลงให้เรียบร้อยก่อนการส่งมอบ
งาน
7.13.5 งานกระเบื้องเซรามิค (Ceramic)
(1) ขอบเขตของงาน
งานในหมวดนี้ รวมถึงปูพื้นกระเบื้องดินเผา การบุผนังกระเบื้องดินเผา การปูบันได และจมูก
บันไดกระเบื้องดินเผาเพื่อให้งานก่อสร้างเป็นไปตามระบุในแบบรูปและรายการละเอียด
(2) วัสดุ
(2.1) ให้ใช้กระเบื้องดินเผาตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 614-2529
และกระเบื้องดินเผาปูพื้น ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 37-2529
(2.2) กระเบื้องดินเผาพื้นเมือง ให้เป็นไปตามที่ระบุในแบบรูป
(2.3) จมูกบันไดให้ใช้จมูกบันไดดินเผา ผลิตโดยบริษัทเดียวกับบริษัทที่ผลิตกระเบื้องดินเผา
(3) ตัวอย่าง
ผู้ รั บจ้ างจะต้ องจั ดส่ งตั วอย่ างกระเบื้ องดิ นเผาให้ คณะกรรมการตรวจรั บพั สดุ เลื อกสี และ
ขนาดก่อน จึงจะใช้ทํางานได้
(4) การปูพื้นกระเบื้องดินเผา
พื้นที่ที่จะปูกระเบื้องจะต้องสะอาดปราศจากฝุ่น ปูน น้ํามัน และวัสดุอย่างอื่น ก่อนปู
กระเบื้องจะต้องล้างพื้นด้วยน้ําสะอาดเสียก่อน การปูกระเบื้องให้ปูทีละแผ่น โดยใช้ปูนทรายที่มีส่วนผสมของ
ปูน 1 ส่วน ต่อทรายหยาบ 3 ส่วน เป็นตัวยึด ปูนทรายที่ใช้ยึดแผ่นกระเบื้องจะต้องแน่นไม่เป็นโพรงเมื่อปู
เสร็จเรียบร้อยแล้ว ในกรณีที่เป็นโพรงจะต้องทําการรื้อออกและทําการปูใหม่
กระเบื้องที่ปูเสร็จเรียบร้อยแล้วจะต้องเรียบได้แนว และระดับ และมีความเอียงลาดตาม
ระบุในแบบรูปและรายการละเอียด กระเบื้องที่ชนกับผนัง ฝาครอบที่ระบายน้ํา หรือขอบต่าง ๆ จะต้องตัดให้
เรียบร้อยสม่ําเสมอ พื้นที่ปูกระเบื้องแล้วจะต้องทิ้งให้แห้งโดยไม่ถูกกระทบกระเทือนหรือรับน้ําหนักเป็นเวลา
48 ชั่วโมง จึงล้างทําความสะอาด และอุดรอยต่อของกระเบื้องด้วยซีเมนต์ให้เรียบร้อย
(5) การทําความสะอาด
ภายหลังปูกระเบื้องเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะต้องทําความสะอาดคราบปูนที่ติดบนแผ่น
กระเบื้องจะต้องล้างขัดออกให้หมดแล้วเคลือบขัดด้วยขี้ผึ้ง 2 ครั้ง

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 41 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

7.13.6 งานกระเบื้องโมเสก
(1) ขอบเขตของงาน
งานในหมวดนี้ รวมถึงงานปูพื้นกระเบื้องโมเสก บุผนังกระเบื้องโมเสกและงานบุกระเบื้อง
โมเสกเคาน์เตอร์ เพื่อให้งานก่อสร้างเป็นไปตามระบุในแบบรูป
(2) วัสดุโมเสก
ให้ใช้กระเบื้องโมเสกชนิดเคลือบตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเลขที่ มอก. 38-2531
(3) ตัวอย่าง
ผู้รับจ้างจะต้องส่งตัวอย่างกระเบื้องโมเสกให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเลือกสีและขนาดก่อน
จึงทํางานกระเบื้องโมเสกได้
(4) การปูกระเบื้องโมเสก
(4.1) การปูพื้นกระเบื้องโมเสก พื้นที่จะปูกระเบื้องโมเสกจะต้องสะอาดปราศจากเศษฝุ่น
ปูน น้ํามัน และวัสดุอย่างอื่น ก่อนปูกระเบื้องโมเสกจะต้องทําระดับด้วยปูนทรายเสียก่อน การทําระดับ
จะต้องให้ความเอียงลาดตามระบุในแบบ ปูนทรายที่ใช้ทําระดับจะต้องมีส่วนผสมของซีเมนต์ 1 ส่วนต่อทราย
หยาบ 3 ส่วน ภายหลังจากทําระดับแล้วจะต้องรดน้ําให้ทั่วไม่ต่ํากว่า 48 ชั่วโมง และทิ้งไว้ให้แข็งตัวเป็น
เวลา 3 วัน ภายหลังจากปูนทรายที่ใช้ทําระดับแข็งตัวแล้ว จึงทําการปูพื้นโมเสกได้ ก่อนปูจะต้องล้างพื้นด้วย
น้ําให้สะอาดเสียก่อน การปูให้ใช้ซีเมนต์ขาวเป็นตัวยืด โดยโบกซีเมนต์ขาวซึ่งผสมน้ําเรียบร้อยแล้วให้ทั่วพื้นที่
จะปู แล้วจึงปูกระเบื้องโมเสก การปูจะต้องให้ได้แนวและระดับ กระเบื้องที่ชนกับผนัง ฝาครอบท่อระบาย
น้ํา หรือขอบต่าง ๆ จะต้องตัดให้เรียบร้อย สม่ําเสมอ พื้นที่ปูกระเบื้องแล้วจะต้องทิ้งไว้ให้แห้ง โดยไม่ถูก
กระทบกระเทือน หรือรับน้ําหนักเป็นเวลา 48 ชั่วโมง จึงล้างทําความสะอาดเอากระดาษที่ติดกระเบื้องออก
ให้หมด ซ่อมแซมกระเบื้องแผ่นที่ไม่เรียบร้อย และอุดรอยต่อของกระเบื้องด้วยซีเมนต์ขาวให้เรียบร้อย
(4.2) การปูผนังกระเบื้องโมเสก ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับข้อ (1) ยกเว้นการทําระดับให้
ปฏิบัติตามรายละเอียด หัวข้อ 7.12.1 “การฉาบปูน”
(5) การทําความสะอาด
ภายหลังปูกระเบื้องเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะต้องล้างน้ําทําความสะอาดให้เรียบร้อยและขัด
ด้วยน้ํา 2 ครั้ง สําหรับพื้นปูโมเสก สําหรับผนังปูโมเสกให้ทาด้วยน้ํายาซิลิโคน 1 ครั้ง การทาน้ํายาซิลิโคน
จะต้องทาให้ทั่วทั้งผนัง

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 42 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

7.13.7 งานกระเบื้องยางปูพื้น (Vinyl Floor Tile)


(1) ขอบเขตของงาน
งานในหมวดนี้ รวมถึงการปูพื้นกระเบื้องยาง บัวเชิงผนังเพื่อให้งานก่อสร้างเป็นไปตามระบุใน
แบบรูปและรายการละเอียด
(2) วัสดุ
สีของกระเบื้องยางทั้งหมด จะกําหนดให้ในขณะก่อสร้าง
1) กระเบื้ องยางโดยทั่วไปให้ ใ ช้กระเบื้ องยางขนาดความหนาไม่ น้อยกว่ า 2 มิ ล ลิ เมตร
ผลิตภัณฑ์ภายในประเทศ
2) บัวเชิงผนังให้ใช้ตามแบบรูปกําหนด ถ้าไม่ได้ระบุให้ใช้ไม้เนื้อแข็ง ขนาดไม่ต่ํากว่า 3/4x4 นิ้ว
3) จมูกยางกันลื่น จะต้องเป็นชนิดร่องกันลื่น มีรูปร่างเป็นมุมฉาก ขอบบนสนิทกับพื้น และ
ชั้นบันไดผลิตภายในประเทศ
4) กาวสําหรับปูพื้น จะต้องเป็นชนิดกันน้ํา มีคุณสมบัติตามคําแนะนําของบริษัทผู้ผลิต
กระเบื้องยาง
(3) การปูกระเบื้องยาง
พื้นคอนกรีตที่จะปูกระเบื้องยางทับ จะต้องทําระดับตัวปูนทรายขัดมันเรียบร้อย และทิ้งไว้ให้
แห้งสนิท สะอาดปราศจากฝุ่น น้ํามัน ผิวคอนกรีตที่ขรุขระ จะต้องตกแต่งให้เรียบร้อย การทากาว หรือฟลิ้นโค้ท ให้
ใช้เกรียงชนิดเป็นร่อง และจะต้องให้มีกาว หรือฟลิ้นโค้ทเสมอกันทั่วทั้งท้อง การปูกระเบื้องจะต้องปูให้เรียบ รอยต่อ
ของกระเบื้องจะต้องสนิท มุมชนกันให้เรียบร้อย ภายหลังปูกระเบื้องยาง และเชิงผนังเรียบร้อยแล้วจะต้องเปิดประตู
หน้าต่างให้มีการระบายอากาศพอเพียงเป็นเวลา 48 ชั่วโมง
ห้ามปูกระเบื้องยางจนกว่างานส่วนอื่น ๆ รวมทั้งงานทาสีได้ดําเนินไปแล้วไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
การปูกระเบื้องยางจะต้องใช้ช่างที่ชํานาญทางนี้โดยเฉพาะ และจะต้องปฏิบัติตามคําแนะนําของบริษัทผู้ผลิต
ทุกประการ
(4) การทําความสะอาด
ภายหลังจากปูกระเบื้องยางเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะต้องทําความสะอาด และลงน้ํามันชนิด
แว้กน้ํา อย่างน้อย 2 ครั้ง และขัดด้วยเครื่องให้ขึ้นเงา ห้ามเทน้ําธรรมดา หรือน้ําสบู่เพื่อล้างทันทีโดยเด็ดขาด
7.13.8 การปูพื้นโมเสกไม้ และปูพื้นปาเก้ไม้
(1) ขอบเขตของงาน
งานในหมวดนี้ รวมถึงการปูพื้นโมเสกไม้ปู พื้นปาเก้ไม้และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับงานปูพื้น
โมเสกไม้ปูพื้นปาเก้ไม้ เพื่อให้งานในสัญญาเป็นไปตามระบุในแบบรูปและรายการละเอียด
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 43 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

(2) วัสดุ
(2.1) โมเสกไม้ให้ใช้โมเสกไม้ปูพื้นชนิดหนา 3/4 นิ้ว
(2.2) ปาเก้ไม้ให้ใช้ปาเก้ไม้ปูพื้นชนิดหนา 1 นิ้ว
(2.3) กาวให้ใช้กาวชนิดกันน้ําสําหรับปูพื้นโมเสก หรือปาเก้โดยเฉพาะ
(3) การเตรียมพื้น
พื้นที่จะปูจะต้องทําระดับด้วยปูนทรายขัดมันให้เรียบร้อย ระดับภายหลังปูเสร็จเรียบร้อย
แล้ ว จะต้ อ งเท่ า กั บ ระดั บ พื้ น ตามระบุ ใ นแบบรู ป และรายการละเอี ย ด พื้ น ที่ จ ะปู จ ะต้ อ งแห้ ง สนิ ท สะอาด
ปราศจากฝุ่นละอองและน้ํามัน ผิวคอนกรีตที่ขรุขระจะต้องตกแต่งให้เรียบร้อยห้ามปูจนกว่างานก่อสร้างส่วน
อื่น ๆ ภายในห้องดําเนินไปแล้วไม่น้อยกว่า 90 เปอร์เซ็นต์
(4) การปู
ภายหลังจากเตรียมพื้นเรียบร้อยแล้วให้ทากาวโดยใช้เกรียงชนิดเป็นร่อง และจะต้องมีกาว
เสมอทั่วบริเวณที่จะปูทิ้งไว้กาวแห้งพอสมควรจึงปู รอยต่อชนจะต้องสนิท มุมชนกันให้เรียบร้อย แนวที่ปู
จะต้องขนานกับผนังห้องหรือเป็นไปตามคําแนะนําของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง ซึ่งจะเป็นผู้กําหนดลาย
และแนวต่าง ๆ ของงานปูขณะก่อสร้าง
ภายหลังปูเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะต้องทิ้งให้กาวแห้งสนิทก่อนจึงทําการขัดพื้นด้วยเครื่องการ
ขัดให้ขัดหยาบให้เรียบและได้ระดับก่อนจึงทําการขัดละเอียดอีกครั้ง การปูและการขัดจะต้องปฏิบัติโดยช่าง
ผู้ชํานาญโดยเฉพาะ
(5) การทําความสะอาดและลงน้ํามัน
ภายหลังจากขัดพื้นเรียบร้อยแล้ว จะต้องทําความสะอาด และลงสีเคลือบแข็งตามให้
ปฏิบัติตามรายละเอียดใน หัวข้อ 7.13.12 “การทาสี (Painting)”
7.13.9 ฝ้าเพดาน
(1) ขอบเขตของงาน
งานในหมวดนี้รวมถึง งานติดตั้งฝ้าเพดานบนโครงคร่าว และฝ้าเพดานชนิดอื่น ๆ เพื่อให้
งานก่อสร้างเป็นไปตามรูปแบบรายละเอียด งานที่เกี่ยวข้องกับงานไม้ให้ปฏิบัติตามรายละเอียดใน หัวข้อ 7.11
“งานไม้และงานช่างไม้” งานที่เกี่ยวข้องกับการฉาบปูนให้ปฏิบัติตามรายละเอียดใน หัวข้อ 7.13.1 “การฉาบปูน”
ในรายละเอียดด้านวิศวกรรมบทนี้
(2) รายการทั่วไป
(2.1) ผู้รับจ้างจะต้องตรวจแบบเพิ่มเติมงานระบบไฟฟ้า (Shop Drawing) ระบบปรับ
อากาศ และระบบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานฝ้าเพดาน เพื่อเตรียมโครงสร้างสําหรับยึดดวงโคมและอื่น ๆ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 44 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

(2.2) ในกรณีที่จําเป็นจะต้องเตรียมช่องสําหรับเปิดฝ้าเพดานสําหรับซ่อมแซมระบบท่อ
หรือ ฯลฯ ผู้รับจ้างจะต้องทําช่องสําหรับเปิดขนาดไม่เล็กกว่า 0.60x0.60 เมตร โดยใช้วัสดุชนิดเดียวกับ
ฝ้าเพดานให้เรียบร้อย
(2.3) ความสูงของฝ้าเพดาน ให้ถือตามระบุในแบบรูปและรายการละเอียด แต่อาจ
เปลี่ยนแปลงระดับได้เล็กน้อยตามคําแนะนําของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(3) วัสดุ
(3.1) ฝ้าเพดาน ให้ใช้ฝ้าตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด ถ้าไม่ได้ระบุไว้ให้ใช้
ฝ้าเพดานยิบซั่มบอร์ดชนิดมีฉนวนกันความร้อน หนา 9 มิลลิเมตร ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่
มอก. 219-2552
(3.2) ฝ้าไม้เนื้อแข็ง ให้ใช้ไม้เนื้อแข็งตามที่ระบุในแบบรูปและรายการละเอียด
(3.3) โครงคร่าวฝ้าเพดาน ให้ใช้ตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด ถ้าไม่ได้
ระบุไว้ให้ใช้โครงคร่าวอลูมิเนียมเป็นโครงคร่าว T-BAR ชนิดแขวนด้วยลวดอาบสังกะสีได้ ขนาดระยะของโครง
คร่าว 0.60x0.60 เมตร T-BAR ขนาด 1x1 ½ นิ้ว หนา 1.2 มิลลิเมตร
(3.4) โครงคร่าวไม้จะต้องหาน้ํายาป้องกันเนื้อไม้
(4) การติดตั้ง
การติดตั้งโครงคร่าวเหล็ก หรือโครงคร่าวอะลูมิเนียม T-BAR ต้องเป็นไปตามระบุในแบบ
รูปและรายการละเอียด ฝ้าเพดานที่ติดตั้งเสร็จเรียบร้อยแล้วต้องแข็งแรง เรียบร้อย ได้แนวได้ฉาก และได้
ระดับความสูงของฝ้าเพดานจะต้องเป็นไปตามระบุในแบบรูปและรายการละเอียด การติดตั้งฝ้าเพดานจะต้อง
กระทําด้วยความปราณีต โดยช่างที่ชํานาญโดยเฉพาะ ก่อนติดตั้งผู้รับจ้างจะต้องส่งแบบเพิ่มเติม (Shop
Drawings) แสดงแนวฝ้า และระดับที่จะติดตั้งให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเพื่อปรับระยะต่าง ๆ ได้
ตามความเหมาะสม และได้รับอนุมัติก่อนจึงทําการติดตั้งได้ ในกรณีใช้คร่าวไม้ให้ใช้ไม้ตามบัญชีรายชื่อไม้ ให้
ปฏิบัติตามรายละเอียดใน หัวข้อ 7.11.3 (1) “ชนิดเนื้อไม้”
7.13.10 การก่อสร้างผนังโครงเหล็กชุบสังกะสี
(1) ขอบเขตของงาน
ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาวัสดุ แรงงาน และอุปกรณ์จําเป็นเพื่อทําการก่อสร้างงานก่อผนัง
(2) วัสดุ
ให้ใช้ตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด ถ้าไม่ได้ระบุไว้ให้ใช้ ไม้อัดหนา 4
มิลลิเมตร ตีสองด้านคร่าวไม้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 45 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

(3) การประกอบติดตั้ง
โครงคร่าวจะต้องตั้งได้ฉาก และดิ่ง การยึดติดพื้นคอนกรีตจะต้องใช้ตะปูเกลียวปล่อย
พร้อมพุกโลหะ ส่วนการยึดติดผนัง หรือพื้นไม้จะต้องใช้ตะปูเกลียวปล่อย ชนิดหัวเรียบ รอยต่อของผนังให้
เป็นไปตามที่ระบุในแบบและรายการละเอียด
การทําความสะอาดภายหลังการติดตั้งโครง และปรับวัสดุผนังเรียบร้อยแล้วต้องใช้กระดาษทรายขัด
รอยต่อให้เรียบตามกําหนดพร้อมทาสี หรือทําผิวเคลือบอื่น ๆ ตามที่ระบุในแบบรูป
7.13.11 งานวัสดุพิเศษ
(1) ขอบเขตของงาน
งานในหมวดนี้ รวมถึงการติดตั้ง ติดตั้งโครง และวัสดุบนผนัง หรือเพดานตามที่กําหนด
ในแบบรูปและรายการละเอียดให้เรียบร้อย
(2) วัสดุ
(2.1) มุ้งลวด มุ้งลวดกันแมลงสําหรับอาคารกันแมลง หรือมุ้งลวดภายในบ้าน จะต้อง
เป็นมุ้งลวดตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 313-2522 มีกรอบอะลูมิเนียม โดยรอบ
(2.2) ลวดตาข่ า ยกั น นกและตะแกรงเหล็ ก ระบายลมใต้ ช ายคา ใช้ ต ะแกรงเหล็กตา
สี่เหลี่ยม ขนาดความกว้างของตาไม่เกิน 6 มิลลิเมตร หรือ 1/4 นิ้ว
(3) การติดตั้ง
การติดตั้งมุ้งลวดอะลูมิเนียม ให้ติดตั้งมุ้งลวดอะลูมิเนียมกับกรอบอะลูมิเนียมติดบานพับ
ชนิดถอดล้างได้ ยึดบานปิดเปิดด้วยปุ่มพลาสติก ซึ่งยึดติดโครงเหล็กหรือไม้ด้วยตะปูเกลียว ส่วนการติดตั้ง
ลวดตาข่ายเหล็ก จะต้องทําการติดตั้งลวดตาข่ายกับโครงในพื้นราบเชื่อมโครงเหล็กกับลวดตาข่ายทุกจุดที่ลวด
ตาช่วยติดกับโครงเหล็กและให้ยึดโครงตาข่ายด้วยเกลียวปล่อยกันสนิมสามารถถอดได้
7.13.12 การทาสี (Painting)
(1) ขอบเขตของงาน
งานการทาสีนี้ รวมถึงงานทาสี ทาเคลือบผิวผนัง ฝ้าเพดานโครงเหล็ก ท้องคานและ
ท้องพื้น ซึ่งกําหนดให้ตามชนิด และประเภทของวัสดุที่ต้องหาโดยทาทุกส่วนที่มองเห็นด้วยตา โครงเหล็กที่
ไม่ได้หุ้มด้วยปูน คอนกรีต หรือไม่ได้ชุบสังกะสี ต้องทาสีกันสนิมก่อนทําการติดตั้ง รวมทั้งงานอื่น ๆ ที่
เกี่ยวกับงานการทาสี เพื่อให้การก่อสร้างเป็นไปตามแบบรูป
(2) รายการทั่วไป
สีที่ใช้ให้ใช้สีผลิตในประเทศ มีคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุต สาหกรรมตามรายการ
ข้างล่างนี้ถ้าไม่มี มอก. หรือไม่มีบริษัทผู้ผลิตตาม มอก. ให้ใช้ตามที่กําหนดในแบบรูป สีที่ส่งมาในบริเวณ
ที่ก่อสร้างจะต้องอยู่ในภาชนะที่ไม่ชํารุด/ตราผนึก และเครื่องหมายของบริษัทผู้ผลิตต้องอยู่ในสภาพที่ดีไม่

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 46 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

ชํารุดเสียหาย เครื่องหมายแสดงคุณภาพของสีจะต้องมีติดอยู่อย่างครบถ้วน ไม่อนุญาตให้ใช้สีซึ่งมีอายุการ


ผลิตมานานมากกว่า 3 (สาม) เดือน
ผู้รับจ้างจะต้องทํานั่งร้านสําหรับการทาสีให้แข็งแรง และปลอดภัยเพียงพอสําหรับการ
ทาสี และเป็นไปตามข้อกําหนด หรือเทศบัญญัติ ห้ามมิให้โยงยึดนั่งร้านกับวงกบประตูหน้าต่าง และพื้นซึ่งได้
ทําวัสดุปูพื้นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
(3) วัสดุ
(3.1) สีรองพื้น ให้ใช้ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 328-2551 และ
มอก. 357-2551
(3.2) สีทั่วไป
(ก) สีน้ํามันทาเหล็ก และทาไม้ให้ใช้ตามที่กําหนดในแบบรูป ทาผิวหนา 2 ชั้น
(ข) สีทาภายนอกบนพื้นผิวปูนและเพดานภายนอก ให้ใช้สีพลาสติกชนิดทาภายนอก
ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 272-2549 ทาผิวหนา 2 ชั้น
(ค) สีทาภายในบนพื้นผิวปูน และเพดานภายในให้ใช้ตามที่กําหนดในแบบรูปและ
รายการละเอียด ทาผิวหนา 2 ชั้น
(ง) สีทาพื้น พื้นไม้ที่ต้องการโชว์เนื้อไม้ ให้ใช้น้ํามันเคลือบแข็งทําจากโพลี่ยูริเทนเรซิ่น
2 ชั้น
(จ) สี ซี เ มนต์ ทาบนพื้ น ผิ ว ปู น ทั้ ง ภายนอก และภายใน ให้ ใ ช้ ต ามมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 469-2526
(3.3) สีพิเศษ สําหรับทาผนังห้องน้ํา ให้ใช้พิเศษชนิดมีส่วนผสมของ อีพอกซี ทาเคลือบ
ผนังห้องน้ํา 3 ครั้ง โดยทารองพื้นด้วย รองพื้นของสีอีฟอกซี ก่อน 2 ครั้ง
(3.4) สีที่จะใช้ทาสิ่งก่อสร้าง ส่วนที่สัมผัสกับน้ํา หรือของเหลวอื่น ซึ่งใช้ผลิตน้ําประปา
สําหรับดื่มกินจะต้องเป็นสีที่ไม่เป็นพิษ เมื่อแห้งแล้วไม่ละลายน้ํา มีหลักฐานที่แสดงว่าใช้สําหรับทาภาชนะเก็บ
น้ําดื่มได้ให้ใช้สีเคลือบ อีฟอกซี ทาทับ 3 ครั้ง โดยทารองพื้นด้วยรองพื้นของสี อีฟอกซี ก่อน 2 ครั้ง
(3.5) สีผสมซีเมนต์ ให้ใช้สีฝุ่นซีเมนต์ขาว ปรับหน้าเรียบตามกําหนดในแบบรูปและ
รายการละเอียด
(4) การเตรียมผิวที่จะทาสี
ผิวที่จะทาสีทั้งหมดจะต้องเรียบ สะอาด ปราศจากฝุ่น น้ํามันและขี้ปูนจะต้องแห้งสนิท
จึงจะทําการทาสีได้ ไม้ที่จะทาสีจะต้องอุดรูและขัดด้วยกระดาษทรายให้เรียบร้อย
(4.1) พื้นผิวทุกชนิดจะต้องสะอาด ปราศจากสิ่งแปลกปลอม การทําความสะอาดด้วยน้ํา
สารละลายขัดด้วยแปรงลวด หรือการพ่นด้วยทราย เป็นสิ่งที่จะต้องทําให้ถูกต้องตามชนิด และสภาพของ
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 47 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

พื้นผิวต่าง ๆ และหลังจากนั้นจะต้องได้รับการเช็ด ถู หรือกวาดให้แห้ง และสะอาดปราศจากฝุ่น และ


ความชื้น มือจับประตูหน้าต่าง กลอน บานพับ ฯลฯ สวิทซ์/ปลั๊ก หรือส่วนประกอบอื่น ๆ ที่มิจําเป็นต้อง
ทาสี ให้ถอดออกหรือปิดบังด้วย Tape และกระดาษที่เหมาะสมด้วยความเรียบร้อย
(4.2) ผิวโลหะ จะต้องปราศจากคราบไขมัน สนิม หรือส่วนที่หลุดร่อน และ Oxide
ที่เกิดจากการเชื่อม มุมคม หรือปุ่มปมต่าง ๆ จะต้องได้รับการขัดจนเรียบ และให้ทาด้วยสีรองพื้นในทันทีที่
ผิวโลหะได้รับความสะอาดเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
(4.3) ผิวไม้ จะต้องขัดด้วยกระดาษทรายจนเรียบ จะต้องไม่ทาสีในขณะที่ไม้ยังเปียก
หรือมีความชื้นมาก ตําหนิต่าง ๆ จะต้องได้รับการซ่อม และอุด ยางที่ปรากฏอยู่บนไม้จะต้องเช็ดถูออกจน
หมด หลังจากที่ได้ลงสีรองพื้นแล้ว ตําหนิต่าง ๆ ที่ยังเห็นปรากฏชัดเจนจะต้องได้รับการแก้ไขก่อนที่จะทาสีช้นั
ต่อไป
(4.4) ผิวคอนกรีต และ ผิวฉาบปูน จะต้องปล่อยให้แห้งสนิทดี ผิวของคอนกรีตจะต้อง
ปราศจากฝุ่น คราบน้ํามันหรือสารเคมีอื่น ๆ ที่ใช้ในการทาแบบหล่อ หรือบ่มคอนกรีต คราบเชื้อรา หรือ
ตะไคร่ จะต้องล้าง และขัดด้วยสารเคมีจนสะอาด
(5) กรรมวิธีในการทาสี
ก่อนที่จะลงมือทาสี ผู้รับจ้าง จะต้องแจ้งให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างทราบ และ
ทําการตรวจพื้นผิวต่าง ๆ ที่จะทาสี เมื่อผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างอนุมัติแล้วจึงจะลงมือทาสีได้ สีที่เหลือ
จากการทา หรือน้ํา/น้ํามันที่ใช้ในการล้างแปรง และภาชนะทาสี ห้ามเททิ้งลงในท่อน้ําทิ้ง หรือท่อระบายน้ํา
อย่างเด็ดขาด
ผิ ว ของสี ที่ ท าเสร็ จ เรี ย บร้ อ ย จะต้ อ งไม่ ป รากฏรอยแปรง หรื อ ก้ อ นขรุ ข ระของเนื้อสี
ส่วนบน ส่วนล่าง และรูกลอน ของประตูและหน้าต่างจะต้องได้รับการทาสีเช่นเดียวกัน ความเสียหาย และ
ความบกพร่องซึ่งเกิดจากการใช้วัสดุ หรือแรงงานที่ไม่ถูกต้อง จะต้องได้รับการแก้ไข และทาสีใหม่ให้กลมกลืน
กันกับสีเดิม ผู้รับจ้างจะต้องดูแลรักษาพื้นผิวที่ได้รับการทาสีแล้วให้อยู่ในสภาพดี และสะอาด ตลอดเวลา
จนกว่าจะมีการรับ / ส่งมอบงานงวดสุดท้าย
(5.1) การทาสีทั้งหมด ให้ปฏิบัติตามคําแนะนําของบริษัทผู้ผลิตจําหน่ายทุกประการ และ
ให้ถือปฏิบัติไม่ต่ํากว่ารายการทาสี ดังนี้
(ก) ผิวผนังอิฐโชว์แนว ให้ทาด้วยสีกันตะไคร่ จํานวน 3 ชั้น
(ข) ผิวฉาบปูน และผิวผนังซีเมนต์บล็อกที่ระบุให้ทาสี ให้ทาด้วยสีรองพื้น 1 ครั้ง และทา
ทับหน้าด้วยสีทั่วไป ให้ปฏิบัติตามรายละเอียดใน หัวข้อ 7.13.12 (3.3) “สีพิเศษ” อีก 2 ครั้ง
(ค) ไม้ที ่ร ะบุใ ห้ท าสี ให้ท าสีร องพื ้น แล้ว ทาทับ ด้ว ยสีน้ํ า มัน ให้ ป ฏิ บั ติ ต าม
รายละเอียดใน หัวข้อ 7.13.12 (3.2) “สีทั่วไป” อีก 2 ครั้ง

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 48 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

(ง) เหล็กที่จะทาสีให้ทารองพื้นด้วยสีกันสนิม 1 ครั้ง และทาทับหน้าด้วยสีน้ํามันอีก


2 ครั้ง ยกเว้น เหล็กที่ระบุให้ทาสีอีพอกซี ให้ขัดสนิมออกให้หมดแล้วรองพื้นด้วย รองพื้นของสีอีพอกซี
2 ครั้ง แล้วทาทับด้วยสีอีฟอกซี อีก 2 ครั้ง
(จ) ไม้ที่ต้องการโชว์เนื้อไม้ ให้ทาทับหน้าด้วยน้ํามันเคลือบแข็งชนิดโพลี่ยูริเพน 2 ครั้ง
ไม้ที่ต้องการย้อมสี ให้ทําการย้อมสีก่อน จึงทาน้ํามันได้ สีที่ย้อมจะต้องเรียบสม่ําเสมอ
(5.2) การทาสีทับหน้าแต่ละครั้ง จะต้องให้สีที่ทาแล้วแต่ละครั้งแห้งสนิทดีก่อนที่จะทา
ทับหน้าครั้งต่อไปตามข้อกําหนดของบริษัทผู้ผลิตสี
(5.3) ห้ามทาสีในขณะที่มีความชื้นสูง
(5.4) ขณะทาสีจะต้องให้มีการระบายอากาศที่เพียงพอ ภายหลังที่ทาเสร็จเรียบร้อยแล้ว
จะต้องเปิดประตูหน้าต่าง เพื่อให้มีการระบายอากาศเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 24 ชั่วโมง
(5.5) การทาสีทั้งหมด ให้ปฏิบัติตามคําแนะนําของบริษัทผู้ผลิตจําหน่ายทุกประการ
(5.6) งานฝีมือ
(ก) งานทาสีทั้งหมดจะต้องกระทําโดยช่างฝีมือดีสําหรับทาสีโดยเฉพาะ
(ข) สีที่ทาเสร็จเรียบร้อยแล้วจะต้องเรียบ ไม่เห็นรอยแปรงและจะต้องมีสีสม่ําเสมอ
กันทั้งหมด
(ค) ผิวหน้าของไม้ที่ทาด้วยน้ํามันวานิช จะต้องเรียบเป็นเงาโดยสม่ําเสมอทั้งแผ่น
(ง) สีที่ทาไว้ไม่เรียบร้อยจะต้องทาทับหน้าใหม่ โดยการทาทับหน้าทั้งแผ่น (ห้ามทา
ทับหน้าเฉพาะจุดที่ไม่เรียบร้อย)
7.14 งานมุงหลังคา
(1) ขอบเขตของงาน
งานในหมวดนี้ รวมถึงงานติดตั้งหลังคา ฉนวนกันความร้อน รางน้ํา และช่องระบายอากาศ
(2) บทกําหนดทั่วไป
ถ้ า แบบรู ป และรายการละเอี ย ดมิ ไ ด้ กํ า หนดไว้ เ ป็ น อย่ า งอื่ น ให้ มุ ง หลั ง คาด้ ว ยวั ส ดุ ที่ มี คุ ณ ภาพ
ให้ปฏิบัติตามรายละเอียดใน หัวข้อ 7.14 (3.4) “แผ่นเหล็กอาบสังกะสี”
(3) วัสดุ
(3.1) กระเบื้องใยหินแผ่นลอน
(ก) ลอนห่าง (ลอนคู่) ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 79-2529

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 49 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

(ข) ลอนลูกฟูก (ลอนเล็กและลอนใหญ่) ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่


มอก. 18-2529
(ค) กระเบื้องราง ให้ใช้ตามแบบรูปและรายการละเอียดกําหนด ถ้าไม่ระบุไว้ให้ใช้
กระเบื้องรางของบริษัทกระเบื้องกระดาษไทยจํากัด หรือเทียบเท่า
(3.2) กระเบื้ อ งคอนกรี ต มุ ง หลั ง คา ให้ ใ ช้ ต ามมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม เลขที่
มอก. 535-2540
(3.3) กระเบื้ อ งดิ น เผามุ ง หลั ง คา ให้ ใ ช้ ต ามมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม เลขที่
มอก. 158-2518
(3.4) แผ่นเหล็กอาบสังกะสี ให้ใช้แผ่นเหล็กอาบสังกะสีตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
เลขที่ มอก. 50-2548
- ลูกฟูกลอนเล็ก หนาไม่น้อยกว่า 0.30 มิลลิเมตร (เบอร์ 30)
- ลูกฟูกลอนใหญ่ หนาไม่น้อยกว่า 0.30 มิลลิเมตร (เบอร์ 30)
- ลอนเหลี่ยมและลูกฟูกลอนเล็กเคลือบสี หนาไม่น้อยกว่า 0.30 มิลลิเมตร (เบอร์ 30)
- แผ่นเรียบ ใช้ความหนาไม่น้อยกว่า 0.60 มิลลิเมตร (เบอร์ 24)
(3.5) หลังคาชนิดอื่น ๆ ให้ใช้วัสดุตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด
(3.6) ฉนวนกันความร้อน ให้ใช้วัสดุตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด
(4) การมุงหลังคา
(4.1) กระเบื้องใยหินแผ่นลอนชนิดต่าง ๆ ให้มุงซ้อนกันไม่ต่ํากว่า 200 มิลลิเมตร บนลอน
จะต้องยึดด้วยตะปูเกลียวอาบสังกะสี ผลิตขึ้นสําหรับมุงกระเบื้องชนิดนี้โดยเฉพาะ แผ่นละ 2 ชุด ห้ามมุงด้วย
ขอยึดโดยเด็ดขาด ก่อนยึดด้วยตะปูเกลียว ต้องเจาะรูกระเบื้องโดยใช้สว่านเจาะนําก่อนทุกครั้ง ห้ามเจาะด้วยการ
ตอกโดยเด็ดขาด ตะปูเกลียวที่ยึดกระเบื้องต้องมีความยาวที่เหมาะสมไม่สั้นจนเกินไป การขันตะปูยึดกระเบื้อง
ต้องไม่แน่นจนเกินไป เพื่อให้กระเบื้องขยับตัวได้เล็กน้อยเมื่อได้รับความร้อนจากแสงแดด กระเบื้องที่มุงซ้อนกัน
ต้องตัดมุมด้วยเลื่อย หรือเครื่องมืออย่างคม การมุงกระเบื้องในระดับ และแนวเดียวกันให้ลอนคว่ําของกระเบื้อง
ด้านข้างครอบบนลอนหงายตามทิศทางที่ฝนสาด เพื่อป้องกันลมพัดเอาน้ําฝนย้อยเข้ามาตามแนวรอยต่อระหว่าง
กระเบื้องด้านข้าง ครอบสันกระเบื้องและตะเฆ่สันให้ใช้ครอบมาตรฐานที่เหมาะสม กับความลาดชันของหลังคา
นั้น ๆ ในกรณีที่หลังคาชนกับกําแพงให้ก่อคานทับหลังคอนกรีตเสริมเหล็กยื่นคลุมกระเบื้องจนน้ําฝนไม่อาจไหล
ย้อยเกิดรั่วซึมได้ ถ้าชนกับผนังไม้ให้ใช้แผ่นเหล็กอาบสังกะสีหนา 0.60 มิลลิเมตร (เบอร์ 24) สอดใต้ผนังยื่น
ปิดลอนกระเบื้องให้เรียบร้อย
(4.2) กระเบื้องให้ตัดคอนกรีต และกระเบื้องดินเผาชนิดต่าง ๆ ให้มุงตามวิธีการของผู้ผลิต
กระเบื้องส่วนที่จําเป็นต้องตัดด้วยเครื่องตัดอย่างประณีต ครอบกระเบื้อง และตะเฆ่สันใช้ของที่ผลิตขึ้น สําหรับ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 50 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

กระเบื้องชนิดนี้โดยเฉพาะแล้วยารอยต่อให้เรียบร้อยด้วยปูนซีเมนต์ผสมทราย และผสมสีให้กลมกลืนกับสีของ
กระเบื้อง
(4.3) แผ่นเหล็กอาบสังกะสี หรืออลูมิเนียม หรือแผ่นโปร่งแสง แผ่นลอน ให้มุงซ้อนกันไม่ต่ํากว่า
200 มิลลิเมตร บนลอนยึดด้วยตะปูหัวโตชนิดที่ผลิตขึ้นสําหรับแผ่นนี้โดยเฉพาะการมุงหลังคาให้ปฏิบัติทํานองเดียวกับ
กระเบื้องใยหินแผ่นลอน
(4.4) หลังคาชนิดอื่น ๆ ให้ปฏิบัติตามแบบรูปและรายการละเอียด
(5) รางน้ํา
ให้ดําเนินการตามรูปแบบและรายการละเอียด หรือแบบเพิ่มเติม (Shop Drawing) โดยมีขนาด
ใหญ่พอที่จะรับปริมาณน้ําฝนได้ตามขนาดของหลังคา ทําด้วยแผ่นเหล็กอาบสังกะสี ขนาดไม่บางกว่า 0.60 มิลลิเมตร
(เบอร์ 24) หรือเหล็กไร้สนิม ขนาดไม่บางกว่า 0.50 มิลลิเมตร (เบอร์ 26) หรือแผ่นอลูมิเนียมขนาด 0.025 นิ้ว
หรือแผ่นทองแดงขนาดไม่น้อยกว่า 16 ออนซ์ การต่อระหว่างแผ่นให้งอแผ่นทับกันแล้วเชื่อม หรือบัดกรีให้
เรียบร้อย ความลาดของรางน้ํา ประมาณ 1 ต่อ 200 ลาดลงสู่ท่อระบายน้ํา เหล็กยึดรางน้ําต้องแข็งแรง และ
ถี่ห่างเหมาะสม ถ้าเป็นรางน้ําชนิดติดลอยตัว เหล็กยึดต้องเป็นเหล็กอาบสังกะสีด้วย รางระบายน้ําที่มีความ
ยาวเกิน 18 เมตรขึ้นไป ให้จัดทํารอยต่อป้องกันการยืดหดของรางน้ํา อันเนื่องจากอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงด้วย
การจัดทํารอยต่อนี้ควรจัดทําบริเวณที่สูงสุดของรางน้ํา
กรณีที่ใช้รางน้ําสําเร็จรูป พีวีซี ให้ปฏิบัติตามวิธีการของผู้ผลิต กรณีที่เป็นรางน้ําคอนกรีต
เสริมเหล็กให้ฉาบปูนซีเมนต์ผสมน้ํายากันซึมขัดมันภายในให้เรียบร้อย
(6) ตะเฆ่ราง
ใช้วัสดุขนาดและชนิดเดียวกับรางน้ําสอดใต้แผ่นกระเบื้องด้านข้าง หรือรอยต่อระหว่าง
แผ่นไม้น้อยกว่าข้างละ 0.30 เมตร รายละเอียดอื่น ๆ ให้ปฏิบัติทํานองเดียวกับรางน้ํา การตอกตะปูยึดให้
ตอกที่ด้านริมของแผ่นโลหะ ห้ามตอกกลางตะเฆ่รางโดยเด็ดขาด ขนาดของตะเฆ่รางจะต้องมีขนาดใหญ่
พอที่จะรับปริมาณน้ําฝนของหลังคานั้น ๆ ได้
(7) ช่องระบายอากาศ
ช่องระบายความร้ อนและอากาศใต้หลั งคาให้จัดทําตามแบบรูปและรายการละเอียด
ภายในให้กรุด้วยลวดตาข่ายเหล็กอาบสังกะสี ชนิดตาถี่ เพื่อป้องกันนก ค้างคาว และแมลงเข้าอาศัยอยู่ใน
ช่องหลังคา
7.15 งานสุขภัณฑ์
(1) ขอบเขตของงาน
งานในหมวดนี้รวมถึงงานติดตั้งโถส้วม โถปัสสาวะ อ่างทั่วไป และอุปกรณ์ งานติดตั้งราวแขวนผ้า
ขอแขวนเสื้อ ที่ใส่สบู่ ที่ใส่กระดาษชําระ หิ้งวางของ กระจกเงา ตะแกรงกันผง และฝักบัว

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 51 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

(2) บทกําหนดทั่วไป
ให้ยึดถือหลักเกณฑ์และเงื่อนไขภายใต้วัตถุประสงค์และข้อกําหนดที่ได้ระบุในแบบรูปและรายการ
ละเอียด และจะต้องดําเนินการก่อสร้างให้งานเสร็จเรียบร้อยสมบูรณ์
(3) วัสดุ
ถ้าไม่ได้ระบุในแบบรูปและรายการละเอียด ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ทั้งหมดเป็นผลิตภัณฑ์ภายในประเทศ
พร้อมอุปกรณ์ตามผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ครบชุด ซึ่งจะกําหนดโดยผู้ว่าจ้าง
(3.1) ส้วมนั่งยอง และนั่งราบพร้อมหม้อน้ํา หรือ Flush Valve เป็นส้วมนั่งยอง และนั่ง
ราบชนิด Porcelain ให้กับหม้อน้ํา หรือ Flush Valve
(3.2) ส้วมนั่งยองชนิดตักราด เป็นส้วมนั่งยองฐานสูงมีที่เก็บน้ําแยกต่างหากตามแบบรูปและ
รายการละเอียด
(3.3) ที่ปัสสาวะขยายพร้อม Flush Valve เป็นที่ปัสสาวะชนิด Porcelain แขวนติดผนัง
(3.4) อ่างล้างหน้าชนิด Porcelain เป็นอ่างขนาดไม่เล็กกว่า 17x20 นิ้ว คอห่านกันเหม็น
โลหะซุบโครเมี่ยมชนิดถอดล้างได้ ผลิตภัณฑ์เดียวกับอ่างล้างหน้า
(3.5) ฝักบัวก้านแข็งโครเมี่ยม Ø 1/2 นิ้ว
(3.6) ราวแขวนผ้า ให้ใช้ราวแขวนผ้าโลหะตามแบบรูป ยาวไม่น้อยกว่า 0.60 เมตร
(3.7) ขอแขวนเสื้อ ให้ใช้ขอแขวนเสื้อโลหะชุบโครเมี่ยม ชนิด 2 ขอ
(3.8) ที่ใส่สบู่กระเบื้องเคลือบสีฝังในผนัง ขนาด 4x8 นิ้ว
(3.9) ที่ใส่กระดาษชําระ ให้ใช้ที่ใส่กระดาษชําระกระเบื้องเคลือบสี ฝังในผนังขนาด 6x8 นิ้ว
(3.10) หิ้งวางของ ให้ใช้หิ้งวางของพลาสติก
(3.11) กระจกเงา ให้ใช้กระจกเงาอาบปรอทอย่างดี ไม่เป็นคลื่นลอน หนา 1/4 นิ้ว กรอบ
อลูมิเนียมฉาก 1/2 นิ้ว x 1/2 นิ้ว โดยรอบด้านหลังบุไม้อัดยาง 10 มิลลิเมตร ยึดแผ่นกระจกให้ติดตายกับผนัง
ปรับระดับไม่ได้
12) ตะแกรงกันผง ให้ใช้ตะแกรงเหล็กชุบโครเมี่ยม ขนาดไม่ต่ํากว่า 2 นิ้ว
(4) การติดตั้งเครื่องสุขภัณฑ์และอุปกรณ์ประกอบในห้องน้ํา
(4.1) ให้ปรับพื้นปูนทรายและปูกระเบื้องพื้นห้องน้ํา โดยให้มีความเอียงลาดให้น้ําไหลลงท่อ
ระบายได้สะดวกและรวดเร็ว พื้นผิวจะต้องเรียบสม่ําเสมอกันตลอด ไม่เป็นแอ่งให้น้ําขังได้ ถ้าทดสอบแล้ว
ปรากฏว่ามีน้ําขังบนพื้นเป็นแอ่ง ผู้รับจ้างจะต้องรีบจัดการแก้ไขให้เรียบร้อย

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 52 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

(4.2) กระเบื้องบุผนัง ให้บุให้ได้แนวตั้งและแนวนอน ผิวหน้าจะต้องเรียบเสมอกันตลอด


การใส่กาบกล้วย บัวหรือมุมโค้งต่าง ๆ จะต้องเรียบร้อยไม่มีส่วนหนึ่งส่วนใดยื่นออกหรือหดเข้าไป
(4.3) การติ ดตั้งเดินท่อน้ํ าจะต้องทําไว้ล่วงหน้ า ตําแหน่งท่ อที่ โผล่เพื่ อต่ อเข้ากั บเครื่อง
สุขภัณฑ์จะต้องได้ระยะตามที่บริษัทผู้ผลิตแนะนําไว้
(4.4) การยึ ดเครื่ องสุ ขภั ณฑ์ เข้ ากั บผนั งหรื อพื้ น ให้ ยึ ดด้ วยลู กเบ่ ง หรื อ พุ ก ตามกรรมวิ ธี
บริษัทผู้ผลิต
(4.5) การยาแนวเครื่องสุขภัณฑ์เข้ากับพื้นให้ยาด้วยปูนซีเมนต์ขาวกับผนังให้ใช้ Caulking
Compound สีขาวทั้งหมด
(4.6) ท่อต่อสายอ่อนที่ต่อจากท่อประปาเข้าสุขภัณฑ์ ให้ใช้สายอ่อนโลหะซุบโครเมี่ยม
(4.7) เฉพาะเครื่องสุขภัณฑ์ที่ไม่ได้ใช้ระบบ Flush Valve ให้มีประตูน้ํา Ø1/2 นิ้ว สําหรับ
ปิด-เปิดน้ํา ก่อนเข้าเครื่องสุขภัณฑ์ทุกชุด
(4.8) ก่อนที่จะส่งมอบงาน ให้ทําความสะอาดกระเบื้องและสุขภัณฑ์ภายในห้องน้ําทั้งหมด
จนปราศจากเศษปูนหรือคราบสกปรก ทิ้งให้แห้งและลง Wax ขัดจนเรียบร้อย
7.16 การวัดปริมาณงานและการจ่ายเงิน
7.16.1 งาน Control House ตั้งแต่ระดับ +122.50 ม.(ร.ท.ก.) ขึ้นไป
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงาน Control House ตั้งแต่ระดับ +122.50 ม.
(ร.ท.ก.) ขึ้นไป เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานเสร็จเรียบร้อยครบถ้วนตามรูปร่าง ขนาด แนว ระดับ ตําแหน่ง จํานวน
ตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด และรายการรายละเอียดด้านวิศวกรรรม หรือตามที่คณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นแห่ง ตาม
ขอบเขตที่แบบรูปกําหนดไว้ หรือตามปริมาณงานที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ
โดยให้ยึดถือวิธีการวัดของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นแห่ง ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและ
ราคาของสัญญานี้ ซึ่งประกอบด้วยงานจัดหาวัสดุอุปกรณ์ เครื่องจักร เครื่องมือ แรงงาน งานโครงสร้างอาคาร
ทางเดินรอบอาคาร งานผนังและพื้น งานประตูหน้าต่าง งานหลังคา งานทาสี งานระบบไฟฟ้าภายใน
งานระบบประปาและสุขาภิบาล งานสุขภัณฑ์ ค่าติดตั้ง ค่าทดสอบ และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุ
วัตถุประสงค์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 53 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 7 : งานก่อสร้างอาคารและส่วนประกอบอื่น

7.16.2 งานท่อลอดถนนแบบขุด กม.0+039


การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานท่อลอดถนนแบบขุด ตามรายการที่แสดงไว้
ในรายการใบแจ้ ง ปริ ม าณงานและราคาของสั ญ ญานี้ เมื่ อ ผู้ รั บ จ้ า งได้ ทํ า งานเสร็ จ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว ตามที่
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้น
มีหน่วยเป็นแห่ง ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายใน
ขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
เป็นเกณฑ์
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นแห่ง ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและ
ราคาของสัญญานี้ ซึ่งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร-เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ทางลําเลียง
ค่าขนส่ง ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์
7.16.3 งานสูบน้ําระหว่างก่อสร้าง
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานสูบน้ําระหว่างก่อสร้าง ตามรายการที่แสดง
ไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานงานสูบน้ําระหว่างก่อสร้าง ตามที่
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วย
เป็นลูกบาศก์เมตร ตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือ
การวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณ
งานและราคาของสัญญานี้ ซึ่งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร - เครื่องมือ อุปกรณ์ ค่าขนส่ง
ค่าน้ํามันเชื้อเพลิง ค่ากระแสไฟฟ้า ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
7 - 54 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 8 : งานฐานรากและเสาเข็ม

บทที่ 8
งานฐานรากและเสาเข็ม
8.1 ขอบเขตของงาน
ผู้รับจ้างจะต้องทําการก่อสร้างงานฐานรากและเสาเข็มให้เป็นไปตามแบบรูปและรายการละเอียด
และข้อกําหนดในสัญญา งานในบทนี้มีขอบเขตและความสัมพันธ์กับงานโดยแยกประเภทของงานไว้ ดังนี้
(1) งานฐานราก
(2) งานเสาเข็มคอนกรีต
8.2 ก่อนเริ่มดําเนินการก่อสร้างงานฐานราก
ผู้รับจ้างดําเนินการ ดังนี้
(1) ทําการตรวจสอบ Plan และ Profile ของฐานรากบริเวณพื้นที่ก่อสร้างสถานีสูบน้ําตาม
สภาพปัจจุบัน
(2) ตรวจสอบค่าระดับที่จะใช้ในการก่อสร้าง ให้ถ่ายระดับจากหมุดหลักฐานมาไว้ในบริเวณ
ก่อสร้าง ในกรณีที่มีหมุดหลักฐานหลายหมุดจะต้องตรวจระดับและหาความสัมพันธ์ของหมุดต่าง ๆ เหล่านี้
และปรับค่าระดับให้เข้ากันได้
(3) ให้ตรวจสอบ ดําเนินการร่วมกับผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างให้ถูกต้อง และวางแนว
ศูนย์กลางอาคารสถานีสูบน้ําให้ถูกต้องตามแบบรูปและรายการละเอียด
(4) นําข้อมูลที่ได้จากขั้นตอนดังกล่าวข้างต้นมาเปรียบเทียบกับแบบรูปและรายการละเอียด
โดยพิจารณาเกี่ยวกับตําแหน่งของตอม่อว่าเหมาะสมหรือไม่ ถ้าเห็นว่าไม่เหมาะสม อาทิเช่น สั้นเกินไป หรือ
ระยะไม่เหมาะสม เป็นต้น ผู้รับจ้างสามารถปรับให้เหมาะสมกับสภาพจริงในสนามได้ โดยต้องเสนอให้
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนเริ่มดําเนินการ และถ้ามีความแตกต่างใน
สาระสําคัญอย่างมากจะต้องเสนอต่อคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเพื่อพิจารณาอนุมัติก่อน
(5) วัสดุก่อสร้างที่ผู้รับจ้างนํามาใช้ในงานก่อสร้าง ให้เก็บตัวอย่างแล้วนําไปทดสอบคุณสมบัติ
ของวัสดุและตรวจสอบคุณภาพ วิธีเก็บและปริมาณของตัวอย่าง จะต้องเป็นไปตามที่กําหนดในรายละเอียด
ด้านวิศวกรรม บทที่ 4 “งานคอนกรีต”
(6) ตรวจสอบปริมาณของวัสดุก่อสร้างว่า พอเพียงและทันต่อความต้องการของงานหรือไม่
ห้ามผู้รับจ้างนําวัสดุก่อสร้างไปใช้งานก่อนได้รับแจ้งผลของการทดสอบวัสดุว่าสามารถใช้งานได้
(7) ตรวจสอบสภาพ จํานวน และชนิดของเครื่องมือที่จําเป็นต้องใช้ในการก่อสร้างรวมทั้ง
จํานวนแรงงานว่ามีเพียงพอต่อความต้องการของงานหรือไม่
(8) ให้ทําหลักฐานตําแหน่งตอม่อทุกแห่ง พร้อมระดับหลังระหว่างการก่อสร้าง เพื่อสะดวกใน
การตรวจสอบ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
8-1 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 8 : งานฐานรากและเสาเข็ม

ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบต่อการก่อสร้างงานชั่วคราวทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง อาทิเช่น ถนนชั่วคราว


การปรับแต่งดิ น การขุ ดดิ น การระบายน้ํา และอื่น ๆ ผู้ รั บจ้ างจะต้ องจัดทํ าแผนการทํ างานซึ่ งแสดงถึ ง
ระยะเวลาการทํางานรวมทั้งตํ าแหน่งของการทํางานชั่วคราวดังกล่าว เพื่อให้คณะกรรมการตรวจรั บพัสดุ
พิจารณาอนุมัติอย่างน้อย 15 (สิบห้า) วันก่อนเริ่มปฏิบัติงาน
8.3 การดําเนินงานฐานราก
ฐานราก หมายถึ ง ส่ ว นล่ า งสุ ด ของโครงสร้ า งทํ า หน้ า ที่ รั บ น้ํ า หนั ก ทั้ ง หมดของโครงสร้ า งส่ ว นที่
อยู่ข้างบน แบ่ งออกได้ เป็น หลายประเภท ขึ้นอยู่ กับชนิดและชั้ น ของดิ นที่ร องรั บ ฐานรากนั้น อยู่ จั ด เป็ น
กลุ่มใหญ่ ๆ ได้ 2 กลุ่ม ได้แก่ ฐานรากตื้น (Shallow Foundation) และฐานรากลึก (Deep Foundation)
ฐานรากตื้น หมายถึง ฐานรากที่มีความลึกจากระดับดินเท่ากัน หรือน้อยกว่าส่วนกว้างของฐานราก ส่วน
ฐานรากลึก หมายถึง ฐานรากที่มีความลึกจากระดับดินมากกว่าส่วนกว้างของฐานราก
ก่อนเริ่มดําเนินการ ให้ผู้รับจ้างสํารวจและศึกษาทางด้านธรณีวิทยาและอื่น ๆ ที่จําเป็น แล้วกําหนด
ประเภทของฐานรากที่เหมาะสมและเสนอขอความเห็นชอบต่อผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
8.3.1 ฐานรากแผ่ (Spread Footing Foundation)
หมายถึง ฐานรากที่ทําหน้าที่บรรทุกน้ําหนักจากเสา หรือกําแพง ลงยังชั้นดินหรือหิน ซึ่งอยู่
ใต้ฐานรากอย่างปลอดภัยไม่เกินกําลัง หรือความสามารถที่ชั้นดินข้างล่างนั้นจะรับได้ ฐานรากแผ่ทําหน้าที่
ป้องกันไม่ให้อาคารทรุดตัว หรือเอียง และป้องกันไม่ให้แรงลมยกอาคารลอยขึ้นด้วย ระดับของฐานราก
ควรอยู่ระดับที่เนื้อดินจะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงปริมาตรหรือขนาดอีกเนื่องจากน้ําใต้ดิน ก่อนการก่อสร้างฐาน
รากต้องบดอัดดินให้แน่นและปรับระดับให้เรียบเพื่อให้การถ่ายแรงเป็นไปได้อย่างสม่ําเสมอ
ฐานรากแผ่เหมาะสําหรับดินแข็ง ดินปนกรวด หรือหินพืด ให้ดําเนินการ ดังนี้
(1) ให้ดําเนินการ
(1.1) ฐานรากแผ่ แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
(ก) ฐานรากแผ่รับน้ําหนักของอาคารเป็นผืนแผ่นเดียวกัน เรียกว่า ฐานรากแบบแพ
(Raft Foundation) หรือฐานรากแบบเสื่อ (Mat Foundation) หรือฐานรากแบบลอย (Floating Foundation)
(ข) ฐานรากแผ่รับน้ําหนักของอาคารแบบถ่ายน้ําหนักเป็นแห่ง ได้แก่ ฐานรากแบบแยก
(Isolated Footing) เป็นฐานรากรองรับเสากลุ่มหนึ่ง และฐานรากผนัง (Wall Footing) รองรับผนังกําแพง
เป็นแถบยาวตลอด
(1.2) วิธีการก่อสร้าง
(ก) ก่อนเริ่มงานก่อสร้างฐานรากแผ่ ผู้รับจ้างต้องดําเนินการทดสอบเพื่อหากําลัง
แบกทานของดินก่อน โดยให้ทําการทดสอบตาม AASHTO T 235 : “Bearing Capacity of Soil for Static
Load on Spread Footings” และเมื่อได้ผลทดสอบแล้ว ให้ใช้กําลังแบกทานของดินไม่เกินครึ่งหนึ่งของผลที่
ได้จากการทดสอบ
(ข) ในกรณีที่บริเวณที่จะก่อสร้างฐานรากแผ่เป็นหินพืด จะต้องฝังฐานรากให้อยู่ใน
หินพืดลึกไม่น้อยกว่า 0.50 เมตร (วัดตรงที่ตื้นที่สุด) และเพื่อให้ทราบแน่ชัดว่าเป็นหินพืดจริงหรือไม่ โดย

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
8-2 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 8 : งานฐานรากและเสาเข็ม

การพิสูจน์ความต่อเนื่องของหินพืดออกไปจากขอบของฐานรากแผ่ไม่น้อยกว่า 2 เท่าของความกว้างฐานราก
และตรวจสอบความหนาโดยการเจาะรูขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่ต่ํากว่า 25 มิลลิเมตร และลึกไม่น้อยกว่า
2 เมตร โดยฐานรากแผ่หนึ่ง ๆ ต้องเจาะไม่น้อยกว่า 2 รู
(ค) คุณสมบัติของคอนกรีตที่ใช้ในงานฐานรากแผ่ คุณสมบัติของเหล็กเสริมและการ
จัดวางเหล็กเสริม จะต้องเป็นไปตามที่กําหนดในรายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 “งานคอนกรีต”
(ง) แบบหล่อคอนกรีตที่ใช้ให้เป็นไปตามหัวข้อ “แบบหล่อคอนกรีต” จะต้องเป็นไป
ตามที่กําหนดในรายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 4 “งานคอนกรีต”
(จ) ในกรณีที่ฐานรากแผ่มีความหนามาก ผู้รับจ้างต้องเสนอวิธีการและเทคนิคในการ
เทคอนกรีตให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างตรวจสอบและเห็นชอบเป็นลายลักษณ์อักษรก่อน
(2) พื้นดินใต้ฐานรากจะต้องทานน้ําหนักได้ไม่น้อยกว่าที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด
ซึ่งผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นชอบเป็นลายลักษณ์อักษรก่อนที่จะดําเนินงานต่อไป
(3) งานสะพาน ระดับฐานรากกลางน้ําต้องฝังลึกจากท้องคลองอย่างน้อย 2.50 เมตร หรือ
เท่าที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด สําหรับตอม่อริมฝั่งต้องพยายามฝังให้ระดับฐานรากลึกใกล้เคียง
กับตอม่อกลางน้ําที่อยู่ติดกัน เพื่อให้พ้นการกัดเซาะของกระแสน้ําในอนาคต
(4) ในกรณี ที่ ผู้ รั บ จ้ า งไม่ ส ามารถที่ จ ะขุ ด ดิ น ถึ ง ระดั บ ที่ กํ า หนดได้ ให้ ร ายงานเหตุ ผ ลต่ อ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเพื่อพิจารณา ในกรณีที่เห็นว่าจะต้องทําการทดสอบน้ําหนักตามรายการในสัญญา
ผู้รับจ้างจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น
(5) ให้แสดงลักษณะดินแต่ละชั้นของหลุมฐานรากทุกตอม่อที่ตรวจพบในการก่อสร้าง
(6) ให้จดระดับฐานรากที่ก่อสร้างทุกตอม่อลงในแบบรูปและรายการละเอียดก่อสร้าง
8.3.2 ฐานรากเสาเข็ม (Pile Foundation)
หมายถึง ฐานรากที่ทําหน้าที่บรรทุกน้ําหนักจากเสา เอ็นคอนกรีตเสริมเหล็ก หรือกําแพง
ลงยังชั้นดินที่ลึกลงไป โดยการใช้เสาเข็มช่วยรับและถ่ายน้ําหนักบรรทุก
ฐานรากเสาเข็มเหมาะสํ าหรับดินอ่อน หรื อสภาพพื้นที่ไม่เหมาะสมที่จะทําฐานรากแผ่ ฯลฯ
เช่น น้ําลึก น้ําขังไม่สามารถสูบน้ําให้แห้งได้
(1) ให้ดําเนินการ ตามนี้
(ก) ฐานรากเสาเข็มมีหลายชนิด ที่นิยมให้กันทั่วไป ได้แก่ เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กหล่อ
สําเร็จ (Precast Reinforced Concrete Pile) เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสําเร็จ (Reinforced
Prestressed Concrete Pile) เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสําเร็จแบบแรงเหวี่ยง (Prestressed
Spun Concrete Pile)
(ข) เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กหล่อสําเร็จ ให้เป็นไปตามที่ระบุไว้ในแบบรูปและรายการ
ละเอียด ในกรณีที่แบบรูปและรายการละเอียดไม่ได้ระบุไว้ ให้เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กหล่อสําเร็จ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 395-2524 บริเวณ
สร้างที่เป็นดินอ่อนให้ใช้เสาเข็มชนิดปลายตัด ส่วนบริเวณก่อสร้างที่เป็นดินแข็งให้ใช้เสาเข็มชนิดปลายแหลม

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
8-3 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 8 : งานฐานรากและเสาเข็ม

(ค) เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่ อสําเร็ จ ให้เป็ นไปตามระบุไว้ในแบบรู ปและ


รายการละเอียด ในกรณีที่แบบรูปและรายการละเอียดไม่ได้ระบุไว้ ให้เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
เลขที่ มอก.396 -2549 “เสาเข็ มคอนกรี ตเสริ มเหล็ กอั ดแรงหล่ อสํ าเร็ จ” บริ เวณก่ อสร้ างที่ เป็ นดิ นอ่ อน
ให้ใช้เสาเข็มชนิดปลายตัด ส่วนบริเวณก่อสร้างที่เป็นดินแข็งให้ใช้เสาเข็มชนิดปลายแหลม
(ง) เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสําเร็จ แบบแรงเหวี่ยง ในการผลิตและควบคุม
คุณภาพ ให้เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.398-2537 “เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก
อัดแรงหล่อสําเร็จ แบบแรงเหวี่ยง” บริเวณก่อสร้างที่เป็นดินอ่อนให้ใช้เสาเข็มชนิดปลายตัด ส่วนบริเวณก่อสร้าง
ที่เป็นดินแข็งให้ใช้เสาเข็มชนิดปลายแหลม
(2) น้ําหนักบรรทุกของเสาเข็มที่คํานวณได้จากผลการตอกเสาเข็มตามสูตรทีผ่ ู้ควบคุมงานก่อสร้าง
ของผู้ว่าจ้างเห็นชอบให้ใช้ จะต้องเป็นไปตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด และผู้รับจ้างต้องเสนอ
บัญชีตอกเสาเข็มทุกต้น ซึ่งแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ให้แก่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเพื่อตรวจสอบ
ก่อนที่จะทําการก่อสร้างต่อไป
กรณีที่ผลการตอกเสาเข็มไม่เป็นไปตามที่กําหนด ผู้รับจ้างอาจเสนอขอให้มีการทดสอบการรับ
น้ําหนักบรรทุกเสาเข็ม (Pile Load Test) โดยจะต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
เป็นลายลักษณ์อักษรก่อน และเสาเข็มต้นนั้น ๆ ต้องรับน้ําหนักบรรทุกได้ไม่น้อยกว่าที่กําหนดไว้ในแบบรูปและ
รายการละเอียด
(3) กรณีที่ผู้รับจ้างตอกเสาเข็มโดยใช้วิธีลูกตุ้มปล่อยตก (Drop-Hammer) ต้องใช้ลูกตุ้มหนัก
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของน้ําหนักเสาเข็มที่จะตอก และลูกตุ้มนั้นต้องหนักไม่น้อยกว่า 3.5 ตันด้วย
หากผู้รับจ้างจะตอกเสาเข็มโดยใช้วิธีอื่น ๆ จะต้องเป็นไปตามข้อกําหนด ในตารางที่ 8-1
ตารางที่ 8-1 ข้อกําหนดของประสิทธิภาพต่ําสุดสําหรับเครื่องตอกเสาเข็มชนิดต่าง ๆ
นอกเหนือจากวิธีใช้ลูกตุ้มปล่อยตก
ค่าต่ําสุด ค่าสูงสุดของระยะยก อัตราพลังงานที่ใช้
ชนิดของการตอก
ของน้ําหนักลูกตุ้ม (ตัน) (เมตร) (กก.-ม.)
1. Air/Steam Hammer 3.50 1.00 3,500
(Single Action)
2. Air/Steam Hammer 3.50 0.50 3,500
(Double Action)
3. Diesel Hammer 1.35 2.60 3,500
(Single Action)
4. Diesel Hammer 1.50 - 3,500
(Double Action)
5. Steam Hammer 9.35 0.40 4,900
(Differential Action)
6. Hydraulic Hammer 1.50 3.30 3,700

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
8-4 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 8 : งานฐานรากและเสาเข็ม

(4) เสาเข็มที่ตอกจนรับน้ําหนักได้ตามที่กําหนดแล้ว ต้องมีส่วนของเสาเข็ม จมลงดินเดิม


ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของความยาวจากปลายเสาเข็มถึงท้องคานตอม่อและต้องไม่น้อยกว่า 3.50 เมตร
(5) การตอกเสาเข็มต้องตอกให้ตรงตามตําแหน่งที่ระบุไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด หาก
มีการเยื้องศูนย์ต้องไม่มากกว่า 150 มิลลิเมตร และระยะระหว่างเสาเข็มสองต้นที่อยู่ติดกันจะแตกต่างจากที่
กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียดไม่เกิน 150 มิลลิเมตร ถ้าเกินกว่านี้ให้รายงานผู้ควบคุมงานก่อสร้าง
ของผู้ว่าจ้าง
(6) การตอกเสาเข็มต้นหนึ่ง ต้องตอกต่อเนื่องให้เสร็จหากมีอุปสรรคใด ๆ เกิดขึ้นทําให้ต้อง
หยุด ต้องแก้ไขให้เร็วที่สุด และตอกเสาต่อไปให้แล้วเสร็จ
(7) ห้ามนําเสาเข็ม ค.ส.ล. ที่มีรอยแตกร้าวไปทําการตอกเป็นอันขาด
(8) เมื่อเสาเข็มต้นที่ดําเนินการตอกอยู่มีความยาวไม่เพียงพอ ผู้รับจ้างต้องทําการหล่อเสาเข็ม
ต้นนั้น ๆ ให้ยาวขึ้นตามที่ระบุไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด เมื่อส่วนที่หล่อใหม่แข็งแรงเพียงพอแล้วให้
ดําเนินการตอกเสาเข็มต้นนั้นต่อ ทั้งนี้โดยค่อย ๆ ตอกลงไปเบา ๆ ก่อน จนสังเกตเห็นว่าเสาเข็มเริ่มจมเพิ่มลง
ไปแล้วจึงดําเนินการตอกเสาเข็มตามปรกติต่อไปจนแล้วเสร็จ
(9) ขณะตอกเสาเข็ ม ถ้ า ปรากฏว่ า มี ร อยแตกร้ า วหรื อ เสาเข็ ม หั ก ด้ ว ยเหตุ ป ระการใด ๆ
ก็ตาม ผู้รับจ้างต้องถอนเสาเข็มต้นนั้นออก และตอกเสาเข็มต้นใหม่ทดแทน หากไม่สามารถถอนเสาเข็มออกได้
ให้รายงานผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเพื่อพิจารณาเสนอคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
(10) บันทึกระดับปลายเสาเข็มลงในแบบรูปและรายการละเอียดในการก่อสร้างเมื่ อตอก
เสาเข็มเสร็จเรียบร้อยแล้ว
8.4 งานเสาเข็มคอนกรีต
งานในบทนี้ประกอบด้วย การจัดหาวัสดุ เครื่องจักรอุปกรณ์ นํามาผลิตเสาเข็มคอนกรีตที่จะใช้กับ
ฐานราก โดยมีขนาด ความยาว ตลอดจนมีคุณสมบัติตามที่กําหนดไว้ในรายละเอียดด้านวิศวกรรม นําไปตอก
ตามตําแหน่ง และสามารถรับน้ําหนักบรรทุกสูงสุดและรับโมเมนต์ดัดสูงสุดปลอดภัยได้ไม่น้อยกว่าตามที่แบบ
รูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ สําหรับการผลิตเสาเข็มให้จัดทําได้ดังต่อไปนี้
(1) ให้ผลิตได้ตามแบบรูปและรายการละเอียดที่กําหนดไว้ หรือ
(2) ให้ผลิตได้ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 395-2524 “เสาเข็มคอนกรีต
เสริมเหล็กหล่อสําเร็จ” หรือ
(3) ให้ผลิตได้ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 396-2549 “เสาเข็มคอนกรีต
อัดแรงหล่อสําเร็จ”
8.4.1 งานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กหล่อสําเร็จ
(1) เสาเข็ ม คอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก หล่ อสํ า เร็ จ ยาวท่อ นเดี ย ว รู ป สี่ เ หลี่ ยม (Square Section)
ขนาดหน้าตัด และความยาวตามที่ระบุไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด หรือตามที่แสดงไว้ในแบบเพิ่มเติม
(Shop Drawings)

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
8-5 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 8 : งานฐานรากและเสาเข็ม

(2) คอนกรีต
(2.1) ใช้คอนกรีตที่มีกําลังอัดประลัย (Ultimate Compressive Stress) ไม่ต่ํากว่า 357
กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร เมื่อทดสอบด้วยแท่งลูกบาศก์คอนกรีตตัวอย่างรูปลูกบาศก์ (Cube Mold) ขนาด
0.15x0.15x0.15 เมตร เมื่ออายุ 28 วัน หรือเร็วกว่านั้น
(2.2) ส่ วนผสมของคอนกรีต ใช้ปูนซีเมนต์ ปอร์ตแลนด์ ซึ่ งมีคุณสมบั ติตามมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 15 เล่ม 1-2555
(3) เหล็กเสริมคอนกรีต
(3.1) เหล็กแกน ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 24-2559
(3.2) เหล็กปลอก ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 20-2559
(3.3) ลวดผูกเหล็ก ตามผลิตภัณฑ์มาตรฐานอุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 138-2535
(4) เสาเข็มจะต้องแสดงตําแหน่งจุดยกไว้ให้ชัดเจน ถ้าออกแบบให้ยกเป็นจุด ให้ทําเครื่องหมาย
หรือทําเป็นรูร้อย หรือที่จับยึดสําหรับยกไว้ ถ้าออกแบบให้ยกด้วยวิธีอื่นต้องแสดงวิธีการยกให้ด้วย
8.4.2 งานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสําเร็จ
ผู้รับจ้างต้องทําการตรวจสอบงานฐานรากในแบบรูปและรายการละเอียดที่แนบให้ หากตรวจ
พบว่างานเสาเข็มที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียดไม่สามารถรับน้ําหนักได้ตามที่กําหนด ผู้รับจ้างต้อง
ทําการออกแบบงานเสาเข็มให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างพิจารณาเห็นชอบ ก่อนเสนอให้คณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุอนุมัติก่อนดําเนินการ
ผู้รับจ้างต้องเสนอรายชื่อบริษัทที่จะรับจ้างผลิตเสาเข็มให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
เห็นชอบ ก่อนเสนอให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุอนุมัติ อย่างน้อย 2 (สอง) สัปดาห์ ก่อนเริ่มการผลิต การ
ผลิตเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงให้เป็นไปตามแบบรูปและรายการละเอียดเสาเข็มคอนกรีตอัดแรง
เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงที่นํามาใช้ ต้องเป็นเสาเข็มใหม่ไม่มีร่องรอยของความเสียหาย และ
ผลิตขึ้นมาเพื่อใช้กับงานนี้โดยเฉพาะ เสาเข็มที่ไม่ได้ตามมาตรฐานจะต้องไม่นํามาใช้
เสาเข็มจะต้องมีการจัดเก็บ และกองตามข้อแนะนําของบริษัทผู้ผลิต และเสาเข็มแต่ละต้นจะต้องมี
การประทับตราแสดงวัน เดือน ปีที่ผลิต ขนาด และชื่อบริษัทผู้ผลิต
หัวเสาเข็มจะต้องมีหน้าตัดตั้งฉากกับแนวแกนตามยาวของเสาเข็มโดยมีระยะที่ยอมให้ 10 มิลลิเมตร
ต่อ 1 เมตร ปลายเสาเข็มที่จะตอกลงดินจะต้องมีรูปหน้าตัดตามที่แสดงในแบบรูปและรายการละเอียด เสาเข็ม
จะต้องไม่บิดหรือโค้งงอ (เมื่อยังไม่ได้รับแรงกระทํา) โดยยอมให้ได้ไม่เกิน 1 มิลลิเมตร ต่อความยาว 1 เมตร
8.4.3 การวางตําแหน่ง ให้ระดับ และกําหนดแผนการตอกเสาเข็ม
ผู้รับจ้างจะต้องวางผังงานจากเส้นฐานและหมุดหลักฐาน และจะต้องให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง
ของผู้ว่าจ้างตรวจสอบก่อนดําเนินการตอกเสาเข็ม ให้ได้ตําแหน่ง และระดับตามที่ได้กําหนดไว้ในแบบรูปและ
รายการละเอียด
ผู้รับจ้างจะต้องวางแผนการทํางานตามแบบรูปและรายการละเอียด โดยไม่ให้เกิดความเสียหาย
ค่าใช้จ่ายใด ๆ ที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากความผิดพลาดในการวางตําแหน่งและให้ระดับของผู้รับจ้าง ผู้รับจ้างจะต้อง
เป็นผู้รับผิดชอบเองทั้งสิ้น
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
8-6 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 8 : งานฐานรากและเสาเข็ม

8.4.4 เครื่องมือที่ใช้ตอกเสาเข็ม
หัวเข็มจะต้องมีเครื่องป้องกันมิให้ชํารุดแตกหักเนื่องจากการตอกเข็ม การป้องกันอาจจะใช้เบาะ
รองรับหรือวิธีอื่นที่เหมาะสมก็ได้ วิธีการใด ๆ ก็ตามที่จะนํามาใช้ จะต้องได้รับการเห็นชอบจากผู้ควบคุมงาน
ก่อสร้างของผู้ว่าจ้างก่อนจึงจะใช้ได้
เครื่องมือที่ใช้ตอกเสาเข็มอาจเป็น Drop, Air Steam หรือ Diesel Powered Hammer การ
ตอกเสาเข็มขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับ 0.20 เมตร หรือเล็กกว่า จะต้องมีกําลังขับที่ลูกตุ้มไม่น้อยกว่า
7,000 ฟุต-ปอนด์ สําหรับเสาเข็มขนาดระหว่าง 0.20-0.45 เมตร กําลังขับที่ลูกตุ้มจะต้องไม่น้อยกว่า 15,000
ฟุต-ปอนด์ และเสาเข็มที่มีขนาดใหญ่กว่า 0.45 เมตร กําลังขับที่ลูกตุ้มจะต้องไม่น้อยกว่า 22,000 ฟุต-ปอนด์
ผู้รับจ้างต้องจัดหาเครื่องมือเครื่องใช้ที่เหมาะสมสําหรับการตอกเสาเข็มแต่ละชนิดมาปฏิบัติงาน และจะต้อง
ได้รับอนุมัติจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างก่อน จึงจะนําไปปฏิบัติงานได้
8.4.5 การตอกเข็ม
(1) ข้อความทั่วไป
เสาเข็มคอนกรีตจะต้องไม่นําไปตอกจนกว่าคอนกรีตจะรับกําลังอัดที่น้อยที่สุดตามที่ระบุไว้
ได้ จะต้องมีการระมัดระวังในการป้องกันความเสียหายที่เกิดขึ้นแก่ตัวเข็ม ตัวเข็มจะต้องไม่ถูกแรงดึงหรืองอ
หรือการกระทําที่ทําให้คอนกรีตถูกกระแทกและแตกแยกออกจากกัน ห้ามมิให้ตอกเข็มภายในรัศมี 30 เมตร
ของสิ่งก่อสร้างที่เป็น Structural Concrete จนกว่าสิ่งก่อสร้างดังกล่าวนั้นจะมีอายุไม่น้อยกว่า 7 วัน การตอก
เข็มทุกครั้งจะต้องมีผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างอยู่ด้วยเสมอไป
(2) การกําหนดตําแหน่ง
จะต้องตรวจสอบตําแหน่ง และระยะห่างของเสาเข็มให้ถูกต้องตามแบบรูปและรายการ
ละเอียดอย่างระมัดระวังก่อนที่จะทําการตอกเสาเข็มลงไป
(3) ความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับ
ในกรณีที่ เป็ นการตอกเสาเข็มตรง แกนเสาเข็มจะเบนออกจากแนวดิ่ งได้ ไม่เกิ น 1/4 นิ้ว
ต่อความยาวของเสาเข็ม 1 ฟุต (6 มิลลิเมตร ต่อความยาวของเสาเข็ม 30 เซนติเมตร) ในกรณีที่เป็นการตอกเสาเข็ม
เอี ยง แกนของเสาเข็ มจะเบนออกจากแนวเอี ยงที่ กํ าหนดให้ ไม่ เกิ น 1/2 นิ้ ว ต่ อความยาวของเสาเข็ ม 1 ฟุ ต
(12.5 มิลลิเมตร ต่อความยาวของเสาเข็ม 30 เซนติเมตร) ในกรณีใด ๆ ก็ตามจุดศูนย์กลางของหัวเสาเข็มจะต้อง
ไม่เบี่ยงเบนออกจากจุดที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียดเกินกว่า 4 นิ้ว (10 เซนติเมตร)
(4) การตอกเข็มต่อเนื่องกัน
การตอกเข็มแต่ละต้นจะต้องให้ลูกตุ้มตอกติดกันไปตั้งแต่การตอกครั้งแรก โดยปราศจาก
การหยุด จนกระทั่งเสาเข็มจมดินได้ระดับถูกต้อง นอกจากจะมีเหตุสุดวิสัยเกิดขึ้น การตอกให้ตอกจากกึ่งกลาง
ของฐานรากออกไปทั้งสองข้าง หากมีการลอยตัวของเข็ม ให้กดเสาเข็มให้จมดินจนได้ระดับถูกต้อง
(5) ความลึกของเข็มที่ตอกลงไป
เสาเข็มจะต้องตอกลงไปให้ลึกจนถึงระดับที่ได้กําหนดไว้ ในกรณีที่เสาเข็มตอกลึกลงไปถึง
ระดับที่กําหนดไว้แล้ว แต่ไม่สามารถรับน้ําหนักตามที่ต้องการที่กําหนดไว้ได้นั้น จะต้องดําเนินการอย่างใดอย่าง
หนึ่งต่อไปนี้คือ
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
8-7 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 8 : งานฐานรากและเสาเข็ม

(ก) จะต้องต่อความยาวของเสาเข็มเพิ่มขึ้นให้ติดต่อกัน และตอกลงไปอีกภายหลังจาก


พ้นระยะการบ่มคอนกรีตและคอนกรีตสามารถรับกําลังกดได้ตามที่กําหนดไว้แล้ว จนกระทั่งเสาเข็มนั้นรับ
น้ําหนักตามที่กําหนดไว้ได้หรือ
(ข) จะต้องเพิ่มจํานวนเสาเข็มตามผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างจะเห็นสมควร
(6) ข้อระมัดระวังเกี่ยวกับเสาเข็มแบบยาวเรียว
การเคลื่อนย้ายและการตอกเข็มที่มีความยากมาก (High Slenderness Ratio) จะต้องมี
ความระมัดระวังเป็นพิเศษในเรื่อง Overstress หรือแนวเข็มที่เบี่ยงเบนออกจากแนวดิ่งที่ถูกต้อง
(7) อัตราการรับน้ําหนักบรรทุกปลอดภัยที่น้อยที่สุดของเสาเข็ม
ผู้รับจ้างจะต้องทําการคํานวณอัตราการรับน้ําหนักบรรทุกปลอดภัยน้อยที่สุดของเสาเข็ม
และตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างพิจารณาเห็นชอบ
ในกรณีที่อัตราการรับน้ําหนักบรรทุกปลอดภัยที่น้อยที่สุดของเสาเข็ม อยู่ภายใต้อัตราการ
รับน้ําหนักบรรทุกปลอดภัยของเสาเข็มที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด แต่ถ้าหากผู้ควบคุมงาน
ก่อสร้างของผู้ว่าจ้างมีความเห็นว่าควรจะต้องตรวจสอบโดยการทดสอบน้ําหนักบรรทุกบนเสาเข็มอีกเพื่อให้
แน่ใจ ผู้รับจ้างจะต้องจัดทําให้โดยคิดค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นเท่าที่ได้จ่ายไปจริง ๆ เท่านั้น
(8) การตัดเสาเข็ม
จะต้องตัดให้ผิวหน้าของเสาเข็มตั้งฉากกับความยาวของเสาเข็ม การตัดจะใช้ Pneumatic
Tool สกัด เลื่อย หรือเครื่องมืออื่นที่ได้รับอนุมัติจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง ห้ามมิให้ตัดเสาเข็มโดย
ใช้วัตถุระเบิดเป็นอันขาด
(9) เศษและวัสดุส่วนที่ตัดออกมาจากเสาเข็ม
ผู้ รั บ จ้ า งจะต้ อ งรวบรวม และเป็ น ผู้ นํ า ไปทิ้ ง ยั ง ที่ ที่ ผู้ ค วบคุ ม งานก่ อ สร้ า งของผู้ ว่ า จ้ า ง
กําหนดให้
(10) หัวเข็มที่ตอกผิดตําแหน่ง
ห้ามมิให้ใช้เครื่องมือเครื่องใช้ใด ๆ ดึง หรือดันให้เข้าสู่ตําแหน่งตามที่กําหนดไว้
(11) เครื่องบังคับเสาเข็ม
ในการตอกเสาเข็มจะต้องมีเครื่องบังคับหรือเครื่องมือใด ๆ ที่เหมาะสม เพื่อมิให้เข็ม
เคลื่อนย้ายทางด้านข้างจากตําแหน่งที่กําหนดไว้
(12) การถอนกลับของเสาเข็ม
ในกรณีที่ตอกเสาเข็มอยู่เป็นกลุ่มหรือมีระยะใกล้กัน จะต้องมีการตรวจสอบดูการถอนกลับ
หรือเคลื่อนย้ายจากตําแหน่งเดิมของเสาเข็ม ถ้าเสาเข็มมีการถอนกลับหรือเคลื่อนย้ายจากตําแหน่งเดิมเกิดขึ้น
จะต้องทําการแก้ไขให้เสาเข็มเหล่านั้นอยู่ในตําแหน่งและระดับเดิมหรือสามารถรับน้ําหนักบรรทุกบนเสาเข็มได้
ตามที่กําหนดไว้อย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสองอย่าง

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
8-8 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 8 : งานฐานรากและเสาเข็ม

8.4.6 การถอนเสาเข็มสําหรับการตรวจสอบ
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างมีสิทธิ์ที่จะให้ผู้รับจ้างทําการถอนเสาเข็มที่มีความสงสัยออก
เพื่อตรวจสอบสภาพของเสาเข็ม เสาเข็มนั้นเมื่อถอนขึ้นมาแล้วไม่ว่าจะมีความเสียหายหรือไม่ก็ต้องถือว่าเป็น
เข็มที่ใช้ไม่ได้แล้ว
8.4.7 เสาเข็มที่ชํารุดในระหว่างตอก หรือไม่อยู่ในตําแหน่งตามทีร่ ะบุไว้
เสาเข็ ม ที่ ชํ า รุ ด หรื อ ไม่ อ ยู่ ใ นตํ า แหน่ ง ตามที่ ร ะบุ ไ ว้ ใ นแบบรู ป และรายการละเอี ย ดจะต้ อ ง
ถอนออก และตอกเสาเข็มใหม่แทน หรือจะตัดทิ้งและตอกเสาเข็มใหม่ลงไปแทนในจุดใกล้เคียง โดยมีขนาดของ
หัวเข็มใหญ่ขึ้นกว่าเดิมตามที่จะกําหนด โดยผู้รับจ้างจะต้องเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายเองทั้งหมด
8.4.8 ระดับของหัวเข็ม
ระดับของหัวเข็มทุก ๆ ต้นที่ครอบด้วย Pile-cap จะต้องยื่นเข้าไปใน Pile-cap ตามที่กําหนด
ไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด ผู้รับจ้างจะต้องตรวจสอบระดับของเสาเข็มและแสดงแบบรูปและรายการ
ละเอียดของระดับและช่วงห่างของเสาเข็มด้วย ถ้าปรากฏว่ามีความคลาดเคลื่อนเกินกว่า 0.10 เมตร จะต้อง
ทําการแก้ไขตามคําแนะนําของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
8.4.9 บันทึกการตอกเสาเข็ม
ผู้รับจ้างจะต้องจัดทําบันทึกแสดงการตอกเสาเข็มทุกต้นโดยสมบูรณ์ รายงานบันทึกการตอก
เสาเข็มจะต้องประกอบด้วยขนาด ตําแหน่ง และระดับของปลายเสาเข็มทั้งก่อนและหลังการตอกเสาเข็ม ใน
บันทึกจะต้องรวมถึงระยะการจมของเสาเข็มโดยเฉลี่ยแต่ละต้นเมื่อทําการตอกสิบครั้งสุดท้าย การเก็บบันทึก
การตอกเสาเข็มของหมู่หรือกลุ่มใด ๆ ก็ตามจะต้องทําติดต่อกันตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งตอกเสาเข็มเสร็จ ใน
กรณีที่ทําการตอกในสถานที่ที่ได้ทดสอบไว้แล้วว่าอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงระยะการจมของเสาเข็ม ในการตอก
แต่ละครั้งการเก็บบันทึกระยะการจมของเสาเข็มในระหว่างการตอกจะต้องกระทําตลอดความยาวของเสาเข็ม
8.4.10 การจัดทําผังเสาเข็มที่ได้ตอกไปแล้ว
ภายใน 15 (สิบห้า) วัน หลังจากตอกเสาเข็มแล้วเสร็จ หรือภายใน 15 (สิบห้า) วันหลังจากการ
เปิดหน้าดินจนถึงหัวเสาเข็มแล้ว ผู้รับจ้างจะต้องจัดทําผังแสดงตําแหน่งเสาเข็มที่ได้ตอกไปแล้วทุกต้น โดยมี
ความละเอียดถึง 0.10 เมตร
8.4.11 การทดสอบน้าํ หนักบรรทุกบนเสาเข็ม
(1) ผู้รับจ้างต้องทําการทดสอบน้ําหนักบรรทุกเสาเข็มตามวิธีการข้อ (7) “อัตราการรับน้ําหนัก
บรรทุกปลอดภัยที่น้อยที่สุดของเสาเข็ม” ในหัวข้อ 8.4.5 “การตอกเข็ม” ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
จะเป็นผู้กําหนดตําแหน่งของเข็มที่จะทําการทดสอบให้
ในกรณีที่ไม่ระบุความต้องการให้ทําการทดสอบน้ําหนักบรรทุกบนเสาเข็มไว้ก่อน แต่ในระหว่าง
การก่อสร้างได้ดําเนินไป หากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นสมควรที่จะได้มีการทดสอบน้ําหนักบรรทุก
ของเสาเข็ม ผู้รับจ้างจะต้องดําเนินการให้โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น
(2) จํานวนและตําแหน่งของเข็มที่จะทําการทดสอบ ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างจะต้อง
เป็นผู้กําหนดจํานวน และตําแหน่งของเข็มที่จะทําการทดสอบให้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
8-9 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 8 : งานฐานรากและเสาเข็ม

(3) ชนิดของเข็มที่จะทําการทดสอบ เข็มที่จะทําการทดสอบหาน้ําหนักบรรทุก จะต้องเป็นเข็มที่


มีชนิด และขนาดเดียวกับเข็มที่จะใช้งานจริง ๆ
(4) การตอกเข็มที่จะใช้ในการทดสอบ ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับการตอกเข็มที่จะใช้งานจริง ๆ
(5) การวางน้ําหนักบรรทุกบนเสาเข็ม อาจจะวางน้ําหนักบรรทุกบนเสาเข็มโดยมีที่รองรับทําเป็น
Platform และใช้น้ําหนักวางบน Platform ก็ได้ หรือจะใช้ Hydraulic Jack กดหัวเสาเข็ม หรือวิธีอื่นใดก็
ตามที่ยอมรับและนิยมใช้กันอยู่ก็ได้ แต่ทั้งนี้จะต้องได้รับความยินยอมจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
เสียก่อน
(6) เครื่องมือเครื่องใช้ในการทดสอบ จะต้องเหมาะสมที่จะนํามาใช้งานและต้องได้รั บอนุมั ติจาก
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(7) วิธีการทดสอบ (Load Test)
ก. เมื่อตอกเข็มที่จะทดสอบได้ที่แล้ว ให้ทิ้งไว้อย่างน้อยที่สุด 48 ชั่วโมง ก่อนที่จะเริ่มใส่น้ําหนัก
บรรทุก และก่อนที่จะใส่น้ําหนักบรรทุกจะต้องแต่งหัวเข็มให้เรียบและอยู่ในแนวระดับเพื่อให้เกิด Bearing
Plane ในแนวราบ
การวัดการทรุดตัวของเสาเข็มจะต้องใช้ Dial Gauge สองตัว แต่ละตัวต้องมีความละเอียด
ถึง 0.001 นิ้ว
ข. น้ําหนักที่จะนํามาบรรทุกทั้งหมด จะต้องเป็นสองเท่าของน้ําหนัก Allowable หรือ Working
Load ของเข็มที่ได้กําหนดไว้ และจะต้องใส่น้ําหนักบรรทุกเป็นจํานวนร้อยละ 25 50 75 100 125 150
175 และ 200 ของ Allowable หรือ Working Load ที่ได้คํานวณไว้
ค่าการทรุดตัวของเสาเข็ม จะต้องอ่านค่าให้ละเอียดถึง 0.001 นิ้ว และจะต้องเริ่มอ่านก่อน
และหลังการใส่น้ําหนักบรรทุกแต่ละครั้งและทุก ๆ ระยะเวลา 2 4 8 15 30 และ 60 นาที และต่อไป
ทุก ๆ ระยะ 2 ชั่วโมง จนกว่าจะเพิ่มน้ําหนักใหม่ การเพิ่มน้ําหนักใหม่จะไม่กระทําจนกว่าอัตราการทรุดตัว
ของเสาเข็มภายในน้ําหนักที่กําลังวัดอยู่นั้นมีค่าน้อยกว่า 0.10 นิ้ว ภายใน 1 ชั่วโมง และหรือจนกว่าระยะเวลา
จะล่วงเลยไปเกินกว่ า 2 ชั่วโมง แล้วแต่ว่าอย่างไหนจะเกิดขึ้นก่อน เมื่อได้ใส่น้ําหนักบรรทุกจนครบแล้ว
น้ําหนักบรรทุกทั้งหมดจะต้องยังคงอยู่บนเสาเข็มนั้นอย่างน้อย 48 ชั่วโมง และหรือจะเกิด Settlement น้อย
กว่า 0.005 นิ้ว ในช่วงระยะเวลา 24 ชั่วโมง แล้วแต่ว่าอย่างไหนจะเกิดขึ้นก่อน โดยให้อ่าน Settlement ทุก ๆ
ระยะเวลา 6 ชั่งโมง
ผู้รับจ้างจะต้องเอาใจใส่และดําเนินการตามที่กําหนดให้ตลอดระยะเวลาที่จัดทํา Load
Test
ค. การลดน้ําหนักบรรทุก การลดน้ําหนักบรรทุกให้กระทําโดยให้เหลือน้ําหนักบนเสาเข็ม
เท่ากับร้อยละ 75 50 25 10 และ 0 ของน้ําหนักบรรทุกทดสอบ การนําน้ําหนักบรรทุกทดสอบออกจะต้อง
กระทําทุก ๆ ระยะครึ่งชั่วโมงหรือนานกว่า โดยให้ทําการวัดระยะ Rebound หรือระยะคืนตัวของเข็มที่
ระยะเวลาก่อนและหลังทันทีที่เอาน้ําหนักบรรทุกออกแต่ละครั้ง
เมื่อเอาน้ําหนักบรรทุกทดสอบออกหมดแล้ว หลังจากนั้นอีก 24 ชั่วโมง ให้วัดระยะคืนตัว
อีกครั้งหนึ่ง จึงจะถือได้ว่าเสร็จสิ้นการทดสอบน้ําหนักบรรทุกเสาเข็มนั้น
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
8-10 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 8 : งานฐานรากและเสาเข็ม

(8) การรายงานผลการทดสอบตอกเสาเข็ม ในรายงานผลการทดสอบตอกเสาเข็ม จะต้อง


ประกอบด้วยหัวข้อ ต่อไปนี้
(ก) ลักษณะของดิน ณ จุดที่ทําการทดสอบ
(ข) ลักษณะของเสาเข็ ม ที่ตอกทดสอบ และรายงานผลการตอกเข็ ม ซึ่ งประกอบด้วย
จํานวน Blows per Foot ตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งถึงการจมของเสาเข็มที่ทําการตอก 10 ครั้งสุดท้ายที่เสาเข็ม
จมถึงระดับตามที่กําหนด
(ค) ลักษณะลู กตุ้ม ที่ใ ช้ในการตอกเข็ม และระยะเวลาทั้งหมดที่ใ ช้ในการตอกเสาเข็ม
ทดสอบ
(ง) จั ดทํ าตารางแสดงน้ําหนักบรรทุกเป็นเมตริก ตัน และผลการอ่านค่า Settlement
ละเอียดถึง 0.001 นิ้ว ตลอดระยะเวลาที่ใส่น้ําหนักบรรทุกและลดน้ําหนักบรรทุก
(จ) จัดทํา Graph แสดงผลการทดสอบในรูปของ Time-load Settlement
(ฉ) ถ้ามีเหตุการณ์ผิดปกติเกิดขึ้นในระหว่างการตอกเสาเข็มทดสอบ หรือในระหว่างทําการ
ทดสอบ ให้ระบุไว้ในหมายเหตุด้วยว่าเกิดขึ้นอย่างไร
(ช) เมื่อทําการทดสอบเสาเข็มเสร็จเรียบร้อยแล้ว การกําหนดความยาวของเสาเข็มที่จะใช้
ในการก่อสร้างจริง จะต้องได้รับอนุมัติจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเสียก่อน
(9) Working Load หรือ Design Pile Load จะต้องไม่เกินครึ่งหนึ่งของน้ํ าหนักที่ทําให้เกิด
Settlement ทั้งหมดไม่เกินครึ่งหนึ่ง และ Settlement อันนั้นคงที่อยู่ภายใน
8.4.12 การทดสอบความสามารถในการรับแรงกดของชั้นดิน (Bearing Capacity)
ผู้รับจ้างต้องเสนอขั้นตอนวิธีการและอุปกรณ์ สําหรับทําการทดสอบความสามารถในการรับ
แรงกดของชั้นดิน (Bearing Capacity) ตามวิธีการทดสอบค่ากําลังรับแรงแบกทานของดิน Plate Bearing
Test เพื่อหาค่าโมดูลัสการต้านแรงกดของชั้นดิน Modulus of Subgrade Reaction (k) ตามมาตรฐาน
ASTM D 1194 – 94 โดยจะใช้แผ่นเหล็กขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 12 นิ้ว ถึง 30 นิ้ว มาใช้ในการทดสอบ
โดยใช้ Hydraulic Jack ในการกดน้ํ า หนั ก ทดสอบ และทํ า การตรวจวั ด การทรุ ด ตั ว โดยใช้ Dial Gauges
หลังจากนั้นจึงนําค่าที่ได้ในสนามมาเขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยแรงแบกทาน กับ อัตราการทรุดตัว
ให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นชอบก่อนดําเนินการทดสอบ และการกําหนดตําแหน่งของหลุมที่จะทํา
การทดสอบผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างจะพิจารณากําหนดให้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
8-11 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 8 : งานฐานรากและเสาเข็ม

8.5 การวัดปริมาณงานและการจ่ายเงิน
8.5.1 งานเสาเข็ม ค.อ.ร หน้าตัดสี่เหลี่ยมจัตุรัส
(ก) งานเสาเข็ม ค.อ.ร หน้าตัดสี่เหลี่ยมจัตุรสั ขนาด 0.15x0.15 ม.
(ข) งานเสาเข็ม ค.อ.ร หน้าตัดสี่เหลี่ยมจัตุรสั ขนาด 0.40x0.40 ม.
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานเสาเข็ม ค.อ.ร. ตามรายการที่แสดงไว้ใน
ใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ดําเนินการจัดหาเสาเข็มพร้อมตอกเสร็จเรียบร้อยแล้ว
ตามที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนด และจัดส่งรายงานบันทึกการตอกเสาเข็มพร้อมเอกสารประกอบที่
เกี่ยวข้อง หรือตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัด
ความยาวของเสาเข็มที่ตอกได้จริง โดยวัดจากปลายเสาเข็มที่ตอกลงไปในดินถึงฐานรากที่เสาเข็มรองรับ รวม
กับความยาวของเสาเข็มในส่วนที่ต้องสกัดหัวเสาเข็มเพื่อให้มีส่วนของเหล็กเสริมที่ใช้เป็น Dowel Bar ตามที่
แบบรูปและรายการละเอียดกําหนด หรือหากแบบรูปและรายการละเอียดไม่ได้กําหนดไว้ ให้คิดระยะสกัด
หัวเสาเข็มตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นเมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงาน
และราคาของสัญญานี้ ให้ผู้รับจ้างเมื่อการก่อสร้างสะพานแล้วเสร็จ ตามปริมาณที่ทําจริง ซึ่งประกอบด้วย
ค่าใช้จ่ายในการจัดหาเสาเข็ม ค่าตอกเสาเข็ม ค่าสกัดหัวเสาเข็ม ค่าแรง ค่าทดสอบการรับน้ําหนักของเสาเข็ม
และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
8-12 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 9 : งานระบบเครื่องกล (Mechanical Works)

บทที่ 9
งานระบบเครื่องกล (Mechanical Works)
9.1 ขอบเขตของงาน
ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาพร้อมขนส่งและติดตั้งเครื่องสูบน้ํา ท่อ วาล์ว เครื่องอัดอากาศ เครื่องสูบน้ํา
ระบายน้ํา เครนไฟฟ้า และอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด รายละเอียด
ด้านวิศวกรรม และตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุกําหนดให้เพิ่มเติมเพื่อความสมบูรณ์ของงาน โดยขอบเขตของ
งานประกอบด้วย การออกแบบ การผลิต การทดสอบ การจัดหา การขนส่ง การติดตั้ง การทดสอบในสนาม
ถ่ายทอดความรู้ที่จําเป็นสําหรับการใช้งานรวมไปถึงการบํารุงรักษาอุปกรณ์ต่าง ๆ และการรับประกันคุณภาพ โดย
รายละเอียดประกอบต่าง ๆ ของงานที่ผู้รับจ้างจะต้องดําเนินการ สามารถสรุปได้ดังนี้
(1) งานจั ดหาและติดตั้ งเครื่องสูบ น้ํ าชนิ ดหอยโข่งขับ ด้ วยมอเตอร์ไฟฟ้ า อัตราการสู บ น้ํ า 0.30
ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ระยะยกน้ําไม่น้อยกว่า 60 เมตร พร้อมอุปกรณ์ประกอบ จํานวน 6 ชุด
(2) งานจัดหาและติดตั้งท่อเหล็กกล้า ชนิดบนดิน ขนาด Ø 500 มิลลิเมตร หนา 7.9 มม. พร้อม
วาล์วและอุปกรณ์ประกอบ สําหรับเครื่องสูบน้ําแบบหอยโข่งขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า โดยประกอบด้วย
- งาน ท่ อ เห ล็ ก (Steel Pipe) ข น าด Ø 500 มิ ล ลิ เม ต ร (PN 10) ต าม ม าต รฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.427-2531 สําหรับ Suction side จํานวน 6 ชุด และ Discharge side
จํานวน 6 ชุด
- งาน Inlet Chamber ขนาด Ø 500 มิลลิเมตร (PN 10) จํานวน 6 ชุด
- งาน Butterfly Valve (with Electric Actuator) ขนาด Ø500 มิ ล ลิ เ มตร (PN 10)
ตามมาตรฐานผลิตภั ณ ฑ์ อุ ตสาหกรรม เลขที่ มอก.382-2531 พร้อ มระบบควบคุม สํ าหรับ Suction side
จํานวน 6 ชุด และ Discharge side จํานวน 6 ชุด
- งาน Vacuum Gauge ติ ด ตั้ ง พร้ อ ม Pressure Transmitter และอุ ป กรณ์ ส่ ง สั ญ ญาณ
แสดงผลที่ตู้ควบคุม จํานวน 6 ชุด
- งาน Flexible Joint ขนาด Ø 500 มิลลิเมตร (PN 10) สําหรับ Suction side จํานวน 6
ชุด และ Discharge side จํานวน 6 ชุด
- งานท่อลดขนาด Ø500 มิลลิเมตร (Adaptor to Ø500 mm. X Ø Pump Suction (PN 10))
ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.918-2535 สําหรับ Suction side จํานวน 6 ชุด
- งานท่อลดขนาด Ø500 มิลลิเมตร (Adaptor to Ø500 mm. X Ø Pump Discharge (PN 10))
ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.918-2535 สําหรับ Discharge side จํานวน 6 ชุด
- งาน Pressure Gauge ติ ด ตั้ ง Pressure Transmitter พร้ อ มทั้ ง ส่ ง สั ญ ญาณแสดงผลที่
ตู้ควบคุม จํานวน 6 ชุด
- งาน Tilting Disc Check Valve ขนาด Ø500 มิลลิเมตร (PN 10) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ
จํานวน 6 ชุด
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
9-1 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 9 : งานระบบเครื่องกล (Mechanical Works)

- งาน High Speed Air Release Valve ขนาด Ø150 มิลลิเมตร (PN 10) ติดตั้งพร้อม Gate
Valve ขนาด Ø150 มิลลิเมตร ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.256-2540/มอก.432-2529
จํานวน 6 ชุด
- งาน Dismantling Joint ขนาด Ø500 มิลลิเมตร (PN 10) จํานวน 6 ชุด
- งานข้อต่อ อุปกรณ์ ท่อ หน้าแปลน ปะเก็น น๊อต เหล็กยึดท่อ ทําความสะอาด ทําสี และ
ทดสอบ
(3) งานจัดหาและติดตั้งท่อเหล็กกล้า ชนิดบนดิน ขนาด Ø1,000 มิลลิเมตร วาล์วและอุปกรณ์
ประกอบ สําหรับท่อร่วมจากสถานีสูบน้ําถึงท่อเหล็กโค้งปลายหน้าจาน 2 ด้าน โดยประกอบด้วย
- งานท่อร่วม (Steel Pipe) ขนาด Ø1,000 มิลลิเมตร ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
เลขที่ มอก.427-2531 จํานวน 1 ชุด
- งานก่ อสร้างอาคารบ่ อวาล์ว พร้อมติดตั้ ง Gate Valve ขนาด Ø1,000 มิ ลลิเมตร (PN 10)
ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.256-2540 หรือ มอก.432-2529 จํานวน 1 แห่ง
- งานท่อเหล็กโค้งปลายหน้าจาน 2 ด้าน ขนาด 1000 มิลลิเมตร จํานวน 1 ชุด
- งาน Air Release Valve ขนาด Ø100 มิลลิเมตร (PN 10) ติดตั้งพร้อม Gate Valve ขนาด
Ø150 มิลลิเมตร ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.256-2540 หรือ มอก.432-2529 จํานวน 1 ชุด
- งานท่ อ เหล็ ก (Steel Pipe) ขนาด Ø300 มิ ล ลิ เมตร (PN 10) ตามมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์
อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.427-2531 สําหรับติดตั้ง Surge Anticipating Valve จํานวน 2 ชุด
- งาน Butterfly Valve ขนาด Ø300 มิ ล ลิ เ มตร (PN 10) ตามมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์
อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.382-2531 จํานวน 2 ชุด
- งาน Surge Anticipating Valve ขนาด Ø300 มิลลิเมตร (PN 10) จํานวน 2 ชุด
- งานข้อต่อ อุปกรณ์ท่อ หน้าแปลน ปะเก็น น๊อต เหล็กยึดท่อ ทําความสะอาด ทําสี และ
ทดสอบ
(4) งานจัดหาและติดตั้งเครื่องสูบน้ําระบายน้ํา (Submersible Pump) ขนาดไม่น้อยกว่า 200 ลิตร
ต่อนาที ที่ระยะยกน้ําไม่น้อยกว่า 15 เมตร ขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า พร้อมท่อและอุปกรณ์ประกอบ ประกอบด้วย
- งานจัดหาและติดตั้งเครื่องสูบน้ําระบายน้ํา (Submersible Pump) ขนาดไม่น้อยกว่า 200 ลิตร
ต่อนาที ที่ระยะยกน้ําไม่น้อยกว่า 15 เมตร ขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า และอุปกรณ์ประกอบ จํานวน 1 ชุด
- งาน Galvanized Steel Pipe ขนาด Ø50 มิ ลลิเมตร ตามมาตรฐานผลิตภั ณฑ์ อุ ตสาหกรรม
เลขที่ มอก.227-2532 สําหรับ Discharge Side จํานวน 1 ชุด
- งาน Check Valve ขนาด Ø50 มิลลิเมตร จํานวน 1 ชุด
- งาน Gate Valve ขนาด Ø50 มิลลิเมตร จํานวน 1 ชุด
- งานข้อต่อ อุปกรณ์ท่อ หน้าแปลน ปะเก็น น๊อต เหล็กยึดท่อ ทําความสะอาด ทําสี และ ทดสอบ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
9-2 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 9 : งานระบบเครื่องกล (Mechanical Works)

(5) งานจัดหาและติดตั้งเครื่องอัดอากาศ (Centrifugal Blower) ขนาดไม่น้อยกว่า 2,500 ลูกบาศก์


ฟุตต่อนาที พร้อมท่อและอุปกรณ์ประกอบ
- งานจั ด หาและติ ด ตั้ งเครื่ อ งอั ด อากาศ (Centrifugal Blower) ขนาดไม่ น้ อ ยกว่ า 2,500
ลูกบาศก์ฟุตต่อนาที จํานวน 6 ชุด
- งานจัดหาและติดตั้งชุดท่ออัดอากาศ (Square Duct) ขนาด 250x600 มิลลิเมตร พร้อม
อุปกรณ์ประกอบ จํานวน 6 ชุด
(6) งานจัดหาและติดตั้งเครนไฟฟ้าแบบวิ่งบนรางเดี่ยว (Traveling Crane) ขนาดไม่น้อยกว่า 7.5
เมตริกตัน พร้อมอุปกรณ์ประกอบ จํานวน 1 ชุด
9.2 ข้อกําหนดทั่วไป
(1) วัสดุหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ต้องเป็นของใหม่ไม่ผ่านการใช้งานมาก่อน พร้อมนี้ต้องมีคุณสมบัติ
ตามข้อกําหนดต่าง ๆ ในสัญญาหรือเทียบเท่า และต้องดําเนินการติดตั้งตามแบบรูปและรายการละเอียด และ
คําแนะนําของบริษัทผู้ผลิตอย่างถูกต้อง
(2) ผู้รับจ้างต้องเสนอแผนงานการจัดหา ติดตั้ง และทดสอบอุปกรณ์ ต่าง ๆ ต่อคณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุ เพื่อพิจารณาความเหมาะสมต่อการดําเนินการ โดยการเสนอแผนงานให้เสนอต่อผู้ควบคุมงาน
ก่อสร้างของผู้ว่าจ้างและคณะกรรมการตรวจรับพัสดุก่อนเริ่มดําเนินการ
(3) ผู้รับจ้างจะต้องเสนอแค็ตตาล็อก (Catalogue) แผนภูมิไดอะแกรม (Diagrams) แบบเพิ่มเติม
แสดงรายละเอียด (Shop Drawings) รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ (Specifications) และข้อมูลทางด้าน
เทคนิคอื่น ๆ ของเครื่องสูบน้ํา ท่อ วาล์ว เครื่องอัดอากาศ เครื่องสูบน้ําระบายน้ํา เครนไฟฟ้า และอุปกรณ์
ประกอบต่าง ๆ ที่จะติดตั้งในงาน ตามรายละเอียดด้านเทคนิคที่ใช้ประกอบงาน ในหัวข้อ 9.3 “รายละเอียด
คุณ ลักษณะเฉพาะ” เพื่อเสนอต่อผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างและคณะกรรมการตรวจรับพัสดุก่อน
เริ่มดําเนินการ
(4) ผู้รับจ้างต้องจัดทําแบบเพิ่มเติม (Shop Drawings) แสดงรายละเอียดการติดตั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ
ของทุกระบบ เพื่อใช้ในการประกอบการปฏิบัติงาน โดยเสนอคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ พิจารณาและอนุมัติ
ก่อนเริ่มดําเนินการ
(5) แบบรูปและรายการละเอียดที่แสดงไว้เป็นเพียงแนวทางเบื้องต้นเท่านั้น รายละเอียดการติดตั้ง
อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสมของสภาพหน้างานและรุ่นของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ หรือ
หากมีการเปลี่ยนจุดติดตั้งอุปกรณ์ที่ไม่ตรงกับแบบต้องมีการต้องย้ายตําแหน่งการติดตั้งใหม่ ในทางปฏิบัติ
ผู้รับจ้างสามารถเสนอวิธีการอื่นได้ เพื่อให้งานดีขึ้นและถูกต้องตามหลักวิชาการ แต่ต้องได้รับความเห็นชอบ
เป็นลายลักษณ์อักษรจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุก่อนการดําเนินการ
(6) ผู้ รั บ จ้ า งต้ อ งตรวจสอบความถู ก ต้ อ งของแบบประกอบต่ า ง ๆ ให้ เรี ย บร้ อ ยก่ อ นที่ จ ะเริ่ ม
ดําเนิ นการ หากแบบรูปและรายการละเอียดมีข้อผิดพลาด ไม่ชัดเจน หรือขัดแย้งกับข้อกําหนดต่าง ๆ ใน
สัญญา หรือมีข้อสงสัยในรายละเอียดต่าง ๆ ผู้รับจ้างต้องเสนอรายละเอียดดังกล่าวต่อคณะกรรมการตรวจรับ
พัสดุเพื่อพิจารณาสั่งการ
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
9-3 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 9 : งานระบบเครื่องกล (Mechanical Works)

(7) คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสามารถสั่งให้มีการแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงวัสดุอุปกรณ์สําหรับจัดทํา
อุปกรณ์ต่าง ๆ ได้ เมื่อพบว่าผลงานการผลิตหรือติดตั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ไม่เรียบร้อย ไม่เหมาะสม หรือไม่ถูกต้อง
ตามหลักวิชาการ หรือตามที่ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุได้อนุมัติ หรือมีข้อสงสัยในคุณ ภาพของงาน โดย
สามารถเรียกเอกสารต่าง ๆ เช่น หนังสือรับรองหรือผลทดสอบ ฯลฯ เพิ่มเติมจากผู้รับจ้างได้ ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ
ที่เกิดขึ้นจากการแก้ไข เปลี่ยนแปลง ตรวจสอบหรือทดสอบเพิ่มเติมนี้ ผู้รับจ้างต้องรับผิดชอบทั้งหมด
(8) อุปกรณ์อื่น ๆ ที่จําเป็นต้องใช้ในการติดตั้ง เพื่อให้งานดีขึ้นและถูกต้องตามหลักวิชาการ แม้จะ
มิได้ระบุไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด หรือข้อกําหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ ผู้รับจ้างจะต้องจัดหา
และทําการติดตั้งให้โดยไม่คิดราคาเพิ่ม
(9) ผู้รับจ้างจะต้องเสนอกรรมวิธีในการทดสอบ โดยแสดงรายละเอียดของขั้นตอนการทดสอบและ
รูปแบบการทดสอบ เพื่ออนุมัติต่อคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ และต้องมีการทดสอบต่อหน้าคณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุ ทั้งนี้ ผู้รับจ้างจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดหาเครื่องมือ วิธีการ และค่าใช้จ่ายในการทดสอบ
เองทั้งหมด
(10) ก่อนส่งมอบงาน ผู้รับจ้างจะต้องส่งแบบหลักฐาน (As-built Drawings) ของอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุต้นฉบับโดยสมบูรณ์
(11) ผู้ขายต้องจัดหาคู่มือการใช้งานและการบํารุงรักษา และต้องจัดให้มีการถ่ายทอดความรู้ที่
จําเป็นสําหรับการใช้งานและการบํารุงรักษากับเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ โดยค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ผู้ขาย
จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบทั้งหมด
(12) การประกอบ ติดตั้ง และทดสอบอุปกรณ์ ต่าง ๆ ให้ควบคุมโดยมีวิศวกรผู้ประกอบวิชาชีพ
วิศวกรรมควบคุมตามพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542 และไม่อยู่ในระหว่างถูกพักหรือเพิกถอนใบอนุญาต
9.3 รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ
9.3.1 เครื่องสูบน้ําชนิดหอยโข่งขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า อัตราการสูบน้ํา 0.30 ลูกบาศก์เมตรต่อ
วินาที ระยะยกน้ําไม่น้อยกว่า 60 เมตร พร้อมอุปกรณ์ประกอบ
ผู้รับจ้างจะต้องเสนอรายละเอียดทุกรายการให้ครบถ้วน โดยแต่ละรายการจะต้องเสนอชื่อยี่ห้อ
เพียงยี่ห้อเดียว รุ่นเพียงรุ่นเดียวและเป็นรุ่นมาตรฐานที่แสดงในแค็ตตาล็อก (Catalogue) บริษัทผู้ผลิตเพียง
บริษั ทเดียว ประเทศต้นกําเนิดเพี ยงประเทศเดียว (Country of Origin) ประเทศที่ผลิตเพียงประเทศเดียว
(Country of Manufacturer) ประเทศที่ประกอบเพียงประเทศเดียว (Country of Assembly) แนวทางการ
ดําเนินการ รูปแบบเทคนิคการติดตั้ง และเสนอรายละเอียดตารางเปรียบเทียบรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ
(Specifications) ตามแบบฟอร์ ม ที่ ค ณะกรรมตรวจรั บ พั ส ดุ กํ า หนดให้ ค รบถ้ ว นและถู ก ต้ อ งสมบู ร ณ์
ประกอบด้วย
(1) รายละเอี ย ดทั่ ว ไป เครื่ อ งสู บ น้ํ า ชนิ ด หอยโข่ ง แบบเพลาตั้ ง (Vertical volute pump)
ขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า ขนาดท่ อส่ง (Pump Discharge) ไม่เกิน 300 มิลลิเมตร ติดตั้งอยู่บนฐานโครงเหล็ก
เดียวกันที่แข็งแรงสําหรับใช้ในงานส่งน้ําทั่วไปและการชลประทาน

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
9-4 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 9 : งานระบบเครื่องกล (Mechanical Works)

(2) อัตราการทํางานของเครื่องสูบน้ํา เป็นเครื่องสูบน้ําที่ออกแบบให้สามารถสูบน้ําได้ตามเกณฑ์


ที่กําหนดและสถานะของการทํางานของเครื่องสูบน้ําที่ระดับน้ําต่าง ๆ ตามที่ออกแบบต้องอยู่ในเกณฑ์ที่ ดี
สําหรับเดินเครื่องสูบน้ําปราศจากการสั่นเนื่องจาก Cavitation และจากส่วนประกอบต่าง ๆ
(2.1) อัตราการสูบน้ํา ไม่น้อยกว่า 0.3 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
(2.2) ระยะยกน้ํา (Total Head) ไม่น้อยกว่า 60 เมตร ณ อัตราการสูบน้ําที่กําหนดในข้อ
(2.1) และค่า NPSH required ไม่ เกิน 7 เมตร และสามารถทํ างานได้ในช่วงระหว่างระยะยกน้ํา 55 - 65
เมตร โดยไม่เกิดความเสียหายแก่เครื่องสูบน้ํา
(2.3) ประสิ ท ธิภ าพของเครื่ อ งสู บ น้ํ า ณ อั ต ราการทํ างานที่ กํ าหนด (Pump Efficiency)
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 81
(2.4) กําลังงานที่เพลาของเครื่องสูบน้ํา ณ อัตราการทํางานที่กําหนด ไม่เกิน 220 กิโลวัตต์
(2.5) ความเร็วรอบ ไม่เกิน 1,500 รอบต่อนาที
(3) รายละเอียดวัสดุที่ผลิตเครื่องสูบน้ํา รายละเอียดที่กําหนดเป็นรายละเอียดขั้นต่ําในการผลิต
หรือมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่าประกอบด้วย
(3.1) ตั ว เรื อ นเครื่ อ งสู บ น้ํ า (Pump Casing) ทํ า ด้ ว ย Gray Iron Casting ตามมาตรฐาน
ASTM A48 Class 35 หรือ DIN GG 25หรือ JIS FC 250 โดยจะต้ อ งพ่ น ทรายภายในตั วเรือ นเครื่องสูบ น้ํ า
ทั้งหมดเพื่อเตรียมผิว ความสะอาดของพื้นผิว SA 2.5 และมีการเคลือบสาร Belzona 1111 ทุกจุดที่มีการ
สึกกร่อนสูงให้ได้ความหนาเมื่อแห้งแล้ว มีความหนาไม่น้อยกว่า 1 มิลลิเมตร เคลือบสารภายในตัวเรือนเครื่อง
สูบน้ําทั้งหมดด้วย Belzona 5811 (2 coat) ให้ได้ความหนาของสารเมื่อแห้งแล้ว มีความหนาไม่น้อยกว่า 500
ไมครอน เคลื อ บสารภายในตั วเรือ นเครื่อ งสูบ น้ํ าทั้ งหมดด้ วย Belzona 1341 (1 coat) ให้ ได้ ค วามหนา
ของสารเคลือบ เมื่อแห้งแล้วมีความหนาไม่น้อยกว่า 250 ไมครอน การ Coating Pump จะต้องทํามาจาก
โรงงานผู้ผลิต พร้อมแนบเอกสารใบรองการ Coating Pump เสนอคณะกรรมการตรวจรับพัสดุพิจารณา
(3.2) ใบพั ด (Impeller) แบบ Closed ทํ าด้ วย Duplex Stainless Steel ตามมาตรฐาน
DIN 1.4517 หรือ ASTM A890 CD4MCuN หรือ JIS SUS 329J3L โดยวัสดุของแข็ง (Max Particle) ขนาด
100 มิ ลลิ เมตร จะต้องสามารถไหลผ่านได้และต้องมีความสมดุลทางสถิตและพลศาสตร์ (Statically and
Dynamically Balanced) ระดับ G 6.3 ตามมาตรฐาน ISO 1940/1 หรือ JIS B 0905
(3.3) เพลาเครื่องสูบน้ํา (Pump Shaft) ทําด้วย Duplex Stainless Steel ตามมาตรฐาน
DIN 1.4517 หรือ ASTM A890 CD4MCuN หรือ JIS SUS 329J3L มีขนาดและความแข็งแรงเพียงพอสําหรับ
การรับภาระ ณ อัตราการทํางานสูงสุด
(3.4) แหวนรองกันสึก (Casing Wear Ring/Liner) เป็นแบบสวม สามารถถอดเปลี่ยนได้ทํา
ด้ ว ย Duplex Stainless Steel ตามมาตรฐาน DIN 1.4517 หรื อ ASTM A890 CD4MCuN หรื อ JIS SUS
329J3L พร้อมทั้งแนบเอกสารและแบบเพิ่มเติม (Drawings) แสดงรูปตัด (Section) และคุณสมบัติ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
9-5 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 9 : งานระบบเครื่องกล (Mechanical Works)

(3.5) การกันรั่วของเพลาเครื่องสูบน้ํา แบบ Mechanical Seal ทําด้วย Silicon Carbide


หรือ Ceramic หรือกันรั่วแบบ Packing Seal โดยกันรั่วที่เพลาต้องมีน้ํามาหล่อเลี้ยงบริเวณกันรั่ว (Flushing
for Shaft Seal)
(3.6) รองลื่ น (Bearing) เป็ น ชนิ ด Anti-friction Bearing หล่ อ ลื่ น ด้ ว ยจารบี ห รื อ น้ํ า มั น
อายุการใช้งานของรองลื่นไม่น้อยกว่า 50,000 ชั่วโมงการทํางาน พร้อมติดตั้งอุปกรณ์ตรวจวัดอุณหภูมิของ
รองลื่นด้วย RTD (Resistance Temperature Detector) ชนิด PT100
(4) การส่ ง กํ า ลั ง งาน เครื่ อ งสู บ น้ํ า และมอเตอร์ เป็ น แบบขั บ โดยตรงโดยผ่ า น Mechanical
Flexible Flange Shaft Coupling
(5) เครื่องต้นกําลัง มอเตอร์ไฟฟ้า ผู้รับจ้างจะต้องเสนอรายละเอียดทุกรายการให้ครบถ้วน โดย
แต่ ล ะรายการจะต้ อ งเสนอชื่ อ ยี่ ห้ อ เพี ย งยี่ ห้ อ เดี ย ว รุ่น เพี ย งรุ่น เดี ย ว ประเทศที่ ผ ลิ ต เพี ย งประเทศเดี ย ว
(Country of Manufacturer) แนวทางการดําเนินการ รูปแบบเทคนิคการติดตั้ง และเสนอรายละเอียดตาราง
เปรีย บเที ย บรายละเอี ย ดคุ ณ ลั ก ษณะเฉพาะ (Specifications) ตามแบบฟอร์ม ที่ ค ณะกรรมตรวจรับ พั ส ดุ
กําหนดให้ครบถ้วนและถูกต้องสมบูรณ์ มีคุณสมบัติประกอบด้วย
(5.1) แบบของมอเตอร์ มอเตอร์ เ หนี่ ย วนํ า ไฟฟ้ า แบบกรงกระรอก (Squirrel-age
Induction Motor) มาตรฐานการติดตั้งเป็นแบบ Flange Mounted (IM3011) ตามมาตรฐาน IEC60034-7
(5.2) ระบบไฟฟ้า 380 โวลต์ 3 เฟส 50 เฮิรตซ์
(5.3) ความเร็วรอบ ไม่เกิน 1,500 รอบต่อนาที
(5.4) กําลังงานที่เพลาของมอเตอร์ไฟฟ้า กําลังงานต่อเนื่องจะต้องสูงกว่ากําลังงานของเพลา
ของเครื่องสูบน้ําตามข้อ 2 (2.4) “กําลังงานที่เพลา” ไม่น้อยกว่าร้อยละ 15 และต้องไม่เกิน 280 กิโลวัตต์
(5.5) ประสิทธิภาพของมอเตอร์และตัวประกอบกําลังประสิทธิภาพของมอเตอร์ไม่น้อยกว่า
100% Load 96.7%
75% Load 96.7%
50% Load 96.2%
และตัวประกอบกําลัง (Power Factor 100% load) มีค่าไม่น้อยกว่า 0.85 ที่พิกัดกําลังออก โดยการทดสอบ
ประสิทธิภาพมอเตอร์ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน IEC60034-30-1
(5.6) การป้องกันฝุ่นและน้ําและวิธีระบายความร้อน มอเตอร์ต้องเป็นชนิดป้องกันทั้งหมด
แบบ TEFC วิธีระบายความร้อนแบบ IC411 และ Cooling Fan ของมอเตอร์วัสดุ ต้องทํ าจาก Aluminum
Alloy เฟรมทําด้วยเหล็กหล่อ (Cast Iron) โดยมีระดับการป้องกัน IP66 หรือดีกว่า
(5.7) ขนาดพิ กั ด กํ าลั งของมอเตอร์ มอเตอร์จ ะต้ อ งเป็ น ชนิ ด ใช้ งานต่ อ เนื่ อ ง (S1) ที่ 50
เฮิรตซ์ ที่อุณหภูมิบรรยากาศไม่เกิน 40 องศาเซลเซียส (Ambient Temperature 40 Degree Celsius) และ
ความสูงไม่เกิน 1,000 เมตร (Altitude 1,000 Meters)

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
9-6 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 9 : งานระบบเครื่องกล (Mechanical Works)

(5.8) ขดลวดทําความร้อน (Space Heaters) ต้องมีขนาดเหมาะสมติดตั้งด้านในของมอเตอร์


ใช้ไฟฟ้า 220 โวลต์ 50 เฮิรตซ์ และทํางานเองอัตโนมัติเพื่อป้องกันความชื้นเข้าไปในมอเตอร์เมื่อไม่ได้ใช้งานใน
สภาพแวดล้อมที่มีความชื้นสูง
(5.9) การทําฉนวนและการเพิ่มขึ้นของอุณ หภูมิ การออกแบบการพันขดลวดของ Stator
เป็นการทําฉนวน Class H (180 °C) ตามมาตรฐาน IEC60085 โดยผ่านขบวนการ VPI (Vacuum Pressure
Impregnation) การเพิ่ ม ขึ้ น ของอุ ณ หภู มิ ข องมอเตอร์เป็ น Class B (80°C) ที่ อุ ณ หภู มิ แวดล้ อม 40 องศา
เซลเซียส
(5.10) ขดลวดของ Stator Winding ทํ า ด้ ว ย Copper และ Rotor Winding ทํ า ด้ ว ย
Copper และต้ อ งออกแบบโครงสร้ า งแบบ Deep-bar ร่ ว มกั น เพื่ อ ให้ ได้ ส มรรถนะการทํ า งานที่ ดี มี ก าร
เหนี่ยวนําสูงและมีความแข็งแรงทางกลสูงและ bar ต้องเชื่อมต่อกันด้วยการเชื่อมแข็ง (Hard Soldering) หรือ
วิธี Silver Brazing
(5.11) การป้องกันที่ ขดลวด ขดลวดของ Stator จะต้องติดตั้ งอุปกรณ์ วัดอุณ หภู มิ RTD
(Resistance Temperature Detector) จํานวน 3 ชุด ต่อ 1 เฟส เป็นชนิด PT100 ต่อเข้ากับรีเลย์ป้องกัน
อุณหภูมิ
(5.12) การสั่นสะเทือน (Vibration) และเสียง (Noise) ระดับการสั่นสะเทือน Vibration ต้องถูก
ออกแบบให้อยู่ในระดับ “A” ตามที่ระบุในมาตรฐาน IEC 60034-14 ในขณะที่ระดับเสียง (Noise) ในหน่วย dB(A)
เมื่อความถี่ 50 เฮิรตซ์ ที่ระยะ 1 เมตร และในสภาพหมุนตัว เปล่าที่แรงดันใช้งานต้องไม่เกิน 79 dB(A)
(5.13) เทอร์ มิ นั ล บอกซ์ (Terminal Boxes) เทอร์ มิ นั ล บอกซ์ สํ า หรั บ สาย Power และ
สาย Control เป็ น ชนิ ด ถอดแยกประกอบจากกั น ได้ ต ามแนวทแยง (Diagonally) หรื อ ตามแนวยาว
(Longitudinally) และต้องเปิดออกได้ด้วยเกลียวเพื่อป้องกันน้ําเข้าเมื่อต่อกับท่อสายไฟขนาดและตําแหน่งต้อง
ออกแบบมาให้ง่ายต่อการติดตั้งสามารถหมุน ได้ครั้งละ 90 องศา หรือต้องรับท่อสายไฟได้ 4 ทิศทาง มีระดับ
การป้องกั น (Degree of Protection - IP66) หรือดีกว่ามี จุดต่อสายดินติดตั้งอยู่ภายใน ขนาดสายดินต้อง
เท่ากับขนาดของสายเฟสและขนาดของ Ground Lug ต้องเหมาะสมกับขนาดสายไฟ
(5.14) มอเตอร์จะต้องประกอบด้วย Anti-friction Bearing ที่มีอายุการใช้งานไม่น้อยกว่า
50,000 ชั่วโมงการทํางาน แบริ่งจะต้องมี Grease Valve และสามารถเติมสารหล่อลื่นหรือจารบีในขณะที่
มอเตอร์ทํางานเพื่อใช้งานได้ที่อุณหภูมิสูงสุดและเพื่อเป็นการป้องกันกระแสตามเพลา (Shaft Current) ทําลาย
แบริ่ง แบริ่งด้ าน DE และ NDE ต้องได้ รับการหุ้มฉนวนเพื่ อป้องกันกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านหน้าสั ม ผัสแบริ่ง
ที่แบริ่งแต่ล ะด้านต้องมี SPM-nipples (Shock-pulse Measuring) เพื่อให้สามารถตรวจสอบแบริ่งด้ วยวิธี
Shock Pulse Method ในส่ ว นของ Bearing Housing ต้ อ งมี Labyrinth Shaft Seals โดยแบริ่งด้ าน DE
และ NDE แต่ละตัวต้องติดตั้งอุปกรณ์วัดอุณหภูมิ RTD ชนิด PT100 พร้อมเดินสายไปยัง Terminal Box เพื่อ
เชื่อมต่อกับรีเลย์ป้องกันอุณหภูมิแบริ่ง
(5.15) SPM Nipples, Grease Nipples, Acid Proof Bolts วัสดุต้องทําจาก Stainless Steel

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
9-7 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 9 : งานระบบเครื่องกล (Mechanical Works)

(5.16) สามารถสตาร์ทมอเตอร์ต่อเนื่องกันได้ไม่น้อยกว่า 70 ครั้ง สําหรับมอเตอร์ในสภาพร้อน


(Hot) และสามารถสตาร์ทมอเตอร์ต่อเนื่องกันได้ไม่น้อยกว่า 130 ครั้ง สําหรับมอเตอร์ในสภาพเย็น (Cold) และ
จํานวนครั้งที่สามารถสตาร์ทต่อปีไม่น้อยกว่า 2,000 ครั้ง ผู้รับจ้างแนบเอกสารรับรอง (Starting Curves)
(5.17) มอเตอร์จะต้องผลิตตามมาตรฐานดังนี้คือ NEMA DIN JIS หรือ IEC
(5.18) Painting System for C5-l acc. To ISO 12944 : 2 ผู้รับจ้างเสนอเอกสารรับรอง
จากบริษัทผู้ผลิต
(5.19) Efficiency class ไม่น้อยกว่า IE4
(6) ชุดควบคุมระบบไฟฟ้าเครื่องสูบน้ํา ดูรายละเอียดตามรายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10
งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)
(7) การควบคุมระดับน้ํา มีชุดควบคุมแบบลูกลอยหรือเส้นลวดนําไฟฟ้า (Electrode) ต่อเชื่อม
สัญญาณทางไฟฟ้ากับชุดควบคุมเพื่อควบคุมการทํางานดังนี้
(7.1) ปิด (Stop) การทํางานเครื่องสูบน้ําและมีสัญญาณเสียงแสงแจ้ง เตือนโดยอัตโนมัติเมื่อ
ระดับน้ําในบ่อสูบ (Sump) อยู่ในระดับต่ํากว่าเกณฑ์ที่จะใช้สูบน้ําได้
(7.2) เปิด (Start) การทํางานของเครื่องสูบน้ําในโหมดการทํางานแบบควบคุมอัตโนมัติ
(8) อุปกรณ์ประกอบสําหรับเครื่องสูบน้ํา
(8.1) สายไฟฟ้ากําลังพร้อมอุปกรณ์ ประกอบเป็นไปตามรายละเอียดแบบรูปและรายการ
ละเอียด และตามรายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)
(8.2) ท่อ วาล์ว อุปกรณ์ครบชุดสําหรับการติดตั้งตามแบบรูปและรายการละเอียด ที่กําหนด
(8.3) ชุดแสดงผลและตรวจจับความผิดปกติของเครื่องสูบน้ําและมอเตอร์ (Pump & Motor
Monitoring Unit) ติดตั้งหน้าตู้ควบคุมสามารถตรวจวัดค่า รับข้อมูลจากชุดวิเคราะห์ค่าทางไฟฟ้า (Power
Analyzer) ต้องแสดงค่าการทํางานขั้นต่ําดังนี้
(ก) วั ด อุ ณ หภู มิ ข องรองลื่ น เครื่ อ งสู บ น้ํ า (Temperature Measurement of
Bearing Pump)
(ข) วัดอุณหภูมิของแบริ่งมอเตอร์ (Temperature Measurement of Bearing Motor)
(ค) วัดอุณหภูมิขดลวดของมอเตอร์ในแต่ละเฟส (Temperature Measurement
of Motor Winding, One each phase)
(ง) ตรวจวัดการสั่นสะเทือนของเครื่องสูบน้ํา (Pump Vibration Sensor)
(จ) กระแสไฟฟ้าและแรงดันไฟฟ้าของแต่ละเฟส กระแสไฟฟ้า และแรงดันไฟฟ้า
ไม่สมดุลย์ในแต่ละเฟสและอัตราการกินไฟ (Current and Voltage of each phase, Current and Voltage
Unbalance and Power Consumption)
(ฉ) Start and Running Time มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
- การเชื่อมต่อกั บ ระบบตรวจจั บ ความผิด ปกติ ทั้ งหมด (Connection to
All Sensors)

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
9-8 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 9 : งานระบบเครื่องกล (Mechanical Works)

- สามารถแสดงผลผ่าน Webpage หรือโปรแกรม Computer หรืออื่น ๆ


(8.4) ชุดวิเคราะห์ค่าทางไฟฟ้า (Power Analyzer) ต้องสามารถแสดงและส่งข้อมูลให้ชุด
แสดงผลและตรวจจับความผิดปกติเครื่องสูบน้ําและมอเตอร์ (Pump & Motor Monitoring Unit) ได้ขั้นต่ํา
ดังต่อไปนี้
(ก) ค่ากําลังไฟฟ้า (Power)
(ข) ค่าพลังงานไฟฟ้า (Energy)
(ค) ค่าตัวประกอบกําลัง (Power Factor)
(ง) กระแสไฟฟ้าของระบบ (System Current)
(จ) กระแสไฟฟ้าแต่ละเฟส (Current in Three Phases)
(ฉ) แรงดันไฟฟ้าของระบบ (System Voltage)
(ช) แรงดันไฟฟ้าแต่ละเฟส (Voltage in Three Phases)
(ซ) กระแสไฟฟ้าไม่สมดุลย์ในแต่ละเฟส (Current Unbalance)
(ฌ) แรงดันไฟฟ้าไม่สมดุลย์ในแต่ละเฟส (Voltage Unbalance)
(8.5) ชุดแสดงผลระยะไกลจะต้องประกอบด้วย
(ก) ตัวส่งสัญญาณ (Node) จากเครื่องสูบน้ําจํานวน 1 ชุด ต่อเครื่องสูบน้ํา 1 เครื่อง
ใช้เทคโนโลยี LoRaWan, NB IOT หรืออื่น ๆ
(ข) โปรแกรมแสดงผลโดยสามารถเชื่อมต่อหรือแสดงผลบน Platform ของผู้รับจ้าง
ที่มีอยู่เพื่ อติดตามการทํางานของเครื่องสูบน้ําผ่านเครือข่ายระยะไกลโดยรับสัญ ญาณจากชุดแสดงผลและ
ตรวจจับความผิดปกติเครื่องสูบน้ํา (Pump Protection & Monitoring Unit) และชุดวิเคราะห์ค่าทางไฟฟ้า
(Power Analyzer) โดยนําข้อมูลการทํางานต่าง ๆ มาเก็บและประมวลผลโดยมีความสามารถและฟังก์ชั่นของ
ระบบในด้านต่าง ๆ ดังนี้
- มีชุดคําสั่งอัตโนมัติในการตรวจสอบพร้อมแจ้งเตือนระบบป้องกันมอเตอร์
- มีระบบตรวจจับความผิดปกติและรายงานเมื่อกระแสไฟฟ้าเกินหรือต่ํากว่า
พิกัดของแต่ละเครื่อง
- มีระบบตรวจจับความผิดปกติ Ground/earth, Current Phase Unbalance
- สามารถแสดงผลการวัดอัตราการไหลแต่ละเครื่องสูบน้ําและอัตราการไหล
รวมทั้งสถานีได้
- อุณหภูมิของ Bearing ขณะเครื่องสูบน้ําทํางาน
- ข้อมูลระดับน้ํา
- สามารถจัดการเตือนเมื่อถึงเวลาที่ต้องซ่อมบํารุง
- ชั่วโมงการทํางานของเครื่องสูบน้ําและมอเตอร์
- สามารถกําหนดรหัสผ่านในการเข้าถึงระบบได้หลายระดับ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
9-9 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 9 : งานระบบเครื่องกล (Mechanical Works)

- สามารถแสดงผล เก็บข้อมูลและการเตือนย้อนหลังได้ไม่น้อยกว่า 3 (สาม) ปี


เพื่อนําข้อมูลมาวิเคราะห์ได้เมื่อต้องการ
- ระบบสามารถระบุสถานีได้หลายแหล่งโดยเชื่อมโยงกันในรูปแผนที่
- ระบบเป็นแบบ Web- base สามารถใช้งานได้ทั้งคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต
(Tablet) และสมาร์ทโฟน (Smart Phone)
- สามารถรองรับการสื่อสารกับ Modbus 485 หรือ I2C หรือ Digital Input
หรือ Analog Input ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- สามารถสร้างระบบการจัดการเตือนเมื่อถึงเวลาที่ต้องซ่อม
- สามารถทํางานและใช้งานได้ตลอด 24 ชั่วโมง
- โปรแกรมของระบบจะต้ องจัด เก็บ ไว้ในหน่วยงานอย่างน้ อย 2 (สอง) ปี
ในกรณีระบบควบคุมหลักหรือเซิร์ฟเวอร์ (Server) เกิดความเสียหายจะต้องสามารถกู้คืนได้ง่าย
(9) ขนาดและมิ ติ ข องเครื่ อ งสู บ น้ํ า ผู้ รั บ จ้ า งจะต้ อ งแนบแบบเพิ่ ม เติ ม (Shop Drawings)
เครื่องสูบน้ําของผู้ผลิตแสดงถึงรายละเอียด ขนาด และมิติเครื่องสูบน้ําและอุปกรณ์ที่สอดคล้องกับอาคารสถานี
สูบน้ําตามแบบรูปและรายการละเอียด
(10) การประกอบเครื่องสูบน้ําและมอเตอร์ ต้องติดตั้งพร้อมตั้งศูนย์ (Alignment) อย่างสมบูรณ์
บนโครงสร้างเหล็กที่แข็งแรง
(11) การอบรมการใช้งาน ผู้รับจ้างจะต้องเตรียมวิศวกรหรือเจ้าหน้าที่เทคนิคที่มีความชํานาญ
เพื่อทําแผนจัดฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ของผู้ว่าจ้างให้สามารถใช้งานเครื่องสูบน้ํามอเตอร์และอุปกรณ์อื่น ๆ ได้
(12) การทําสีเครื่องสูบน้ํา เป็นไปตามมาตรฐานผู้ผลิต
(13) เครื่ อ งมื อ ต้ อ งมี พ อเพี ย งสํ า หรั บ การแก้ ไขเมื่ อ มี ปั ญ หาการทํ างานหรื อ การซ่ อ มบํ า รุ ง
ประจําวัน (ระบุรายละเอียด) เสนอ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุพิจารณา
(14) การติดตั้งและทดสอบเครื่องสูบน้ํา (Field Test) ผู้รับจ้างจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่าย
ในงานติดตั้งและทดสอบเครื่องสูบน้ําที่ติดตั้งแล้วทั้งหมด ซึ่งการทดสอบทั้งหมดต้องมีวิศวกรเครื่องกลและ
วิศวกรไฟฟ้าผู้ได้รับใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับสามัญวิศวกรเครื่องกลและสามัญวิศวกรไฟฟ้า
ตามพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542 และคณะกรรมการตรวจรับพัสดุร่วมอยู่ในการทดสอบด้วย
(14.1) รายละเอี ยดด้ านเครื่อ งมื อ วัด ผู้ ขายหรือผู้ รับ จ้างต้อ งจัด หาอุ ป กรณ์ สําหรับ การ
ทดสอบหรืออุปกรณ์ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้
(ก) เครื่ อ งมื อ วั ด อั ต ราการไหล กํ า หนดให้ ใ ช้ เ ครื่ อ งวั ด อั ต ราการไหลแบบ
Ultrasonic Flow Meter
(ข) เครื่องมือวัดความดัน (Pressure Gauge)
(ค) เครื่องมือวัดความเร็วรอบ
(ง) เครื่องมือวัดการสั่นสะเทือน
(จ) เครื่องมือวัดทางไฟฟ้า

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
9 - 10 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 9 : งานระบบเครื่องกล (Mechanical Works)

(ฉ) รายละเอี ย ดการติ ด ตั้ งเครื่ อ งมื อ วั ด และอุ ป กรณ์ ป ระกอบให้ ผู้ รั บ จ้ า งเสนอ
แบบเพิ่ ม เติม (Drawings) และรายละเอียดการติด ตั้ง ขั้น ตอนการทดสอบให้ คณะกรรมการตรวจรับ พั ส ดุ
พิจารณาก่อนทําการทดสอบ
(15) การรายงานผลการทดสอบ ผู้รับจ้างต้องจัดทํารายงานผลการทดสอบโดยแสดงค่าการวัด
ค่ าที่ ได้ จ ากการคํ านวณและอื่ น ๆ ดั งต่ อ ไปนี้ และมี ล ายมื อ ชื่ อ วิ ศ วกรเครื่ อ งกลและวิ ศ วกรไฟฟ้ าผู้ ได้ รับ
ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับสามัญวิศวกรเครื่องกลและสามัญวิศวกรไฟฟ้าตามพระราชบัญญัติ
วิศวกร พ.ศ. 2542 ลงนามกํากับเพื่อให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุพิจารณาการตรวจรับ
(15.1) อัตราการสูบน้ํา ไม่น้อยกว่า 0.3 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
(15.2) ระยะยกน้ํา (Total Head) ไม่น้อยกว่า 60 เมตร เป็นค่าผลรวมของระยะยกน้ําสถิต
(Static Head) ค่าความสูญเสียในระบบ (Head Loss) และค่าเฮดความเร็ว (Velocity Head)
(15.3) ค่ า วั ด ทางไฟฟ้ า และค่ า ที่ ไ ด้ จ ากการคํ า นวณประกอบด้ ว ยกระแส แรงดั น
ตั ว ประกอบกํ า ลั ง (Power Factor) ทั้ ง ก่ อ นและหลั ง การปรั บ ปรุ ง ตั ว ประกอบกํ า ลั ง ด้ ว ยตั ว เก็ บ ประจุ
(Capacitor) กําลังงานเพลามอเตอร์ ค่าประสิทธิภาพเครื่องสูบน้ํา ฯลฯ
(15.4) ตู้ ค วบคุ ม ขณะทํ างานจะต้ อ งมี ร ายงานการวั ด อุ ณ หภู มิ โดยใช้ เครื่ อ งวั ด อุ ณ หภู มิ
(Thermo Scan)
(16) การรับประกัน การรับประกันไม่น้อยกว่า 2 (สอง) ปี หลังจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
ได้ดําเนินการตรวจรับมอบงานทั้งสัญญาแล้ว
(17) การบริการ ผู้รับจ้างต้องแจ้งชื่อและที่อยู่ของศูนย์บริการเพื่อการรับประกันและบริการโดย
มีรายละเอียดศูนย์บริการเครื่องสูบน้ําและมอเตอร์ดังนี้
(17.1) ศูนย์บริการเครื่องสูบน้ํา (Pump Service Center)
(ก) ต้องเป็นศูนย์บริการที่เปิดบริการภายใต้ยี่ห้อเครื่องสูบน้ําที่เสนอโดยมีกําลังของ
เครื่องจักรรวมไม่น้อยกว่า 200 แรงม้า และต้องมี Balance Machine ในการซ่อมบํารุง
(ข) ต้องเคยเป็นศูนย์ให้บริการซ่อมเครื่องสูบน้ําชนิดเดียวกันมีขนาดอัตราการสูบน้ํา
ไม่น้อยกว่าที่เสนอ (พร้อมทั้งแนบเอกสารจากคู่สัญญาหรือผู้รับบริการ)
(17.2) ศูนย์บริการมอเตอร์ (Motor service center)
(ก) ศูนย์บริการมอเตอร์มีกําลังของเครื่องจักรรวมไม่น้อยกว่า 200 แรงม้า และต้อง
มีเครื่อง Balancing Machine, Vacuum Pressure Impregnation (VPI) ในการซ่อมบํารุง (แนบรายละเอียด
และเอกสารรับรอง)
(ข) ต้องเคยให้บริการซ่อมบํารุงมอเตอร์ไฟฟ้ามีขนาดกิโลวัตต์ไม่น้อยกว่ามอเตอร์ที่
เสนอ (พร้อมทั้งแนบเอกสารรับรองจากคู่สัญญาหรือผู้รับบริการ)
(17.3) ศูนย์บริการของเครื่องสูบน้ําและมอเตอร์ต้องได้ใบรับรองมาตรฐาน ISO 9001 และ
ต้องได้รับการแต่งตั้งจากบริษัทผู้ผลิตมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 (สอง) ปี โดยแนบเอกสารหลักฐานจากกระทรวง
พาณิชย์หรือหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องมาเพื่อประกอบการพิจารณาพร้อมระบุที่อยู่และหมายเลขโทรศัพท์ที่

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
9 - 11 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 9 : งานระบบเครื่องกล (Mechanical Works)

สามารถตรวจสอบได้ (ผู้รับจ้างต้องแนบเอกสารแสดงใบ รง.4 หรือหนังสืออนุญาตให้ประกอบกิจการในนิคม


อุตสาหกรรมและใบรับรองมาตรฐาน ISO 9001)
(18) รายละเอี ยดด้านอื่น ๆ ที่นํามาพิจารณาเพื่ อให้ แน่ใจว่าผู้ว่าจ้าง จะได้เครื่องสูบน้ําและ
มอเตอร์ที่มีคุณ ภาพดี เหมาะสม และเป็นประโยชน์ต่อราชการ นอกเหนือจากรายละเอียดทางตัวเลขและ
เทคนิคเครื่องสูบน้ํามอเตอร์และอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ต้องเป็นไปตามรายละเอียดดังนี้
(18.1) เครื่องสูบน้ําต้องเป็นรุ่นใหม่ล่าสุดที่เป็นรุ่นมาตรฐานที่มีรายละเอียดตามหัวข้อ (24.1)
โดยเว็ บ ไซต์ ข องผู้ ผ ลิ ต เครื่ อ งสู บ น้ํ า ต้ อ งมี แ ค็ ต ตาล็ อ ก (Catalogue) แผนภู มิ ไ ดอะแกรม (Selection
Diagrams) และ Family Curve ปรากฏบนเว็บไซต์ไม่น้อยกว่า 1 (หนึ่ง) ปี
(18.2) มอเตอร์ไฟฟ้าต้องเป็นรุ่นใหม่ล่าสุดที่เป็นรุ่นมาตรฐานโดยเว็บไซต์ของผู้ผลิตมอเตอร์
ต้องมีแค็ตตาล็อก (Catalogue) ปรากฏบนเว็บไซต์
(18.3) ในการสร้างและการผลิตเครื่องสูบน้ําและอุปกรณ์ประกอบจะต้องใช้กรรมวิธีหรือ
วิธีการผลิตหรือสร้างตามมาตรฐานสากลที่มีการยอมรับและถือปฏิบัติ
(18.4) วัสดุที่ใช้นํามาผลิตชิ้นส่วนต่าง ๆ ของเครื่องสูบน้ําและอุปกรณ์ ประกอบต้องเป็ น
ของใหม่และไม่มีการชํารุดบกพร่องหรือเสียหาย
(18.5) ช่างฝีมือหรือแรงงานที่ใช้ในการสร้างหรือผลิตต้องมีทักษะและฝีมือตามมาตรฐานของ
งานที่ปฏิบัติ
(19) ก่ อ นการติ ด ตั้งเครื่อ งสู บ น้ํ าต้ อ งได้ รับ การทดสอบจากบ่ อ ทดสอบในประเทศไทย การ
ทดสอบต้องทดสอบตามมาตรฐาน ISO 9906 เพื่อให้ได้ค่าต่าง ๆ ดังนี้ Duty point, Flow, Head, Efficiency
และ Shaft Power ที่เสนอใน Performance Curve โดยมีผู้ตรวจสอบรับรองรายใดรายหนึ่งตามข้อ (21) เป็น
พยานในการทดสอบด้วยโดย ผู้รับจ้างต้องเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้งหมดในการทดสอบ
(20) การทดสอบสมรรถนะเครื่องสูบน้ํา โรงงานผู้ผลิตเครื่องสูบน้ําต้องทดสอบเครื่องสูบน้ําโดย
นํามอเตอร์ที่เสนอตามสัญญามาทดสอบ กับเครื่องสูบน้ําที่โรงงานผู้ผลิตเครื่องสูบน้ํา โดยขั้นต่ําในการทดสอบ
3 ชุด และมีผู้ตรวจสอบรับรองรายใดรายหนึ่งตามข้อ (21) เป็นพยานในการทดสอบ การทดสอบเครื่องสูบน้ําต้อง
ดําเนินการตามมาตรฐาน ISO 9906 หรือ JIS B 8301 เพื่อตรวจสอบให้ได้ค่าสมรรถนะของเครื่องสูบน้ําตรงตามที่
ระบุไว้ในคุณลักษณะเฉพาะของผู้รับจ้าง โดยผู้รับจ้างต้องเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้งหมดในการทดสอบ
(21) โรงงานที่ผลิตเครื่องสูบน้ําและมอเตอร์ที่เสนอต้องเป็นโรงงานที่ได้ใบรับรองคุณภาพตาม
มาตรฐาน ISO 9001 Certificate ซึ่งออกให้โรงงานผู้ผลิตที่มีชื่อตามผลิตภัณฑ์ที่เสนอเท่านั้น โดยบริษัทจด
ทะเบียนระหว่างประเทศบริษัทใดบริษัทหนึ่งดังต่อไปนี้
- Lloyd's Register Quality Assurance Limited (LRQA)
- TÜV Cert GmbH
- Det Norske Veritas (DNV·GL)
- Bureau Veritas Quality International (BVQI)
- BSI Quality Assurance

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
9 - 12 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 9 : งานระบบเครื่องกล (Mechanical Works)

- SGS Group of Companies (SGS)


- Association Francaise pour' Assurance de la Qualite (AFAQ)
- Japan Quality Assurance Organization (JQA)
- Underwriter's Laboratories Incorporation (UL)
- Deutche Gesellschaft ZurZertizierung von Management System mbH (DQS)
ผู้ รั บ จ้ างต้ อ งแนบหนั งสื อ รั บ รองในวั น เสนอรายละเอี ย ดเพื่ อ การพิ จ ารณาเห็ น ชอบของ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ โดยระยะเวลาที่ได้รับการรับรองมาตรฐานจะต้องไม่หมดอายุก่อนวันที่ยื่นข้อเสนอ
(22) ตัวแทนจําหน่ายจากผู้ผลิตหรือตัวแทนจําหน่ายในประเทศไทย ต้องได้ใบรับรองคุณภาพตาม
มาตรฐาน ISO 9001 โดยผู้ตรวจสอบ รายใดรายหนึ่งตามข้อ (21) มีขอบข่ายการรับรองการขายและบริการ
(23) การทดสอบสมรรถนะมอเตอร์ จะต้องทําการทดสอบมอเตอร์ทุกตัว ณ โรงงานผู้ผลิต โดย
ผู้ตรวจสอบรับรองรายใดรายหนึ่งตามข้อ (21) เป็นพยานในการทดสอบดังรายการต่อไปนี้
- Resistance of Stator Windings
- Visual Inspection Including Checking Accessories
- Vibration Measurement at No Load
- Insulation Resistance at Ambient Temperature
- Phase Sequence and Terminal Marking
- Short-circuit Point at Rated Current
- Locked Rotor Current and Torque
- No Load Test
- Temperature Rise Test at Rated Current
- Noise Level Measurement at No Load
- Direction of Rotation
- Over Speed Test
- Withstand Voltage Test
- Speed-torque Curve
- Determination of Efficiency and Power Factor at 50%, 75% and 100% load
(24) ผู้รับจ้างต้องเสนอรายละเอียดครบถ้วนจํานวนอย่างน้อย 1 ชุด ประกอบด้วยเอกสารดังนี้
(24.1) เอกสารแสดงรายละเอี ย ดรูป แบบของเครื่ อ งสู บ น้ํ าและเอกสารแสดงกราฟของ
คุณลักษณะของเครื่องสูบน้ํา ประกอบด้วยดังนี้
(ก) กราฟอัตราการไหล (Flow Rate)
(ข) กราฟระยะยกน้ํา (Total Head)
(ค) กราฟแสดงประสิทธิภาพ (Efficiency)
(ง) กราฟแสดงกําลังงาน (Shaft Power)

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
9 - 13 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 9 : งานระบบเครื่องกล (Mechanical Works)

(จ) กราฟแสดง Net Positive Suction Head Requirement (NPSH (req.))


(ฉ) กราฟข้อ (ก) ถึง (จ) ต้องได้รับรองมาจากโรงงานผู้ผลิตเครื่องสูบน้ําและต้องมี
รายละเอียดด้านเทคนิค (Technical Data) ตามข้อเสนอข้างต้นและต้องระบุให้ชัดเจนของยี่ห้อและรุ่นโดยต้อง
สอดคล้องถูกต้องตามข้อกําหนดตามรายการของรายละเอียด
(24.2) แบบการติดตั้งเครื่องสูบน้ําเพิ่มเติม (Shop Drawings) แสดงรายละเอียดขนาดและ
มิ ติ ต่ า ง ๆ และอุ ป กรณ์ ป ระกอบครบถ้ ว นพร้อ มใช้ งานและมี วิศ วกรเครื่ อ งกลผู้ ได้ รั บ ใบประกอบวิช าชี พ
วิศวกรรมควบคุมระดับสามัญวิศวกรเครื่องกลขึ้นไปตาม พระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542 ลงนามกํากับ
(24.3) เอกสารแสดงรายละเอียดอุปกรณ์ดังต่อไปนี้
(ก) เอกสารแสดงคุณสมบัติ (Technical Data) และแบบแสดงรายละเอียดวงจร
(Diagram) การทํางานของชุดแสดงผลและตรวจจับความผิดปกติของเครื่องสูบน้ําและมอเตอร์ (Pump &
Motor monitoring unit) ตามข้อ (8.3)
(ข) เอกสารแสดงคุ ณ สมบั ติ (Technical Data) แบบแสดงรายละเอี ย ดวงจร
(Diagram) การทํางานของชุดวิเคราะห์ค่าทางไฟฟ้า (Power analyzer) ตามข้อ (8.4)
(ค) เอกสารแสดงคุณสมบัติ (Technical data) และแคตตาล็อก (Catalogue) ของ
อุปกรณ์ตามหัวข้อ (8.5) ลงนามกํากับโดยบริษัทผู้ผลิตและแนบหนังสือรับรองจากบริษัทผู้ผลิตเครื่องสูบน้ํา
และมอเตอร์เพื่อรับรองว่าสามารถทํางานร่วมกับชุดแสดงผลและตรวจจับความผิดปกติ (Pump & Motor
Monitoring Unit) และไม่เกิดความเสียหายต่อเครื่องสูบน้ําและมอเตอร์
(ง) หน้าจอแสดงผลของ Computer (Dash Board) ต้องจําลองการทํางานต่าง ๆ
ตามข้อ (8.3) และ (8.3) และ (8.5) (ข)
(24.4) แบบเพิ่มเติม (Shop Drawings) แปลนการติดตั้งระบบไฟฟ้าจากหม้อแปลงไฟฟ้า
มายังตู้ควบคุมหลัก (Incoming Unit) และจากตู้ Starter ไปยังเครื่องสูบน้ําโดยมีรายละเอียดสอดคล้องกับ
แบบรูปและรายการละเอียด และมีวิศวกรไฟฟ้าผู้ได้รับใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับสามัญวิศวกร
ไฟฟ้าขึ้นไปตาม พระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ.2542 ของผู้รับจ้างลงนามกํากับ
(24.4) แบบแสดงรายละเอียดวงจรไฟฟ้า (Single Line Diagram) แสดงรายละเอียดของ
อุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ โดยมีรายละเอียดสอดคล้องกับอุปกรณ์ระบบไฟฟ้า และมีวิศวกรไฟฟ้าผู้ได้รับใบประกอบ
วิชาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับสามัญวิศวกรไฟฟ้าขึ้นไปตาม พระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ.2542 ของผู้รับจ้าง
ลงนามกํากับ
(24.5) แบบเพิ่มเติม (Shop Drawings) เรียบเรียงทั่วไปของตู้ควบคุมและอุปกรณ์ไฟฟ้าโดย
มีรายละเอียดสอดคล้องกับอุปกรณ์ระบบไฟฟ้า และมีวิศวกรไฟฟ้าผู้ได้รับใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
ระดับสามัญวิศวกรไฟฟ้าขึ้นไปตาม พระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ.2542 ของผู้รับจ้างลงนามกํากับ
(24.6) รายการคํานวณแสดงอายุการใช้งานของแบริ่งตามข้อ (3.6) รองลื่น และ (5.14)
มอเตอร์ และรายการคํานวณความสัมพันธ์ระหว่างทอร์คของเครื่องสูบน้ําและมอเตอร์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
9 - 14 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 9 : งานระบบเครื่องกล (Mechanical Works)

(25) ผู้รับจ้างต้องจัดเตรียมเอกสารและการทดสอบเครื่องสูบน้ํา อุปกรณ์ประกอบและมอเตอร์


ไฟฟ้าเพื่อนําเสนอให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุพิจารณาดังต่อไปนี้
(25.1) ผลการทดสอบเครื่องสูบน้ําตามข้อ (20) การทดสอบสมรรถนะเครื่องสูบน้ํา ของ
โรงงานผู้ผลิตและเอกสารรับรองแสดงผลการตรวจสอบวัสดุที่ใช้ผลิตเครื่องสูบน้ําโดยมีรายละเอียดครบถ้วน
สําหรับการส่งมอบเครื่องสูบน้ํา
(25.2) ใบรับรองความสมดุลทางสถิตศาสตร์และพลศาสตร์ (Statically and Dynamically
Balanced) ของใบพัดจากโรงงานผู้ผลิตตามข้อ (2.2) ใบพัด (Impeller)
(25.3) ผลทดสอบสมรรถนะการทํางานเครื่องสูบน้ํารุ่นที่เสนอตามข้อ (19) จากบ่อทดสอบ
ในประเทศไทย
(25.4) ผลทดสอบมอเตอร์ตามข้อ (23) การทดสอบสมรรถนะมอเตอร์ ของโรงงานผู้ผลิต
และเอกสารรับรองแสดงผลการตรวจสอบโดยมีรายละเอียดครบถ้วน
(25.5) เอกสารแสดงผลการทดสอบสมรรถนะเครื่องสูบน้ําและมอเตอร์ ณ สถานที่ติดตั้งโดย
มีรายละเอีย ดแสดงอัต ราการสู บ น้ํ าและค่าวัดทางไฟฟ้ าโดยมี วิศวกรเครื่องกลและวิศวกรไฟฟ้ าผู้ ได้รับ ใบ
ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับสามัญวิศวกรเครื่องกลและสามัญวิศวกรไฟฟ้าตาม พระราชบัญญัติ
วิศวกร พ.ศ.2542 ของผู้รับจ้างลงนามกํากับ
(26) ผู้ รั บ จ้ า งจะต้ อ งแนบเอกสารแสดงข้ อ มู ล เพื่ อ ยื น ยั น คุ ณ สมบั ติ ต่ า ง ๆ ตามที่ เสนอใน
ข้อกําหนดรายละเอียดคุ ณ ลั กษณะเฉพาะให้ค ณะกรรมการพิ จารณา ถ้าผู้ รับจ้างเสนอเอกสารไม่ตรงตาม
ข้อกําหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะหรือไม่เสนอเอกสารหรือเอกสารปลอมและเอกสารเท็จจะถือว่ามี
คุณ สมบัติไม่ตรงตามข้อกําหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะสงวนสิทธิไม่
พิจารณาตรวจรับ
9.3.2 เครื่องสูบน้ําระบายน้ํา (Submersible Pump) ขนาดไม่น้อยกว่า 200 ลิตรต่อนาที ที่ระยะ
ยกน้ําไม่น้อยกว่า 15 เมตร ขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า
ผู้รับจ้างจะต้องเสนอรายละเอียดทุกรายการให้ครบถ้วน โดยแต่ละรายการจะต้องเสนอชื่อยี่ห้อ
เพียงยี่ห้อเดียว รุ่นเพียงรุ่นเดียวและเป็นรุ่นมาตรฐานที่แสดงในแค็ตตาล็อก (Catalogue) บริษัทผู้ผลิตเพียง
บริษั ทเดียว ประเทศต้นกําเนิดเพี ยงประเทศเดียว (Country of Origin) ประเทศที่ผลิตเพี ยงประเทศเดียว
(Country of Manufacturer) ประเทศที่ประกอบเพียงประเทศเดียว (Country of Assembly) แนวทางการ
ดําเนินการ รูปแบบเทคนิคการติดตั้ง และเสนอรายละเอียดตารางเปรียบเทียบรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ
(Specifications) ตามแบบฟอร์มที่คณะกรรมตรวจรับพัสดุกําหนดให้ครบถ้วนและถูกต้องสมบูรณ์
(1) รายละเอียดทั่วไป เครื่องสูบน้ําแบบจุ่ม (Submersible Sewage Pump) ขับด้วยมอเตอร์
ไฟฟ้าพร้อมอุปกรณ์ติดตั้งอัตโนมัติ สําหรับใช้งานการสูบน้ําดิบและการระบายน้ํา
(2) อัตราการทํางานของเครื่องสูบน้ํา
- อัตราการสูบน้ํา 200 ลิตรต่อนาที
- ระยะยกน้ํา (Total head) ไม่น้อยกว่า 15 เมตร ณ อัตราการสูบน้ําที่กําหนด

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
9 - 15 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 9 : งานระบบเครื่องกล (Mechanical Works)

-
ความเร็วรอบ ไม่เกิน 3,000 รอบต่อนาที
-
ตัวเรือนเครื่องสูบน้ํา ทําด้วย Gray iron casting
-
ใบพัด เป็นชนิด Non-clog ทําด้วย Gray iron casting
-
เพลาเครื่องสูบน้ํา ทําด้วย Stainless steel
(3) การส่งกําลังงาน มอเตอร์ไฟฟ้ากับใบพัดจะต้องเป็นชนิดใช้แกนเพลาเดียวกันไม่มีการต่อ
เพลาหรือใช้เกียร์ทด
(4) ต้นกําลัง มอเตอร์ไฟฟ้า
(4.1) แบบของมอเตอร์ มอเตอร์ เหนี่ ย วนํ า ไฟฟ้ า แบบกรงกระรอก (Squirrel - cage
Induction Motor) สําหรับใช้งานใต้น้ํา (IP 68)
(4.2) ระบบไฟฟ้า 220 โวลต์ 1 เฟส 50 เฮิรตซ์หรือ 380/400 โวลต์ 3 เฟส 50 เฮิรตซ์
(4.3) ความเร็วรอบ ไม่เกิน 3,000 รอบต่อนาที
(4.4) ขนาดกําลังใช้งานมอเตอร์ ไม่เกิน 2.2 กิโลวัตต์
(4.5) ระดับชั้นของฉนวน ชั้นมาตรฐานระดับ F หรือดีกว่า
(4.6) สายไฟฟ้าที่ใช้กับเครื่องสูบน้ําจะต้องเป็นชนิดแบบจุ่มใต้น้ํา (Submersible Power
Cable) ไม่มีข้อต่อ ความยาวไม่น้อยกว่า 5 เมตร โดยสามารถกันน้ําเข้าภายในตัวมอเตอร์และตัวของสายไฟ
เองหากเกิดกรณีมีของแข็งทําให้เปลือกนอกของสายไฟขาดน้ําจะต้องไม่สามารถเข้าไปภายในสายไฟได้
(4.7) การกันรั่วของเพลาเครื่องสูบน้ํา เป็น Mechanical Seal
(4.8) มอเตอร์จะต้องผลิตตามมาตรฐาน NEMA DIN หรือ IEC
(5) ชุดควบคุมระบบไฟฟ้าของเครื่องสูบน้ํา การควบคุมเป็นแบบ Manual และ Auto และชุด
ควบคุมประกอบไปด้วย อุปกรณ์ดังต่อไปนี้เป็นอย่างน้อย
- ตู้แผ่นเหล็กขึ้นรูปแบบติดผนัง (Fabricated steel enclosure, wall mounting) สําหรับ
ใช้ภายในหรือนอกอาคาร 1 ชุด
- สวิตซ์ตัดตอนอัตโนมัติ (Molded case circuit breaker) 1 ชุด
- ชุด ควบคุม การปิด เปิด ชนิด Direct on line starter หรือ Star-delta พร้อ ม
Overload relay 1 ชุด
- รีเลย์ป้องกันไฟรั่ว 1 ชุด
- รีเลย์ป้องกันแรงดันเกิน/ตก และไฟไม่ครบเฟส 1 ชุด
- ชุดอุปกรณ์สําหรับต่อลงดิน (Grounding connection) 1 ชุด
- ชุดปุ่มกด 1 ชุด
- ชุดไฟแสดงสถานะ 1 ชุด
- ขั้วและหลักต่อสายเข้าออก 1 ชุด
- ป้ายชื่อแสดงรายละเอียดของอุปกรณ์ไฟฟ้า 1 ชุด
(6) การทําสี เป็นไปตามมาตรฐานผู้ผลิต

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
9 - 16 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 9 : งานระบบเครื่องกล (Mechanical Works)

(7) เครื่องมือ จะต้องมีพอเพียงสําหรับการแก้ไขเมื่อมีปัญ หาการทํางานหรือการซ่อมบํารุง


ประจําวัน
(8) การรับประกัน การรับประกันไม่น้อยกว่า 2 (สอง) ปี หลังจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
ได้ดําเนินการตรวจรับมอบงานทั้งสัญญาแล้ว
(9) การบริ ก าร ผู้ รั บ จ้ างต้ อ งแจ้ งชื่ อ และที่ อ ยู่ ข องตั ว แทนจํ าหน่ ายจากผู้ ผ ลิ ต หรือ ตั ว แทน
จําหน่ายในประเทศไทยเพื่อการรับประกันและบริการ
(10) รายละเอียดด้านอื่น ๆ ที่นํามาพิจารณาคัดเลือกเพื่อให้แน่ใจว่ากรม จะได้เครื่องสูบน้ําที่มี
คุณภาพดีเหมาะสมและเป็นประโยชน์ต่อราชการ นอกเหนือจากรายละเอียดทางตัวเลขและเทคนิคเครื่องสูบน้ํา
และอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ที่เสนอจะต้องเป็นไปตามรายละเอียดดังนี้
(10.1) ต้องเป็นรุ่นมาตรฐานที่มีรายละเอียดปรากฏใน Catalogue หากไม่มีรายละเอียดหรือ
รายละเอียดไม่ตรงกับข้อเสนอถือว่าผิดเงื่อนไขสัญญาคณะกรรมการตรวจรับพัสดุขอสงวนสิทธิไม่พิจารณา
(10.2) ในการสร้างและการผลิตเครื่องสูบน้ําและอุปกรณ์ประกอบต้องใช้กรรมวิธีหรือวิธีการ
ผลิตหรือสร้างตามมาตรฐานสากลที่มีการยอมรับและถือปฏิบัติ
(10.3) วัส ดุ ที่ ใช้ นํ ามาผลิตชิ้น ส่วนต่ าง ๆ ของเครื่องสูบน้ํ าและอุ ป กรณ์ ประกอบต้องเป็ น
ของใหม่และไม่มีการชํารุดบกพร่องหรือเสียหาย
(10.4) ช่างฝีมือหรือแรงงานที่ใช้ในการสร้างหรือผลิตต้องมีทักษะและฝีมือตามมาตรฐานของ
งานที่ปฏิบัติ
(11) โรงงานที่ผลิตเครื่องสูบน้ําที่เสนอจะต้องเป็นโรงงานที่ได้ใบรับรองมาตรฐานระบบ ISO 9001
โดยผู้ตรวจสอบรายใดรายหนึ่งดังต่อไปนี้ Bureau Veritas, Lloyd's Register, TÜV, SGS, DNV หรือ DQS
(12) การจัดเตรียมเอกสารขออนุมัติ ผู้รับจ้างต้องเสนอรายละเอียดจํานวน 1 ชุด ประกอบด้วย
เอกสารแสดงรายละเอียดรูปแบบของเครื่องสูบน้ําและอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ รวมทั้งเส้นกราฟคุณลักษณะ
ของเครื่องสูบน้ํา (Performance Curve) ต้องประกอบด้วยเส้นกราฟอย่างน้อย ดังนี้
(ก) เส้นกราฟอัตราการไหลและระยะยกน้ํา (Q-H Curve)
(ข) เส้นกราฟแสดงประสิทธิภาพ (Efficiency Curve)
(ค) เส้นกราฟแสดงกําลังงาน (Power Curve)
และรายละเอียดด้านเทคนิค (Technical Data) ตามที่เสนอข้างต้น ต้องระบุยี่ห้อและรุ่น ให้ชัดเจนโดยต้อง
สอดคล้องถูกต้องตามข้อกําหนดของรายการรายละเอียด
9.3.3 เครนไฟฟ้าแบบวิ่งบนรางเดี่ยว (Traveling Crane) ขนาดไม่น้อยกว่า 7.5 เมตริกตัน
ผู้รับจ้างจะต้องเสนอรายละเอียดทุกรายการให้ครบถ้วน โดยแต่ละรายการจะต้องเสนอชื่อ
ยี่ห้อเพียงยี่ห้อเดียว รุ่นเพียงรุ่นเดียวและเป็นรุ่นมาตรฐานที่แสดงในแคตตาล็อก (Catalogue) บริษัทผู้ผลิต
เพียงบริษัทเดียว ประเทศต้นกําเนิดเพียงประเทศเดียว (Country of Origin) ประเทศที่ผลิตเพียงประเทศเดียว
(Country of Manufacturer) ประเทศที่ประกอบเพียงประเทศเดียว (Country of Assembly) แนวทางการ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
9 - 17 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 9 : งานระบบเครื่องกล (Mechanical Works)

ดําเนินการ รูปแบบเทคนิคการติดตั้ง และเสนอรายละเอียดตารางเปรียบเทียบรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ


(Specifications) ตามแบบฟอร์มที่คณะกรรมตรวจรับพัสดุกําหนดให้ครบถ้วนและถูกต้องสมบูรณ์
(1) รายละเอีย ดทั่ วไป เครนไฟฟ้ าแบบวิ่งบนรางเดี่ยวขนาด 7.5 เมตริกตั น (Single Girder
Electric Overhead Traveling Crane) พร้อมงานติดตั้งประกอบด้วย ชุดรอก ชุดขั บเคลื่อน คาน รางวิ่ง
ระบบควบคุม สายไฟ และอุปกรณ์ประกอบอื่น ๆ
(2) รายละเอียดทางเทคนิคและลักษณะทั่วไป :
(2.1) โครงสร้างคานจะต้องเป็นแผ่นเหล็กเชื่อมประกอบกับ (Enclosed box girder) หรือ
เป็นเหล็กรูปพรรณชนิดรีดร้อน (Wide flange girder) ระยะแอ่นตัวไม่เกิน L / 1000
(2.2) รับน้ําหนักได้ไม่น้อยกว่า 7.5 เมตริกตัน
(2.3) ระยะต่าง ๆ ของการทํางานของเครน เป็นไปตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการ
ละเอียด โดยต้องแสดงระยะดังนี้
- ระยะยก (Lifting Height)
- ระยะความยาวของคาน (Span)
- ระยะระหว่างเสาถึงเสา (Column to Column)
- ระยะความยาวของทางวิ่ง (Runway)
(2.4) ทางวิ่ ง (Runway) เป็ น เหล็ ก รู ป พรรณชนิ ด รีด ร้ อ น (Wide flange) ระยะแอ่ น ตั ว
ไม่เกิน L/ 500
(2.5) รางวิ่ง (Runway Rail) เป็นเหล็กสี่เหลี่ยมตันติดตั้งโดยการเชื่อมประกอบกันกับทางวิ่ง
โดยไม่มีการบิดตัว ล้อเครนสามารถวิ่งได้โดยสะดวก
(2.6) ชุดรอกสลิงไฟฟ้า (Electric Wire Rope Hoist Motor) ขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าแบบมี 2
ลักษณะ ความเร็ว (เร็ว/ช้า) สามารถควบคุมความเร็วเคลื่อนที่ตามแนวดิ่ง (Lifting Travel Speed) ได้ดังนี้
1. เร็วไม่น้อยกว่า 5 เมตร/นาที
2. ช้าไม่มากกว่า 1.3 เมตร/นาที
3. ขนาดมอเตอร์ไม่น้อยกว่า 9 กิโลวัตต์
(2.7) ชุดโครงล้อเลื่อน (Trolley Frame) ขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าแบบมี 2 ลักษณะความเร็ว
(เร็ว/ช้า) สามารถควบคุมความเร็วเคลื่อนที่ตามแนวขวาง (Cross Travel Speed) ได้ดังนี้
1. เร็วไม่น้อยกว่า 20 เมตร/นาที
2. ช้าไม่มากกว่า 5 เมตร/นาที
3. ขนาดมอเตอร์ไม่น้อยกว่า 0.3 กิโลวัตต์
(2.8) ชุดขับเคลื่อน (End Carriage) ขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าแบบมี 2 ลักษณะความเร็ว (เร็ว/ช้า)
สามารถควบคุมความเร็วเคลื่อนที่ตามแนวยาว (Long Travel Speed) ได้ดังนี้
1. เร็วไม่น้อยกว่า 20 เมตร/นาที
2. ช้าไม่มากกว่า 5 เมตร/นาที

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
9 - 18 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 9 : งานระบบเครื่องกล (Mechanical Works)

3. ขนาดมอเตอร์ไม่น้อยกว่า 0.45 กิโลวัตต์


(3) ประสิทธิภาพการป้องกันของมอเตอร์ ไม่ต่ํากว่าระดับ IP 55 และชุดขดลวดต้องหุ้มด้วย
ฉนวน Class F หรือมาตรฐานที่ได้รับการรับรองว่าเทียบเท่า
(4) มาตรฐานประสิทธิภาพทางกลของรอก ไม่ต่ํากว่า FEM group 3m หรือมาตรฐานที่ได้รับ
การรับรองว่าเทียบเท่า
(5) ระบบเบรก เป็นแบบ DC Disc Brake
(6) ระบบไฟฟ้า ไฟฟ้ากระแสสลับ 380 โวลต์ 3 เฟส 50 เฮิรตซ์ และสายไฟต้องติดตั้งโดย
ไม่เป็นอุปสรรคต่อการทํางานของเครน
(7) อุปกรณ์ควบคุมและป้องกัน มีรายละเอียดขั้นต่ํา ดังต่อไปนี้
(7.1) ระบบป้องกันการยกน้ําหนักเกินพิกัด (Overload Protection)
(7.2) ระบบป้องกันมอเตอร์ของรอกเนื่องจากความร้อนสูงเกินกําหนด (Thermal Protection)
(7.3) ระบบป้องกันการสลับเฟสของระบบไฟฟ้า (Phase protection)
(7.4) อุปกรณ์ตัดการทํางานของระยะตะขอในตําแหน่ง ขึ้น-ลง สูงสุด และต่ําสุด (Upper
and Lower Limit Switch)
(7.5) อุปกรณ์ควบคุมแบบห้อย (Control Pendent) หรือแบบไร้สาย (Wireless Remote
Control) ชนิดป้องกันการกระแทก (Shock Proof) ประกอบด้วย ปุ่มควบคุมการเคลื่อนที่ ขึ้น-ลง ซ้าย-ขวา
และเคลื่อนที่ตามความยาวรวมทั้งการหยุดฉุกเฉิน
(7.6) ทางวิ่ง (Runway) มีอุป กรณ์ ตัดการทํ างาน (Limit Switch) เมื่อวิ่งสุดทางวิ่งและมี
อุปกรณ์กันตก
(7.8) อุปกรณ์อื่น ๆ ให้เป็นไปตามมาตรฐานของโรงงานผู้ผลิต
(8) เครนไฟฟ้าแบบวิ่งบนรางเดี่ยวขนาด 7.5 เมตริกตัน โดยยี่ห้อและรุ่นที่เสนอจะต้องเป็นของ
โรงงานผู้ผลิตที่ได้รับใบรับรองระบบ ISO 9001 ออกให้โดยผู้ตรวจสอบรายใดรายหนึ่ง ตามรายชื่อต่อไปนี้
- QMI-SAI Global
- Det Norske Veritas (DNV)
- IQNet International Certification Network
- TÜV Rheinland ,
- TÜV NORD
- TÜV SÜD
- United Kingdom Accreditation Service (UKAS)
- European Association of Quality Agencies
- United Registrar of Systems (URS)
- Bureau Veritas (BV)

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
9 - 19 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 9 : งานระบบเครื่องกล (Mechanical Works)

(9) การติดตั้ง ผู้รับจ้างจะต้องติดตั้งเครนไฟฟ้าจนสามารถใช้งานได้ โดย


(ก) ก่ อ นติ ด ตั้ งผู้ รับ จ้ างจะต้ อ งส่ งรายการคํ านวณระยะแอ่ น ตั วของโครงสร้ างคานกลาง
(Girder) และทางวิ่ ง (Runway) ช่ ว งระหว่ า งเสา (Column to Column) พร้ อ มแบบประกอบการติ ด ตั้ ง
รับรองโดยวิศวกรเครื่องกลระดับสามัญวิศวกรขึ้นไป ให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุพิจารณา
(ข) หลังการติดตั้งจะต้องมีการทดสอบการทํางานของชุดอุปกรณ์จนยอมรับได้ โดยผู้รับจ้าง
เป็นผู้จัดเตรียมอุปกรณ์และออกค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในการทดสอบ
(10) การทําสี เป็นไปตามมาตรฐานผู้ผลิต
(11) การบริการ ผู้รับจ้างระบุ ชื่อและที่ อยู่ ข องผู้ ขายหรือผู้รับจ้างที่ติดต่ อได้ในประเทศไทย
เพื่อมาทําการซ่อมบํารุงในระหว่างการรับประกันและหลังการรับประกัน
(12) ผลิตภัณฑ์ที่เสนอมาต้องเป็นของใหม่ ได้มาตรฐานของผู้ผลิตและเป็นรุ่นล่าสุด
(13) เอกสารประกอบการพิจารณา ผู้รับจ้างจะต้องยื่นเอกสารประกอบการพิจารณา จํานวน 1 ชุด
ประกอบด้วย
(ก) รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ แค็ตตาล็อก และรายละเอียดทางเทคนิคของอุปกรณ์
ตามรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของผู้ว่าจ้าง เป็นภาษาไทยหรืออังกฤษ
(ข) แบบเพิ่ ม เติ ม (Shop Drawings) ประกอบการพิ จ ารณา แสดงรายละเอี ย ดทาง
โครงสร้างและอุปกรณ์ประกอบของเครนไฟฟ้า
(14) การรับประกัน การรับประกันไม่น้อยกว่า 2 (สอง) ปี หลังจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
ได้ดําเนินการตรวจรับมอบงานทั้งสัญญาแล้ว
9.3.4 เครื่องอัดอากาศ (Centrifugal Blower) ขนาดไม่น้อยกว่า 2,500 ลูกบาศก์ฟุตต่อนาที
พร้อมท่อและอุปกรณ์ประกอบ
(1) รายละเอียดทั่วไป เครื่องอัดอากาศ (Centrifugal blower) ขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า
(2) ขนาดไม่น้อยกว่า 2,500 ลูกบาศก์ฟุตต่อนาที
(3) ความเร็วรอบเครื่องอัดอากาศไม่เกิน 1,500 รอบต่อนาที
(4) ตัวเรือนเครื่องอัดอากาศผลิตจากเหล็กคาร์บอนหรือดีกว่า
(5) ขนาดใบพัดไม่เกิน 12 นิ้ว ผลิตจากเหล็กสังกะสีต้องทําการสมดุลทางสถิตและพลศาสตร์
(Statically and Dynamically Balance)
(6) สามารถปรับทิศทางลมออกได้
(7) มอเตอร์เป็นแบบต่อโดยตรงกับใบพัด
(8) กําลังงานของมอเตอร์ไฟฟ้าไม่เกิน 3 แรงม้า จํานวนโพลไม่เกิน 4 โพล
(9) ระบบไฟฟ้า 220 โวลต์ 1 เฟส 50 เฮิรตซ์ หรือ 380 โวลต์ 3 เฟส 50 เฮิรตซ์
(10) การรับประกัน การรับประกันไม่น้อยกว่า 2 (สอง) ปี หลังจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
ได้ดําเนินการตรวจรับมอบงานทั้งสัญญาแล้ว

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
9 - 20 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 9 : งานระบบเครื่องกล (Mechanical Works)

9.4. รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของท่อ วาล์วและอุปกรณ์ประกอบ


(1) ท่อเหล็ก (Steel Pipe) มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.427-2531 โดยมี
รายละเอียดตามรายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 6 “งานท่อส่งน้ํา”
(2) ประตู น้ํ า กั น กลั บ (Check Valve) เป็ น แบบ Tilting Disc Check Valve ตั ว เรื อ นทํ า จาก
เหล็กหล่อ สามารถรับแรงดันใช้งานได้ไม่น้อยกว่า 10 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร (PN10) ขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลางเป็นไปตามแบบรูปและรายการละเอียดกําหนด
(3) ประตู น้ําลิ้ นปี กผีเสื้อ (Butterfly Valve) เป็ น แบบ Short Body ติ ดตั้งพร้อม Worm gear
with Electric actuator พร้อมตู้ควบคุม ตัวเรือนทําจากเหล็กหล่อ สามารถรับแรงดันใช้งานได้ไม่น้อยกว่า 10
กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร (PN10) ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.382-2531
(4) เกจวัดแรงดัน เป็นแบบน้ํามันกลีเซอรีน 0-10 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ขนาดหน้าปัด
4 นิ้ ว ติ ดตั้ ง Pressure Transmitter ทางด้ านดู ด และจ่ ายของเครื่ องสู บ น้ํ าพร้ อมทั้ งส่ งสั ญ ญาณแสดงผลที่
ตู้ควบคุม
(5) ประตูน้ําระบายอากาศ (Air Release Valve) เป็นชนิดลูกลอยเดี่ยว ตัวเรือนทําจากเหล็กหล่อ
สามารถรั บ แรงดั น ได้ ไ ม่ น้ อ ยกว่ า 10 กิ โ ลกรั ม ต่ อ ตารางเซนติ เมตร (PN10) ตามมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์
อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.1368-2539 ติดตั้งพร้อม Gate Valve ขนาด Ø150 มิลลิเมตร ตามมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.256-2540/มอก.432-2529
(6) ประตูน้ําระบายอากาศ (High Speed Air Release Valve) ขนาด Ø 150 มิลลิเมตร (PN 10)
มีคุณสมบัติตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.1368-2539 ติดตั้งพร้อม Gate valve Ø 150
มิลลิเมตร ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.256-2540 หรือ มอก.432-2529
(7) วาล์ ว ป้ อ งกั น การกระแทกของน้ํ า (Surge Anticipating Valve) เป็ น วาล์ ว ชนิ ด Pilot
Controlled Hydraulically Operate, Diaphragm Actuated-Pattern, Globe Type ชั้นคุณภาพ PN 10
(8) ชุดควบคุมระดับน้ําเป็นแบบลูกลอยต่อเชื่อมสัญญาณทางไฟฟ้ากับตัวควบคุมสําหรับปิดการ
ทํางานของเครื่องสูบน้ํา และมีสัญญาณเสียง แสงแจ้งเตือนโดยอัตโนมัติเมื่อระดับน้ําในบ่อสูบ (Sump) อยู่ใน
ระดับต่ํากว่าเกณฑ์ที่จะใช้สูบน้ําได้
9.5 แบบเพิ่มเติม (Shop Drawings)
แบบรูปและรายการละเอียดที่แสดงไว้เป็นเพียงแนวทางเบื้องต้นเท่านั้น ผู้รับจ้างจะต้องดําเนินการ
จัดทําแบบเพิ่มเติม (Shop Drawings) ของเครื่องสูบน้ํา ท่อ วาล์ว เครื่องอัดอากาศ เครื่องสูบน้ําระบายน้ํา
เครนไฟฟ้า และอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ตามข้อ 9.1 โดยเสนอต่อคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเพื่อทําการ
ตรวจสอบ และพิจารณาอนุมัติล่วงหน้าก่อนดําเนินการก่อสร้าง เพื่อไม่ให้เกิดความล่าช้าในแผนการก่อสร้าง
เพื่อให้ผู้รับจ้างใช้สําหรับดําเนินการก่อสร้างต่อไป
ผู้รับจ้างจะต้องจัดเตรียมแบบเพิ่มเติม (Shop Drawings) ดังต่อไปนี้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
9 - 21 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 9 : งานระบบเครื่องกล (Mechanical Works)

(1) แบบเพิ่มเติม (Shop Drawings) แสดงรายละเอียดของเครื่องสูบน้ํา ท่อ วาล์ว เครื่องอัดอากาศ


เครื่องสูบน้ําระบายน้ํา เครนไฟฟ้า และอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ จะต้องแสดงรายละเอียดที่เกี่ยวกับส่วนที่เกี่ยวข้อง
กับอาคารหรือโครงสร้าง เช่น ฐานราก Anchor Holes ท่อต่าง ๆ ขนาดของช่องที่ต้องเตรียมไว้ เป็นต้น
(2) แบบเพิ่มเติม (Shop Drawings) แสดงรายละเอียดการติดตั้ง (Installation) ผู้รับจ้างต้อง
เสนอรูปแบบวิธีการติดตั้งให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุพิจารณา ล่วงหน้าอย่างน้อย 30 (สามสิบ) วัน
ก่อนที่เครื่องสูบน้ํา ท่อ วาล์ว เครื่องอัดอากาศ เครื่องสูบน้ําระบายน้ํา เครนไฟฟ้า และอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ
จะถูกส่งมาถึงสถานที่ก่อสร้าง
การจัดทําแบบเพิ่มเติม (Shop Drawings) แสดงรายละเอียดต่าง ๆ จะต้องมี วิศวกรเครื่องกล ที่มี
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับ สามัญวิศวกรเครื่องกล ขึ้นไปเป็นลงนามรับรอง
9.6 การขนย้ายวัสดุและการเก็บรักษา
9.6.1 การบรรจุหีบห่อและการทําเครื่องหมาย
วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในงานระบบเครื่องกลทั้งหมดจะต้องบรรจุหีบห่อ หรือผูกมัดให้เหมาะสม
เพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นในการขนส่งมายังสถานที่ก่อสร้าง ยกเว้นจะได้รับความยินยอมจาก
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
วิธีป้องกันและการบรรจุหีบห่อจะต้องทนทานต่อสภาพอากาศที่อาจจะประสบในระหว่างขนส่ง
หรือในสถานที่ก่อสร้าง และจะต้องทนทานต่อการกระทบกระแทกในการขนย้าย
ลังหรือหีบห่อบรรจุวัสดุและอุปกรณ์จะต้องมีรายละเอียดด้านนอก เครื่องหมาย ระบุชื่อของผู้รับ
ระบุน้ําหนักรวม และมี Packing List พร้อมกับรายการหรือรหัสที่สอดคล้องกับเอกสารกํากับสินค้า บรรจุใน
ซองกันน้ํา ผู้รับจ้างจะต้องส่งสําเนาของรายละเอียด ให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ เพื่อสะดวกในการตรวจรับ
ผู้ว่าจ้างสงวนสิทธิ์ที่จะทําการตรวจและอนุมัติวัสดุและอุปกรณ์ และการบรรจุหีบห่อ ก่อนการส่ง
พัสดุและอุปกรณ์นั้น โดยผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบในการจัดบรรจุหีบห่อที่เหมาะสมและต่อความสูญเสียหรือ
เสียหายที่เกิดจากการบรรจุหีบห่อที่ไม่เหมาะสม
9.6.2 การส่งของ
ห้ามส่งวัสดุและอุปกรณ์ในงานระบบเครื่องกล เข้าสถานที่ก่อนสร้างก่อนได้รับความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นลายลักษณ์อักษร สําหรับการขนส่งนั้น
ในการขนส่งแต่ละลัง หรือแต่ละหี บห่อ จะต้องทําสําเนาของ Shipping List แนบกับ Bill of
Loading แนบไปกับลังหรือหีบห่อที่ส่ง
อุปกรณ์ในงานระบบเครื่องกล จะต้องส่งโดยมีชิ้นส่วนประกอบเข้าด้วยกันแล้วให้มากที่สุดเพื่อให้
การติดตั้งในสนามสามารถดําเนินการได้ โดยเสียเวลาและค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด
วัสดุอุปกรณ์ใดจําเป็นต้องถอดเป็นชิ้นส่วนก่อนการขนส่งสู่สถานที่ก่อสร้าง ชิ้นส่วนต่าง ๆ ของ
วัสดุอุปกรณ์นั้นจะต้องกําหนดเลขหมาย และทําเครื่องหมายให้เรียบร้อย เพื่อว่าจะสามารถประกอบคืน และ
ติดตั้งได้ถูกต้องในสถานที่ก่อสร้าง เลขหมายและเครื่องหมายดังกล่าวจะต้องทําด้วยการตอกสลักหรือทาสี
เพื่อให้เห็นชัด
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
9 - 22 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 9 : งานระบบเครื่องกล (Mechanical Works)

9.6.3 การเก็บรักษาและการติดตั้ง
ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบต่อการดูแลให้ชิ้นส่วนต่าง ๆ ให้ได้รับการป้องกันความเสียหาย และ
การเสื่อมสภาพอย่างเพียงพอตลอดระยะเวลาที่เก็บรักษาและทําการติดตั้ง ณ สถานที่ก่อสร้าง ในช่วงเวลาการ
เก็บรักษาและการติดตั้ง ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบทั้งหมดต่อการดูแลและบํารุงรักษาตลอดจนการดําเนินการ
จนกว่าการทดสอบของอุปกรณ์นั้นได้กระทําเสร็จสิ้น และคณะกรรมการตรวจรับพัสดุได้รับมอบตามเงื่อนไข
สัญญาแล้ว
ในระหว่างการเก็บรักษาและการติดตั้ง ณ สถานที่ก่อสร้าง วัสดุและอุปกรณ์ทั้งหมดจะต้องอยู่ใน
สภาพที่สะอาดปราศจากฝุ่นละออง สิ่งปรักหักพัง และน้ําจะต้องไม่ขังอยู่ในบริเวณที่เป็นช่องของวัสดุอุปกรณ์นั้น
ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบต่อการประกันการติดตั้งของวัสดุอุปกรณ์ให้เป็นไปตามสัญญาและเป็น
ที่พอใจของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเพื่อให้อุปกรณ์ได้รับการติดตั้งตามข้อกําหนด
9.7 การทดสอบ (Commissioning and Field Test)
การทดสอบการใช้ งานของงานระบบเครื่อ งกลและอุ ป กรณ์ ป ระกอบทั้ งหมด จะดํ าเนิ น การ
ภายหลังจากที่ผู้รับจ้างได้ติดตั้งระบบเครื่องกลและอุปกรณ์ประกอบทั้งหมดแล้วเสร็จ ในการนี้ผู้รับจ้างจะต้อง
เสนอวิธีการ และรายละเอียดขั้นตอนพร้อมแผนการดําเนินการทดสอบ เพื่อให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
พิจารณาอนุมัติล่วงหน้าก่อนที่จะเริ่มการทดสอบ
ผู้รับจ้างจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในงานติดตั้งและทดสอบงานระบบเครื่องกลและอุปกรณ์
ประกอบที่ติดตั้งแล้วทั้งหมด ซึ่งการทดสอบทั้งหมดต้องมีวิศวกรเครื่องกล ผู้ได้รับใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
ควบคุมตั้งแต่ระดับสามัญวิศวกรเครื่องกลขึ้นไปตาม พระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542 และคณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุร่วมอยู่ในการทดสอบด้วย
9.8 การรับประกัน (Guarantee)
ผู้รับจ้างจะต้องรับประกันงานระบบเครื่องกลและอุปกรณ์ประกอบทั้งหมด ที่ใช้งานโดยไม่เกิดการ
ชํารุดเสียหายเนื่องจากการใช้งานตามปกติเป็นระยะเวลา 2 (สอง) ปี หลังจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุได้
ดําเนินการตรวจรับมอบงานทั้งสัญญาแล้ว หากในระหว่างการรับประกันหากมีการเสียหายเกิดขึ้นผู้รับจ้าง
จะต้องทําการซ่อมแซม หรือเปลี่ยนอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้ใหม่โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น
9.9 การให้คําแนะนําและถ่ายทอดวิธีใช้งาน
ผู้รับจ้างต้องจัดให้มีการถ่ายทอดความรู้ที่จําเป็นสําหรับการใช้งานและการบํารุงรักษากับเจ้าหน้าที่
ที่รับผิดชอบ โดยค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ผู้รับจ้างจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบทั้งหมด
9.10 เอกสารคู่มือ (Manual Books)
ผู้รับจ้างต้องจัดเตรียมคู่มือการใช้งาน คู่มือการดูแล และบํารุงรักษาเครื่องสูบน้ํา ท่อ วาล์ว เครื่อง
อัดอากาศ เครื่องสูบน้ําระบายน้ํา เครนไฟฟ้า และอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ และคู่มือแสดงชิ้นส่วนอะไหล่ ณ
เวลาที่มีการส่งมอบทั้งหมดจํานวน 3 (สาม) ชุด พร้อมบันทึกลงแผ่นบันทึกข้อมูลเป็นภาษาไทยหรืออังกฤษ
(เป็นภาษาไทยอย่างน้อย 1 (หนึ่ง) ชุด)

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
9 - 23 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 9 : งานระบบเครื่องกล (Mechanical Works)

9.11 การวัดปริมาณและการจ่ายเงิน
9.11.1 งานจัดหาและติดตั้งเครื่องสูบน้ําชนิดหอยโข่งขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า อัตราการสูบน้ํา
0.30 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ระยะยกน้ําไม่น้อยกว่า 60 เมตร พร้อมอุปกรณ์ประกอบ
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานจัดหาและติดตั้งเครื่องสูบน้ําชนิดหอยโข่ง
ขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า อัตราการสูบน้ํา 0.30 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ระยะยกน้ําไม่น้อยกว่า 60 เมตร พร้อม
อุ ป กรณ์ ป ระกอบ ตามรายการที่ แ สดงไว้ ในใบแจ้ งปริ ม าณงานและราคาของสั ญ ญานี้ เมื่ อ ผู้ รั บ จ้ า งได้
ดําเนินการติดตั้งแล้วเสร็จ ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะ
ทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นชุด ตามที่ได้ติดตั้งภายในขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียด
กําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการ
วัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นชุด ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและ
ราคาของสัญญานี้ ซึ่งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการในการออกแบบ จัดหา ขนส่ง ติดตั้ง ทดสอบ จัดทํารายงาน
ทดสอบ แนะนําการใช้งาน การรับประกัน เอกสารคู่มือ พร้อมอุปกรณ์ประกอบ และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้
งานบรรลุตามวัตถุประสงค์
การจ่ายเงินจะแบ่งจ่ายตามปริมาณและความก้าวหน้าของงานดังนี้
(1) จ่ายเงินให้ในอัตราร้อยละ 50 ของอัตราต่อหน่วยที่ระบุไว้ในสัญญาเมื่อผู้รับจ้างจัดหาเครื่อง
สูบน้ําชนิดหอยโข่งขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า อัตราการสูบน้ํา 0.30 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ระยะยกน้ําไม่น้อยกว่า
60 เมตร พร้ อ มอุ ป กรณ์ ป ระกอบ ที่ ผ ลิ ต เรี ย บร้ อ ย และได้ นํ า ส่ ง มาไว้ ในบริ เวณก่ อ สร้ า งหรื อ สถานที่
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุกําหนดและจะต้องได้รับการพิจารณาเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุแล้ว
(2) จ่ายเงินให้ในอัตราร้อยละ 40 ของอัตราต่อหน่วยที่ระบุไว้ในสัญ ญาเมื่อผู้รับจ้างทําการ
ติดตั้งเครื่องสูบน้ําชนิดหอยโข่งขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า อัตราการสูบน้ํา 0.30 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ระยะยกน้ํา
ไม่น้อยกว่า 60 เมตร พร้อมอุปกรณ์ประกอบ ให้เป็นไปตามรายละเอียดในแบบรูปและรายการละเอียด และ
ข้อกําหนดรายละเอียดด้านวิศวกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้วโดยได้รับการเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
(3) จ่ายเงินให้ในอัตราร้อยละ 10 ของอัตราต่อหน่วยที่ระบุไว้ในสัญญาเมื่อผู้รับจ้างได้ทําการ
ทดสอบเครื่องสูบน้ําชนิดหอยโข่งขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า อัตราการสูบน้ํา 0.30 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ระยะยกน้ํา
ไม่น้อยกว่า 60 เมตร พร้อมอุปกรณ์ ประกอบ และถ่ายทอดความรู้เพื่อการใช้งาน จัดส่งรายงานผลการ
ทดสอบ แบบหลักฐาน (As-built Drawings) คู่มือการใช้งาน และคู่มือการบํารุงรักษาให้กับคณะกรรมการ
ตรวจรับ พั ส ดุ ค รบถ้ วนทั้ งหมดเรี ย บร้อ ยแล้ วสามารถใช้ งานตามวั ต ถุ ป ระสงค์ โดยได้ รับ การเห็ น ชอบจาก
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
9 - 24 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 9 : งานระบบเครื่องกล (Mechanical Works)

9.11.2 งานจั ดหาและติดตั้ งท่ อ เหล็ กกล้า ชนิ ด บนดิ น ขนาด Ø 500 มม. หนา 7.9 มม.
พร้อมวาล์วและอุปกรณ์ประกอบ
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรั บ พั ส ดุ จ ะตรวจวัด ปริ ม าณงานจั ด หาและติ ด ตั้ งท่ อ วาล์ วและอุ ป กรณ์
ประกอบ ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ดําเนินการติดตั้ง
แล้วเสร็จ ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัด
ปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นชุด ตามที่ได้ติดตั้งภายในขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตาม
ปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นชุด ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและ
ราคาของสัญญานี้ ซึ่งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการในการออกแบบ จัดหา ขนส่ง ติดตั้ง ทดสอบ จัดทํารายงาน
ทดสอบ แนะนําการใช้งาน การรับประกัน เอกสารคู่มือ พร้อมอุปกรณ์ประกอบ และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้
งานบรรลุตามวัตถุประสงค์
การจ่ายเงินจะแบ่งจ่ายตามปริมาณและความก้าวหน้าของงานดังนี้
(1) จ่ ายเงินให้ ในอั ตราร้ อยละ 50 ของอั ตราต่ อหน่ วยที่ ระบุ ไว้ ในสั ญ ญาเมื่ อผู้ รั บจ้ างจัดหา
ท่อ วาล์วและอุปกรณ์ประกอบ ที่ผลิตเรียบร้อย และได้นําส่งมาไว้ในบริเวณก่อสร้างหรือสถานที่คณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุกําหนดและจะต้องได้รับการพิจารณาเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุแล้ว
(2) จ่ายเงินให้ในอัตราร้อยละ 40 ของอัตราต่อหน่วยที่ระบุไว้ในสัญ ญาเมื่อผู้รับจ้างทําการ
ติดตั้งท่อ วาล์วและอุปกรณ์ประกอบ ให้เป็นไปตามรายละเอียดในแบบรูปและรายการละเอียด และข้อกําหนด
รายละเอียดด้านวิศวกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้วโดยได้รับการเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
(3) จ่ายเงินให้ในอัตราร้อยละ 10 ของอัตราต่อหน่วยที่ระบุไว้ในสัญญาเมื่อผู้รับจ้างได้ทําการ
ทดสอบท่อ วาล์วและอุปกรณ์ประกอบ และถ่ายทอดความรู้เพื่อการใช้งานจัดส่งการใช้งานให้กับคณะกรรมการ
ตรวจรั บ พั ส ดุ ค รบถ้ วนทั้ งหมดเรี ยบร้ อ ยแล้ วสามารถใช้ งานตามวั ต ถุ ป ระสงค์ โดยได้ รั บ การเห็ น ชอบจาก
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
9.11.3 งานจัดหาและติดตั้งท่อร่วม วาล์วและอุปกรณ์ประกอบ สําหรับเครื่องสูบน้ํา
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานจัดหาและติดตั้งท่อร่วม วาล์วและอุปกรณ์
ประกอบ ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ดําเนินการติดตั้ง
แล้วเสร็จ ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัด
ปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นชุด ตามที่ได้ติดตั้งภายในขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตาม
ปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
9 - 25 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 9 : งานระบบเครื่องกล (Mechanical Works)

การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นชุด ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและ
ราคาของสัญญานี้ ซึ่งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการในการออกแบบ จัดหา ขนส่ง ติดตั้ง ทดสอบ ก่อสร้าง
อาคารบ่อวาล์ว จัดทํารายงานทดสอบ แนะนําการใช้งาน การรับประกัน เอกสารคู่มือ พร้อมอุปกรณ์ประกอบ
และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุตามวัตถุประสงค์
การจ่ายเงินจะแบ่งจ่ายตามปริมาณและความก้าวหน้าของงานดังนี้
(1) จ่ ายเงินให้ ในอั ตราร้อยละ 50 ของอั ตราต่ อหน่ วยที่ ระบุ ไว้ ในสั ญ ญาเมื่ อผู้ รับจ้างจัดหา
ท่ อ ร่ ว ม วาล์ ว และอุ ป กรณ์ ป ระกอบ ที่ ผ ลิ ต เรี ย บร้ อ ย และได้ นํ าส่ งมาไว้ ในบริ เวณก่ อ สร้ างหรื อ สถานที่
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุกําหนดและจะต้องได้รับการพิจารณาเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุแล้ว
(2) จ่ายเงินให้ในอัตราร้อยละ 40 ของอัตราต่อหน่วยที่ระบุไว้ในสัญ ญาเมื่อผู้รับจ้างทําการ
ติดตั้ งท่ อร่วม วาล์วและอุปกรณ์ ประกอบ ให้ เป็น ไปตามรายละเอี ยดในแบบรูปและรายการละเอียด และ
ข้อกําหนดรายละเอียดด้านวิศวกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้วโดยได้รับการเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
(3) จ่ายเงินให้ในอัตราร้อยละ 10 ของอัตราต่อหน่วยที่ระบุไว้ในสัญญาเมื่อผู้รับจ้างได้ทําการ
ทดสอบท่ อ ร่ ว ม วาล์ ว และอุ ป กรณ์ ป ระกอบ และถ่ ายทอดความรู้ เพื่ อ การใช้ งานจั ด ส่ งการใช้ งานให้ กั บ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุครบถ้วนทั้งหมดเรียบร้อยแล้วสามารถใช้งานตามวัตถุประสงค์โดยได้รับการเห็นชอบ
จากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
9.11.4 งานจัดหาและติดตั้งเครื่องสูบน้ําระบายน้ํา (Submersible Pump) ขนาดไม่น้อยกว่า
200 ลิตรต่อนาที ที่ระยะยกน้ําไม่น้อยกว่า 15 เมตร ขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า พร้อมอุปกรณ์ประกอบ
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพั สดุ จะตรวจวัดปริมาณงานจั ด หาและติ ด ตั้งเครื่ องสูบ น้ํ าระบายน้ํ า
(Submersible Pump) ขนาดไม่ น้ อ ยกว่ า 200 ลิ ต รต่ อ นาที ที่ ร ะยะยกน้ํ า ไม่ น้ อ ยกว่ า 15 เมตร ขั บ ด้ ว ย
มอเตอร์ไฟฟ้า พร้อมท่อและอุปกรณ์ประกอบ ตามรายการที่แสดงไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคา
ของสัญ ญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานเสร็จเรียบร้อยแล้วตามที่คณะกรรมการตรวจรับพั สดุเห็นสมควร โดย
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นชุด ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการ
ละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้
ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นชุด ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและ
ราคาของสัญญานี้ ซึ่งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการออกแบบ จัดหา ขนส่ง ติดตั้ง ทดสอบ จัดทํารายงานทดสอบ
แนะนําการใช้งาน การรับประกัน เอกสารคู่มือ พร้อมอุปกรณ์ประกอบ และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุ
ตามวัตถุประสงค์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
9 - 26 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 9 : งานระบบเครื่องกล (Mechanical Works)

9.11.5 งานจัดหาและติดตั้งเครื่องอัดอากาศ (Centrifugal Blower) ขนาดไม่น้อยกว่า 2,500


ลูกบาศก์ฟุตต่อนาที พร้อมท่อและอุปกรณ์ประกอบ
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานจัดหาและติดตั้งเครื่องอัดอากาศ (Centrifugal
Blower) ขนาดไม่น้อยกว่า 2,500 ลูกบาศก์ฟุตต่อนาที พร้อมท่อและอุปกรณ์ประกอบ ตามรายการที่แสดงไว้ใน
รายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานเสร็จเรียบร้อยแล้วตามที่คณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นชุด ตาม
ขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นชุด ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและ
ราคาของสัญญานี้ ซึ่งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการออกแบบ จัดหา ขนส่ง ติดตั้ง ทดสอบ จัดทํารายงานทดสอบ
แนะนําการใช้งาน การรับประกัน เอกสารคู่มือ พร้อมอุปกรณ์ประกอบ และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุ
ตามวัตถุประสงค์
9.11.6 งานจัดหาและติดตั้งเครนไฟฟ้าแบบวิ่งบนรางเดี่ยว (Traveling Crane) ขนาดไม่น้อยกว่า
7.5 เมตริกตัน พร้อมอุปกรณ์ประกอบ
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานจัดหาและติดตั้งเครนไฟฟ้าแบบวิ่งบนราง
เดี่ยว (Traveling Crane) ขนาดไม่น้อยกว่า 7.5 เมตริกตัน พร้อมอุปกรณ์ประกอบ ตามรายการที่แสดงไว้ใน
ใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ดําเนินการติดตั้งแล้วเสร็จ ตามที่คณะกรรมการตรวจ
รับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นชุด ตามที่ได้
ติดตั้งภายในขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นชุด ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงาน
และราคาของสัญญานี้ ซึ่งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการในการออกแบบ จัดหา ขนส่ง ติดตั้ง ทดสอบ จัดทํา
รายงานทดสอบ แนะนําการใช้งาน การรับประกัน เอกสารคู่มือ พร้อมอุปกรณ์ประกอบ และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ
เพื่อให้งานบรรลุตามวัตถุประสงค์
การจ่ายเงินจะแบ่งจ่ายตามปริมาณและความก้าวหน้าของงานดังนี้
(1) จ่ ายเงินให้ ในอั ตราร้อยละ 50 ของอั ตราต่ อหน่ วยที่ ระบุ ไว้ในสั ญ ญาเมื่ อผู้ รับจ้างจัดหา
เครนไฟฟ้าแบบวิ่งบนรางเดี่ยว (Traveling Crane) ขนาดไม่น้อยกว่า 7.5 เมตริกตัน พร้อมอุปกรณ์ประกอบ
ที่ผลิตเรียบร้อย และได้นําส่งมาไว้ในบริเวณก่อสร้างหรือสถานที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุกําหนดและจะต้อง
ได้รับการพิจารณาเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุแล้ว

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
9 - 27 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 9 : งานระบบเครื่องกล (Mechanical Works)

(2) จ่ายเงินให้ในอัตราร้อยละ 40 ของอัตราต่อหน่วยที่ระบุไว้ในสัญ ญาเมื่อผู้รับจ้างทําการ


ติดตั้งเครนไฟฟ้าแบบวิ่งบนรางเดี่ยว (Traveling Crane) ขนาดไม่น้อยกว่า 7.5 เมตริกตัน พร้อมอุปกรณ์
ประกอบ ให้เป็นไปตามรายละเอียดในแบบรูปและรายการละเอียด และข้อกําหนดรายละเอียดด้านวิศวกรรม
เสร็จเรียบร้อยแล้วโดยได้รับการเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
(3) จ่ายเงินให้ในอัตราร้อยละ 10 ของอัตราต่อหน่วยที่ระบุไว้ในสัญญาเมื่อผู้รับจ้างได้ทําการ
ทดสอบเครนไฟฟ้าแบบวิ่งบนรางเดี่ยว (Traveling Crane) ขนาดไม่น้อยกว่า 7.5 เมตริกตัน พร้อมอุปกรณ์
ประกอบ และถ่ายทอดความรู้เพื่อการใช้งานจัดส่งการใช้งานให้กับคณะกรรมการตรวจรับพัสดุครบถ้วนทั้งหมด
เรียบร้อยแล้วสามารถใช้งานตามวัตถุประสงค์โดยได้รับการเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
9 - 28 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

บทที่ 10
งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)
10.1 ขอบเขตของงาน
ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาวัสดุอุปกรณ์ ที่ใช้ในการติดตั้ง แรงงาน เครื่องมือ สถานที่เก็บของ นั่งร้านชั่วคราว
ไฟฟ้าชั่วคราว และอื่น ๆ ที่จําเป็น เพื่อให้งานติดตั้งอุปกรณ์ ติดตั้งระบบต่าง ๆ ตามที่กําหนดในแบบรูปและ
รายการละเอียด (Construction Drawings) รายละเอียดด้านวิศวกรรม (Technical Specifications) และ
ใบแจ้ งปริมาณและราคา (Bill of Quantities) ของงานอย่างเคร่ งครั ด และติ ดต่อกั บหน่ ว ยงานต่ า ง ๆ ที่
เกี่ยวข้อง เพื่อดําเนินการให้แล้วเสร็จเรียบร้อยสมบูรณ์ และสามารถใช้งานได้ตามวัตถุประสงค์ของผู้ว่าจ้าง
(1) งานขยายเขตระบบจําหน่าย 22 kV และติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้าระบบ 3 เฟส ขนาดรวม 2,660 kVA
พร้อมอุปกรณ์ประกอบ ประกอบด้วย
(1.1) หม้อแปลงไฟฟ้า ขนาด 1,250 kVA 22 kV/400-230 3 Phase 50 Hz จํานวน 2 ชุด
(1.2) หม้อแปลงไฟฟ้า ขนาด 160 kVA 22 kV/400-230 3 Phase 50 Hz จํานวน 1 ชุด
(1.3) งานขยายเขตระบบจําหน่าย 22 kV
(1.4) ล่อฟ้าแรงสูง (Surge Arresters) จํานวน 9 ชุด
(1.5) ฟิวส์แรงสูง (Dropout Fuse) จํานวน 9 ชุด
(1.6) เสาไฟคอนกรีตอัดแรง สูง 12 เมตร จํานวน 6 ต้น
(1.7) นั่งร้านสําหรับหม้อแปลงไฟฟ้าขนาด 1,250 kVA 22 kV พร้อมอุปกรณ์ครบชุด จํานวน
2 ชุด และนั่งร้านสําหรับหม้อแปลงไฟฟ้าขนาด 160 kVA 22 kV พร้อมอุปกรณ์ครบชุด จํานวน 1 ชุด
(2) ตู้ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้าสําหรับเครื่องสูบน้ํา (Motor Control Center) ประกอบด้วย MCC1 และ
MCC 2 ประกอบด้วย
(2.1) Incomming Line Cubicle (E1) และ (E2) จํานวน 2 ชุด
(2.2) Motor Starter Cubicle (S1 S2 S3 S4 S5 และ S6) จํานวน 6 ชุด
(3) อุปกรณ์ไฟฟ้าอื่น ๆ ตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด
ทั้งนี้ในการจัดหาและติดตั้งตามหัวข้อ (1) ถึง หัวข้อ (3) ให้เป็นไปตามรายละเอียดด้านวิศวกรรม
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ บทที่ 10 “งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)”
10.2 งานระบบไฟฟ้าแรงสูง
งานระบบไฟฟ้ า แรงสู ง ประกอบด้ ว ย สายไฟฟ้ า แรงสู ง เสาไฟคอนกรี ต อั ด แรง อุ ป กรณ์ ยึ ด โยง
Lightning Arrester ดร็อปเอาท์ฟิวส์ และอุปกรณ์ประกอบการติดตั้งอื่น ๆ ตามข้อกําหนดการติดตั้งทางไฟฟ้า
ของการไฟฟ้าฯ
10.3 งานติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้า
งานติดตั้ งหม้อแปลงไฟฟ้า ประกอบด้วย หม้อแปลงไฟฟ้า และอุ ปกรณ์ประกอบการติ ดตั้งอื่น ๆ
ตามข้อกําหนดการติดตั้งทางไฟฟ้าของการไฟฟ้าฯ
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 1 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

10.4 งานระบบไฟฟ้าแรงต่ํา
งานระบบไฟฟ้าแรงต่ํา ประกอบด้วย ตู้เมนสวิตช์บอร์ดแรงต่ํา สวิตช์ โคมไฟฟลูออเรสเซนต์ โคมไฟ
ดาวน์ไลท์ โคมไฟกิ่ง โคมไฟถนน โคมไฟสนาม สายไฟฟ้า ท่อร้อยสายไฟฟ้า แผงจ่ายไฟย่อย และระบบป้องกัน
ต่าง ๆ พร้อมอุปกรณ์ประกอบอื่น ๆ ตามที่ได้ระบุในแบบรูปและรายการละเอียด
10.5 มาตรฐานการติดตัง้ และผลิตอุปกรณ์
10.5.1 การติดตั้งวัสดุ และอุปกรณ์ จะต้องสอดคล้องตามมาตรฐานหนึ่งมาตรฐานใดตามที่ระบุ
โดยมาตรฐานที่อ้างอิงให้ยึดถือตามฉบับที่ปรับปรุงล่าสุด ตามรายการดังนี้
-The Provincial Electricity Authority’s code (PEA)
- The Metropolitan Electricity Authority’s code (MEA)
- Engineering Institute of Thailand (EIT)
- The National Electric Code (NEC)
- National Fire Protection Association (NFPA)
- International Electrotechnical Commission (IEC)
- British Standard Specification (BS)
- American Society for Testing of Materials (ASTM)
- National Electrical Manufacturer’s Association (NEMA)
- Underwriter’s Laboratory Inc. (UL)
- Deutsche Industrie Normen (DIN)
- Verband Deutscher Eletrotechniker (VDE)
- Japanese Industrial Standard (JIS)
- มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.)
10.5.2 ในกรณีเกิดการขัดแย้งระหว่างแบบรูปและรายการละเอียด กับ รายละเอียดด้านวิศวกรรม
(Technical Specifications) คณะกรรมการตรวจรั บ พั ส ดุ จ ะเป็ น ผู้ พิ จ ารณาโดยยึ ด ถื อ ประโยชน์ ข องทาง
ราชการเป็นหลัก
10.5.3 การติดตั้งและการผลิตวัสดุอุปกรณ์ตามมาตรฐานอื่น (นอกเหนือจากมาตรฐานที่ได้ระบุไว้)
จะต้องมีคุณสมบัติเทียบเท่ากับมาตรฐานที่ได้ระบุไว้ และต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
10.6 ความรับผิดชอบ
10.6.1 การตรวจสอบแบบรูปและรายการละเอียด รายการ และข้อกําหนด
(1) ผู้ รับจ้ างต้ องตรวจสอบรายการและข้อกําหนดต่ า ง ๆ จนเข้ าใจถึ งเงื่อนไขต่าง ๆ โดย
ละเอียด เมื่อมีข้อสงสัยหรือพบข้อผิดพลาดให้สอบถามจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุโดยตรง
(2) ผู้รับจ้างต้องตรวจสอบรายละเอียดจากแบบรูปและรายการละเอียดด้านสถาปัตยกรรม
และด้านวิศวกรรมโครงสร้าง พร้อมไปกับแบบรูปและรายการละเอียดทางวิศวกรรมสาขาอื่น ๆ ที่ปรากฏใน
โครงการนี้ก่อนการติดตั้งวัสดุอุปกรณ์เสมอ เพื่อขจัดข้อขัดแย้ง
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 2 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

10.6.2 การเสนอรายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์ เพื่อขออนุมัติ


(1) ผู้รับจ้างต้องจัดหารายละเอียดของวัสดุ อุปกรณ์เสนอคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเพื่ออนุมัติ
ก่อนดําเนินการใด ๆ อย่างน้อย 30 (สามสิบ) วัน
(2) รายละเอียดวัสดุ อุปกรณ์แต่ละอย่างให้เสนอแยกกัน โดยรวบรวมข้อมูลเรียงลําดับให้
เข้าใจง่าย พร้อมทั้งแนบเอกสารสนับสนุน เช่น หนังสือรับรองคุณภาพและมาตรฐานการผลิต แค็ตตาล็อก โดย
มีเครื่องหมายชี้บอก รุ่น ขนาด และความสามารถเพื่อประกอบการพิจารณา
10.6.3 รายการแก้ไขงานติดตั้ง
ผู้รับจ้างต้องยอมรับและดําเนินการโดยมิชักช้า เมื่อได้รับรายการให้แก้ไขข้อบกพร่องในการ
ปฏิบัติงานจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง เพื่อให้เป็นไปตามข้อกําหนดในสัญญา และถูกต้องตามหลักวิชา
โดยจะต้องรับผิดชอบต่อค่าใช้จ่ายในการแก้ไข เนื่องจากความบกพร่องต่าง ๆ ทั้งสิ้น
10.6.4 การทดสอบเครื่องสูบน้ําและระบบไฟฟ้า
(1) ผู้รับจ้าง ต้องจัดทําตารางแผนงานแสดงกําหนดการทดสอบเครื่องสูบน้ําและระบบไฟฟ้า
รวมทั้งจัดเตรียมเอกสารแนะนําจากผู้ผลิตในการทดสอบ (Operation Manual) เสนอคณะกรรมการตรวจรับ
พัสดุพิจารณาก่อนทําการทดสอบ
(2) อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบ ผู้รับจ้างต้องเป็นผู้จัดหาทั้งหมด
(3) ผู้รับจ้างต้องทําการทดสอบเครื่องสูบน้ําและระบบไฟฟ้า ตามหลักวิชาและข้อกําหนด โดย
มีผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างหรือตัวแทนของผู้ว่าจ้างอยู่ร่วมสังเกตการณ์ขณะทําการทดสอบด้วย
(4) รายงานข้ อ มู ล ในการทดสอบ (Test Report) ให้ ทํ า เป็ น แบบฟอร์ ม เสนออนุ มั ติ ต่ อ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุก่อนทําการทดสอบ หลังการทดสอบผู้รับจ้างต้องกรอกข้อมูลตามที่ได้จากการ
ทดสอบจริงส่งให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเพื่อพิจารณา
(5) ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เช่น ค่ากระแสไฟฟ้า แรงงานฯ ในระหว่างการทดสอบเครื่อง และระบบ
ให้อยู่ในความรับผิดชอบของผู้รับจ้าง
10.6.5 การป้องกันการผุกร่อน
ผิวงานเหล็กทั้งหมดต้องผ่านการป้องกันการผุกร่อนหรือการทาสีก่อนนําไปใช้งาน เครื่อง วัสดุ
และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ผ่านการป้องกันการผุกร่อน และการทาสีมาแล้วจากโรงงานผู้ผลิต หากตรวจพบว่าการ
ทําสีไม่เรียบร้อย ผู้รับจ้างต้องทําการซ่อมแซมให้เรียบร้อยจนเป็นที่ยอมรับของผู้ว่าจ้าง
10.7 แบบรูปและรายการละเอียด และหนังสือคู่มือ
10.7.1 ระยะ ขนาด และตําแหน่งทีป่ รากฏในแบบรูปและรายการละเอียด
ระยะ ขนาด และตําแหน่งที่ปรากฏในแบบรูปและรายการละเอียดประกอบสัญญา ให้ถือตัวเลข
เป็นสําคัญ ห้ามใช้วิธีวัดจากแบบรูปและรายการละเอียดโดยตรง ในส่วนที่ไม่ได้ระบุตัวเลขไว้เป็นการแสดงให้
ทราบเป็นแนวทางที่ควรจะเป็นไปได้เท่านั้น ผู้รับจ้างต้องตรวจสอบจากเครื่อง วัสดุ อุปกรณ์ที่ได้รับอนุมัติให้ใช้
ในโครงการและสถานที่ติดตั้งจริง

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 3 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

10.7.2 ข้อขัดแย้งของแบบรูปและรายการละเอียด
ในกรณีที่เกิดมีความคลาดเคลื่อน ขัดแย้ง หรือไม่ชัดเจนในแบบรูปและรายการละเอียด รายการ
เครื่องวัสดุ อุปกรณ์และเอกสารสัญญา ผู้รับจ้างต้องรีบแจ้งให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุทราบ เพื่อขอคํา
วินิจฉัยทันที โดยผู้ว่าจ้างจะถือเอาส่วนที่ดีกว่า ถูกต้องกว่าเป็นเกณฑ์ หากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุยังไม่แจ้ง
ผลการพิจารณา ห้ามผู้รับจ้างดําเนินการในส่วนนั้น มิฉะนั้นผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น
และคณะกรรมการตรวจรับพัสดุอาจจะเปลี่ยนแปลงงานส่วนนั้นได้ตามความเหมาะสม ในกรณีผู้รับจ้างต้อง
ดําเนินการแก้ไข โดยจะคิดค่าใช้จ่ายเพิ่มและขอต่อสัญญาไม่ได้
10.7.3 แบบรูปและรายการละเอียดประกอบสัญญา
แบบรูปและรายการละเอียด ด้านวิศวกรรมโครงสร้าง และด้านสถาปัตยกรรม ประกอบ
สัญญาเป็นเพียงแผนผัง เพื่อให้ผู้รับจ้างทราบเป็นแนวทางและหลักการของระบบ ตามความต้องการของ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเท่านั้น ในการติดตั้งจริง ผู้รับจ้างต้องตรวจสอบกับแบบรูปและรายการละเอียด
ด้านวิศวกรรมโครงสร้าง ด้านสถาปัตยกรรม และงานระบบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องประกอบกันไปด้วย ทั้งนี้ หาก
จะต้องทําการปรับปรุงงานบางส่วนจากแบบรูปและรายการละเอียดที่ได้แสดงไว้ โดยที่เห็นว่าเป็นความจําเป็น
ที่จะทําให้การติดตั้งงานระบบไฟฟ้าถูกต้องได้คุณภาพตามความต้องการแล้ว ผู้รับจ้างจะต้องดําเนินการโดยไม่
คิดค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม
10.7.4 แบบเพิ่มเติม (Shop Drawings)
(1) ผู้ รับจ้ างต้ องจั ดทํ า แบบเพิ่ ม เติม (Shop Drawings) ซึ่ ง แสดงรายละเอี ย ดของเครื่ อ ง
อุปกรณ์ และตําแหน่งที่จะดําเนินการติดตั้งยื่นเสนอขออนุมัติดําเนินการต่อคณะกรรมการตรวจรับพัสดุก่อน
ดําเนินการใด ๆ อย่างน้อย 30 (สามสิบ) วัน
(2) ผู้รับจ้างต้องตรวจสอบแบบหลักฐาน (As-built Drawings) ให้ถูกต้องตามความต้องการ
ใช้งานและการติดตั้ง ตามข้อแนะนําของผู้ผลิต พร้อมทั้งลงนามรับรองโดยวิศวกรไฟฟ้าระดับสามัญ และ
ลงวันที่กํากับบนแบบหลักฐานที่เสนอขออนุมัติทุกแผ่น
(3) ในกรณี ที่ แ บบเพิ่ ม เติ ม (Shop Drawings) ของผู้ รั บ จ้ า งแตกต่ า งไปจากแบบรู ป และ
รายการละเอียดประกอบสัญญา ผู้รับจ้างต้องจัดทําสารบัญรายการที่แตกต่าง และใส่เครื่องหมายแสดงการ
เปลี่ยนแปลงกํากับทุกครั้งพร้อมทั้งลงนามรับรองและลงวันที่ในการแก้ไขครั้งนั้น ๆ ด้วย
(4) ผู้รับจ้างต้องศึกษาทําความเข้าใจแบบรูปและรายการละเอียดด้านสถาปัตยกรรม ด้าน
วิศวกรรมโครงสร้าง แบบรูปและรายการละเอียดตกแต่งภายใน และงานระบบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องประกอบกัน
รวมทั้งตรวจสอบสถานที่ติดตั้งจริง เพื่อให้การจัดทําแบบใช้งานเป็นไปโดยถูกต้อง และไม่เกิดอุปสรรคกับงาน
ด้านอื่น ๆ จนเป็นสาเหตุให้กําหนดการของโครงการต้องล่าช้า
(5) แบบเพิ่มเติม (Shop Drawings) ต้องมีขนาด และมาตราส่วนเท่ากับแบบรูปและรายการ
ละเอียดประกอบสัญญา นอกจากแบบขยายเพื่อแสดงรายละเอียดที่ชัดเจน และทําความเข้าใจได้ถูกต้องให้ใช้
ขนาด และมาตราส่วนที่เหมาะสมตามสากลนิยม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กบั ดุลยพินิจของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 4 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

(6) คณะกรรมการตรวจรับพัสดุและผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างมีอํานาจ และหน้าที่


สั่งการให้ผู้รับจ้างจัดเตรียมแบบเพิ่มเติม (Shop Drawings) แสดงรายละเอียดการติดตั้งส่วนหนึ่งส่วนใดของ
งานระบบที่เห็นว่าจําเป็น
(7) ผู้รับจ้างต้องไม่ดําเนินการใด ๆ ก่อนที่แบบเพิ่มเติม (Shop Drawings) จะได้รับการ
อนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ มิฉะนั้น ค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดขึ้นทั้งหมดจากการเปลี่ยนแปลงแก้ไขให้
เป็นไปตามแบบเพิ่มเติม (Shop Drawings) ที่ได้รับอนุมัติ ผู้รับจ้างจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบ
(8) แบบเพิ่มเติม (Shop Drawings) ที่ได้รับอนุมัติแล้ว มิได้หมายความว่าเป็นการพ้นความ
รับผิ ดชอบของผู้ รั บจ้ าง หากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือผู้ควบคุมงานก่ อสร้ างของผู้ว่าจ้ างตรวจพบ
ข้อผิดพลาดในภายหลัง ผู้รับจ้างต้องดําเนินการแก้ไขใหม่ให้ถูกต้อง
(9) แบบเพิ่มเติม (Shop Drawings) ที่ไม่มีรายละเอียดเพียงพอ ผู้ว่าจ้างจะแจ้งให้ผู้รับจ้าง
ทราบ และส่งคืน โดยไม่มีการพิจารณาแต่ประการใด
(10) แบบเพิ่มเติม (Shop Drawings) ที่ส่งเสนอขออนุมัติ ต้องจัดทําสําเนาแบบเพิ่มเติม (Shop
Drawings) ภายหลังจากได้รับอนุมัติแล้ว ต้องส่งสําเนาแบบเพิ่มเติมให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุอีก 3 (สาม) ชุด
10.7.5 แบบหลักฐาน (As–built Drawings)
(1) ในระหว่างดําเนินการติดตั้ง ผู้รับจ้างต้องจัดทําแบบหลักฐาน (As–built Drawings) ตามที่
ติดตั้งจริง แสดงตําแหน่งของเครื่องอุปกรณ์ รวมทั้งการแก้ไขอื่น ๆ ที่ปรากฏในงานระหว่างการติดตั้งส่งให้
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุและผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างตรวจสอบเป็นระยะ ๆ โดยที่ผู้รับจ้างต้องให้
วิศวกรไฟฟ้าระดับสามัญวิศวกร ลงนามรับรองและลงวันที่กํากับบนแบบหลักฐานที่เสนอทุกแผ่น
(2) แบบหลักฐาน (As–built Drawings) ต้องมีขนาด และมาตราส่วนเท่ากับแบบรูปและ
รายการละเอียดประกอบสัญญา นอกจากแบบเพิ่มเติม (Shop Drawings) ให้ใช้มาตราส่วนตามแบบหลักฐาน
(As–built Drawings) ที่ได้รับอนุมัติ
10.8 วัสดุและอุปกรณ์
10.8.1 ระบบไฟฟ้าแรงสูง
วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการก่อสร้างระบบไฟฟ้าแรงสูง 22 เควี 3 เฟส 3 สาย จะต้องเป็นวัสดุ
และอุปกรณ์ที่ผลิตและสร้างประกอบขึ้นตามมาตรฐานฉบับล่าสุดของมาตรฐาน IEC, ANSI, NEMA, UL, DIN,
TIS หรือมาตรฐานเทียบเท่า
10.8.2 ล่อฟ้าแรงสูง (Surge Arresters)
(1) Surge Arresters จะต้องผลิตและสร้างประกอบขึ้นตามมาตรฐานฉบับล่าสุดของ IEC หรือ
มาตรฐานเทียบเท่า
(2) ต้องมีลักษณะข้อกําหนดดังต่อไปนี้
- Type : Single-pole, Outdoor, Station Valve Type
- Rated voltage : ตามพิกัดแรงดันไฟฟ้าระบบจําหน่ายของการไฟฟ้าฯ
- Rated frequency : 50 Hz.

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 5 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

- Interrupting current : 5 kA
10.8.3 ฟิวส์แรงสูง (Dropout Fuse)
(1) ฟิวส์แรงสูง (Dropout Fuse) ที่นํามาติดตั้งใช้งานจะต้องผลิต และสร้างประกอบขึ้นตาม
มาตรฐานฉบับล่าสุดของ IEC หรือมาตรฐานเทียบเท่า
(2) ต้องมีลักษณะข้อกําหนดดังต่อไปนี้
- Type : Single-Core, outdoor, vertical mounted type
- Rated Voltage : พิกัดแรงดันไฟฟ้าระบบจําหน่ายของการไฟฟ้าฯ
- Rated Frequency : 50 Hz.
- Impulse withstand Voltage (BIL) : 125 kV
- Interrupting Current : 12 kA
10.8.4 สายไฟฟ้าแรงสูง
(1) สายไฟฟ้าอากาศตัวนําอลูมิเนียมหุ้มด้วยฉนวน XLPE และมีเปลือก XLPE หุ้มอีกชั้นหนึ่ง
(Space Aerial Cable; SAC) ผลิตตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.2341-2555 และมีขนาด
ตามที่ระบุในแบบรูปและรายการละเอียด
(2) สายไฟฟ้ า ตั ว นํ า ทองแดงหุ้ ม ด้ ว ยฉนวน XLPE สํ า หรั บ แรงดั น ไฟฟ้ า 3.3 kV. ขึ้ น ไป
ซึ่งประกอบด้วย สายไฟฟ้า 3.6/6(7.2) kV CV สายไฟฟ้า 6/10(12) kV CV และ สายไฟฟ้า 8.7/15(17.5) kV CV
ทั้งชนิด 1 แกน และ 3 แกน ผลิตตามมาตรฐาน IEC 60502-2 หรือตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่
มอก.2143-2546 และมีขนาดตามที่ระบุในแบบรูปและรายการละเอียด
(3) สายไฟฟ้ า ตั ว นํ า ทองแดงหุ้ ม ด้ ว ยฉนวน XLPE สํ า หรั บ แรงดั น ไฟฟ้ า 3.3 kV. ขึ้ น ไป
ซึ่งประกอบด้วย สายไฟฟ้า 12/20(24) kV CV และ สายไฟฟ้า 18/30(36) kV CV ทั้งชนิด 1 แกน และ 3 แกน
ผลิตตามมาตรฐาน IEC 60502-2 หรือตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.2340-2550 และมีขนาด
ตามที่ระบุในแบบรูปและรายการละเอียด
10.8.5 เสาคอนกรีตอัดแรง
เสาคอนกรีตอัดแรงที่ใช้ติดตั้งเป็นเสาไฟฟ้า และใช้ยึดรับสายเคเบิลแรงสูงแบบเดินในอากาศ
เป็นเสาคอนกรีตอัดแรงขนาด 12 เมตร ภายในเสาไฟฟ้าคอนกรีตอัดแรงจะต้องมีการฝังลวดเหล็กตีเกลียว
ขนาดพื้นที่หน้าตัด 25 ตารางมิลลิเมตร เพื่อใช้เป็นตัวนําต่อลงดินของก้านฉนวนลูกถ้วยแบบก้านตรง โดยมี
รูปแบบ ขนาด รายละเอียด และข้อกําหนดทางเทคนิคของเสาไฟฟ้า เป็นไปตามข้อกําหนดของการไฟฟ้าฯ
10.8.6 คอนคอนกรีต
คอนคอนกรี ต ใช้ เ ป็ น อุ ป กรณ์ ตั ว กลางในการยึ ด ฉนวนลู ก ถ้ ว ยรั บ สายไฟฟ้ า แรงสู ง กั บ เสา
คอนกรีตอัดแรง ซึ่งคอนคอนกรีตอัดแรงชนิด Spun เพื่อให้มีน้ําหนักเบา สําหรับขนาดและความยาวของ
คอนคอนกรีตอัดแรงมีรายละเอียดตามระบุในแบบรูปและรายการละเอียด โดยมีข้อกําหนดทางเทคนิคเป็นไป
ตามข้อกําหนดของการไฟฟ้าฯ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 6 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

10.8.7 ฉนวนลูกถ้วย
ฉนวนลูกถ้วยใช้เป็นอุปกรณ์ยึดรับสายเคเบิลแรงสูง กับคอนกรีตอัดแรงบนเสาไฟฟ้า โดยมี
คุณสมบัติเป็นไปตามข้อกําหนดของการไฟฟ้าฯ
10.8.8 การยึดโยง
การยึดโยงที่ใช้ประกอบการติดตั้งสายเคเบิลแรงสูงนั้น ประกอบด้วย สายยึดโยง ก้านสมอบก
สมอบก และอุปกรณ์การติดตั้ง ขนาดพื้นที่หน้าตัด รวมทั้งความยาวของสายยึดโยงที่เป็นลวดเหล็กตีเกลียว
อาบสังกะสี ชนิด และขนาดตามมิติของก้านสมอบกและตัวสมอบก รวมทั้งอุปกรณ์ประกอบที่ใช้ประกอบการ
ยึดโยงจะต้องมีลักษณะ รูปแบบ และมีรายละเอียดข้อกําหนดทางเทคนิคของอุปกรณ์ยึดโยงเป็นไปตาม
ข้อกําหนดของการไฟฟ้าฯ
10.8.9 วัสดุอื่น ๆ ที่ใช้ประกอบการติดตั้งสายเคเบิลแรงสูง
วัสดุอื่น ๆ ที่ใช้ประกอบการติดตั้งสายเคเบิลแรงสูงประกอบด้วย สายสะพาน (Messenger
Wire) ที่เป็นลวดเหล็กตีเกลียวขนาดพื้นที่หน้าตัด 50 ตารางมิลลิเมตร ห่วงรัดสาย เหล็กประกับคอน
คอนกรีตอัดแรง ทิมเบิลเคลวิส และปรีฟอร์มเข้าปลายสาย แคล้มป์และคอนเนคเตอร์ชนิดต่าง ๆ สลักเกลียว
น็อตและแหวนชนิดและขนาดต่าง ๆ ท่อพีวีซีติดตั้งที่โคนเสาคอนกรีตอัดแรงสําหรับร้อยสายตัวนําต่อลงดินของ
อุปกรณ์อื่น ๆ เทปฉนวนพีวีซีสําหรับพันหุ้มทับจุดต่อ และคอนกรีตสําหรับทําฐานรากของเสาไฟฟ้า จะต้องมี
รูปแบบ และมีรายละเอียดข้อกําหนดทางเทคนิคเป็นไปตามข้อกําหนดของการไฟฟ้าฯ
10.9 หม้อแปลงไฟฟ้า (Transformer)
10.9.1 มาตรฐาน
หม้อแปลงไฟฟ้า จะต้องได้รับการผลิตและทดสอบตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่
มอก.384-2543 หรือมาตรฐานฉบับล่าสุดของ IEC60076
10.9.2 คุณลักษณะทางไฟฟ้า
คุณลักษณะทางไฟฟ้ามีรายละเอียดดังนี้
(1) ชนิด : Oil Immerse, Outdoor Type
(2) การระบายความร้อน : ใช้น้ํามันระบายความร้อนด้วยอากาศ (ONAN)
(3) จํานวนเฟส : 3
(4) Rated Power Output : ตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด
(5) Rated Frequency : 50 Hz
(6) Rated Voltage & Windings Connection
ด้านแรงสูง : 22 และ 33 kV. (กฟภ.) หรือ 24 kV. (กฟน.) ต่อแบบ delta
ด้านแรงต่ํา : (a) 400/230V. (กฟภ.) หรือ 416/240V. (กฟน.) ต่อแบบ wye
(b) 3.3 kV. หรือ 6.9 kV. (Medium Voltage)
(7) Vector Group : Dyn 11
(8) HV Off Load Tap Changer : ±2 x 2.5 % of Rated Load Full kVA. Capacity

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 7 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

(9) Voltage Regulation At Full load : ไม่เกินกว่า 1.5 % ของ Full Capacity ที่
Power Factor เท่ากับ 1.0
(10) Impedance Voltage (at 75°C) : 4% (สําหรับหม้อแปลงต่ํากว่าขนาด 630 kVA.)
6% (สําหรับหม้อแปลงขนาด 630 kVA.-2500 kVA.)
7% (สําหรับหม้อแปลงขนาด 3000 kVA.- 6000 kVA.)
(11) ชนิดของขดลวด
ด้านแรงสูง : ทองแดง
ด้านแรงต่ํา : ทองแดง
(12) Impulse withstand Voltage
ด้านแรงสูง : 125 kV
(13) N0-Load-Loss : ตามข้อกําหนดการไฟฟ้านครหลวง/การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
(14) Load-Loss 75°C : ตามข้อกําหนดการไฟฟ้านครหลวง/การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
10.9.3 โครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า
โครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า มีรายละเอียดดังนี้
(1) ตัวถังใช้สําหรับบรรจุขดลวดแรงสูง/แรงต่ําและน้ํามันหม้อแปลง ทําจากเหล็กที่ประกอบ
ขึ้นเป็นรูปแล้ว เมื่อบรรจุน้ํามันแล้วจะต้องไม่มีการรั่วซึมของน้ํามันหม้อแปลงที่ตัวถังจะต้องมีหูหิ้วเพื่อใช้ใน
การยกขึ้นประกอบติดตั้ง และเมื่อประกอบเสร็จแล้วทุกพื้นผิวของตัวถัง จะต้องได้รับการทําความสะอาด
อย่างทั่วถึงก่อนการทาสีพื้นผิวภายในของตัวถังและจะต้องทาสีด้วยสีทนต่อการทําลายของน้ํามันและพื้นผิว
ภายนอกของตัวถังจะต้องทาสีรองพื้นก่อน แล้วทาทับด้วยสีที่เป็น Weather-Resistant Coats
(2) สําหรับหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดพิกัดไม่เกิน 2,500 kVA. จะเป็นแบบโครงสร้างของถังเป็น
แบบครีบปิดผนึกแน่น (Hermetical Sealed Type) โดยมีพื้นที่ครีบเพียงพอสําหรับการระบายความร้อน
ด้วยวิธีธรรมชาติ (Natural Air-cooled) ได้ สําหรับหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดพิกัดเกิน 2,500 kVA. จะเป็นแบบ
มีถังพัก (Conservator Type) เป็นหม้อแปลงแบบถังเปิด (Open Type) คือมีช่องทางให้อากาศถ่ายเทเข้าและ
ออกจากตั วถังได้ ตามกระแสเพิ่ม -ลด ของปริมาตรน้ํามันจากความร้อนของการใช้ งาน และติดตั้งสารดูด
ความชื้นเพื่อป้องกันไม่ให้ความชื้นจากภายนอกเข้าไปในตัวหม้อแปลง
(3) แกนของหม้ อแปลงจะต้องทําจากเหล็กซิลิกอนที่มีคุ ณภาพสูงไม่ เสื่อมสภาพและมีค่า
Permeability สูง แกนของหม้อแปลงประกอบด้วยเหล็กซิลิกอนแผ่นบางที่ตัดได้รูปร่างโดยมีขอบรอยตัดที่
เรียบที่ผิวด้านหนึ่งของเหล็กซิลิกอนแผ่นบางจะวางคั่นไว้ด้วยฉนวนที่ทนต่อความร้อนและน้ํามันแกนของ
หม้อแปลงจะต้องจับยึดเข้าด้วยกันให้มั่นคงแข็งแรง เพื่อที่รองรับขดลวดไม่ให้เคลื่อนออกจากตําแหน่งที่ได้
จัดวางไว้เมื่อทําการขนส่ง และเพื่อเป็นการลดเสียงสั่นที่เกิดขึ้นจากการใช้งาน
(4) ขดลวดของหม้อแปลงไฟฟ้าจะต้องได้รับการออกแบบอย่างดีและทันสมัย ขดลวดได้รับการ
พันและรองรับอย่างเหมาะสมที่ทําให้มีช่องทางการไหลเวียนของฉนวนน้ํามัน นอกจากนี้การพันจะต้องมีรูปร่าง
และการรองรับที่ยอมให้มีการขยายหรือหดตัวตามการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ โดยไม่ทําให้ฉนวนที่หุ้มไว้มี

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 8 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

ความเสียหาย แต่ทั้งนี้จะต้องมีความมั่นคงที่ไม่ทําให้เกิดการขยับเขยื้อนที่เกิดจากการใช้งานที่ผิดวิธี ระหว่าง


ขดลวดและแกนเหล็กจะต้องมีฉนวนกั้นที่เหมาะสม
(5) Bushings ของหม้อแปลงไฟฟ้า ต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่กําหนด ส่วนของ Bushing ที่
เป็น Porcelain จะต้องเป็นชิ้นเดียวกันตลอด Threaded Studs จะต้องติดตั้งบน Bushing ทุกตัว Bushings
แต่ละอันที่ระดับแรงดันเดียวกันสามารถเปลี่ยนแทนกันได้
(6) ขั้วต่อสายของหม้อแปลงไฟฟ้าทางด้านแรงสูงที่เป็น Bushings แรงสูงจะต้องมีตัวต่อสาย
(Connectors) เป็น Solderless Clamp Type สําหรับการเข้าสายไฟฟ้าที่ตัวนําเป็นอลูมิเนียมหรือทองแดงได้
ส่ ว นทางด้ า นแรงต่ํ า ที่ เ ป็ น Bushings แรงต่ํ า จะต้ อ งมี ตั ว ต่ อ สายเป็ น Solderless Clamp Type for High
Conductivity Bronze and Hot-tin Dipped สําหรับการเข้าสายไฟฟ้าที่ตัวนําเป็นอลูมิเนียมหรือทองแดง
10.9.1 การทดสอบ
หม้อแปลงไฟฟ้าที่จะนํามาติดตั้งใช้งาน ต้องเป็นหม้อแปลงไฟฟ้าได้รับการผลิตและประกอบ
สําเร็จที่โรงงานผู้ผลิตและต้องผ่านการทดสอบ Routine Test ในโรงงาน และได้ใบรับรองจากการไฟฟ้าฯ
10.10 ระบบไฟฟ้าแรงต่ํา
วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการก่อสร้าง/ติดตั้งระบบจําหน่ายไฟฟ้าแรงต่ําที่จะกล่าวถึงต่อไปนั้น จะต้อง
เป็นวัสดุและอุปกรณ์ที่ผลิตและสร้างประกอบขึ้นตามมาตรฐานฉบับล่าสุดของมาตรฐาน IEC, DIN, NEMA, BS,
ASTM, JIS หรือมาตรฐานเทียบเท่า
10.10.1 สายไฟฟ้า
(1) สายไฟฟ้าแกนเดี่ยวไม่มีเปลือก ชนิดตัวนําสายแข็ง รหัสชนิด 60227 IEC 01 ต้องผลิตตาม
มาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม เลขที่ มอก.11-2553 หรื อ สายไฟฟ้ า ทองแดงหุ้ ม ด้ ว ยฉนวน PVC
ทนแรงดันไฟฟ้า 750 โวลต์ และทนอุณหภูมิได้ไม่น้อยกว่า 70 องศาเซลเซียส (THW) ต้องผลิตตามมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.11-2531 และมีขนาดตามที่ระบุในแบบรูปและรายการละเอียด
(2) สายไฟฟ้าหุ้มด้วยฉนวนและเปลือกสายแบน 2 แกน และ 3 แกน มีสายดิน รหัสชนิด VAF
และ VAF-G ต้องผลิตตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.11-2553 และมีขนาดตามที่ระบุใน
แบบรูปและรายการละเอียด
(3) สายไฟฟ้าหุ้มฉนวน เปลือกในและเปลือกนอก รหัสชนิด NYY และ NYY-G ทั้งแบบตัวนํา
แกนเดียว ตัวนําหลายแกนและตัวนําหลายแกนมีสายดิน ต้องผลิตตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่
มอก.11-2553 และมีขนาดตามที่ระบุในแบบรูปและรายการละเอียด
(4) สายไฟฟ้าหุ้มฉนวน XLPE (0.6/1kV. CV) ทั้งแบบตัวนําแกนเดียว, ตัวนําหลายแกนและ
ตัวนําหลายแกนมีสายดิน ผลิตตามมาตรฐาน IEC 60502-1 หรือตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่
มอก.2143-2546 และมีขนาดตามที่ระบุในแบบรูปและรายการละเอียด
(5) สายอ่อนหุ้มด้วยฉนวนและเปลือก รหัสชนิด VCT และ VCT-G ต้องผลิตตามมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.11-2553 และมีขนาดตามที่ระบุในแบบรูปและรายการละเอียด

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 9 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

10.10.2 ท่อร้อยสาย
ให้เป็นไปตามที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดและต้องได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
(มอก.) ตามที่ระบุดังต่อไปนี้
(1) สํ าหรั บท่ อเหล็ กชุ บสั งกะสี สํ าหรั บใช้ ร้ อยสายไฟฟ้ า ต้ องผลิ ตตามมาตรฐานผลิ ตภั ณฑ์
อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.770-2533
(2) สําหรับท่อพีวีซี แข็งสําหรับใช้ร้อยสายไฟฟ้า ต้องผลิตตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
เลขที่ มอก.261-2524
(3) สําหรับท่อเอชดีพีอี (HDPE) ต้องผลิตตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.
982-2556
10.10.3 รางเคเบิล
(1) รางเคเบิลต้องทําจากเหล็กที่มีความแข็งแรงและมั่นคง สามารถรองรับน้ําหนักสายทั้งหมด
ที่ติดตั้งและไม่มีส่วนแหลมคมที่อาจทําให้ฉนวนและเปลือกสายเสียหาย
(2) รางเคเบิลต้องผ่านการชุบสังกะสีเพื่อป้องกันการผุกร่อนอย่างพอเพียงกับสภาพการใช้งาน
(3) ขนาดของรางเคเบิลที่ใช้งานสําหรับติดตั้งสายไฟฟ้าเมนที่เดินมาจากหม้อแปลงไฟฟ้า ต้อง
มีขนาดเป็นไปตามข้อกําหนดของการไฟฟ้าฯ
10.10.4 เสาคอนกรีตอัดแรง
เสาคอนกรีตอัดแรงที่ใช้เป็นเสาไฟฟ้า และใช้ยึดรับสายไฟแรงต่ําติดตั้งแบบเดินในอากาศเป็น
เสาคอนกรีตอัดแรงขนาด 9 เมตร และ 8 เมตร โดยมีรูปแบบ ขนาด รายละเอียด และข้อกําหนดทางเทคนิค
เป็นไปตามข้อกําหนดของการไฟฟ้าฯ
10.10.5 แรคแรงต่ําและฉนวนลูกรอก
แรคแรงต่ําที่ใช้ในการติดตั้งสายเมนไฟฟ้าแรงต่ํา เป็นชนิด Heavy Duty Medium Pressed
Galvanized Steel มีลักษณะแบบหลังยื่น และมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับของการไฟฟ้าฯ แรคแรงต่ํานี้ต้องมี
ขนาด 4 x 200 มิลลิเมตร ฉนวนลูกรอกที่ใช้ต้องมีคุณภาพตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.
227-2525 ในแรคแรงต่ําชุดหนึ่ง ๆ จะใช้ฉนวนลูกรอกจํานวน 4 ลูก
10.10.6 ชุดสายยึดโยง
การยึดโยงที่ใช้ประกอบการติดตั้งสายเมนไฟฟ้าแรงต่ํา ประกอบด้วย สายยึดโยงก้านสมอบก
และอุปกรณ์ประกอบการติดตั้ง ขนาดพื้นที่หน้าตัดรวมทั้งความยาวของสายยึดโยงที่เป็นลวดเหล็กตีเกลียวอาบ
สังกะสี และต้องมีรายละเอียดข้อกําหนดทางเทคนิคเป็นไปตามข้อกําหนดของการไฟฟ้าฯ
10.10.7 กล่องต่อสาย
(1) กล่องต่อสายโดยทั่วไปต้องเป็นเหล็กชุบสังกะสี มีความหนาไม่น้อยกว่า 1.2 มิลลิเมตร
สําหรับกล่องต่อสายที่มีปริมาตรใหญ่กว่า 100 ลูกบาศก์นิ้ว ต้องพับขึ้นจากแผ่นเหล็กที่มีความหนาไม่น้อยกว่า
1.5 มิลลิเมตร

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 10 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

(2) กล่องต่อสายแบบกันน้ํา ต้องผลิตจากเหล็กหล่อ หรืออลูมิเนียมหล่อที่มีความหนาไม่น้อย


2.4 มิลลิเมตร
(3) กล่องต่อสายทุกชนิด และทุกขนาดต้องมีฝาปิดที่เหมาะสม
(4) กล่องต่อสายต้องมีวิธีกันสนิมด้วยวิธีชุบสังกะสี (Galvanized Steel)
(5) Floor Box สําหรับเต้ารับไฟฟ้า ซึ่งฝังอยู่ในพื้นต้องใช้ Box แบบที่เหมาะสม และต้อง
สามารถกันน้ําได้ การติดตั้งให้ฝังในพื้น โดยให้ฝาเรียบกับพื้น
10.10.8 โคมไฟฟ้า
โคมไฟฟ้าทั้งหมดต้องเป็นไปตามที่แสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด และข้อกําหนด
ดังต่อไปนี้
(1) โคมไฟฟ้าทั่วไป ใช้กับระบบไฟฟ้าเฟสเดียว 220 โวลต์ 50 เฮิร์ซ
(2) ขั้วหลอดและขา Starter ประกอบโคม Fluorescent ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน VDE หรือ
JIS หรือ NEMA เท่านั้น
(3) ตัวโคมต้องผ่านกรรมวิธี Galvanized เพื่อป้องกันสนิมและผุกร่อนได้ดี และพ่นด้วยสีฝุ่น
โพลีเอสเตอร์
(4) สําหรับโคมฟลูออเรสเซนต์ต้องมีความหนาของเหล็ก ถ้ามิได้ระบุไว้เป็นอย่างอื่น ต้องไม่
น้อยกว่า 0.8 มิลลิเมตร
(5) สายในดวงโคม ให้ใช้สายอ่อนชนิดทนความร้อนได้ถึง 70 องศาเซลเซียส และมีพื้นที่
หน้าตัดไม่เล็กกว่า 1.0 ตารางมิลลิเมตร
(6) โคมไฟฟ้าทั้งหมดที่ติดตั้งภายนอกอาคาร ต้องเป็นชนิดที่สามารถทนต่อสภาพดินฟ้าอากาศ
ภายนอกได้เป็นอย่างดี ลักษณะของโคมไฟฟ้าเป็นไปตามแบบรูปและรายการละเอียด
(7) โคมไฟฟ้า ต้องผลิตตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 1955-2551 และ
ผลิตจากโรงงานผลิตที่ได้รับมาตรฐาน ISO9001
10.10.9 หลอดไฟฟ้า
(1) สําหรับหลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ โดยทั่วไปใช้หลอดชนิด Day Light
(2) หลอดไฟฟลู ออเรสเซนต์ ต้ องเป็ นไปตามมาตรฐานของผลิ ตภั ณฑ์ อุ ตสาหกรรม เลขที่
มอก. 236-2533 หรือตามที่ระบุในแบบรูปและรายการละเอียด
(3) หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ ต้องเป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่
มอก.956-2533 และ มอก.1955-2542 หรือตามที่ระบุในแบบรูปและรายการละเอียด
(4) หลอดฟลูออเรสเซนต์แบบ T5 ต้องได้รับคุณภาพฉลากแสดงระดับประสิทธิภาพอุปกรณ์
ไฟฟ้าประเภท: หลอดฟลูออเรสเซนต์ T5 ระดับเบอร์ 5 จากการไฟฟ้าฝ่ายผลิต (กฟผ.)
(5) หลอดไฟประเภท LED ต้องผลิตตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 1955-
2551 และผลิตจากโรงงานผลิตที่ได้รับมาตรฐาน ISO9001

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 11 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

10.10.10 บัลลาสท์ (Ballast) และสตาร์ทเตอร์


(1) บัลลาสท์หลอดฟลูออเรสเซนต์ ต้องเป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่
มอก.23-2521
(2) สตาร์ทเตอร์หลอดฟลูออเรสเซนต์ ต้องเป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่
มอก.183-2528
(3) สําหรับบัลลาสต์หลอดฟลูออเรสเซนต์ T5 ต้องได้รับคุณภาพฉลากแสดงระดับประสิทธิภาพ
10.10.11 งานโคมไฟถนนชนิดเสาเหล็กกลมเรียว สูง 6 ม.
(1) ข้อกําหนดทั่วไป
(1.1) ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาและติดตั้งโคมไฟถนนชนิดเสาเหล็กกลมเรียว สูง 6 ม. โดยเสา
โคมไฟเป็นชนิดเสาเหล็กกลมเรียว (Taper Pole Hot Dip Galvanized Steel) ความสูง 6 เมตร พร้อมโคม
ไฟถนนแบบใช้พลังงานแสงอาทิตย์ (LED Streetlight Solar Cells) ชนิดหลอด LED พร้อมอุปกรณ์ต่าง ๆ
ตามที่ระบุในแบบรูปและรายการละเอียด
(1.2) โคมไฟถนนพลังงานแสงอาทิตย์ (LED Streetlight Solar Cells) ชนิดหลอด
LED ทั้งหมดต้องเป็นของแท้และใหม่ มีคุณสมบัติถูกต้องตามข้อกําหนดรายละเอียดด้านวิศวกรรม
(1.3) ผู้รับจ้างต้องเสนอรายละเอียดข้อมูลผลิตภัณฑ์และผู้ผลิต พร้อมทั้งเปรียบเทียบ
คุ ณ ลั ก ษณะของโคมไฟถนนพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ (LED Streetlight Solar Cells) ชนิ ด หลอด LED ให้
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุพิจารณาอนุมัติก่อนเริ่มงานอย่างน้อย 30 (สามสิบ) วัน
(1.4) ผู้ รั บ จ้ า งต้ อ งแนบหนั ง สื อ รั บ ประกั น คุ ณ ภาพผลิ ต ภั ณ ฑ์ โ คมไฟถนนพลั ง งาน
แสงอาทิ ต ย์ (LED Streetlight Solar Cells) ชนิ ด หลอด LED ที่ เ สนออย่ า งน้ อ ย 2 ปี ภายหลั ง จาก
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุได้รับมอบงานทั้งสัญญาแล้ว
(2) ความรับผิดชอบ
(2.1) ผู้รับจ้างต้องตรวจสอบรายละเอียดของงานตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการ
ละเอียด ข้อกําหนดรายละเอียดด้านวิศวกรรม จนเข้าใจถึงเงื่อนไขต่าง ๆ โดยละเอียดแล้ว
(2.2) การเสนอรายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์ เพื่อขออนุมัติ
- ผู้รับจ้างต้องจัดหารายละเอียด (Technical Data) ของวัสดุและอุปกรณ์เสนอ เพื่อ
อนุมัติก่อนดําเนินการใด ๆ พร้อมทั้งรายการการคํานวณประมาณการผลิตพลังงานไฟฟ้า การกักเก็บพลังงาน
ไฟฟ้าและการใช้พลังงานไฟฟ้า ซึ่งได้รับการรับรองผลการคํานวณจากวิศวกรที่ได้รับใบอนุญาตประกอบ
วิชาชีพวิศวกรรม
- ระบบที่ผู้รับจ้างเสนอจะต้องสามารถสํารองไฟไว้ใช้งานได้ไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมง
และสามารถตั้งโปรแกรมเพิ่มลดความสว่างตามเวลาที่กําหนดดังนี้
- จํานวนชั่วโมงการใช้งานไม่เกิน 12 ชั่วโมง ขึ้นอยู่กับเวลาดวงอาทิตย์ตก
และดวงอาทิตย์ขึ้น

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 12 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

- ลักษณะการใช้งานหลังจากไม่มีแสงอาทิตย์ จะเป็นดังนี้ (หรือปรับได้ตาม


ความเหมาะสม) เช่น ระดับการใช้พลังงานไฟฟ้า 100% ชั่วโมงที่ 1-5 (5 ชั่วโมง) ระดับการใช้พลังงานไฟฟ้า
50% ชั่วโมงที่ 6-11 (6 ชั่วโมง) และระดับการใช้พลังงานไฟฟ้า 100% ชั่วโมงที่ 12 (1 ชั่วโมง) หรือ จนกว่า
แสงจะดับอัตโนมัติเนื่องจากพระอาทิตย์ขึ้น
- ผู้รับจ้างต้องยอมรับและดําเนินการโดยมิชักช้า เมื่อได้รับการแก้ไขข้อบกพร่องใน
การปฏิบัติงานเพื่อให้เป็นไปตามข้อกําหนดในสัญญาและถูกต้องตามหลักวิชาช่าง โดยจะต้องรับผิดชอบต่อ
ค่าใช้จ่ายในการแก้ไข เนื่องจากความบกพร่องต่าง ๆ ทั้งสิ้น
- รายละเอียดวัสดุอุปกรณ์แต่ละอย่างให้เสนอแยกกัน โดยรวบรวมข้อมูลเรียงลําดับ
ให้ เ ข้ า ใจง่ า ยพร้ อ มทั้ ง แนบเอกสารสนั บ สนุ น เช่ น แคตตาล็ อ ก โดยมี เ ครื่ อ งหมายชี้ บ อก รุ่ น ขนาด และ
ความสามารถเพื่อประกอบการพิจารณา
(3) การบริการ
(3.1) ผู้รับจ้างต้องจัดผู้เชี่ยวชาญมาฝึกอบรมช่างเทคนิค และผู้เกี่ยวข้องให้สามารถใช้
และบํารุงรักษาได้อย่างถูกต้อง
(3.2) ผู้รับจ้างต้องจัดเตรียมหนังสือคู่มือการใช้งานและการซ่อมบํารุงรักษาภาษาไทย
จํานวน 3 ชุด
(3.3) ผู้รับจ้างต้องแสดงข้อมูลรายละเอียดในการติดต่อผู้ที่จะให้บริการตรวจสอบหรือ
บํารุงรักษาได้รวดเร็ว เพื่อสะดวกในการติดต่อ
(4) การทดสอบ
เมื่อติดตั้งเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะต้องทําการทดสอบการใช้งานต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 24
ชั่วโมง เพื่อทดสอบการทํางาน ตลอดจนคุณสมบัติ และต้องมีการทดสอบระบบความส่องสว่างพร้อมรายงาน
วัดค่าแสงสว่างเฉลี่ย โดยสุ่มกลุ่มเสาไฟจํานวน 2 ต้นที่อยู่ติดกัน จํานวน 2 กลุ่ม คนละพื้นที่เพื่อทําการวัดค่า
แสงสว่างเฉลี่ ยในแต่ ละกลุ่มจํานวนไม่ น้ อยกว่ า 140 จุด (7x20) โดยวั ดความส่องสว่ างจากเสาไฟความสู ง
จากพื้น 6 เมตร และระยะห่างระหว่างเสา 20 เมตร โดยโคมไฟจะต้องมีความส่องสว่างตามมาตรฐานการส่อง
สว่าง หากมีความบกพร่องหรือความเสียหายจากผลการติดตั้ง ผู้รับจ้างจะต้องแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงโดยทันที
(5) รายละเอียดด้านเทคนิค
โคมไฟฟ้ า ถนนพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ (LED Streetlight Solar Cell) ชนิ ด หลอด LED
ประกอบด้วยอุปกรณ์ประกอบและคุณลักษณะเฉพาะ อย่างน้อยดังนี้
(5.1) แผงเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cells) มีคุณลักษณะดังต่อไปนี้
(5.1.1) แผงเซลล์แสงอาทิตย์ ขนาดไม่น้อยกว่า 100 วัตต์ (Watt-peak) ชนิด Poly
Crystalline Silicon หรื อ Mono Crystalline ทํ า หน้ า ที่ เ ปลี่ ย นพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ เ ป็ น พลั ง งานไฟฟ้ า
กระแสตรง
(5.1.2) แผงเซลล์แสงอาทิตย์มีค่า Standard Test Condition ไม่น้อยกว่า 1000
W/m2, Air mass 1.5 และค่า Cell temperature 25°C
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 13 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

(5.1.3) แผงเซลล์แสงอาทิตย์มีคุณลักษณะเฉพาะดังนี้
- ขนาดแรงดันไฟฟ้าสูงสุด (Maximum Power Voltage) ไม่น้อยกว่า 17 โวลต์
- ค่ากระแสสูงสุด (Maximum Power Current) ไม่น้อยกว่า 5 แอมป์
- ค่ าประสิ ทธิ ภาพของแผง (Module Conversion Efficiency) ไม่ น้ อยกว่ า
ร้อยละ 12.9
(5.1.4) แผงเซลล์แสงอาทิตย์ปิดทับด้วยกระจกนิรภัยประสิทธิภาพสูงในการส่งผ่าน
แสง ไม่ ส ะท้ อ นแสง ทนความร้ อ น และป้ อ งกั น ความชื้ น ได้ มี ก รอบทํ า ด้ ว ยอลู มิ เ นี ย มชนิ ด Anodized
Aluminum Frame ปิดสนิททั้งสี่ด้าน แต่ละด้านเป็นชิ้นเดียวกันไม่มีรอยต่อ รวมทั้งต้องมีความแข็งแรงทนทาน
(5.1.5) มีอุปกรณ์ป้องกันกระแสย้อนกลับ
(5.1.6) แผงเซลล์แสงอาทิตย์ต้องผลิตและประกอบตามมาตรฐาน IEC/EN
(5.1.7) แผงเซลล์แสงอาทิตย์ต้องผลิตจากโรงงานผลิตที่ได้รับมาตรฐาน ISO9001
และ ISO14000
(5.1.8) แผงเซลล์แสงอาทิตย์ต้องได้การรับรองคุณภาพมาตรฐานจากสถาบันรับรอง
ระดับสากลที่เชื่อถือได้ เช่น CE, UL, TUV หรือมาตรฐานสากลที่เทียบเท่า
(5.1.9) ด้านหลังแผงเซลล์แสงอาทิตย์ติดตั้งกล่องต่อสายไฟฟ้า (Junction Box) ที่มี
การปิดผนึกหรือฝาปิดล็อคอย่างมั่นคง สามารถทนต่อสภาพอากาศและสภาพแวดล้อมได้ดีด้วยมาตรฐานการ
ป้องกัน IP66
(5.1.10) ให้ทําสัญลักษณ์ของกรมชลประทานที่แผงเซลล์แสงอาทิตย์
(5.2) กล่องควบคุม
กล่องควบคุมเป็นกล่องโลหะที่มีความแข็งแรงและปลอดภัย ทําจากเหล็กแผ่นหนา
ไม่ น้ อ ยกว่ า 1.2 มิ ล ลิ เ มตร ผ่ า นการป้ อ งกั น การผุ ก ร่ อ นด้ ว ยกรรมวิ ธี Zinc Phosphate Process ชุ บ สี ฝุ่น
มีซีลยางกันน้ํารอบประตู มีกุญแจสําหรับล็อคในตัว โดยกล่องควบคุมจะเป็นแบบติดตั้งภายนอกอาคารและ
กันฝนได้ (Weatherproof) ภายในประกอบด้วยอุปกรณ์ประกอบดังนี้
(5.2.1) แบตเตอรี่
- ขนาดแรงดันไฟฟ้า 12 โวลต์ (Vdc)
- ความจุของแบตเตอรี่ต้องไม่น้อยกว่า 100 Ah 12 V
- แบตเตอรี่เป็นชนิดเจลไม่ต้องเติมน้ํากลั่นขนาดแรงดันไฟฟ้า 12 โวลต์
กระแสไฟฟ้าสูงสุดไม่ต่ํากว่า 100 Ah (GEL Deep Cycle Battery) และไม่ต้องการการบํารุงรักษา (Maintenance
Free) ตลอดอายุการใช้งาน และใช้งานแบบ Deep Cycle Battery
- ผลิตจากโรงงานที่ได้รับมาตรฐาน ISO9001 และISO 14001
- ต้ องได้การรับรองคุณภาพมาตรฐานจากสถาบั นรับรองระดับสากลที่
เชื่อถือได้ เช่น TIS, JIS, CE, UL, TUV หรือมาตรฐานสากลที่เทียบเท่า
- ระดับการป้องกันน้ําและฝุ่นไม่น้อยกว่า IP66

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 14 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

- แบตเตอรี่ผ่านการรับรองตามมาตรฐาน IEC/EN
- แบตเตอรี่เหมาะสําหรับการทํางานภายใต้อุณหภูมิแวดล้อม 0 องศา
เซลเซียส ถึง 50 องศาเซลเซียส
(5.2.2) ชุดควบคุมการประจุของแบตเตอรี่ (Charge Controller) มีคุณลักษณะการ
ใช้งานอย่างน้อย ดังนี้
- สามารถรับแรงดันไฟฟ้าจากแผงเซลล์แสงอาทิตย์ได้ทั้ง 12 โวลต์
- เป็ น ระบบควบคุ ม การประจุ แ บบ MPPT (Maximum Power Point
Tracking) พร้อมมีชุดขับกระแสหลอด แอลอีดี อยู่ในตัวเดียวกัน (Built-in LED Driver)
- สามารถป้องกันการไหลย้อนกลับของกระแสไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ไปแผง
เซลล์แสงอาทิตย์ ในกรณีแรงดันของแบตเตอรี่สูงกว่าแผงเซลล์แสงอาทิตย์
- ต้องมีระบบจะตัดไฟเองเมื่อแรงดันไฟฟ้าในแบตเตอรี่ลดลงในระดับที่จะ
ทําให้แบตเตอรี่เสีย
- มีฟังก์ชันการป้องกันต่าง ๆ อย่างน้อยดังนี้ Overcharge Protection,
Over Discharge Protection, Overload Protection, Over Temperature Protection แ ล ะ Reverse
Polarity Protection
- มีระบบควบคุมการปิด-เปิด โหลดแบบอัตโนมัติ
- มีไฟแสดงสถานะต่าง ๆ ของแบตเตอรี่ (LED Indicator) เช่น ระดับของ
แบตเตอรี่, ระดับประจุพลังงานของแบตเตอรี่ เป็นต้น
- อุณหภูมิการทํางาน 0°C ถึง +50°C
- มีค่าระดับป้องกันน้ําและฝุ่นไม่ต่ํากว่า IP66
- ต้องผลิตจากโรงงานผลิตที่ได้รับมาตรฐาน ISO9001
- ได้รับการรับรองมาตรฐานสากล CE, TUV หรือ RoHS
(5.2.3) สายไฟฟ้า
สายไฟฟ้าและการต่อวงจรไฟฟ้าให้พร้อมใช้งาน ให้ใช้สายไฟฟ้าชนิด PV
Cable ขนาดไม่น้อยกว่า 2.5 ตร.มม. ใช้งานที่แรงดันสูงสุดไม่เกิน 1000 โวลต์ดีซี
(5.3) เสาไฟถนน มีคุณลักษณะเฉพาะดังต่อไปนี้
(5.3.1) เสาและกิ่งโคมต้องเป็นเหล็กกันสนิม โดยผ่านกรรมวิธีชุบสังกะสีแบบจุ่มร้อน
(Hot-dip Galvanized) ความหนาของแผ่นเหล็กที่ใช้ทําเสาไฟและความสูงจากฐานถึงตัวโคมให้เป็นไปตามที่
กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด เว้นแต่กรณีที่ไม่ได้กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด ให้ใช้
แผ่นเหล็กหนาไม่น้อยกว่า 3 มิลลิเมตรและความสูงจากฐานถึงตัวโคมไม่น้อยกว่า 6 เมตร โดยการชุบกัลวาไนท์
ต้องทําตามมาตรฐาน ISO1461 หรือ มาตรฐาน ASTM
(5.3.2) เสาไฟต้องมีลักษณะเป็นเสาเหล็กกลมเรียว (Taper pole)

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 15 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

(5.3.3) ฐานเสาเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีเจาะรูทั้งสี่มุม เพื่อใช้ในการยึดน๊อตเข้ากับ


ฐานคอนกรีต
(5.3.4) กิ่งโคมต้องติดตั้งร่วมกับโคมไฟถนนได้อย่างเหมาะสม
(5.3.5) เสาโคมไฟถนนต้องมีขาจับหรื อกรอบรับแผงเซลล์แสงอาทิตย์ โดยแผ่น
รองรับแผงเซลล์แสงอาทิตย์เอียงทํามุมกับแนวระนาบ 15-20 องศา
(5.3.6) ขาจับหรือกรอบรับแผงเซลล์แสงอาทิตย์เข้ากับตัวเสา ต้องสามารถยึดอุปกรณ์
ทั้งหมดได้อย่างเหมาะสม ปลอดภัย และต้องสามารถทนรับแรงกระแสลมกับสภาพภูมิอากาศของสถานที่ที่ติดตั้ง
(5.3.7) ผลิตจากโรงงานที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 9001: 2015
(5.3.8) เสาไฟถนนแต่ละต้นควรมีระยะห่างไม่เกิน 20 เมตร หรือตามที่กําหนดใน
แบบรูปและรายการละเอียด
(5.4) โคมไฟถนน ต้องมีคุณลักษณะเฉพาะดังต่อไปนี้
(5.4.1) โคมไฟถนน ส่วนของตัวโคมต้องผลิตจากอลูมิเนียมหล่อขึ้นรูป (Die-cast
Aluminum) และพ่นทับด้วยสีฝุ่น หรือผลิตจากเหล็กหนาไม่น้อยกว่า 2 มิลลิเมตรผ่านการป้องกันการผุกร่อน
ด้ ว ย Hot Dip Galvanized ตามที่ กํ า หนดในแบบรู ป และรายการละเอี ย ด ตั ว โคมต้ อ งทนต่ อ การผุ ก ร่ อ น
แข็งแรง
(5.4.2) ภายนอกโคมไฟถนนต้องมีส่วนระบายความร้อนเป็นไปตามมาตรฐานของผู้ผลิต
(5.4.3) มีเลนส์ครอบหลอด LED ทําจากวัสดุ Polycarbonate ทนความร้อนสูง หรือ
ตามมาตรฐานผู้ผลิต
(5.4.4) โคมไฟถนนแอลอี ดี ต้ องมี ขนาดไม่ น้ อยกว่ า 40 วั ตต์ ให้ ค่ าความสว่ าง
ไม่น้อยกว่า 6,000 ลูเมน
(5.4.5) โคมไฟมีค่าอุณหภูมิสี (Correlated Color Temperature: CCT) อยู่ในช่วง
5000K±500K
(5.4.6) โคมไฟมีค่าความถูกต้องของสี (Color Rendering Index: CRI) ไม่น้อยกว่า 70
(5.4.7) โคมไฟต้องดูแลรักษาง่ายและมีอายุการใช้งานยาวนานไม่น้อยกว่า 50,000
ชั่วโมง ได้มาตรฐานการทดสอบ IES LM80
(5.4.8) โคมไฟต้ อ งผ่ า นการรับ รองตามมาตรฐาน IEC/EN หรื อ เที ย บเท่า และมี
รายงานผลทดสอบ IES LM-79-08 ของโคมไฟถนน จากห้องปฏิบัติการที่มีความน่าเชื่อถือที่ได้รับมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.17025 หรือ ISO/IEC 17025
(5.4.9) โคมไฟต้องมีรายงานผลทดสอบระดับป้องการน้ํา ป้องกันฝุ่น ป้องกันแมลง
เข้าโคมไฟถนน (Ingress Protection ; IP Rating) ไม่น้อยกว่า IP66 จากห้องปฏิบัติการที่มีความน่าเชื่อถือที่
ได้รับมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ 17025 หรือ ISO/IEC 17025
(5.4.10) โคมไฟต้องผลิตจากโรงงานที่ได้รับมาตรฐาน ISO9001
(5.4.11) โคมไฟต้องได้รับการรับรองมาตรฐานสากล CE, TUV, UL หรือ RoHS

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 16 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

(5.4.12) ค่าความส่องสว่างเฉลี่ย ณ พื้นที่ใช้งาน จากความสูง 6 เมตร ไม่น้อยกว่า 10 ลักซ์


(5.4.13) ฝาครอบทําจาก Acrylic Glass หรือ Polycarbonate Toughened Flat
Glass ซึ่งแสงจากหลอดไฟต้องผ่านได้สะดวกและต้องทนต่อรังสีอัลตราไวโอเลตและความร้อน มีซีลยางกันน้ํา
10.10.12 สวิตช์ไฟฟ้า
(1) สวิตช์ไฟฟ้าให้ใช้ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 824-2531
(2) ทนกระแสไฟฟ้าสลับได้ไม่น้อยกว่า 15 แอมแปร์ 250 โวลต์ หรือตามที่กําหนดในแบบรูป
และรายการละเอียด
(3) ก้านสวิตช์เป็นกลไกแบบกดปิด/เปิดโดยวิธีกระดก ทําด้วยพลาสติกแข็ง สีขาว หรือสีตามที่
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุกําหนด
(4) ขั้วต่อสายไฟ เป็นชนิดมีรูเสียบสายอัดด้วยสปริง หรือมีรูเสียบสายอัดด้วยสกรูสามารถกัน
การแตะต้องที่ขั้วที่เป็นโลหะได้ (ห้ามใช้ชนิดที่ยึดสายไฟโดยการพันสายใต้หัวสกรูโดยตรง)
10.10.13 เต้ารับไฟฟ้า
(1) เต้ารับไฟฟ้าให้ใช้ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 166-2549
(2) เต้ารับไฟฟ้าทั่วไปให้ใช้ชนิดคู่ขนาด 10 แอมแปร์ 250 โวลต์มีขาดิน (Grounding Duplex
Universal Receptacles) หรือตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด
(3) เต้ารับไฟฟ้าต้องเป็นแบบและสีเดียวกัน และเป็นผลิตภัณฑ์เดียวกันกับสวิตช์ หรือตามที่
ได้รับความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
(4) เต้ารับแบบติดกับพื้นหรือฝังพื้น การติดตั้งต้องป้องกันหรือหลีกเลี่ยงจากความเสียหายทาง
กายภาพเนื่องจากการทําความสะอาดพื้นและการใช้งาน เต้ารับให้ใช้ชนิดคู่ ขนาด 10 แอมแปร์ 250 โวลต์
มีขาดิน (Grounding Duplex Universal Receptacles)
10.10.14 ฝาครอบสวิตช์และเต้ารับไฟฟ้า
ที่ใช้ทั่วไปภายในอาคารต้องเป็นแบบเดียวกัน เป็นผลิตภัณฑ์ เดียวกันทั้งอาคาร ยกเว้นฝาครอบ
พิเศษ ให้ใช้ตามที่กําหนดจากชนิด ต่าง ๆ ดังนี้
(1) ชนิดพลาสติกแข็ง ให้ใช้ชนิดนี้ในกรณีที่กรอบ สวิตช์ และกล่องไม่มีการต่อลงดิน โดยมี สี
และแบบ ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุพิจารณาอนุมัติ
(2) ชนิดทนสภาวะอากาศภายนอกอาคาร (Weatherproof) ให้ใช้ชนิดโลหะหล่อเคลือบสี ฝา
มียางอัดรอบ
10.10.15 แผงจ่ายไฟฟ้าย่อย (Panel Board) และตู้ Consumer Unit
(1) แผงจ่ า ยไฟย่ อ ย (Panel Board) และตู้ Consumer Unit ต้ อ งได้ ม าตรฐาน IEC หรื อ
เทียบเท่า
(2) ชนิดของแผงจ่ายไฟฟ้าย่อยต้องเป็นชนิดติดผนัง สําหรับใช้กับระบบไฟฟ้า 3 เฟส 4 สาย
ขนาดแรงดัน 400/230 โวลต์ (สําหรับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค) และแรงดัน 416/240 โวลต์ (สําหรับการไฟฟ้า
นครหลวง) จํานวนวงจรย่อยตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด และมีฝาปิดด้านหน้า มีช่องเข้า

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 17 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

สายไฟฟ้ า ได้ ทั้ ง ด้ า นบนและด้ า นล่ า ง ตั ว ตู้ แ ละฝาตู้ ทํ า จากโลหะเคลื อ บ Epoxy Powder Coated หนา
ไม่น้อยกว่า 1.2 มิลลิเมตร ต้องมีสาย Grounding ระหว่างตัวตู้และฝาตู้
(3) ตู้ Consumer Unit ต้องเป็นชนิดติดผนัง ใช้กับระบบไฟฟ้า 1 เฟส 2 สาย 220 โวลต์
จํานวนวงจรย่อยตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด มีช่องสําหรับเข้าสายได้ทั้งด้านบน ด้านล่าง
ด้านซ้ายและด้านขวา
(4) บัสบาร์ต้องเป็นทองแดง และเป็นชนิดที่ถอดและเพิ่มสวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติได้ง่าย และ
ใส่ได้จํานวนตามที่กําหนด แผง 3 เฟส ต้องสามารถใส่สวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติได้ทั้งชนิด 1 เฟส 2 เฟส และ
3 เฟสปนกัน ที่ขั้วต่อสายป้อนหรือจุดใกล้เคียงให้ทาสีตามระบบสีที่กําหนด
(5) สวิ ต ช์ ตั ด ตอนอั ต โนมั ติ มี Instantaneous Short Circuit Trip, Inverse Time Over
current Trip ขนาดตามที่กําหนดที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส ขนาดเฟรมไม่เล็กกว่าตามที่กําหนดในแบบรูป
และรายการละเอียด
(6) แผงจ่ายไฟฟ้าย่อย (Panel Board) ที่กําหนดให้มีเมนสวิตช์เป็นสวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติเป็น
Molded Case Circuit Breaker 3 Pole ขนาดตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด สามารถตัด
กระแสไฟฟ้าที่ระบุได้
(7) ตู้ Consumer Unit ให้ใช้เมนสวิตช์เป็นแบบ Miniature Circuit Breaker 2 Pole ขนาด
ตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด
10.11 ตู้เมนบริภัณฑ์ไฟฟ้าแรงต่ํา (Main Distribution Board: MDB)
10.11.1 ความต้องการเบื้องต้น
(1) ตู้เมนบริภัณฑ์ไฟฟ้าแรงต่ํา (Main Distribution Board) ต้องผลิตและประกอบสมบูรณ์
จากโรงงานผู้ผลิตที่ได้รับมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.1436-2540 รวมทั้ง โรงงานผู้ผลิตต้อง
สามารถผลิตตู้ที่ผ่านการทดสอบกระแสลัดวงจรไม่น้อยกว่า 65 kA. (Standard) ตามมาตรฐาน IEC ลักษณะ
การจัดแบ่ง Switchboard เป็น Cubicle หรือตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียดโดยมีคุณสมบัติ
และลักษณะที่การไฟฟ้าฯ ยอมให้ใช้ได้
(2) การจัดสร้างตู้สวิตช์บอร์ดแรงต่ํา (Main Distribution Board) ที่ประกอบในประเทศไทย
ผู้ผลิตต้องมีวิศวกรไฟฟ้า แขนงไฟฟ้ากําลัง ระดับสามัญวิศวกร เป็นผู้ควบคุมและอํานวยการติดตั้ง
(3) การจัดสร้างตู้สวิตช์บอร์ดแรงต่ํา (Main Distribution Board) ต้องทําด้วยฝีมือช่างที่ดี
วัสดุที่ใช้ต้องมีคุณสมบัติเท่ากับหรือดีกว่าคุณสมบัติดังที่จะกล่าวต่อไป อุปกรณ์ที่ใช้ในต้องมีคุณสมบัติใช้ได้ตาม
มาตรฐานนั้น ๆ ที่ระบุให้เลือกใช้ในข้อกําหนดนี้
- Circuit Breaker ทุกตัวที่ใช้ในตู้เมนสวิตช์จะต้องผลิตโดยผู้ผลิตรายเดียวกัน
- ก่อนสั่ งซื้ อหรือจัดสร้างตู้ ควบคุ มระบบไฟฟ้ าผู้รั บจ้ า งต้อ งส่ งแบบเพิ่ม เติม (Shop
Drawings) ซึ่งแสดงรายละเอียดของวัสดุ อุปกรณ์ ที่จะใช้ทุกชนิดตามรายการให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
พิจารณาอนุมัติก่อน

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 18 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

(4) สวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติที่ใช้ในขนาดเฟรมต้องไม่เล็กกว่าที่ กําหนดในแบบรูปและรายการ


ละเอี ย ด สามารถทนกระแสไฟลั ด วงจรได้ ต ามหลั ก วิ ช าการ โดยผู้ รั บ จ้ า งต้ อ งส่ ง แบบเพิ่ ม เติ ม (Shop
Drawings) เพื่อขออนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเพื่อเป็นการยืนยันก่อนสั่งของจากโรงงาน
(5) ตู้สวิตช์บอร์ดแรงต่ํา (Main Distribution Board) ต้องมีเครื่องมือประจําตู้ควบคุมไฟฟ้า
(Hand Tools) ได้ แ ก่ เครื่ อ งมื อ วั ด ทางไฟฟ้ า ที่ ส ามารถวั ด ค่ า แรงดั น ไฟฟ้ า /กระแสไฟฟ้ า แบบดิ จิ ต อล
อย่างน้อย 1 ชุด ซึ่งมิเตอร์มีระดับความปลอดภัยสูงสุดสําหรับงานไฟฟ้าเป็นไปตามมาตรฐาน IEC และ Range
ของมิเตอร์ต้องสอดคล้องกับตู้สวิตช์บอร์ด พร้อมมีกระเป๋าเก็บ
10.11.2 ลักษณะและการจัดโครงสร้างตู้
(1) ตู้เป็นแบบติดผนังอาคาร (Wall Mount Cubicle) หรือ ตู้แบบตั้งพื้น (Floor Standing
Cubicle) ตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด
(2) โครงตู้ทําด้วยเหล็กฉากหนาอย่างน้อย 3.0 มิลลิเมตร แผ่นโลหะที่ใช้รอบนอก เช่น ประตู
ด้านข้าง ด้านหลัง ด้านบน และ Compartment ภายในต้องเป็นเหล็กหนาไม่น้อยกว่า 2.0 มิลลิเมตร
(3) ชิ้นส่วนที่เป็นเหล็กทุกชิ้น ต้องผ่านกรรมวิธีป้องกันสนิมและพ่นสีทับ สําหรับชิ้นส่วนที่เป็น
อลูมิเนียมไม่ต้องผ่านกรรมวิธีป้องกันสนิมแต่ต้องพ่นสีทับ
(4) การทําความสะอาดผิวโลหะเพื่อป้องกันสนิม ให้ขัดผิวโลหะให้เรียบและสะอาด แล้วล้าง
ไขมันหรือคราบน้ํามันออก ถ้ามีร่องรอยของการมีสนิม ให้ล้างด้วยน้ํายาล้างสนิมตามวิธีการที่ผู้ผลิตน้ํายาล้าง
สนิมแนะนํา
(5) การพ่ นสี ให้ พ่นสีรองพื้นก่ อ นด้ ว ย Zinc Phosphate หรื อ Etching Primer ของ ICI
หรือเทียบเท่า โดยพ่นให้ทั่วทุกด้านแล้วอบอุณหภูมิประมาณ 125 องศาเซลเซียส ใช้เวลาประมาณ 30 นาที
จากนี้ให้พ่นสีชั้นนอก 2 ครั้ง แต่ละครั้งต้องอบด้วยวิธีเดียวกับสีรองพื้น แล้วขัดด้วยขี้ผึ้งขัดสี สีชั้นนอกให้ใช้
สีน้ํามันชนิดผงฝุ่น (Powder Coating) และใช้สีเทา หรือตามที่กําหนดในมาตรฐานการผลิต
(6) ฝาตู้ ต้องมีสายดินทองแดงชุบแบบถักแบน ต่อลงดินที่โครงตู้
(7) บานประตูด้านหน้าติดตั้งหลอดไฟ LED เพื่อให้ความสว่างภายในตู้
10.11.3 ข้อมูลของตู้สวิตช์บอร์ดแรงต่ํา (Main Distribution Board)
ตู้สวิตช์บอร์ดแรงต่ํา (Main Distribution Board) ต้องมีข้อมูลขั้นต้นแสดงไว้เพื่อความสะดวก
ในการใช้งานและบํารุงรักษาอย่างน้อยดังนี้
(1) ป้ายแสดงชื่อและสถานที่ติดต่อของผู้ผลิต เป็นป้ายที่ทนทานไม่ลบเลือนได้ง่าย ติดไว้ที่ตู้
ด้านนอกตรงที่ ๆ เห็นได้ง่ายหลังการติดตั้งตู้แล้ว
(2) ป้ายชื่อและตําแหน่งการใช้งานของอุปกรณ์ทุกชนิดที่ผู้เข้าปฏิบัติการต้องทราบ ป้ายชื่อใช้
ภาษาไทย
(3) ที่ฝาตู้ด้านที่เข้าปฏิบัติการให้ทําเป็น Mimic Diagram แสดงหน้าที่ และความสัมพันธ์ของ
อุปกรณ์ต่าง ๆ เป็นผัง Single Line Diagram

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 19 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

10.11.4 อุปกรณ์ทางด้านไฟฟ้าแรงต่ําภายในตู้สวิตช์บอร์ดแรงต่ํา (Main Distribution Board)


(1) สวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติ
เป็นชนิดผลิตสําหรับไฟฟ้าระบบ 400/230 โวลต์ ตามมาตรฐาน และต้องทนแรงดันไฟฟ้า
(Rated Operation Voltage) ได้ไม่น้อยกว่า 690 โวลต์ และมีค่าพิกัดรวมทั้งมีคุณสมบัติและลักษณะดังนี้
(1.1) Rated Current : ตามระบุในแบบรูปและรายการละเอียด
(1.2) Case : สวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติที่มีขนาดเฟรม (Frame Size) ไม่เกิน 1,000
แอมแปร์ ต้องเป็นแบบ Molded Case Circuit Breaker ขนาดเฟรมเกิน 1,000 แอมแปร์ ต้องเป็นชนิด
Air Circuit Breaker และในกรณีที่อยู่ในตู้ Incoming Unit สวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติต้องมีอุปกรณ์ Ground
Fault Protection (GFP)
(1.3) Mounting : สวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติที่มีขนาดเฟรม เกิน 1,000 แอมแปร์ ให้เป็น
แบบ Draw Out Type สวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติที่มีขนาดเฟรม ไม่เกิน 1,000 แอมแปร์ ให้เป็นแบบ Fixed Type
(1.4) Terminals : ขั้วต่อสายของสวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติ ใช้สองแบบดังนี้
- สําหรับขนาดเฟรมขึ้นไปถึง 100 แอมแปร์ ใช้ขั้วชนิดต่อเข้ากับหางปลา หรือ
แบบต่อบัสบาร์เข้าได้
- สําหรับขนาดเฟรม 250 แอมแปร์ และใหญ่กว่า ให้ใช้ขั้วชนิดต่อบัสบาร์
- ขั้วต่อสายต้องเป็นแบบใช้กับทองแดง
(1.5) Interrupting Capacity (IC) ของสวิ ต ช์ ตั ด ตอนอั ต โนมั ติ ต้ อ งสามารถป้ อ งกั น
กระแสไฟลัดวงจรได้ไม่น้อยกว่าที่ระบุในแบบรูปและรายการละเอียด
(2) Phase Failure Relay and Under/Over Voltage Relay
เป็นรีเลย์ชนิด Solid State สําหรับใช้กับไฟฟ้าระบบ 400 / 230 โวลต์ 3 เฟส 4 สาย
50 เฮิรตซ์ ซึ่งจะทํางานเมื่อแรงดันไฟฟ้าระหว่างเฟสแตกต่างกัน โดยสามารถตั้งจุดที่ทํางานได้ระหว่าง 5%
ถึง 15% Asymmetry มีหน้าสัมผัสชนิด Changeover จํานวนอย่างน้อย 2 อัน ทนแรงดันไฟฟ้าได้ไม่น้อยกว่า
380 โวลต์ และทนกระแสไฟฟ้าได้ไม่น้อยกว่า 6 แอมแปร์ รีเลย์ต้องเป็นชนิด Plug in พร้อม Socket หรือ
ต่อสายออกมามี Plug and Socket ให้พร้อมทั้งชุด
(3) ฟิวส์และฐาน
ฟิ ว ส์ สํ า หรั บ ระบบคอนโทรล และสํ า หรั บ ป้ อ งกั น เครื่ อ งวั ด ต่ า ง ๆ ให้ ใ ช้ ฟิ ว ส์ ช นิ ด
Cartridge ตามมาตรฐาน IEC ฐานฟิวส์ใช้ชนิด Flush Mounting สําหรับฟิวส์ที่ติดกับฝาตู้ และชนิดธรรมดา
สําหรับฟิวส์ที่ติดในตู้
(4) Current Transformer (CT)
Secondary Rated Current : 5A, Primary Rating ตามทีก่ ําหนดในแบบรูป
และรายการละเอียด
Accuracy Class : 1.5 หรือเทียบเท่า
Tropical Proof : ทนแรงดันไฟฟ้าได้ไม่น้อยกว่า 500 โวลต์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 20 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

(5) Voltmeter
เป็นชนิดต่อตรง มีสเกลอ่านได้ 0-500 โวลต์ หรือตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการ
ละเอียด Accuracy Class : 1.5 หรือเทียบเท่า
(6) Digital Power Meter (D.P.M)
ใช้ตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด Accuracy Class: 0.5 และ ใช้กับ
Power Supply 230 VAC
(7) Ammeter
ใช้ตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด ดังนี้
Ammeter เป็ น ชนิ ด ที่ มี ส เกลอ่ า นได้ ต ามขนาด Primary Current Rating เป็ น แบบใช้
ต่อกับ Current Transformer ชนิด 5 แอมแปร์ Secondary Rated Current Accuracy Class 1.5 หรือเทียบเท่า
(8) Amp Selector Switch (AS)
เป็นชนิดเลือกได้ 4 จังหวะ เพื่อวัดกระแสไฟฟ้าทั้ง 3 เฟส และมีจังหวะปิดด้วย
(O-R–S–T) ทนกระแสไฟได้ไม่ต่ํากว่า 10 แอมแปร์ สําหรับใช้กับแอมป์มิเตอร์แบบใช้ CT
(9) Pilot Lamps
เป็นชนิดที่ผลิตตามมาตรฐาน มีเลนส์สีด้านหน้า ใช้ 2 ชนิด ตามแรงดันไฟฟ้าดังนี้
- สําหรับแรงดันไฟ 220 V ใช้ฐานหลอดแบบ E14 และหลอดนีออน มีหม้อแปลงในตัว
- สําหรับแรงดันไฟ 24 V ใช้ฐานหลอดแบบ BA9S หลอด 24 โวลต์ 3 วัตต์
(10) อุปกรณ์ป้องกันไฟฟ้ากระโชก (Surge Protection Device)
(10.1) คุณลักษณะทั่วไป
(10.1.1) อุปกรณ์ป้องกันไฟฟ้ากระโชก จะต้องถูกออกแบบและทดสอบ ตาม
มาตรฐาน IEC 61643-1 หรือเทียบเท่า
(10.1.2) อุปกรณ์ป้องกันไฟฟ้ากระโชก จะต้องมีการต่อลงดินตามมาตรฐาน IEC
60364-3 หรือเทียบเท่า
(10.2) คุณสมบัติเทคนิค
(10.2.1) อุปกรณ์ป้องกันแรงดันไฟฟ้ากระโชกต้องเป็นชนิด Class I+II
(10.2.2) ใช้กับระบบไฟฟ้า 380 Volt 50 Hz ลั กษณะการติดตั้งต่อแบบขนาน
ทางไฟฟ้า และติดตั้งที่ตู้เมน Incoming Unit
(10.2.3) พิกัดป้องกันกระแสฟ้าผ่า Class I (Impulse Current: Limp (10/350μS))
ไม่น้อยกว่า 25kA/Pole
(10.2.4) พิกัดป้องกันกระแสกระโชก Class II (Nominal Discharge Current : In
(8/20μS)) ไม่น้อยกว่า 25kA/Pole
(10.2.5) อุปกรณ์ทั้ง 2 Class ต้องสามารถถอดเปลี่ยนได้ในแต่ละเฟสเพื่อสะดวก
ต่อการบํารุงรักษา

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 21 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

(10.2.6) มีค่า Voltage protection level น้อยกว่า 1.5 kV


10.12 ตู้ควบคุมมอเตอร์สําหรับเครื่องสูบน้ํา (Motor Control Center : MCC1, MCC2)
10.12.1 ความต้องการทั่วไป
(1) ข้อกําหนดนี้ครอบคลุมถึงความต้องการด้านออกแบบและสร้างตู้ควบคุมมอเตอร์สําหรับ
เครื่องสูบน้ํา (Motor Control Center : MCC1, MCC2)
(2) ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาและติดตั้งตู้ควบคุมมอเตอร์สําหรับเครื่องสูบน้ํา (Motor Control
Center) พร้อมอุปกรณ์ต่าง ๆ ไว้ในห้อง หรือ สถานที่ที่จัดเตรียมไว้
(3) โรงงานผู้ผลิตได้รับรองมาตรฐาน ISO 9001:2015 และใบรับรองชุดประกอบสําเร็จรูป
ควบคุมไฟฟ้าแรงดันต่ํา ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.1436-2540
(4) โรงงานผู้ผลิตสามารถผลิตตู้ที่ผ่านการทดสอบกระแสลัดวงจรไม่น้อยกว่า 65 kA ตาม
มาตรฐาน IEC
(5) ผู้ผลิตต้องมีวิศวกรไฟฟ้าผู้ได้รับใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ตั้งแต่ระดับสามัญ
วิ ศวกรขึ้นไป ตามพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542 ลงนามกํ ากับในแบบแสดงรายละเอียดวงจรไฟฟ้า
(Single Line diagram) โดยมีรายละเอียดสอดคล้องกับอุปกรณ์ระบบไฟฟ้าตามข้อ 10.12.5 “ข้อกําหนด
รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ” และควบคุมงานติดตั้งตู้ควบคุมมอเตอร์สําหรับเครื่องสูบน้ํา (Motor Control
Center) ที่เสนอในโครงการ
(6) สวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติ หรือ Molded Case Circuit Breaker ทุกตัวที่ใช้ในแผงสวิตช์ฯ
จะต้องผลิตโดยผู้ผลิตรายเดียวกัน กับ Main Circuit Breaker
(7) ก่อนสั่งซื้อหรือจัดสร้างตู้ควบคุมมอเตอร์สําหรับเครื่องสูบน้ํา (Motor Control Center)
ผู้รับจ้างต้องส่งแบบเพิ่มเติม (Shop Drawings) และรายละเอียดของวัสดุอุปกรณ์ที่จะใช้ทุกชนิดตามรายการ
ให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุพิจารณาให้ความยินยอมก่อน
(8) วัสดุ และอุปกรณ์ ที่นํามาติดตั้งในตู้ควบคุมมอเตอร์สําหรับเครื่องสูบน้ํา (Motor Control
Center) ต้องเป็นของแท้และใหม่ และไม่เคยถูกนําไปใช้งานมาก่อน
(9) ในกรณีที่มีชิ้นส่วน อุปกรณ์ใด ๆ ที่มีการเพิ่มเติมเกิดขึ้นในโครงการ เพื่อวัตถุประสงค์ที่จะ
ทําให้ความสามารถของระบบทํางานได้อย่างสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพสูงสุด ผู้รับจ้างหรือผู้ขายยินดีปฏิบัติ
ตามเงื่อนไขดังกล่าวโดยไม่คิดมูลค่าเพิ่มเติมจากงบประมาณการดําเนินการของโครงการ
(10) ตู้ควบคุมมอเตอร์สําหรับเครื่องสูบน้ํา (Motor Control Center) ต้องมีเครื่องมือประจํา
ตู้ควบคุมไฟฟ้า (Hand Tools) ได้แก่ เครื่องมือวัดทางไฟฟ้าที่สามารถวัดค่าแรงดันไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้า
แบบดิจิตอลอย่างน้อย 1 ชุด (สําหรับ 1 Incoming Unit) ซึ่งมิเตอร์มีระดับความปลอดภัยสูงสุดสําหรับงาน
ไฟฟ้าเป็นไปตามมาตรฐาน IEC และ Range ของมิเตอร์ต้องสอดคล้องกับตู้ควบคุม

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 22 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

10.12.2 การจัดเตรียมเอกสารขออนุมัติ
ผู้รับจ้างต้องเสนอรายละเอียด จํานวน 1 ชุด ประกอบด้วยดังนี้
(1) หนังสือรับรองมาตรฐาน ISO 9001:2015 และใบรับรองชุดประกอบสําเร็จรูปควบคุมไฟฟ้า
แรงดันต่ํา ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.1436-2540 ของโรงงานผู้ผลิต
(2) หนังสือรับรองของโรงงานผู้ผลิตสามารถผลิตตู้ที่ผ่านการทดสอบกระแสลัดวงจรไม่น้อยกว่า
65 kA ตามมาตรฐาน IEC
(3) แบบแปลนการติดตั้งระบบไฟฟ้าจากหม้อแปลงไฟฟ้ามายังตู้ควบคุมหลัก (Incoming Line
Unit) และจากตู้สตาร์ทมอเตอร์ (Motor Starter Unit) ไปยังเครื่องสูบน้ํา โดยมีรายละเอียดสอดคล้องกับ
แบบรูปและรายการละเอียดงานก่อสร้างตามสัญญา และมีวิศวกรไฟฟ้าผู้ได้รับใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
ควบคุมตั้งแต่ระดับสามัญวิศวกรไฟฟ้าขึ้นไปตามพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542 ลงนามกํากับ
(4) แบบแสดงรายละเอียดวงจรไฟฟ้า (Single Line diagram) แสดงรายละเอียดของอุปกรณ์
ไฟฟ้าต่าง ๆ โดยมีรายละเอียดสอดคล้องกับอุปกรณ์ระบบไฟฟ้าตามหัวข้อ 10.12.5 “ข้อกําหนดรายละเอียด
คุณลักษณะเฉพาะ” และมีวิศวกรไฟฟ้าผู้ได้รับใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตั้งแต่ระดับสามัญวิศวกร
ไฟฟ้าขึ้นไปตามพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542 ลงนามกํากับ
(5) แบบเรี ย บเรี ย งทั่ ว ไปของตู้ ค วบคุ ม และอุป กรณ์ ไ ฟฟ้า โดยมีร ายละเอีย ดสอดคล้อ งกับ
อุปกรณ์ระบบไฟฟ้าตามหัวข้อ 10.12.5 “ข้อกําหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ” และมีวิศวกรไฟฟ้าผู้ได้รับ
ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตั้งแต่ระดับสามัญวิศวกรไฟฟ้าขึ้นไปตามพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ.
2542 ลงนามกํากับ
(6) ผู้รับจ้างต้องแนบเอกสารข้อมูล เพื่อยืนยันคุณสมบัติต่าง ๆ ตามที่เสนอ ในข้อกําหนด
รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ ให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุพิจารณาอนุมัติ
(7) สํ าเนาใบประกอบวิชาชีพ วิศวกรรมควบคุม ตั้ งแต่ ร ะดั บสามัญ วิศ วกรไฟฟ้ าขึ้น ไปตาม
พระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542 ลงนามกํากับ
10.12.3 ชนิดและขนาดพิกัดตู้ควบคุมมอเตอร์สําหรับเครื่องสูบน้ํา (Motor Control Center)
ตู้ควบคุมมอเตอร์สําหรับเครื่องสูบน้ํา (Motor Control Center) จะต้องเป็นชนิดตั้งพื้น ติดตั้ง
ภายในอาคารหรือภายนอกอาคาร ตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด มีขนาดพิกัดและรายละเอียดดังนี้
- Rated System Voltage : 3 เฟส 4 สาย 400/230V (PEA)
- System Wiring : 3-PHASE,4-Wire
- พิกัดความถี่ (Rated Frequency) : 50 Hz
- Rated Current : ตามระบุในแบบรูปและรายการละเอียด
- กระแสไฟฟ้าลัดวงจร : กระแสไฟฟ้าลัดวงจร ต้องไม่น้อยกว่า 65 kA
1 วินาที ทีแ่ รงดัน 400 โวลท์ หรือตามที่กําหนดไว้
ในแบบรูปและรายการละเอียด
- Rated Insulation Level (Ui) : 1,000 Volt

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 23 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

- Grounding Arrangement : Solidary Ground Neutral


- Grounding Systems : TNS ( TR - MDB) and TNC (MDB to DB, SDB,
Panel Load)
- Control Voltage : 220-240 Volts (AC)
- Ambient Rise : 40 °C
- Cubicle Finishing : Epoxy Powder Coating
- Typical Forms : FORM 2A หรือตามที่ระบุในแบบรูปและรายการ
ละเอียด
- ดัชนีการป้องกัน : IP ไม่น้อยกว่า 3X หรือตามทีร่ ะบุในแบบรูปและ
รายการละเอียด
10.12.4 การสร้างตู้ควบคุมมอเตอร์สําหรับเครื่องสูบน้ํา
(1) คุณสมบัติทั่วไปของตู้ควบคุมมอเตอร์สําหรับเครื่องสูบน้ํา (Motor Control Center)
(1.1) สายไฟและบัสบาร์ในตู้ควบคุมมอเตอร์สํ าหรับเครื่องสูบน้ํา (Motor Control
Center) ต้องติดตั้งไม่ให้มีโอกาสเสียหายและติดตั้งให้อยู่กับที่อย่างมั่นคง
(1.2) ขั้วต่อโหลดในตู้ควบคุมมอเตอร์สําหรับเครื่องสูบน้ํา (Motor Control Center)
ต้องอยู่ในตําแหน่งที่ต่อได้ง่าย โดยไม่ต้องข้ามหรือผ่านสาย หรือบัสของเฟสเพื่อต่อโหลด
(1.3) ที่ตู้ควบคุมมอเตอร์สําหรับเครื่องสูบน้ํา (Motor Control Center) ต้องมีบอก
ตําแหน่งหรือขั้วของเฟส
(1.4) การจัดเรียงเฟสที่บัสบาร์ต้องเรียงเฟส L1,L2,L3 จากหน้าไปหลัง จากบนลงล่าง
หรือจากซ้าย ไปขวา Ground Bus อยู่ด้านหลังมุมล่างและ Neutral Bus อยู่ด้านหลังมุมล่างของตู้ เมื่อมอง
จากทางด้านหน้าของตู้ควบคุมมอเตอร์สําหรับเครื่องสูบน้ํา (Motor Control Center) กรณีที่มีการกําหนดเป็น
Code เฟสของตัวนํา ให้กําหนดเป็น น้ําตาล ดํา เทา และนิวทรัล สีฟ้า กราวด์ เขียวเหลือง ตามลําดับ
(1.5) ที่ว่างสําหรับงอสายอย่างต่ําที่ขั้ว และช่องว่างอย่างต่ําภายในกัตเตอร์ (Gutter)
ต้องเป็ น ไปตามข้ อกํ า หนดมาตรฐานการติ ด ตั้ ง ทางไฟฟ้ าสํ าหรับ ประเทศไทย พ.ศ. 2556 หมวดที่ ว่ า ด้ ว ย
ข้อกําหนดการเดินสายไฟฟ้า
(1.6) ตู้ ค วบคุ ม มอเตอร์ สํ า หรั บ เครื่ อ งสู บ น้ํ า (Motor Control Center) ต้ อ งติ ด ตั้ ง
หลอดไฟ LED เพื่อให้ความสว่างภายในตู้
(2) เหล็กที่ใช้ในกระบวนการผลิตตู้ควบคุมมอเตอร์สาํ หรับเครื่องสูบน้ํา (Motor Control Center)
(2.1) เหล็กที่ทํามาใช้ในกระบวนการผลิตตู้ควบคุมมอเตอร์สําหรับเครื่องสูบน้ํา (Motor
Control Center) ขนาดของเหล็กโครงสร้างหลัก โครงสร้างรอง โครงสร้างห่อหุ้มภายนอก และส่วนของฝา
เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. หรือมาตรฐานที่เป็นที่ยอมรับ มีขนาดความหนาตาม
มาตรฐานผู้ผลิต โดยให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง ในแต่ละกรณีของวัสดุดังนี้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 24 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

(2.1.1) เหล็ ก แผ่ น รี ด เย็ น เคลื อ บสั ง กะสี โดยกรรมวิ ธี จุ่ ม ร้ อ น (Hot Dip
Galvanized Steel) ได้ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 50-2548 หรือได้ตามมาตรฐาน
อุตสาหกรรมญี่ปุ่น (JIS G 3302) หรือ ASTM A123 หรือ A123M - 09 Standard
(2.1.2) เหล็กแผ่นรีดเย็นเคลือบสังกะสีโดยกรรมวิธีทางไฟฟ้า (Electro-galvanized
Steel Sheet) เป็นไปมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก. 2223-2548 หรือ JIS G 3313
(2.1.3) เหล็กกล้าคาร์บอนรีดเย็น (Cold Rolled Steel Sheet Standard) แผ่น
ม้วน แผ่นแถบ และแผ่นตัด สําหรับงานทั่วไปและงานขึ้นรูป เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่
มอก.2012-2543 และ มอก. 2140-2546
(2.1.4) แผ่ นเหล็ กเคลื อบอลู ซิ งค์ (Alu-Zinc Coated Steel Sheet) เป็ นไปตาม
มาตรฐาน ASTM A792,G550 (Lock Forming Quality, AZ150) ข้อกําหนดมาตรฐานของวัสดุ : ASTM A792,
AZ150 AC2
(2.1.5) Aluminum & Aluminum Alloys เป็นไปตามข้อกําหนดมาตรฐานของวัสดุ
EN 10088
(2.1.6) สแตนเลส (Stainless Sheet) : เป็นไปตามข้อกํ าหนดมาตรฐานของวั สดุ
EN AW-6060 (EN 573)
(3) รายละเอียดทางโครงสร้าง (Design-construction & Rating)
(3.1) โครงตู้ ทํ า ด้ ว ยเหล็ ก ที่ เ ป็ น วั ส ดุ ที่ กํ า หนดไว้ ข้ า งต้ น ความหนาอย่ า งน้ อ ย
ตามมาตรฐานผู้ผลิต กําหนดโดยยึดติดกันด้วยสลัก หรือต้องไม่ขัดกับตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการทดสอบ
ตามมาตรฐาน IEC
(3.2) แผ่นโลหะรอบนอกต้องทําจากแผ่นเหล็กที่มีขนาดความหนาตามมาตรฐานผู้ผลิต
กําหนดผ่านกรรมวิธีการขัดผิวให้เป็นสีเดียวกันทั้งคู่
(3.3) ตัวตู้ประกอบขึ้นเป็น Compartment ภายในตู้แบ่งแยกเป็นส่วนต่าง ๆ ประกอบด้วย
Circuit breaker compartment, Bus Bar Compartment, and Metering & Control Compartment ในแต่ ล ะ
Compartment จะต้องหุ้มด้วยเหล็ก (Metal Enclosure) เพื่อป้องกันการสัมผัสกับ ส่วน Live Part
(3.4) ตัวตู้ต้องสามารถเปิดได้ทั้งด้านหน้า ด้านหลัง ด้านบน และด้านข้าง แผงประตู
ด้านหน้าของช่องใส่อุปกรณ์ต้องติดบานพับชนิดซ่อนด้านหลังและด้านข้างให้ทําเป็นแผง ๆ ละสองชั้นพับขึ้น
ขอบมีแผ่นยาง Seal
(3.5) ฝาประตูด้านข้างและด้านหลัง จะต้องมีเกล็ดสําหรับระบายอากาศอย่างเพียงพอ
โดยภายในช่องเกล็ดให้บุด้วยตาข่ายกันแมลง (Insect Screen)
(3.6) ฝาตู้ ด้ า นหน้ า ต้ อ งมี ป้ า ยชื่ อ ทํ า ด้ ว ยสแตนเลสกั ด กรด พร้ อ มทั้ ง Mimic Bus
Diagram ติดให้เห็นอย่างชัดเจนและไม่หลุดง่าย
(3.7) ฝาตู้ทุกบานที่มีบานพับปิดเปิดได้ต้องมีการต่อลงดินด้วยสายดินชนิดลวดทองแดง
ต่อลงดิน ที่โครงตู้ ตามข้อกําหนดมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 25 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

(3.8) ชิ้นส่วนที่เป็นเหล็กทุกชิ้นต้องผ่านกรรมวิธีป้องกันสนิมและพ่นสี ชิ้นส่วนที่เป็น


อลูมิเนียมไม่ต้องผ่านกรรมวิธีป้องกันสนิมแต่ต้องพ่นสีที่ได้ตามมาตรฐาน
(3.9) ตู้ ค วบคุ ม มอเตอร์ สํ า หรั บ เครื่ อ งสู บ น้ํ า (Motor Control Center) ต้ อ งมี พั ด ลม
ระบายอากาศ
(3.10) การทําความสะอาดผิวโลหะเพื่อป้องกันสนิมให้ขัดผิวโลหะให้เรียบและสะอาด
แล้วล้างไขมันหรือคราบน้ํามันออกถ้ามีร่องรอยของการมีสนิมให้ล้างด้วยน้ํายาล้างสนิมตามวิธีการที่ผู้ผลิต
น้ํายาล้างสนิมแนะนําตามมาตรฐาน IEC หรือ ASTM. หรือเทียบเท่า
(4) รายละเอียดทางด้านเทคนิค Bus bars และฉนวนยึด Insulator Support
(4.1) Bus bars ที่ใช้ต้องทําจากทองแดงที่มีความนําไม่น้อยกว่า 98 % มีขนาดและ
Ampacity ตามมาตรฐานผู้ผลิต หรือตามกําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด และจัดเรียงอย่างเป็นระเบียบ
สะดวกต่ อการเข้า สายและมีร ะยะห่า งจากฝาตู้ อ ย่า งเพี ย งพอสํา หรั บ การเดิน สายไฟฟ้ า นอกจากนี้ต้ อ งมี
Ground Bus อยู่ด้านหลังมุมล่างและ Neutral Bus อยู่ด้านหลังมุมล่างของตู้ หรือติดตั้งบริเวณอื่นของตู้ แต่
ต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุก่อน Bus ดังกล่าวจะต้องวางยาวตลอดความยาวของตู้
และเจาะรูเตรียมสําหรับการต่อสายไว้
(4.2) การจัดเฟสของ Bus bars เมื่อมองจากด้านหน้าให้อยู่ในลักษณะดังนี้ L1 L2
และ L3 เรียงจากหน้าตู้ไปหลังตู้ หรือจากบนลงล่าง หรือจากซ้ายไปขวา Ground Bus อยู่ด้านหลังมุมล่าง
และ Neutral Bus อยู่ด้านหลังมุมล่างของตู้
(4.3) Bus bars ภายในตู้กรณีที่มีการทาสีหรือพ่นสี สีต้องเป็นสีทนความร้อนเพื่อระบุ
เฟสตามข้อกําหนดมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556 ดังนี้ น้ําตาล ดํา เทา ฟ้า เขียว
เหลือง ตามลําดับ
(4.4) จุ ด ต่ อ หรื อ จุ ด สั ม ผั ส ระหว่ า ง Bus bars กั บ Bus bars หรื อ Bus bars กั บ
Terminal Pad ให้ทําความสะอาดอย่างดีก่อนที่จะมีการต่อบัสบาร์
(4.5) ที่หางปลาเข้าสายให้สวมด้วย Vinyl Wire End Cap โดยเลือกขนาดให้เหมาะสม
กับสายและหางปลาที่ใช้และใช้รหัสสีตามเฟสนั้น ๆ ไม่อนุญาตให้ใช้เทปสีพันแทนเพราะจะทําให้ไม่คงทนและ
หลุดง่าย
(4.6) สายไฟฟ้าสําหรับระบบควบคุมและเครื่องวัดซึ่งเดินเชื่อมระหว่างอุปกรณ์ไฟฟ้า
และอุปกรณ์ไฟฟ้ากับ Terminal Block ภายในตู้ให้ใช้สายชนิด Stranded Annealed Copper Wire ตาม
มาตรฐานของสายไฟฟ้า IEC 60227 และ IEC 60228 โดยคุณสมบัติของสายต้องเป็นไปตามมาตรฐาน IEC
ดังกล่าวที่กําหนด หรือตามข้อกําหนด มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556 โดยชนิด
ของสายต้องเป็น H07V-K หรือ H05V หรือชนิดสายที่ใช้ต้องเป็นสาย Flexible ขนาดของสายไฟต้องมีรหัสสี
และต้องไม่เล็กกว่าที่กําหนดดังนี้
- Current Circuit : ใช้สายสีดํา ขนาด 2.5 ตร.มม.
- Voltage Circuit : ใช้สายสีแดง ขนาด 1.5 ตร.มม.

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 26 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

- AC. Control Circuit : ใช้สายสีเหลือง ขนาด 1.5 ตร.มม.


- DC. Control Circuit : ใช้สายสีน้ําเงิน ขนาด 1.5 ตร.มม.
- Sleeve และ Cap หุ้มปลายสายก็ให้ใช้รหัสสีเดียวกับสายด้วย
(4.7) สายไฟทั้งหมดต้องวางอยู่ในรางสาย (Trunking) เพื่อความเรียบร้อยและเพื่อ
ป้องกันการชํารุดของฉนวนสายไฟแต่ละเส้นที่เชื่อมระหว่างจุดนั้น ๆ และห้ามมีการตัดต่อโดยเด็ดขาด
(4.7.1) สาย Control ทุกเส้นที่ ปลายทั้งสองด้ านต้ องมีเครื่องหมายกํากับเป็น
ระบบปลอกสวมซึ่งยากแก่การลอกหรือหลุดหายเพื่อความสะดวกในการบํารุงรักษาภายหลัง
(4.7.2) สาย Control ที่ แ ยกออกจาก Cable Trunk ต้ อ งจั ด หรื อ รั ด สายด้ ว ย
Cable Tie เป็นระบบ
(4.8) การคํานวณขนาดของบัสบาร์คิดแบบเปลือยตามมาตรฐานของผู้ผลิตและขนาด
ของบัสบาร์เส้นศูนย์โตเท่ากับเส้นเฟส
(4.9) ที่ ร องรั บ และยึ ด (Bracket) บั ส บาร์ กั บ ตั ว ตู้ ทํ า จากฉนวน Cast Resin หรื อ
Sectional Glass Reinforced Polyester ทนกระแสไฟฟ้าลัดวงจรได้ไม่น้อยกว่า ตามที่กําหนดในแบบรูปและ
รายการละเอียด
(4.10) บัสบาร์จะต้องเป็นชนิด Bare Copper
(4.11) บัสบาร์เส้นดินต้องต่อกับตู้ทุกตู้ให้มีความต่อเนื่องทางไฟฟ้า
(4.12) Busbar Insulator Support ต้ อ งเป็ น วั ส ดุ ป ระเภท Fiberglass Reinforce
Polyestor หรือ Epoxy Resin ชนิดใช้ติดตั้งภายในตู้ควบคุมมอเตอร์สําหรับเครื่ องสูบน้ํา (Motor Control
Center) ตามที่กําหนดข้างต้น
(5) การทดสอบตู้ควบคุมมอเตอร์สําหรับเครื่องสูบน้ํา (Motor Control Center)
(5.1) การทดสอบประจํ า โรงงานผู้ ผ ลิ ต (Routine Test) ตามมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์
อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.1436- 2540 หรือ ตามมาตรฐาน IEC และจะต้องทําการทดสอบอย่างน้อยดังต่อไปนี้
(5.1.1) ทดสอบการทํางานตามวงจรควบคุมทางด้านไฟฟ้า (Wiring, Electrical
Operation)
(5.1.2) ทดสอบค่าความเป็นฉนวนไฟฟ้า (Dielectric Test)
(5.1.3) ทดสอบการป้องกันทางด้านไฟฟ้า (Protective Measures)
(5.1.4) ทดสอบค่าความต้านทานฉนวนไฟฟ้า (Insulation Resistance)
(5.2) นอกจากการทดสอบที่โรงงานผู้ผลิตตามความเห็นชอบของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
เมื่อมีการติดตั้งในสถานที่ใช้งานแล้ว จะต้องตรวจสอบอย่างน้อยดังต่อไปนี้
(5.2.1) ทดสอบค่าความเป็นฉนวนไฟฟ้าของอุปกรณ์ภายในแผงสวิทช์ทั้งหมด
(5.2.2) ทดสอบค่าความเป็นฉนวนของสายป้อน (Feeder) ต่าง ๆ ที่ออกจากแผงสวิทช์
(5.2.3) ทดสอบระบบการทํางานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในตู้เพื่อความถูกต้อง

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 27 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

(5.3) ในขั้นตอนการทดสอบจะต้องให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง หรือคณะกรรมการ


ตรวจรับพัสดุ ร่วมทดสอบที่โรงงานผู้ผลิตและสถานที่ใช้งาน
(5.4) ผู้รับจ้างจะต้องส่งรายงานการทดสอบตามข้อ (5.1) และ (5.2) โดยมีวิศวกรไฟฟ้า
ผู้ได้รับใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตั้งแต่ระดับสามัญวิศวกรขึ้นไป ตามพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542
ลงนามกํากับในเอกสารทดสอบ และผลทดสอบต้องผ่านเกณฑ์มาตรฐานของมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
เลขที่ มอก.1436- 2540 หรือ ตามมาตรฐาน IEC
(6) ตู้ควบคุมมอเตอร์สําหรับเครื่องสูบน้ํา (Motor Control Center) ต้องมีข้อมูลขั้นต้นแสดงไว้
เพื่อความสะดวกในการใช้งานและบํารุงรักษาอย่างน้อยดังนี้
(6.1) ป้ายแสดงชื่อและสถานที่ติดต่อของผู้ผลิต เป็นป้ายที่ทนทานไม่ลบเลือนได้ง่าย
ชนิดสเเตนเลส กัดกรด ติดไว้ที่ตู้ด้านนอก ตรงที่ ๆ เห็นได้ง่ายหลังการติดตั้งตู้แล้ว
(6.2) ป้ายชื่อและตําแหน่งการใช้งานของอุปกรณ์ทุกชนิดที่ผู้เข้าปฏิบัติการต้องทราบ
ป้ายชื่อใช้ภาษาไทยชนิดสเเตนเลส กัดกรด
(6.3) ที่ฝาตู้ด้านที่เข้าปฏิบัติการให้ทําเป็น Diagram แสดงหน้าที่ และความสัมพันธ์ของ
อุปกรณ์ต่าง ๆ เป็นผัง Single Line Diagram
(6.4) การจั ดเตรี ย มคู่มือการใช้งาน คู่มือการดูแลและบํารุงรักษา และคู่มือแสดง
ชิ้นส่ วนรายละเอี ยดของตู้ควบคุ มมอเตอร์สําหรั บเครื่องสูบน้ํา (Motor Control Center) จะต้องส่ งมอบให้
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จํานวน 3 ชุด และต้องเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษเท่านั้น โดยต้องเป็น
ภาษาไทยอย่างน้อย 1 ชุด
10.12.5 ข้อกําหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ
ผู้ รั บจ้ างจะต้ องดําเนินการตามข้อกําหนดรายละเอียดคุณลักษะเฉพาะ ในการจั ดหา วัส ดุ
อุปกรณ์ ของตู้ควบคุมมอเตอร์สําหรับเครื่องสูบน้ํา (Motor Control Center) โดยมีรายละเอียดอย่างน้อยดังนี้
(1) Air Circuit Breaker
(1.1) ข้อกําหนดทั่วไป
(1.1.1) Air Circuit Breaker ที่นํามาใช้ทั้งหมดต้องผลิตและทดสอบตามมาตรฐาน
IEC60947-2 และเป็นเบรคเกอร์ Category B
(1.1.2) การติดตั้ง สามารถติดตั้งได้ทั้งแบบ Fixed หรือ Drawout ตามที่แบบรูป
และรายการละเอียดกําหนด
(1.2) โครงสร้างและส่วนประกอบ (Construction)
(1.2.1) Main Contacts ต้ องเป็นแบบ Free Maintenance ภายใต้การใช้งาน
ปกติ และต้องมีเครื่องหมาย แสดงถึงความเสียหายของหน้าคอนแทค โดยสามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้
(Visual Wear Indicator) เมื่อถอด Arc Chutes ออกแล้ว

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 28 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

(1.2.2) Arc Chutes หรือชุดดับอาร์ค ต้องสามารถถอด – ประกอบ ที่หน้างานได้


สะดวก และที่ Arc Chutes ต้องประกอบด้วยตะแกรงโลหะสานละเอียด (Metal Filters) ที่ทําจาก Stainless
Steel เพื่อลดความเสียหายภายนอกเมื่อเกิด Fault
(1.2.3) กรณีที่เป็นชนิด Draw Out Type ในการเลื่อนเบรกเกอร์ เข้ า – ออก
จะต้องมี 3 ตําแหน่งคือ Connect – Test – Disconnect โดยแต่ละตําแหน่งจะต้องมีปุ่มกด เพื่อปลด ในการ
เปลี่ยนตําแหน่งดังกล่าว (Release Button ) ที่ด้านหน้าของ เบรกเกอร์
(1.2.4) Air Circuit Breaker ต้องเป็นชนิดฉนวน 2 ชั้น (Double Insulation)
(1.2.5) Rate ICS = 100% ICU
(1.2.6) Rate Current 100% Continuous
(1.2.7) อุปกรณ์ช่วยเพิ่มเติม (Electrical Auxiliaries)
(1.2.8) Under Voltage Release ต้องเป็นชนิดหน่วงเวลาได้ (Time delay) โดย
ปรับได้ตั้งแต่ 0.5 – 3 วินาที
(1.2.9) Under Voltage, Shunt Trip, Closing Coil, Motor Operated, Auxiliary
Contact สามารถใช้ ร่ วมกั นได้ ทุ กรุ่ น (Common Auxiliaries) คื อตั้ งแต่ 800 – 6300 A เพื่ อความสะดวก
ในเรื่อง Spare Part
(1.2.10) Built in Ground Fault Protection กรณีขนาด 1,000 A ขึ้นไป
(1.2.11) Shunt trip
(1.2.12) Closing Coil Motor Operated
(1.2.13) Auxiliary Contact
(1.3) โครงสร้างและส่วนประกอบ (Construction)
(1.3.1) ข้อกําหนดทั่วไปของทริปยูนิต (General)
(ก) CT ที่ทําหน้าที่ในการตรวจวัดระดับกระแสไฟภายในตัวเบรกเกอร์ ต้อง
เป็นแบบ Air CT เพื่อให้ความแม่นยํา (Accuracy) ในการวัดค่ากระแส
(ข) ทริปยูนิต ต้องวัดค่ากระแสในแบบ True RMS
(ค) ทริ ปยู นิ ต ต้ องประกอบด้ วย Thermal Memory เพื่ อเก็ บสะสมค่ า
อุณหภูมิเดิมที่เพิ่มขึ้นไว้ในหน่วยความจํา ในกรณีทริป เนื่องจากโอเวอร์โหลดหลายครั้งติด ๆ กัน
(1.3.2) ฟังก์ชั่นการป้องกั นกระแสเกิ น (Overcurrent Protection) Trip Unit
ของ Main Circuit Breaker จะต้องเป็น Solid State Type ประกอบด้วยการทํางานดังต่อไปนี้
(ก) Long Time Protection (LT) สามารถปรับตั้งกระแสตั้งแต่ 0.4 – 1 ของ
Rated Current (In) และปรับค่าหน่วงเวลา Long Time Delay ได้
(ข) Short Time Protection (ST) สามารถปรับตั้งค่าได้ตั้งแต่ 1.5 – 10 เท่า
และสามารถปรับหน่วงเวลาได้ตั้งแต่ 0.1 – 0.4 วินาที
(ค) Instantaneous Trip (INST) ปรับค่ากระแส Pick-up ได้ และสามารถ Off ได้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 29 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

(ง) Ground Fault Protection สามารถปรับตั้งหน่วงเวลาตั้งแต่ 0.1 – 0.4 วินาที


- มี LED แสดงผลของชนิด Fault (LT, ST, GF)
- ค่ า กระแส Pick-up และการหน่ ว งเวลาที่ ผู้ ใ ช้ ป รั บ ตั้ ง จะต้ อ ง
สามารถแสดงที่ หน้าจอแสดงผล ในหน่วย แอมแปร์ และวินาที
เพื่อง่ายต่อการอ่านค่า
- ฟั ง ก์ ชั่ น พื้ น ฐานการวั ด ค่ า ทางไฟฟ้ า (Basic Measurements
Function)
- แอมมิเตอร์พร้อมจอแบบดิจิตอล แสดงค่า RMS ของกระแสของ
แต่ละเฟส
- Bar Graph แบบ LED หรื อ LCD (ต้ อ งมี Backlight) แสดง
ค่ากระแส 3 เฟสพร้อม ๆ กัน
- มี Maximeter เก็ บ ค่ า กระแส RMS สู ง สุ ด ของแต่ ล ะเฟส ไว้ ใ น
หน่วยความจําภายในและสามารถแสดงค่าทางจอแสดงผลของ
Trip Unit ได้
(2) Molded Case Circuit Breaker
(2.1) Molded Case Circuit Breaker ที ่นํ า มาใช้ทั ้ง หมดต้อ งผลิต ตามมาตรฐาน
IEC 60947-2 CAT A
(2.2) Drives เป็นชนิด Toggle Operating Mechanism ทํางานด้วยระบบ Trip Free
มี Trip Indication แสดงที่ Handle Position
(2.3) Trip Unit ของ MCCB ขนาด 100 AF ถึ ง 160 AF จะต้ อ งเป็ น Thermal-
magnetic Trip สามารถปรับค่ากระแส Thermal ได้ตั้งแต่ 0.7 – 1.0 ของ Rated Current (In)
(2.4) Trip Unit ของ MCCB ขนาดตั้งแต่ 250 AF ขึ้นไป จะต้องเป็น Electronic Trip
สามารถปรับค่ากระแส Overload Current ได้ระหว่าง 0.4 – 1.0 ของ Rated Current (In) และสามารถปรับ
ค่ากระแส Short Circuit Current ได้ระหว่าง 2 – 10 เท่า
(2.5) Trip Unit ของ MCCB ขนาดตั้ ง แต่ 400 AF ขึ้ น ไป เมื่ อ Load Current มี ค่ า
ตั้งแต่ร้อยละ 95 ขึ้นไปจะมี LED แสดงเป็นสัญญาณสว่างตลอดเวลา และถ้ามีค่าตั้งแต่ร้อยละ 105 ขึ้นไป
จะมี LED แสดงเป็นสัญญาณกระพริบตลอดเวลา
(2.6) เพื่อความปลอดภัย MCCB ทุกตัวต้องเป็นฉนวน 2 ชั้น (Double Insulation)
Rate Current 100% Continuous
(2.7) Circuit Breaker ที่ มี ข นาดมากกว่ า 225 A ให้ ใ ช้ Terminal เป็ น Bus Bar
Connection Type ขนาดเล็กกว่าให้ใช้ Feeder Lug

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 30 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

(3) อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ (Surge Protection Device)


(3.1) ข้อกําหนดทั่วไป
(3.1.1) ติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันเสิร์จจากฟ้าผ่าและแรงดันเสิร์จจากการสับปลดวงจร
ในระบบไฟฟ้าเพื่อป้องกันความเสียหายต่ออุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ภายในอาคาร
(3.1.2) ติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันเสิร์จที่ตู้ควบคุมมอเตอร์สําหรับเครื่องสูบน้ํา (Motor
Control Center)
(3.1.3) อุปกรณ์ป้องกันแรงดันเสิร์จ (Surge Protection Device) เป็นผลิตภัณฑ์
ได้รับการรับรองมาตรฐาน EN 61643-11 (2012) หรือ IEC 61643-1 (2011)
(3.1.4) การดําเนินการติดตั้งให้เป็นไปตามกฎการเดินสายและติดตั้งของการไฟฟ้า
นครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือ มาตรฐานการติดตั้งระบบไฟฟ้าของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยใน
พระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.)
(3.1.5) อุปกรณ์ที่นํามาติดตั้งต้องเป็นของแท้และใหม่ และไม่เคยถูกนําไปใช้งานมาก่อน
(3.1.6) ผู้ยื่นข้อเสนอหรือผู้รับจ้าง ให้เลือก ชนิดการติดตั้งของชุดอุปกรณ์ป้องกัน
เสิร์จ (Surge Protection Device) อย่างใดอย่างหนึ่ง ตามข้อกําหนดในหัวข้อ (3.2) ข้อกําหนดทางเทคนิค
(3.2) ข้อกําหนดทางด้านเทคนิค
(3.2.1) SPD1 for MDB (Combined Arrester Type I/II)
(ก) อุปกรณ์ป้องกันแรงดันเสิร์จ ( Surge Protection Device ) Class I/II,
Type T1/T2 ลักษณะอุปกรณ์เป็น ระบบ Spark Gap ที่สามารถดับกระแสไหลตาม (Follow Current) ได้
(ข) สามารถลดระดั บแรงดั นจากเสิร์จลงสู่ระดั บที่ปลอดภั ยต่ออุปกรณ์
สามารถทนต่อกระแสฟ้าผ่าได้เป็นอย่างดี สามารถทนต่อแรงดันเกินต่อเนื่อง (Uc) ได้สูง
(ค) ผ่านการทดสอบ End of Life Test ตาม EN 61643-11:2012
(ง) สามารถถอดเปลี่ยนอุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ ได้จากฐานโดยไม่ต้องเดินสายใหม่
(จ) อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จจะต้องมีชุดแสดงสถานะของอุปกรณ์เพื่อสามารถ
แสดงให้เห็นว่า อุปกรณ์พร้อมใช้งานโดยไม่จําเป็นต้องใช้ไฟเลี้ยง
(ฉ) ให้ติดตั้งอุปกรณ์นับจํานวนเสิร์จ และแสดงจํานวนไม่ต่ํากว่า 2 หลัก
(ช) รายละเอียดข้อกําหนด Technical Data ดังนี้
SPD 1.1 Combined SPD Class I/II , T1/T2 : Spark Gap Technology for L-N
IEC Category, EN Type /VDE I/II, T1/T2
Nominal Voltage Un 230 V AC
Max.Continuous Operating Voltage Uc ≥255V AC
Lightning Teste Current (10/350) Iimp ≥25 kA (per pole)
Nominal Discharged Current (8/20) In ≥25 kA (per Pole)
Protection Level Up at In (L-N) ≤2.5 kV

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 31 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

Follow Current If ≥50 kA


SPD1.2 Class I/II ,T1/T2 Spark Gap Technology for N-PE (ในกรณีN-PE ไม่ต่อถึงกัน)
IEC Category, EN Type / VDE I/II, T1/T2
Nominal Voltage Un 230 V AC
Max.Continuous Operating Voltage Uc ≥255 VAC
Lightning Tested Current (10/350)Iimp ≥100 kA
Protection Level Up ≤1.5 kV
Follow Current If 100 A
(ซ) ให้ติดตั้งอุปกรณ์แบบขนานผ่าน Backup Fuse หรือ Disconnection
Switch ขนาดตามคําแนะนําของผู้ผลิต
(ฌ) สําหรับ SPD 1.1 และที่จุดต่อลงดินให้มีการต่อผ่าน Ground Terminal
Block ที่ มี การต่ อดิ นผ่ านราง DIN Rail แล้ วจึ งต่ อลง Ground Bar เพื่ อลดผลกระทบต่ อความยาวสายและ
แรงดันป้องกันโดยรวม
(3.2.2) SPD2 for MDB (Coordinated Arrester Class I+II)
(ก) อุ ปกรณ์ ป้ องกั นแรงดั นเสิ ร์ จ (Surge Protection Device) Class I+II,
Type T1+T2 ลักษณะอุปกรณ์เป็น ระบบ Spark Gap (Class I) ที่สามารถดับกระแสไหลตาม (Follow Current)
ติดตั้งขนานกันโดยตรงกับระบบ MOV (Class II)
(ข) สามารถลดระดับแรงดันจากเสิร์จลงสู่ระดับปลอดภัยต่ออุปกรณ์และ
ทนต่อกระแสฟ้าผ่าได้เป็นอย่างดี
(ค) อุปกรณ์ทั้งสองชนิดจะต้องผ่านทดสอบการทํางานร่วมกันที่ค่าทดสอบ
สูงสุดของอุปกรณ์
(ง) สามารถถอดเปลี่ยนอุปกรณ์ป้องกันเสิร์จทั้งสองชนิดได้จากฐานโดยไม่
ต้องเดินสายใหม่
(จ) อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จจะต้องมีชุดแสดงสถานะของอุปกรณ์เพื่อสามารถ
แสดงให้เห็นว่าอุปกรณ์พร้อมใช้งานโดยไม่จําเป็นต้องใช้ไฟเลี้ยง
(ฉ) ให้ติดตั้งอุปกรณ์นับจํานวนเสิร์จ และแสดงจํานวนไม่ต่ํากว่า 2 หลัก
(ช) รายละเอียดข้อกําหนด Technical Specification ดังนี้
Coordinated Class I+II , EN Type T1+T2 : Spark Gap + MOV Technology
IEC Category, EN Type / VDE I+II, T1+T2
Nominal Voltage Un 400/230 V AC
Max. Continuous Operating Voltage Uc ≥350 V AC
Lightning Tested Current (10/350) Iimp ≥ 25 kA
Max Discharged Current (8/20) Imax ≥ 25 kA

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 32 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

Follow Current If ≥25 kA


โดยมีรายละเอียดอุปกรณ์ในแต่ละ Class ดังนี้
SPD 2.1 Class I / T1: Spark Gap Technology
IEC Category, EN Type I, T1
Max. Continuous Operating Voltage Uc ≥ 350 V AC
Lightning Tested Current (10/350) Iimp ≥ 25 kA
Protection Level Up (L-N) at In ≤ 1.5 kV
Follow Current If ≥25 kA
SPD 2.2 Class II / T2: MOV Technology
IEC Category, EN Type / VDE II/T2
Max. Continuous Operating Voltage Uc ≥275 V AC
Max Discharged Current (8/20) Imax ≥25 kA
Protection Level Up ≤1.5 kV
SPD2.3 Class I/II / T1/T2 Spark Gap Technology for N-PE (ในกรณี N-PE ไม่ต่อถึงกัน)
IEC Category, EN Type / VDE I/II, T1/T2
Max. Continuous Operating Voltage Uc ≥255 V AC
Lightning Tested Current (10/350) Iimp ≥100 kA
Nominal Discharged Current (8/20) Imax ≥25 kA
Protection Level Up ≤1.5 kV
Follow Current If 100 A
(ซ) ให้ติดตั้งอุปกรณ์แบบขนานผ่าน Back Up Fuse หรือ Disconnection
Switch ขนาด ตามคําแนะนําของผู้ผลิต
(ฌ) สําหรับ SPD 1.2 และที่จุดต่อลงดินให้มีการต่อผ่าน Ground Terminal
Block ที่ มี ก ารต่ อ ดิ นผ่ า นราง DIN Rail แล้ ว จึ ง ต่ อลง Ground Bar เพื่ อ ลดผลกระทบต่ อ ความยาวสายและ
แรงดันป้องกันโดยรวม
(4) วงจรควบคุมมอเตอร์ (Motor Starter)
วงจรควบคุมมอเตอร์แบบสตาร์-เดลต้า (Star–delta Starter) ต้องเป็นไปตามข้อกําหนด
อย่างน้อยดังนี้
(4.1) คุณสมบัติทั่วไป
(4.1.1) อุปกรณ์ Star-delta Starter สําหรับมอเตอร์เหนี่ยวนําแบบกรงกระรอก
ขนาดไม่เกินตามระบุในแบบรูปและรายการละเอียด
(4.1.2) อุปกรณ์ Star-delta Starter ต้องเป็นของใหม่ และประกอบสําเร็จมาจาก
โรงงานผู้ผลิต

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 33 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

(4.1.3) อุปกรณ์ Star-delta Starter ต้องสามารถรับแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ


400 โวลต์ 3 เฟส 50 เฮิรตซ์
(4.1.4) พิกัดเครื่องปลดวงจรมอเตอร์ ต้องมีพิกัดกระแสไม่น้อยกว่าร้อยละ 115
ของพิกัดกระแสโหลดเต็มที่ของมอเตอร์
(4.1.5) อุปกรณ์ Star-delta Starter ต้องใช้ร่วมกับอุปกรณ์ป้องกันชนิดอุปกรณ์
ป้องกันชนิด Overload Relay และ รีเลย์ป้องกันความเสียหายของมอเตอร์ (Digital Motor Protection Relay)
(4.1.6) ชุดสตาร์ทมอเตอร์ ต้องมีฟังก์ชั่นการทํางานและคุณสมบัติที่สอดคล้องกับ
ชนิดและขนาด พิกัดต่าง ๆ ทั้งทางกล และทางไฟฟ้าของมอเตอร์ที่ติดตั้งจริงในสถานีสูบน้ํา
(4.2) รายละเอียดคุณสมบัติทางไฟฟ้า ดังนี้
- Type Contactor : ประเภทใช้สอย AC-3
- Standard : IEC/EN 60947 หรือ เทียบเท่า
- Temperature : 40 °C
- Degree of Protection : IP20
(5) คาปาซิเตอร์ (Capacitor)
(5.1) Capacitor สําหรับปรับค่า Power Factor ของระบบไฟฟ้า เป็นไปตามมาตรฐาน
ของ IEC 60831-1&2 หรือเทียบเท่า
(5.2) การเลือกชุดอุปกรณ์ป้องกัน HRC Fuse จะต้องมีขนาดพิกัดไม่น้อย 1.65 เท่าของ
กระแส Capacitor และขนาดพิกัดตามที่ผู้ผลิตแนะนํา
(5.3) พิกัดของ Capacitor Unit ต้องมีคุณสมบัติและสมรรถนะดังต่อไปนี้
- Type : (Dry-Type)
- Connection : 3-phase
- Rated Voltage : 400V/415V
- Rated Frequency : 50 And 60 Hz
- Over Voltage : 1.1XUn
- Over Current : 1.3 In
- Losses (Total) : < 0.5 w/kVAR
- Temperature Category : 0 °C to +55 °C
- Discharge Device : ไม่เกิน 75V ภายใน 3 นาที
- Degree of Protection : IP42
- Enclosure : Steel Enclosure
(6) คอนแทคเตอร์ คาปาซิเตอร์ (Contactor Capacitor)
คอนแทคเตอร์ สําหรับคาปาซิเตอร์ (Contactor for Capacitors) ต้องมีขนาดตามแบบรูป
และรายละเอียดกําหนด และมีคุณสมบัติดังนี้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 34 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

(6.1) พิกัดของ Contactor Capacitor ต้องมีคุณสมบัติและสมรรถนะดังต่อไปนี้


- Type : Magnetic Contractor ต้องเป็น Class AC6b
ออกแบบให้ สามารถใช้งานกับ Capacitor เท่านั้น
- Standard : IEC 60947-4-1 หรือเทียบเท่า
- Number of Main Pole : 3 Poles
- Control Voltage : 220-230 V
- Rated Insulation Voltage : 1,000 V
(6.2) มี Magnetic Capacity ไม่น้อยกว่า 1.35 เท่าของกระแส Capacitor และขนาด
พิกัดตามที่ผู้ผลิตแนะนํา
(7) รีเลย์ป้องกันไฟรั่ว (Earth Leakage Relay)
(7.1) ทํางานร่วมกับ Zero Current Transformer (ZCT) เพื่อตรวจจับกระแสไฟฟ้ารั่ว
(7.2) ต้องผลิตและทดสอบตามมาตรฐาน IEC หรือเทียบเท่า
(8) เครื่องนับชั่วโมงการทํางาน (Hour Meter)
(8.1) ขนาด 48x48 มม. ทนทานต่อการสั่นสะเทือน
(8.2) ย่านการนับชั่วโมงการทํางาน ไม่น้อยกว่า 7 หลัก
(8.3) มีปุ่มรีเซ็ต
(9) เครื่องวัดความดันแบบดิจิตอล (Digital Pressure Gauge)
มีข้อกําหนดทางด้านเทคนิค ดังนี้
(9.1) ติดตั้งเครื่องวัดความดันแบบดิจิตอล Digital Pressure Gauge แบบติดตั้งหน้าตู้
สตาร์ทมอเตอร์ (Motor Starter Unit) รับสัญญาณจาก Pressure Transmitter
(9.2) ต้องผลิตและทดสอบตามมาตรฐาน CE หรือ UL หรือเทียบเท่า
(9.3) ติดตั้งจํานวนไม่น้อยกว่า 2 ชุด ต่อ Motor Starter 1 ตู้
(9.4) ระดับการป้องกันน้ําและฝุ่น IP6X
(10) รีเลย์ป้องกันความเสียหายของมอเตอร์ (Digital Motor Protection Relay)
(10.1) คุณสมบัติทั่วไป
(10.1.1) เป็ น อุ ป กรณ์ สํ า หรั บ เป็ น รี เ ลย์ ป้ อ งกั น ความเสี ย หายของมอเตอร์
อั น เนื่ อ งมาจากความผิ ด ปกติ ข องกระแสมอเตอร์ โดยเป็ น Electronic Relay (Micro Controller Unit)
ที่คอยตรวจสอบแสดงพิกัดกระแสของมอเตอร์ และสั่ง Output Contact ให้ชุดสตาร์ทเตอร์หยุดทํางาน
เมื่อเกิดความผิดปกติตามฟังก์ชันป้องกันมอเตอร์ของรีเลย์
(10.1.2) มีหน้าจอแสดงผลเป็นระบบดิจิตอล โดยมีสายเชื่อมต่อหน้าจอเพื่อแสดง
ค่ากระแสมอเตอร์ สาเหตุการ Trip ต่าง ๆ และค่าชั่วโมงการทํางานมาแสดงที่หน้าตู้ได้
(10.1.3) เป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากโรงงานผู้ผลิตที่ได้รองรับมาตรฐาน ISO 9001

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 35 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

(10.2) คุณสมบัติทางเทคนิค
(10.2.1) หน้าจอแสดงผล สามารถแสดงค่ากระแสมอเตอร์ แต่ละเฟสได้ ด้วย
7 Segment หรือหน้าจอชนิด LCD
(10.2.2) หน้าจอสามารถแสดงผลค่าชั่วโมงการทํางานของมอเตอร์ได้
(10.2.3) สามารถแสดงสาเหตุของการ Trip ด้วยตัวอักษรที่บ่งสาเหตุการ Trip
และค่าพิกัดที่เกิดเหตุการณ์นั้น ๆ ตามฟังก์ชั่นการป้องกันมอเตอร์ ของ Protection Relay
(10.2.4) สามารถบั น ทึ ก ค่ า สาเหตุ ข องการ Trip ย้ อ นหลั ง ได้ ไ ม่ น้ อ ยกว่ า 3
เหตุการณ์ล่าสุด
(10.2.5) สามารถปรับตั้งค่า Start Delay Time เพื่อให้เหมาะสมกับมอเตอร์
(10.2.6) มี ค่ า Output Contact 2 SPST สํ า หรั บ สั่ ง ตั ด วงจรสตาร์ ท เมื่ อ เกิ ด
การ Trip และมี Output Contact SPST สําหรับฟังก์ชั่น Alarm สําหรับต่อวงจรแจ้งเตือน เมื่อตรวจสอบ
พบว่ากระแสมอเตอร์มีค่าเกินกว่าค่าที่กําหนด ก่อนที่จะเกิด Over Current Trip
(10.2.7) สามารถส่งสัญญาณบอกพิกัดกระแสมอเตอร์เป็น Current Transducer
4-20 mA และมีระบบสื่อสารแบบ Modbus RS485 เพื่อรองรับระบบสื่อสาร
(10.3) คุณสมบัติฟังก์ชันการป้องกันมอเตอร์
Digital Motor Protection Relay ต้องมีฟังก์ชันป้องกันมอเตอร์อย่างน้อยดังนี้
(10.3.1) กระแสมอเตอร์เกิน (Over Current)
(10.3.2) กระแสมอเตอร์ต่ํา (Under Current)
(10.3.2) โรเตอร์ของมอเตอร์ไม่หมุน (Locked Rotor)
(10.3.2) กระแสมอเตอร์ขาดเฟส (Phase Loss)
(10.3.2) เฟสเข้ามอเตอร์ผิดปกติ (Phase Reversal)
(10.3.2) กระแสมอเตอร์ไม่สมดุล (Phase Unbalance)
(10.3.7) Insulation Resistance : สั่ ง Interlock การสตาร์ ท เมื่ อมอเตอร์ มี ค่ า
ความเป็ น ฉนวนต่ํ า กว่ า ที่ กํ า หนด ซึ่ ง หากไม่ มี ฟั ง ก์ ชั น นี้ ใ นตั ว Digital Motor Protection Relay ต้ อ งจั ด หา
Insulation Relay ติดตั้งเพิ่ม
(10.3.8) ป้องกันมอเตอร์อุณหภูมิสูง (Temperature)
(10.3.9) มอเตอร์กระแสรั่ว (Ground Fault)
(10.4) การติดตั้ง
(10.4.1) Protection Relay จะต้องออกแบบให้ใช้งานได้ในอุณหภูมิ 0 ถึง 60 °C
(10.4.2) Protection Relay จะต้ องออกแบบใช้ งานกั บแหล่ งจ่ ายไฟ Control ใน
ย่านกว้าง เพื่อป้องกันแรงดันตกของระบบ โดยพิกัด Control Supply 100-240 VDC/AC 50/60 Hz เป็นอย่างต่ํา

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 36 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

(10.5) การใช้งาน
(10.5.1) การปรับตั้งค่า สามารถปรับตั้งทั้งหมดด้วยปุ่มกดระบบดิจิตอล บนหน้าจอ
มีอักษรและตัวเลขบอกพิกัด ปรับตั้งกระแสของมอเตอร์โดยตรง
(10.5.2) สามารถใช้ งานกั บสายเพาเวอร์ ชุ ดสตาร์ ทเตอร์ คล้ องผ่ านได้ โ ดยตรง
สําหรับมอเตอร์ที่มีพิกัดไม่เกิน 50 A และหากมอเตอร์มีพิกัดกระแสมอเตอร์มากกว่า 50 A ต้องใช้ร่วมกับ CT
ภายนอก ที่เป็น Protection Class ซึ่ง Protection Relay ต้องสามารถใช้ร่วมกับ CT ได้ทุกขนาด และได้สูงสุด
3000/5A เป็นอย่างน้อย ทั้งนี้การปรับตั้งค่าต้องสามารถปรับตั้งค่ากระแสได้เป็นค่าตัวเลขตามค่ากระแสจริง
ของมอเตอร์ โดยไม่ต้องคํานวณหรือมีค่า Factor มาคูณเพื่อดูหรือปรับตั้งค่าพิกัดกระแสโอเวอร์โหลด
(11) เครื่องวัด และอุปกรณ์
(11.1) รีเลย์ป้องกัน Phase Failure Relay
เป็นรีเลย์ชนิด Solid State ชนิด 3 เฟส 4 สาย 400/230 โวลท์ กรณีที่ใช้งานกับ
ระบบของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และ 240/416 โวลท์ กรณีที่ใช้งานกับระบบของการไฟฟ้านครหลวง ที่ความถี่
50 เฮิร์ตซ์ ซึ่งจะทํางานเมื่อแรงดันไฟฟ้าระหว่างเฟสแตกต่างกัน โดยสามารถตั้งจุดที่ทํางานได้ รีเลย์ต้องเป็น
แบบ Tropicalized มี Auxiliary Contacts จํานวนพอเพียงสําหรับการใช้งาน
(11.2) Current Transformer
Current Transformer (CT) ผลิตขึ้นตามมาตรฐาน IEC หรือ UL โดยมี Secondary
Current 5A และ Accuracy ตาม IEC Standard Class 1 หรือเทียบเท่า
(11.3) Ammeter
Ammeter ผลิ ต ขึ้ น ตามมาตรฐาน IEC หรื อ UL ต้ อ งเป็ น แบบ Switchboard
Mounted ขนาดหน้าปัด ไม่เล็กกว่า 96 x 96 มม. สเกลชนิด Wide Angle (240 องศา) สเกลอ่านได้ตามขนาด
Primary Current Rating เป็ น แบบใช้ ต่ อ กั บ Current Transformer ชนิ ด 5A Secondary Rated Current,
Accuracy Class 1.5 หรือเทียบเท่า
(11.4) Ammeter Selector Switch (AS)
Ammeter Selector Switch (AS) เป็ นชนิ ดเลื อกได้ 4 ตํ าแหน่ ง เพื่ อวั ดกระแส
ไฟฟ้าได้ทั้ง 3 เฟส และมีจังหวะปิด โดยทนกระแสไฟฟ้าได้ไม่ต่ํากว่า 10 แอมแปร์
(11.5) Voltmeter
Voltmeter ผลิตขึ้นตามมาตรฐาน IEC หรือ UL ต้องเป็นแบบ Switchboard
Mounted ขนาดหน้าปัด ไม่เล็กกว่า 96x96 มม. สเกลชนิด Wide Angle (240 องศา) สามารถต่อใช้งานได้
โดยตรง มีสเกลอ่านได้ 0-500 V หรือตามแบบ มีค่า Accuracy Class 1.5 หรือเทียบเท่า
(11.6) Voltmeter Selector Switch (VS)
Voltmeter Selector Switch (VS) เป็ น ชนิ ด เลื อ กได้ 7 ตํ า แหน่ ง สํ า หรั บ ไฟ
3 เฟส 4 สาย เพื่อวัดได้ทั้ง 3 เฟส และกับเส้นศูนย์ ทั้งมีจังหวะปิดด้วย

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 37 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

(11.7) มิเตอร์วัดไฟฟ้า (Kilowatt-hour Meter: kWh) (ถ้ามี) มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้


(11.7.1) เป็นชนิดติดตั้งเรียบเสมอผิวตู้ (Semi–flush Mounting)
(11.7.2) เป็นแบบ 3 เฟส 4 สาย
(11.7.3) Accuracy Class 2
(11.8) Digital Power Meter มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
(11.8.1) มิเตอร์ที่ใช้จะต้องเป็น Digital Power Meter ผลิตขึ้นตามมาตรฐาน IEC
(11.8.2) ต้องแสดงผลเป็นแบบ LCD display
(11.8.3) เครื่องวัดจะต้องสามารถวัดค่าทางไฟฟ้าได้ดังนี้ กระแสต่อเฟส กระแส
นิวตรอน แรงดันต่อเฟส แรงดันเฟสต่อนิวตรอน กิโลวัตต์ กิโลวาร์ (แยก L และ C) เพาเวอร์แฟคเตอร์
ความถี่ กิโลวัตต์ชั่วโมง กิโลวาร์ชั่วโมง ฮาร์โมนิคของกระแสต่อเฟส ฮาร์โมนิคของแรงดันแต่ละเฟส (%THD)
ฮาร์โมนิคของกระแส และฮาร์โมนิคของแรงดันในแต่ละลําดับ
(11.9) Control Fuses
ให้ใช้ฟิวส์ชนิด Cartridge ขนาดตามที่กําหนดในแบบเป็นผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐาน
ของ VDE หรือเทียบเท่า
(11.10) Indicator Lamp
ใช้สําหรับแสดงการทํางานของอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ ต้องเป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตตาม
มาตรฐาน DIN หรือเทียบเท่า
(11.11) Push Buttons
ใช้สําหรับวงจรควบคุมมอเตอร์หรือวงจรอื่นใดก็ตาม ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
(11.11.1) พิกัดแรงดันไฟฟ้า = 500 โวลท์
(11.11.2) พิกัดกระแส = 6 แอมแปร์
(11.12) Mimic Diagram
Mimic Diagram ต้องทําด้วยแผ่นพลาสติกสีดําประกอบกันเป็น Schematical Form
(11.13) Name Plate
Name Plate ทั้งหมดต้องเป็นไปดังแสดงไว้ในแบบ Name Plate ต้องทําด้วย
ชนิดสแตนเลสกัดกรด
10.12.6 อุปกรณ์ประกอบ
สายไฟฟ้ากําลังที่มีขนาดที่เหมาะสมตามระบุในแบบรูปและรายการละเอียด และเป็นไปตาม
ข้อกําหนดของการไฟฟ้าฯ พร้อมอุปกรณ์ประกอบจับยึดสําหรับติดตั้งหรือท่อร้อยสายไฟและชุดต่อเชื่อม
ปลายสาย เพื่อเดินสายระหว่างแผงบริภัณฑ์ประธานรวมแรงต่ํากับมอเตอร์ไฟฟ้า ห่างกันไม่น้อยกว่า 10
เมตร หรือตามระบุในแบบรูปและรายการละเอียด

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 38 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

10.13 ระบบป้องกันฟ้าผ่า
10.13.1 ความต้องการทั่วไป
(1) ผู้ รับจ้างจะต้องจัดหาและติดตั้งระบบป้ องกั นอันตรายจากฟ้ าผ่ าแบบ Faraday Cage
Conventional Type มี รั ศ มีก ารป้อ งกัน ไม่ น้อ ยกว่ าที่ ระบุ ใ นแบบรูป และรายการละเอี ย ด ระบบป้ อ งกั น
อันตรายจากฟ้าผ่าต้องเป็นระบบที่สามารถรับประจุที่เกิดจากฟ้าผ่า แล้วนําสู่พื้นดินอย่างรวดเร็วและปลอดภัย
ไม่มีชิ้นส่วนที่เคลื่อนไหว และไม่ต้องใช้แหล่งจ่ายไฟใด ๆ ทั้งสิ้น
(2) การติดตั้งระบบป้องกันฟ้าผ่าเป็นไปตาม
(2.1) มาตรฐาน NFPA No. 780
(2.2) มาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าสําหรับสิ่งปลูกสร้าง วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย
(2.3) มาตรฐานระบบป้องกันฟ้าผ่าของสํานักงานพลังงานแห่งชาติ
(2.4) ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้า
10.13.2 ความต้องการด้านเทคนิค
(1) ระบบป้องกันฟ้าผ่าประกอบด้วยอุปกรณ์ที่สําคัญดังนี้
(1.1) ตัวล่อฟ้า (Air Terminal)
(1.2) สายล่อฟ้า (Down Conductor)
(1.3) หลักสายดิน (Ground Rod)
(2) รายละเอียดของอุปกรณ์ต่าง ๆ มีดังต่อไปนี้
(2.1) หลักล่อฟ้า (Air Terminal) เป็นชนิดปลายมน โดยทั่วไปให้ใช้หลักล่อฟ้าเป็นแท่ง
ทองแดง (Solid Copper) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 3/4 นิ้ว ความยาวตามที่ระบุในแบบรูปและ
รายการละเอียด ติดตั้งที่สูงสุดของอาคารหรือตามที่ระบุในแบบรูปและรายการละเอียด
(2.2) ตัวนําบนหลังคา (Roof Conductor) ถ้ามิได้กําหนดไว้เป็นอย่างอื่น ให้ตัวนําบน
หลังคาซึ่งเป็นตัวนําสําหรับเชื่อมต่อหลักล่อฟ้าให้ต่อเนื่องกันทางไฟฟ้าถึงกันทั้งหมด เป็นตัวนําทองแดงขนาด
พื้นที่หน้าตัดไม่น้อยกว่า 50 ตารางมิลลิเมตร ในกรณีที่ตัวนําบนหลังคาเป็นชนิดให้เป็น Tape ให้เป็น Bare
Copper Tape ไม่เล็กกว่าหน้ากว้าง 25 มิลลิเมตร ความหนา 3 มิลลิเมตร
(2.3) ตัวนําลงดิน (Down Conductor) ถ้ามิได้กําหนดไว้เป็นอย่างอื่น ให้ใช้สายตัวนํา
ทองแดงขนาดพื้นที่หน้าตัดไม่น้อยกว่า 50 ตารางมิลลิเมตร เป็นตัวนําลงดินในแต่ละจุดที่กําหนด
(2.4) หลั กสายดิ นให้ ใช้ Copper Clad Steel Ground Rod ขนาดเส้ นผ่ านศู นย์ กลาง
ไม่เล็กกว่า 5/8 นิ้ว และยาวไม่น้อยกว่า 10 ฟุต หรือตามที่กําหนดในแบบแบบรูปและรายการละเอียด ผ่านการ
ทดสอบคุณสมบัติตามมาตรฐาน UL-467
(2.5) การเชื่อม (Welding) การเชื่อมต่อโลหะ ให้มีความต่อเนื่องทางไฟฟ้า มีวิธีการ
ต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับชนิดของโลหะ และสภาพของงาน โดยการเชื่อมต่อระหว่างตัวนําทองแดงกับตัวนําทองแดง
หรือตัวนําทองแดงกับเหล็ก เชื่อมด้วยวิธี Exothermic Welding

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 39 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

(2.6) จุดต่อลงดินทุกจุดจะต้องติดตั้งใน Ground Inspection Pit ทําจากคอนกรีตหล่อ


ขนาดไม่เล็กกว่า 320×320 มิลลิเมตร ลึก 190 มิลลิเมตร มีฝาคอนกรีตปิดพร้อมอุปกรณ์อื่น ๆ ที่เป็นโลหะ เช่น
ท่อน้ํา บันไดเหล็ก เป็นต้น ติดตั้งอยู่ใกล้ระบบป้องกันฟ้าผ่าจะต้องเชื่อมเข้าระบบด้วย
10.13.3 การติดตั้ง
เป็นไปตามมาตรฐานอ้างอิงข้างต้น โดยต้องบันทึกการวัดค่าความต้านทานของการต่อลงดินทุก
จุดเสนอต่อผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเพื่อพิจารณา
(1) ตัวนําล่อฟ้า ต้องจับยึดอย่างแข็งแรงและติดตั้งตามส่วนที่สูงสุดของอาคาร โดยที่
ตัวจับยึดตัวล่อฟ้า (Air Terminal Support) ต้องมีความแข็งแรงและทนต่อสภาพดินฟ้าอากาศได้ดี ส่วนที่ผ่าน
ทะลุหลังคาต้องป้องกันไม่ให้น้ําซึมลงไปตามสายล่อฟ้าได้ ตําแหน่งของตัวล่อฟ้าได้แสดงไว้ในแบบรูปและ
รายการละเอียด
(2) ตําแหน่งของตัวล่อฟ้าได้แสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด
(3) สายล่อฟ้าต้องจับยึดทุก ๆ ช่วงอย่างน้อย 0.50 เมตร
(4) การเดินสายตัวนําลงดิน ให้พยายามเลี่ยงการหักงอสายล่อฟ้าให้มากที่สุด การหัก
เลี้ยวต้องมีรัศมีไม่น้อยกว่า 0.20 เมตร และมุมการหักเลี้ยวต้องไม่เป็น 90 องศา
(5) การต่อเชื่อมทุกจุดของตัวนําล่อฟ้า กับตัวนําลงดินหรือแท่งรากสายดิน ใช้วิธีการ
เชื่อมต่อแบบ Exothermic Welding เท่านั้น
(6) ตัวนําลงดิน ต้องไม่มีการต่อตลอดความยาวสาย นอกจากที่ระบุไว้ในแบบรูปและ
รายการละเอียด
(7) สายและข้อต่อต่าง ๆ ต้องทนต่อ Mechanical Strength ได้ดี
(8) แท่งรากสายดิน ต้องฝังลงดินให้ยอดของแท่งอยู่ต่ํากว่าระดับดิน อย่างน้อย 0.50
เมตร ท่อโลหะโครงเหล็กอื่น ๆ เช่น ท่อน้ํา โครงเหล็กของลิฟต์ ฯลฯ ให้ต่อสายทองแดงขนาดไม่เล็กกว่า 50
ตารางมิลลิเมตร ไปลงที่หลักสายดินด้วย
(9) ความต้ า นทานของดิ น ต้ อ งไม่ เ กิ น 5 โอห์ ม ถ้ า หากมี ค วามต้ า นทานสู ง กว่ า
ที่กําหนดให้เพิ่มแท่งรากสายดิน
(10) ผู้รับจ้างต้องทําแบบเพิ่มเติม (Show Drawings) แสดงรายละเอียดของระบบ
ป้องกันให้ผู้ว่าจ้างอนุมัติก่อนดําเนินการติดตั้ง
10.14 การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า
การติ ด ตั้ ง และการเดิ น สายไฟต้ อ งเป็ น ไปตามมาตรฐานการติ ด ตั้ ง ทางไฟฟ้ า สํ า หรั บ ประเทศไทย
ต้องติดตั้งอย่างดีที่สุดตามวิธีการที่โรงงานผู้ผลิตวัสดุและอุปกรณ์นั้น ๆ แนะนํามา ผู้รับจ้างต้องใช้ช่างฝีมือที่มี
ความชํานาญในสาขานี้โดยเฉพาะเป็นผู้ทําการติดตั้ง ผู้รับจ้างต้องศึกษาแบบรูปและรายการละเอียดทาง
โครงสร้าง ระบบปรับอากาศ ระบบสุขาภิบาล และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้แน่ใจว่าวัสดุและอุปกรณ์
สามารถติดตั้งได้ในแนวหรือพื้นที่ที่กําหนดไว้ โดยให้สอดคล้องกับงานแผนกอื่น การเดินสายภายในอาคารให้
เดินสายร้อยท่อโลหะ ฝังผนังหรือซ่อนในฝ้าเพดาน หรือตามที่ระบุในแบบรูปและรายการละเอียด การเดิน

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 40 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

ท่ อ ร้ อ ยสายไฟฟ้ า ต้ อ งเดิ น ในแนว Corridor และมี แ นวขนานหรื อ ตั้ ง ฉากกั บ ตั ว อาคาร ขนาดของท่ อ
ร้อยสายไฟฟ้า ชนิดของท่อร้อยสาย และจํานวนสายสูงสุด ของสายไฟฟ้าในท่อร้อยสายไฟฟ้าให้ใช้ตาม
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรับประเทศไทย
10.14.1 การติดตั้งระบบไฟฟ้าแรงสูง
การติดตั้งวัสดุและอุปกรณ์ของระบบไฟฟ้าแรงสูง และเดินสายแรงสูงภายในโครงการฯ ต้อง
เป็นไปตามมาตรฐานของการไฟฟ้าฯ โดยวิธีการติดตั้ง สามารถจําแนกได้ดังนี้
(1) เสาคอนกรีตอัดแรง
เสาคอนกรีตอัดแรง ขนาด 12 เมตร จะต้องติดตั้งในแนวดิ่งแบบฝังดิน โดยมีระยะความ
ลึกของการฝังลงดินประมาณ 2.0 เมตร การติดตั้งให้เป็นไปตามข้อกําหนดของการไฟฟ้าฯ ตําแหน่งของการ
ติดตั้งโดยประมาณตามแนวเส้นทางของถนนในโครงการฯ ตามที่ได้แสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด
สําหรับการติดตั้งเสาไฟฟ้าแรงสูงในแนวทางตรง วิธีการฝังเสาต้องให้เหมาะสมและ
สอดคล้องกับคุณสมบัติของดิน เพื่อมิให้เสาไฟฟ้าแรงสูงเกิดการเอียงหนีจากแนว และสามารถใช้ดินเดิมถม
กลับที่โคนเสาไฟได้
สําหรับการติดตั้งเสาไฟฟ้าแรงสูงในทางโค้งหรือเสาไฟฟ้าแรงสูงที่เป็น Dead End ใน
กรณีที่ไม่สามารถติดตั้งอุปกรณ์เพื่อการยึดโยงเสาได้ ให้ติดตั้งแบบมีฐานรากที่เหมาะสมและสอดคล้องตาม
สภาพของดิน และเป็นไปตามข้อกําหนดของการไฟฟ้าฯ
(2) ฟิวส์แรงสูง (Dropout Fuse)
การติดตั้งฟิวส์แรงสูง (Dropout Fuse) ที่หม้อแปลงไฟฟ้า 3 เฟส ให้ติดตั้งบนคอนสปัน
คอนกรีตอัดแรงขนาด 100 x 100 x 3,200 มิลลิเมตร สําหรับการติดตั้งที่มิเตอร์วัดพลังงานไฟฟ้าพร้อมชุด
หม้อแปลงเครื่องวัดและการติดตั้งที่จุดต่อลงสายเคเบิลแรงสูงแบบฝังดิน ให้ติดตั้งบนคอนกรีตอัดแรงขนาด
100 x 100 x 2,500 มิลลิเมตร
(3) ล่อฟ้าแรงสูง (Surge Arresters)
การติดตั้ง Lightning Arresters แรงสูงที่หม้อแปลงไฟฟ้า 3 เฟส ให้ติดตั้งบนคอนสปัน
คอนกรี ตอั ดแรงขนาด 100 x 100 x 3,200 มิล ลิเมตร ส่วนการติดตั้งที่จุดอื่นใดให้ติดตั้ งบนคอนคอนกรีต
อัดแรงขนาด 100 x 100 x 2,500 มิลลิเมตร
(4) สายไฟฟ้าแรงสูง
ในกรณีที่ติดตั้งสายไฟฟ้าที่เป็นการต่อแยกวงจร ต่อข้ามถนน ต่อแยกเข้าหม้อแปลง
ไฟฟ้า ต่อแยกเข้าโหลดเบรกสวิทช์ ต่อแยกเข้าติดตั้งดร็อปเอาท์ฟิวส์คัตเอาท์ใน Lines ต่อแยกลงสู่/ขึ้นจาก
สายเคเบิลแรงสูงแบบฝังดิน จะติดตั้งบนคอนคอนกรีตอัดแรงขนาด 100 x 100 x 2,500 มิลลิเมตร ที่ยึดติดไว้ที่
หัวเสาไฟฟ้า และการติดตั้งบนคอนคอนกรีตอัดแรงนี้มีลูกถ้วยแบบก้านตรง/แบบแขวน เป็นตัวช่วยรับจับยึด
ดังที่แสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 41 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

(5) สายยึดโยง
ในการติดตั้งเดินสายเคเบิลแรงสูงบนเสาไฟฟ้าที่เป็นทางโค้ง ที่เป็นการต่อแยกวงจร ต่อข้าม
ถนน และที่เป็นเสาต้นสุดท้ายกรณีที่รับแรงดึง จะต้องติดตั้งชุดสายยึดโยงประกอบ และกรณีที่ไม่สามารถติดตั้ง
ประกอบสายยึ ด โยงได้ ให้ ดําเนินการตามที่ได้กล่าวไว้ ใ นย่อหน้ าสุ ดท้ ายของหั วข้ อเกี่ ย วกั บ การติ ด ตั้ ง เสา
คอนกรีตอัดแรงที่เป็นเสาไฟฟ้าแรงสูง
(6) การต่อลงดินในระบบไฟฟ้าแรงสูง
การต่อลงดินของวัสดุและอุปกรณ์ที่ติดตั้งในระบบไฟฟ้าแรงสูง จะต้องดําเนินการตาม
ข้อกําหนดของการไฟฟ้าฯ และรายละเอียดที่กําหนดไว้ดังนี้
(6.1) กรณีที่ไม่มีวัสดุอุปกรณ์ซึ่งติดตั้งประกอบอยู่ด้วยบนเสาไฟฟ้าแรงสูง การต่อลงดิน
ของก้านฉนวนลูกถ้วย ก้านที่ยึดคัตเอาต์ เหล็กประกับคอนคอนกรีต เหล็กคอนสายเคเบิลอากาศและสาย
สะพานให้ต่อลงดิน โดยใช้ลวดเหล็กกลมอาบสังกะสีเส้นเดี่ยวขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4 มิลลิเมตร ตาม
มาตรฐานฉบับล่าสุดของมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ที่เกี่ยวข้อง ต่อเข้ากับลวดเหล็กตีเกลียว
อาบสังกะสีขนาดพื้นที่หน้าตัด 25 ตารางมิลลิเมตร ที่ฝังไว้ในเสาคอนกรีตอัดแรง หรือเสาไฟฟ้าแรงสูงนั้น
(6.2) กรณีที่มีวัสดุอุปกรณ์อื่น เช่น Lightning Arresters หม้อแปลงไฟฟ้าโหลดเบรก
สวิทช์ และหม้อแปลงประกอบมิเตอร์วัดพลังงานไฟฟ้า การต่อลงดิน นอกจากจะต้องกระทําตามที่ได้กล่าวไว้
ในกรณีก่อนหน้าแล้ว ให้มีการต่อก้านของ Lightning Arresters เปลือกของหม้อแปลงไฟฟ้า และโครงของ
โหลดเบรกสวิทช์ลงดิน โดยใช้ลวดเหล็ก 50 ตารางมิลลิเมตร ต่อเข้ากับหลักสายดินที่เป็นเหล็กอาบสังกะสี
และมีรูปแบบเป็นกลีบมะเฟืองขนาด 60 x 60 x 5 มิลลิเมตร และยาวไม่ต่ํากว่า 2 เมตร และการต่อจะเป็น
แบบ Exothermic Welding ส่วนของลวดเหล็กตีเกลียวขนาดพื้นที่หน้าตัด 50 ตารางมิลลิเมตร หรือที่จะเรียก
ในตอนต่อไปว่า “สายต่อนําลงดิน” ในส่วนที่โผล่พ้นดินจะต้องใช้ท่อพีวีซีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 20 มิลลิเมตร
ยาว 2.5 เมตร หุ้มและท่อเอสลอนนี้ถูกยึดติดกับเสาคอนกรีตอัดแรงด้วยวัสดุและรายละเอียดข้อกําหนดทาง
เทคนิคเป็นไปตามข้อกําหนดของการไฟฟ้าฯ
10.14.2 การติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้า
การติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้าให้ปฏิบัติตามข้อกําหนดการติดตั้งของการไฟฟ้าฯ คือ การไฟฟ้าส่วน
ภูมิภาคและการไฟฟ้ านครหลวง ตามพื้นที่ตั้งโครงการก่ อสร้ าง และเมื่อติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้าแล้ว เสร็จ
ผู้รับจ้างต้องดําเนินการขออนุมัติเห็นชอบจากการไฟฟ้าฯ หากการไฟฟ้าฯ ไม่เห็นชอบ ผู้รับจ้างต้องแก้ไขโดย
ทันที ทั้งนี้ค่าใช้จ่ายในการขออนุมัติจากการไฟฟ้าฯ และค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงแก้ไขอยู่ในความรับผิดชอบ
ของผู้รับจ้างทั้งสิ้น
10.14.3 การเดินสายสําหรับระบบไฟฟ้าแรงต่ํา
ให้ปฏิบัติตามกฎการเดินสายและติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรับ
ประเทศไทย (ว.ส.ท.) และตามรายละเอียดที่ได้ระบุ ดังต่อไปนี้
(1) กรณีในแบบรูปและรายการละเอียดกําหนดสายไฟฟ้าแกนเดี่ยวไม่มีเปลือก ชนิดตัวนํา
สายแข็ง (60227 IEC 01) ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.11-2553 หรือสายไฟฟ้าแบบ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 42 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

THW ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.11-2531 ให้เดินสายร้อยในท่อร้อยสายไฟฟ้า และมี


การป้ อ งกั น น้ํ า เข้ า ท่ อ ร้ อ ยสายไฟ ห้ า ม เดิ น ท่ อ ร้ อ ยสายฝั ง ดิ น หรื อ เดิ น สายไฟฝั ง ดิ น โดยตรง และ
ห้าม เดินสายบน Cable Trays, Cable Ladder
(2) กรณีในแบบรูปและรายการละเอียดกําหนดสายไฟฟ้าหุ้มด้วยฉนวนและเปลือกสายแบน 2
แกน และ 3 แกน มีสายดิน (VAF และ VAF-G) ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.11-2553
ให้เดินสายแบบเกาะผนัง และเดินในช่องเดินสาย (Wire way) ห้าม เดินสายร้อยท่อ และ ห้าม เดินสายฝังดิน
(3) กรณีในแบบกําหนดให้เดินสายไฟฟ้าฝังดินหรือเดินบน Cable Trays หรือเดินบน Cable
Ladder ให้ใช้สายไฟฟ้าหุ้มฉนวน เปลือกในและเปลือกนอก (NYY และ NYY-G) หรือสายไฟฟ้าหุ้มฉนวน XLPE
(0.6/1kV. CV) ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.11-2553
(4) การต่อสายไฟฟ้า ห้ามต่อภายในท่อเด็ดขาด ต่อได้เฉพาะใน Box เท่านั้น อุปกรณ์ที่ใช้ใน
การต่ อ สาย ให้ ใ ช้ ช นิ ด Compression Bolt Screw หรื อ Wire Nut ห้ า มต่ อ แบบ Twist Wire Splice
สายไฟฟ้าต้องร้อยในท่อทั้งหมด โดยไม่มีส่วนใดปรากฏให้เห็นภายนอก ให้ติดหมายเลขสายวงจรด้วย Wire
Mark สํ า หรั บ วงจร Branch Circuit ใน Pull Box ต่ า ง ๆ และให้ ถู ก ต้ อ งตรงกั บ Wire Marker ใน Panel
Board เพื่อสะดวกในการบํารุงรักษาโดยใช้ Color Code ดังต่อไปนี้
Phase 1 (A) สีน้ําตาล
Phase 2 (B) สีดํา
Phase 3 (C) สีเทา
Neutral N สีฟ้า
Ground GN สีเขียวแถบเหลือง
(5) การดึงสายไฟฟ้า ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยในการดึงสายไฟ ซึ่งออกแบบโดยเฉพาะ เพื่อใช้กับการ
ดึงสายไฟฟ้าภายในท่อ และต้องปฏิบัติตามคําแนะนําของผู้ผลิตอุปกรณ์ดังกล่าวด้วย
(6) การหล่อลื่น ในการดึงสายไฟฟ้า ผู้รับจ้างจะต้องใช้ตัวหล่อลื่น ตัวหล่อลื่นจะต้องเป็นชนิดที่
ผลิตสําหรับการนี้โดยเฉพาะ
(7) การต่ อเชื่ อมสายไฟฟ้าใน Pull Box หรือ Hand Hole ซึ่งมีความชื้น หรื อแช่ น้ํา ให้ใช้
Compound ของ 3M ต่อเชื่อมให้เป็นเนื้อเดียวกัน และพันด้วยเทปซึ่งผลิตสําหรับใช้ในการนี้โดยเฉพาะ
10.14.4 การติดตั้งและเดินสายร้อยท่อโลหะ
ให้ปฏิบัติตามกฎการเดินสายและติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรับ
ประเทศไทย (มาตรฐาน ว.ส.ท.) และตามรายละเอียดที่ได้ระบุ ดังต่อไปนี้
(1) การติดตั้งท่อร้อยสายไฟฟ้า (ชนิดท่อโลหะ) แนวท่อร้อยสายไฟฟ้าที่แสดงในแบบรูปและ
รายการละเอียด เป็นเพียง Diagram เท่านั้น การติดตั้ง ต้องให้เหมาะสมกับสภาพของอาคาร
(2) ชนิดของท่อเป็นไปตามข้อกําหนดวัสดุและอุปกรณ์ท่อร้อยสายไฟฟ้าใน มาตรฐาน ว.ส.ท.
การต่อท่อต่าง ๆ ให้ใช้ข้อต่อ (Coupling) และข้อต่อยึด (Connector) ต่อให้แน่น กรณีฝังในผนังอิฐก่อ หรือ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 43 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

เดินภายนอกอาคารให้ใช้ชนิด (Concrete Tight) หรือ (Rain Tight) กรณีเดินซ่อนในฝ้าเพดาน หรือเดินลอย


ภายในอาคารใช้ชนิด (Screw Tight)
(3) การยึดท่ อร้อยสายไฟฟ้ า (Conduit Support) ท่ อที่เดิ นลอยจะต้ องมี Conduit Strap
อย่างหนาทุก ๆ ระยะไม่เกิน 2.00 เมตร ในกรณีติดตั้งท่อร้อยสายในบริเวณเดียวกัน หรือแนวเดียวกันมากกว่า
3 เส้น ให้ใช้ Unistat ยึด
(4) การเดินท่อร้อยสายไฟฟ้าเข้ากับอุปกรณ์เครื่องมือ เครื่องจักรต่าง ๆ ให้ใช้ Heavy Duty
Flexible Conduit มีความยาวไม่น้อยกว่า 0.30 เมตร แต่ไม่เกิน 1.00 เมตร กรณีอุปกรณ์เหล่านั้นอยู่ใกล้น้ํา
หรือภายนอกอาคารต้องใช้ Heavy Duty Flexible Conduit ชนิด (Rain Tight)
(5) การติดตั้งท่อร้อยสายเข้ากับกล่องต่อสาย หรือเครื่องประกอบการเดินท่อ หรือตู้ควบคุม
ต้องจัดให้มี Lock Nut และ Bushing ขันยึดให้แน่น เพื่อป้องกันไม่ให้ฉนวนหุ้มสายชํารุด กรณีรูของ Lock Nut
ใหญ่กว่าท่อต้องใช้ Reducing Washer เพื่อไม่ให้มีช่องว่างระหว่างท่อกับฝาของกล่องต่อสาย ส่วนรูว่างที่ไม่ได้
ใช้งานให้ปิดด้วยฝาพลาสติก
(6) ท่อร้อยสายไฟฟ้าที่ติดตั้งไว้ในขณะก่อสร้าง เพื่อรอการร้อยสายไฟฟ้าต้องอุดปลายท่อด้วย
จุกพลาสติกที่มีขนาดพอดีกับท่อ ห้ามใช้กระดาษ หรือเศษไม้อุดปลายท่อ ทั้งนี้เพื่อป้องกันวัสดุต่าง ๆ เข้าไปอยู่
ภายในท่อจะทําให้เกิดปัญหาในการร้อยสายไฟฟ้าภายหลัง
(7) ปลายท่อร้อยสายไฟฟ้าที่ถูกตัดออกต้องลบคม เพื่อป้องกันไม่ให้ฉนวนหุ้มสายไฟฟ้าชํารุด
การทําเกลียวท่อต้องใช้เครื่องทําเกลียวชนิดปลายเรียว ทั้งนี้ท่อโลหะชนิดบาง (EMT) ห้ามทําเกลียว
(8) การเดินท่อร้อยสายไฟฟ้า ให้พยายามเดินในแนว Corridor และมีแนวขนาน หรือตั้งฉาก
กับตัวอาคาร
10.14.5 การติดตั้งและการเดินสายในท่อโลหะอ่อน
ให้ปฏิบัติตามกฎการเดินสายและติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรับ
ประเทศไทย (มาตรฐาน ว.ส.ท.) หรือ ข้อกําหนดของการไฟฟ้าฯ
10.14.6 การติดตั้งและการเดินสายในท่อโลหะอ่อนกันของเหลว
ให้ปฏิบัติตามกฎการเดินสายและติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรับ
ประเทศไทย (มาตรฐาน ว.ส.ท.) หรือ ข้อกําหนดของการไฟฟ้าฯ
10.14.7 การติดตั้งและการเดินสายในท่ออโลหะอ่อน
ให้ปฏิบัติตามกฎการเดินสายและติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรับ
ประเทศไทย (มาตรฐาน ว.ส.ท.) หรือ ข้อกําหนดของการไฟฟ้าส่วนท้องถิ่น
10.14.8 การติดตั้งและการเดินสายในท่ออโลหะแข็ง
ให้ปฏิบัติตามกฎการเดินสายและติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรับ
ประเทศไทย (มาตรฐาน ว.ส.ท.) หรือ ข้อกําหนดของการไฟฟ้าส่วนท้องถิ่น

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 44 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

10.14.9 การติดตั้งกล่อง (BOX) สําหรับงานไฟฟ้า


ในที่นี้หมายรวมถึง กล่องต่อสายของสวิตช์ หรืออุปกรณ์กล่องต่อสาย กล่องดึงสาย กล่อง
แยกสาย และกล่องอื่น ๆ ที่ติดตั้ง เพื่อวัตถุประสงค์ในการเดินสาย ให้ปฏิบัติตามกฎการเดินสายและติดตั้ง
อุปกรณ์ไฟฟ้าตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรับประเทศไทย (มาตรฐาน ว.ส.ท.) และให้ปฏิบัติตาม
ข้อกําหนดดังนี้
(1) กล่องต่อสายที่แสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียดเป็นเพียง Diagram เท่านั้น การ
ติดตั้งจริงต้องให้เหมาะสมกับสภาพของอาคาร กรณีที่แบบรูปและรายการละเอียดไม่ได้แสดงไว้ และมีความ
จําเป็นต้องติดตั้ง ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาและติดตั้งให้เรียบร้อยสมบูรณ์
(2) กล่องต่อสายทุกกล่องมีการจับยึดที่แข็งแรงกับโครงสร้างอาคาร หรือโครงสร้างถาวรอื่น ๆ
(3) การต่อท่อเข้ากับกล่องต่อสายต้องประกอบด้วย Lock Nut และ Bushing
(4) กล่องต่อสายต้องเลือกใช้ และติดตั้งตามสภาวะการใช้งาน และสภาวะแวดล้อม
(5) สําหรับแผงสวิตช์รวม ซึ่งมีสวิตช์ไฟฟ้าจํานวนมากในบริเวณเดียวกัน ให้ผู้รับจ้างทําแบบ
เพิ่มเติม (Shop Drawings) สวิตช์ แสดงวิธีการติดตั้งของ Box ให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างพิจารณา
และเสนอให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเพื่ออนุมัติก่อนการติดตั้ง
(6) รู Knock–out ที่ไม่ใช้งานต้องปิดให้เรียบร้อยด้วยอุปกรณ์ ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อทําหน้าที่นี้
โดย Block–out เฉพาะ หรือเปลี่ยน Box เสียใหม่
(7) ผู้รับจ้างต้องรับผิดชอบในการซ่อมแซมผนัง เพดาน ฝ้า พื้น ฯลฯ ที่ชํารุดเพราะการติดตั้ง
Boxes ต่าง ๆ
(8) Junction, Outlet และ Pull Box ทุกตัว จะต้องติดตั้งในที่ซึ่งสามารถเข้าไปดําเนินการ
ตรวจซ่อมแซม หรือบํารุงรักษาตัว Boxes และสายไฟฟ้าภายในได้ทุกขณะ ภายหลังจากงานนี้เสร็จสิ้นลงแล้ว
โดยไม่กระทบกระเทือนงานด้านสถาปัตยกรรม
(9) ตําแหน่งของ Boxes และอุปกรณ์ตามที่แสดงในแบบรูปและรายการละเอียดเป็นตําแหน่ง
โดยประมาณเท่านั้น ผู้รับจ้างต้องเป็นผู้รับผิดชอบในการศึกษารายละเอียดและติดตามการเปลี่ยนแปลง หรือ
เพิ่ ม เติ ม ตามแบบรู ป และรายการละเอี ย ดของงานสถาปั ต ยกรรม และแบบรู ป และรายการละเอี ย ดของ
บริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ โดยละเอียด เพื่อสามารถกําหนดตําแหน่ง Boxes ได้ถูกต้อง
(10) ผู้ว่าจ้างมีสิทธิ์จะเปลี่ยนแปลงตําแหน่งของ Boxes ต่าง ๆ จากตําแหน่งเดิมก่อนการติดตั้ง
Boxes เหล่านั้นได้ โดยไม่ต้องเพิ่มค่าติดตั้งให้แก่ผู้รับจ้าง
(11) การติดตั้ง Boxes ให้ระมัดระวังอย่าให้ติดกับท่อน้ํา หรือสิ่งกีดขวางใดใด
(12) Colors Code กล่ อ งต่ อ สายทุ ก กล่ อ ง ต้ อ งทาสี ภ ายในกล่ อ งและฝากล่ อ งเหมื อ นกั บ
Colors Code ของท่อร้อยสายไฟ

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 45 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

10.14.10 การเดินสายในของวงจรสวิตช์ เต้ารับไฟฟ้าและดวงโคม


ให้เดินสายวงจรตามที่ระบุในแบบรูปและรายการละเอียด และปฏิบัติตามกฎการเดินสายและ
ติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรับประเทศไทย (มาตรฐาน ว.ส.ท.) สายแยกจาก
สวิตช์เข้าดวงโคม และสายของอุปกรณ์ประกอบสําหรับดวงโคม ให้ใช้สายที่สามารถรับกระแสใช้งานของ
อุปกรณ์นั้น ๆ
10.14.11 การติดตั้งสวิตช์และเต้ารับไฟฟ้า
ผู้รับจ้างต้องติดตั้งสวิตช์ และเต้ารับ ให้ฝังเรียบเสมอผิวผนัง โดยติดตั้งอยู่ในกล่องโลหะ ยกเว้น
ในกรณีที่ระบุให้ติดลอย ให้ติดตั้งโดยใช้กล่องโลหะหลอมแบบติดลอย
(1) การติดตั้งสวิตช์ใช้กล่องเหล็กฝังในผนังสูงจากพื้น 1.35 เมตร วัดจากพื้นกึ่งกลางของ สวิตช์
โดยเมื่อติดสวิตช์แล้วต้องเรียบกับผนัง
(2) ในกล่องสวิตช์กล่องเดียวกัน ห้ามให้มีแรงดันระหว่างสวิตช์เกินกว่า 300 โวลต์ นอกจากจะ
ใส่แผ่นฉนวนกั้นระหว่างสวิตช์ หรือนอกจากจะใช้สวิตช์ที่ป้องกันชิ้นส่วนที่มีกระแสไหล ไม่สามารถถูกต้องโดน
นิ้วมือได้
(3) เต้ารับทั่วไปติดสูงจากพื้น 0.35 เมตร วัดจากพื้นถึงกึ่งกลางของเต้ารับ หรือตามที่แสดงใน
แบบรูปและรายการละเอียด
(4) เต้ารับในห้องน้ํา หรือเหนือเคาน์เตอร์ ต้องเป็นชนิดกันน้ํา (ถ้าไม่ได้ระบุในแบบรูปและ
รายการละเอียด) และติดตั้งสูงจาก พื้น 1.00 เมตร หรือตามที่แสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด
(5) เต้ารับนอกอาคาร หรือในที่เปียกชื้น ให้ใช้ฝาครอบโลหะหล่ออบสี หรือฝาครอบพลาสติก
ชนิดทน สภาวะอากาศภายนอกอาคาร แบบมีสปริง และยางอัดรอบ หรือมีพลาสติกอ่อนครอบ
หมายเหตุ : สวิตช์ หรือเต้ารับชนิดกันน้ํา (Waterproof, WP) ให้ใช้ชนิดโลหะหล่อ เคลือบสี และมีฝายาง
อัดรอบ ถ้าไม่ได้ระบุความสูงสําหรับการติดตั้งอุปกรณ์ไว้ในแบบรูปและรายการละเอียดให้ใช้
ระดับความสูงจากพื้น สําหรับการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ ตามรายละเอียดดังนี้
สวิตช์ติดตั้งสูงจากพื้น วัดจากจุดกึ่งกลาง 1.35 เมตร
เต้ารับติดตั้งสูงจากพื้น วัดจากจุดกึ่งกลาง 0.35 เมตร
Panel Board ติดตั้งสูงจากพื้นที่ศูนย์กลางแป้นยึด 1.50 เมตร
10.14.12 การติดตั้งตู้เมนบริภัณฑ์ไฟฟ้าแรงต่ํา (Main Distribution Board) และแผงจ่ายไฟฟ้า
ย่อย (Panel board)
ให้ปฏิบัติตามกฎการเดินสายและติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรับ
ประเทศไทย (มาตรฐาน ว.ส.ท.) และข้อกําหนดของการไฟฟ้าฯ รวมทั้งตามรายละเอียด ดังต่อไปนี้
(1) ตู้ควบคุมระบบไฟฟ้า กรณีติดตั้งบนพื้นต้องทําฐานรองรับ อย่างน้อย 0.10 เมตร โดยทํา
เป็นฐานคอนกรีตเสริมเหล็ก ด้านข้างของฐานทุกด้านต้องเรียบ และต้องสามารถป้องกันสัตว์หรือแมลงได้
(2) ในส่วนของตู้จ่ายไฟฟ้าย่อย ต้องมีรายละเอียดทางไฟฟ้าในลักษณะเป็น แบบระบบไฟฟ้า
เบื้องต้น (Single Line Diagram) ประจําตู้

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 46 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

10.14.13 การต่อลงดิน (Grounding)


ให้ปฏิบัติตามกฎการเดินสายและติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรับ
ประเทศไทย ข้อกําหนดของการไฟฟ้าฯ และตามรายละเอียดที่ได้ระบุดังต่อไปนี้
(1) ค่าความต้านทานของระบบดิน ต้องไม่เกิน 5 โอห์ม
(2) ต้องมีการตรวจวัดและรายงานค่าความต้านทานระบบดินของหม้อแปลงไฟฟ้า และตู้เมน
สวิตช์หลัก
(3) ก่อนการติดตั้งผู้รับจ้างต้องทําแบบการต่อลงดินของระบบและอุปกรณ์ป้องกันที่จําเป็น
อื่น ๆ เพื่อขออนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
(4) ระบบต่อลงดินสําหรับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือสื่อสาร ให้ใช้ระบบต่อลงดินของระบบ
ต่ อ ลงดิ น ของระบบไฟฟ้ า และมี อุ ป กรณ์ Surge Arrester เพื่ อ Isolate ระบบต่ อ ลงดิ น ของอุ ป กรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ หรือสื่อสาร ออกจากระบบสายดินของระบบไฟฟ้า ในกรณีระบบไฟฟ้าเกิดลัดวงจร
(5) ต้องมีจุดทดสอบค่าความต้านทานระบบดิน (Ground Test Box)
(6) สายดินที่ติดตั้งในบริเวณที่อาจทําให้เสียหายชํารุดได้ ให้เดินร้อยในท่อโลหะ
(7) สายดินที่ไม่ได้ร้อยในท่อ ต้องยึดกับรางวางสายไฟฟ้าที่เป็นโลหะทุก ๆ ระยะไม่เกิน 2 เมตร
(8) ผู้รับจ้างต้องทดสอบวัดค่าความต้านทานของสายดิน และความต้านทานของดินต่อผู้ว่าจ้าง
ถ้าความต้านทานสูงกว่าที่กําหนดไว้ ให้ผู้รับจ้างทําการแก้ไข โดยทันที
10.15 การบริการ (Servicing)
ผู้รับจ้างจะต้องแจ้งชื่อที่อยู่ของผู้ที่จะให้บริการตรวจสอบหรือซ่อมบํารุงระบบไฟฟ้าได้รวดเร็วเพื่อ
สะดวกในการติดต่อ
10.16 การรับประกัน (Guarantee)
ผู้ รับจ้ างจะต้อ งรั บ ประกั น ระบบไฟฟ้ าและอุป กรณ์ ต่ า ง ๆ ที่ใ ช้งานโดยไม่ เกิ ด การชํ ารุ ด เสี ย หาย
เนื่องจากการใช้งานตามปกติเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 2 (สอง) ปี นับจากวันตรวจรับมอบงานงวดสุดท้าย
ในระหว่างการรับประกัน หากมีการเสียหายเกิดขึ้น ผู้รับจ้างจะต้องทําการซ่อมหรือเปลี่ยนอุปกรณ์ต่าง ๆ
ให้ใหม่โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 47 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

10.17 การวัดปริมาณงานและการจ่ายเงิน
การวัดปริมาณงานระบบไฟฟ้า คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะวัดปริมาณงานตามที่จัดหาและติดตั้ง
จริง เมื่อผู้รับจ้างได้ทําการก่อสร้างแล้วเสร็จ และผ่านการตรวจสอบจากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างแล้ว
ในแต่ละรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคา
10.17.1 งานขยายเขตระบบจําหน่าย 22 kV และติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้าระบบ 3 เฟส ขนาดรวม
2,660 kVA พร้อมอุปกรณ์ประกอบ
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานขยายเขตระบบจําหน่าย 22 kV และ
ติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้าระบบ 3 เฟส ขนาดรวม 2,660 kVA พร้อมอุปกรณ์ประกอบ ตามที่ระบุไว้ในใบแจ้ง
ปริมาณงานและราคาสัญญานี้โดยที่อัตราราคางานต่อหน่วยนั้น รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหาหม้อแปลงไฟฟ้า
ขนส่ง ติดตั้ง ทดสอบ จัดทํารายงานทดสอบ แบบเพิ่มเติม การรับประกัน เอกสารคู่มือแนะนําการใช้งาน
นั่งร้าน ล่อฟ้าแรงสูง เสาคอนกรีตอัดแรง คานคอนกรีต ฉนวนป้องกัน ระบบต่อลงดิน อุปกรณ์ประกอบที่
จําเป็น และค่าธรรมเนียมต่าง ๆ พร้อมอุปกรณ์ประกอบ เมื่อผู้รับจ้างได้ดําเนินการติดตั้งแล้วเสร็จ ตามที่
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมี
หน่วยเป็นงาน ตามที่ได้ติดตั้งภายในขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้
จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นงาน ตามที่แสดงไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงาน
และราคาของสัญญานี้ ซึ่งอัตราราคาต่อหน่วยนี้ประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในงานขยายเขตระบบจําหน่าย 22 kV
และติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้าระบบ 3 เฟส ขนาดรวม 2,660 kVA พร้อมอุปกรณ์ประกอบ ค่าจัดทําแบบเพิ่มเติม
ค่าเครื่องจักรเครื่องมือ ค่าอุปกรณ์ ค่าแรงงาน ค่าขนย้าย ค่าทําสี ค่าทดสอบและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้
งานบรรลุวัตถุประสงค์
การจ่ายเงินจะแบ่งจ่ายตามความก้าวหน้าของงานดังนี้
(1) จ่ายเงินให้ในอัตราร้อยละ 80 ของราคางานที่ระบุไว้ในสัญญาเมื่อผู้รับจ้างดําเนินการงาน
ขยายเขตระบบจําหน่าย 22 kV และติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้าระบบ 3 เฟส ขนาดรวม 2,660 kVA พร้อมอุปกรณ์
ประกอบ ในบริเวณก่อสร้างหรือสถานที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุกําหนดเสร็จเรียบร้อย และจะต้องได้รับ
การพิจารณาเห็ น ชอบจากคณะกรรมการตรวจรั บ พัส ดุแ ล้ว เมื่อผู้ รับจ้ างได้ ดําเนิ น การจั ด หา และติ ดตั้ ง
ทดสอบคุณสมบัติของอุปกรณ์ (Field Test) เสร็จเรียบร้อย การจัดส่งอุปกรณ์ดังกล่าวจะต้องเป็นไปตามแผน
กําหนดการจัดส่งที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุแล้ว และได้ส่งมอบอุปกรณ์ และ
เครื่องมือเฉพาะครบถ้วน ตามรายการที่ระบุจนแล้วเสร็จและพร้อมใช้งาน
(2) จ่ายเงินให้ในอัตราร้อยละ 20 ของราคางานที่ระบุไว้ในสัญญาเมื่อผู้รับจ้างได้ทําการ
ทดสอบงานขยายเขตระบบจําหน่าย 22 kV และติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้าระบบ 3 เฟส ขนาดรวม 2,660 kVA

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 48 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

พร้อมอุปกรณ์ประกอบ และถ่ายทอดความรู้เพื่อการใช้งาน จัดส่งรายงานข้อมูลในการทดสอบ คู่มือการ


ใช้งาน คู่มือบํารุงรักษา ให้กับคณะกรรมการตรวจรับพัสดุครบถ้วนทั้งหมดเรียบร้อยแล้ว สามารถใช้งานตาม
วัตถุประสงค์โดยได้รับการเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ และคณะกรรมการตรวจรับพัสดุได้รับมอบ
สิ่งของถูกต้อง ครบถ้วนตามที่กําหนดเรียบร้อยแล้วเท่านั้น
10.17.2 ตู้ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้าสําหรับเครื่องสูบน้ํา (Motor Control Center) พร้อมอุปกรณ์
ประกอบ
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัส ดุจะทําการตรวจวั ดปริ มาณงานตู้ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ าสําหรับ
เครื่องสูบน้ํา (Motor Control Center) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ ตามที่ระบุไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคา
สัญญานี้โดยที่อัตราราคางานต่อหน่วยนั้น รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหา ขนส่ง ติดตั้ง ทดสอบ จัดทํารายงาน
ทดสอบ แบบเพิ่มเติม การรับประกัน เอกสารคู่มือแนะนําการใช้งาน พร้อมอุปกรณ์ประกอบ
การจ่ายเงิน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วย ตามที่แสดงไว้ในรายการใบแจ้ง
ปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ ซึ่งอัตราราคาต่อหน่วยนี้ประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในงานตู้ควบคุมมอเตอร์
ไฟฟ้ า สํ า หรั บ เครื่ อ งสู บ น้ํ า (Motor Control Center) ค่ า จั ด ทํ า แบบเพิ่ ม เติ ม ค่ า เครื่ อ งจั ก รเครื่ อ งมื อ
ค่าอุปกรณ์ ค่าแรงงาน ค่าขนย้าย ค่าทดสอบและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์
การจ่ายเงินจะแบ่งจ่ายตามความก้าวหน้าของงานดังนี้
(1) จ่ายเงินให้ในอัตราร้อยละ 50 ของราคางานที่ระบุไว้ในสัญญาเมื่อผู้รับจ้างจัดหาตู้ควบคุม
มอเตอร์ไฟฟ้าสําหรับเครื่องสูบน้ํา (Motor Control Center) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ ที่ผลิตเรียบร้อย และ
ได้นําส่งมาไว้ในบริเวณก่อสร้างหรือสถานที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุกําหนดและจะต้องได้รับการพิจารณา
เห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุแล้ว
(2) จ่ายเงินให้ในอัตราร้อยละ 40 ของราคางานที่ระบุไว้ในสัญญาเมื่อผู้รับจ้างทําการติดตั้ง
ตู้ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้าสําหรับเครื่องสูบน้ํา (Motor Control Center) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ ให้เป็นไปตาม
รายละเอียดในแบบรูปและรายการละเอียดและข้อกําหนดทางด้านวิศวกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้วโดยได้รับการ
เห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
(3) จ่ายเงินให้ในอัตราร้อยละ 10 ของราคางานที่ระบุไว้ในสัญญาเมื่อผู้รับจ้างได้ทําการ
ทดสอบการใช้ งานตู้ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ าสําหรับเครื่องสูบน้ํา (Motor Control Center) พร้อมอุปกรณ์
ประกอบ และถ่ายทอดความรู้เพื่อการใช้งาน เครื่องมือประจําตู้ไฟฟ้า เครื่องมือวัดต่าง ๆ รายงานการทดสอบ
คู่มือการใช้งาน คู่มือบํารุงรักษา จัดส่งให้กับคณะกรรมการตรวจรับพัสดุครบถ้วนทั้งหมดเรียบร้อยแล้วสามารถ
ใช้งานตามวัตถุประสงค์โดยได้รับการเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ และคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
ได้รับมอบสิ่งของถูกต้อง ครบถ้วนตามที่กําหนดเรียบร้อยแล้วเท่านั้น

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 49 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

10.17.3 สาย NYY แรงดัน 450/750V 70˚C ชนิดสายไฟฟ้าหุ้มฉนวน PVC เปลือกในและเปลือก


ตาม มอก.11-2553
(ก) สาย NYY แกนเดี่ยว ขนาด 240 ตร.มม.
(ข) สาย NYY แกนเดี่ยว ขนาด 185 ตร.มม.
(ค) สาย NYY แกนเดี่ยว ขนาด 95 ตร.มม.
(ง) สาย NYY แกนเดี่ยว ขนาด 50 ตร.มม.
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานสาย NYY แรงดัน 450/750V 70˚C ชนิด
สายไฟฟ้าหุ้มฉนวน PVC เปลือกในและเปลือก ตาม มอก.11-2553 ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณ
งานและราคาของสั ญ ญานี้ เมื่ อ ผู้ รั บ จ้ า งได้ ดํ า เนิ น การแล้ ว เสร็ จ และเป็ น ระยะทางต่ อ เนื่ อ งกั น ตามที่
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมี
หน่วยเป็นเมตร ตามพื้นที่ได้เดินสายโดยต่อเนื่องติดต่อกันภายในขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียด
กําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการ
วัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานสาย NYY แรงดัน 450/750V 70˚C ชนิดสายไฟฟ้าหุ้มฉนวน PVC เปลือกในและ
เปลือก ตาม มอก.11-2553 อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารควบคุมตามที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงาน
และราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้ในงานอาคาร
แต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นเมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงาน
และราคาของสัญญานี้ ซึ่งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร วัสดุ ส่วนที่ทาบ อุปกรณ์ ค่าขนส่ง
ค่าทดสอบ ค่าแรงเดินสายและติดตั้ง และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุตามวัตถุประสงค์
10.17.4 Cable Ladder
(ก) Cable Ladder ขนาด 900x100 mm
(ข) Cable Ladder ขนาด 300x100 mm
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณ Cable Ladder ตามรายการที่แสดงไว้ใน
ใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ดําเนินการแล้วเสร็จและเป็นระยะทางต่อเนื่องกัน ตามที่
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้น
มีหน่วยเป็นเมตร ตามที่ได้ติดตั้งโดยต่อเนื่องติดต่อกันภายในขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้
หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงาน
ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 50 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

ในกรณี Cable Ladder อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารควบคุมตามที่แสดงไว้ในใบแจ้ง


ปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้ในงาน
อาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นเมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงาน
และราคาของสัญญานี้ ซึ่งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร วัสดุ ส่วนที่ทาบ อุปกรณ์ ค่าขนส่ง
ค่าทดสอบ ค่าแรงติดตั้ง และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุตามวัตถุประสงค์
10.17.5 Grounding System
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณ Grounding System ตามรายการที่แสดงไว้
ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ดําเนินการแล้วเสร็จ ตามที่คณะกรรมการตรวจรับ
พัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นชุด ตามที่ได้
ติดตั้งภายในขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณี Grounding System อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารตามที่แสดงไว้ในใบแจ้ง
ปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้ในงาน
อาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นชุด ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและ
ราคาของสัญญานี้ ซึ่งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร วัสดุ ส่วนที่ทาบ อุปกรณ์ ค่าขนส่ง
ค่าทดสอบ ค่าแรงติดตั้ง และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุตามวัตถุประสงค์
10.17.6 เมนบริภัณฑ์ไฟฟ้าแรงต่ํา (MDB)
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานเมนบริภัณฑ์ไฟฟ้าแรงต่ํา (MDB) ตาม
รายการที่ แ สดงไว้ ใ นใบแจ้ งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่ อผู้ รั บจ้างได้ ดําเนินการแล้ วเสร็ จ ตามที่
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมี
หน่วยเป็นชุด ตามที่ได้ติดตั้งภายในขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริง
ภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับ
พัสดุเป็นเกณฑ์
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นชุด ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและ
ราคาของสัญญานี้ ซึ่งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร วัสดุ ส่วนที่ทาบ อุปกรณ์ ค่าขนส่ง ค่า
ทดสอบ ค่าแรงติดตั้ง และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุตามวัตถุประสงค์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 51 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

10.17.7 สาย IEC 01 แรงดัน 450/750V 70˚C ชนิดสายไฟฟ้าหุ้มฉนวน PVC แกนเดี่ยว


ไม่มีเปลือก ตาม มอก.11-2553
(ก) สาย IEC 01 ขนาด 25 ตร.มม.
(ข) สาย IEC 01 ขนาด 16 ตร.มม.
(ค) สาย IEC 01 ขนาด 10 ตร.มม.
(ง) สาย IEC 01 ขนาด 6 ตร.มม.
(จ) สาย IEC 01 ขนาด 1.5 ตร.มม.
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานสาย IEC 01 แรงดัน 450/750V 70˚C
ชนิดสายไฟฟ้าหุ้มฉนวน PVC แกนเดี่ยวไม่มีเปลือก ตาม มอก.11-2553 ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้ง
ปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ดําเนินการแล้วเสร็จและเป็นระยะทางต่อเนื่องกัน ตามที่
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมี
หน่วยเป็นเมตร ตามพื้นที่ได้เดินสายโดยต่อเนื่องติดต่อกันภายในขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียด
กําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการ
วัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานสาย IEC 01 แรงดัน 450/750V 70˚C ชนิดสายไฟฟ้าหุ้มฉนวน PVC แกน
เดี่ยวไม่มีเปลือก ตาม มอก.11-2553 อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารควบคุมตามที่แสดงไว้ในใบแจ้ง
ปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้ใน
งานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นเมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงาน
และราคาของสัญญานี้ ซึ่งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร วัสดุ ส่วนที่ทาบ อุปกรณ์ ค่าขนส่ง
ค่าทดสอบ ค่าแรงเดินสายและติดตั้ง และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุตามวัตถุประสงค์
10.17.8 ท่อร้อยสายไฟ ชนิดท่อเหล็กกล้าเคลือบสังกะสีแบบท่อโลหะหนาปานกลาง (IMC)
ตาม มอก.770-2533
(ก) ท่อ IMC ขนาด Ø 4 นิ้ว (100 มม.)
(ข) ท่อ IMC ขนาด Ø 11/4 นิ้ว (32 มม.)
(ค) ท่อ IMC ขนาด Ø 3/4 นิ้ว (20 มม.)
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานท่อร้อยสายไฟ ชนิดท่อเหล็กกล้าเคลือบ
สังกะสีแบบท่อโลหะหนาปานกลาง (IMC) ตาม มอก.770-2533 ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงาน
และราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ดําเนินการแล้วเสร็จและเป็นระยะทางต่อเนื่องกัน ตามที่คณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นเมตร

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 52 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 10 : งานระบบไฟฟ้า (Electrical Works)

ตามพื้นที่ได้เดินสายโดยต่อเนื่องติดต่อกันภายในขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตาม
ปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานท่อร้อยสายไฟ ชนิดท่อเหล็กกล้าเคลือบสังกะสีแบบท่อโลหะหนาปานกลาง (IMC)
ตาม มอก.770-2533 อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารควบคุมตามที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและ
ราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้ในงานอาคารแต่ละ
แห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นเมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงาน
และราคาของสัญญานี้ ซึ่งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร วัสดุ ส่วนที่ทาบ อุปกรณ์ ค่าขนส่ง
ค่าทดสอบ ค่าแรงเดินสายและติดตั้ง และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุตามวัตถุประสงค์
10.17.9 งานโคมไฟถนนชนิดเสาเหล็กกลมเรียว สูง 6 ม.
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานโคมไฟถนนชนิดเสาเหล็กกลมเรียว สูง 6 ม.
ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานเสร็จเรียบร้อยแล้ว
ตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมี
หน่วยเป็นชุด ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายใน
ขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
เป็นเกณฑ์
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นชุด ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณ
งานและราคาของสัญญานี้ ซึ่งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดหาอุปกรณ์โคมไฟ แผงเซลล์แสงอาทิตย์ เสาไฟ
ถนน ฐานรองเสาไฟคอนกรีต เครื่องจักร-เครื่องมือ ค่าขนส่ง ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุ
วัตถุประสงค์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
10 - 53 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 11 : งานโลหะ

บทที่ 11
งานโลหะ
11.1 ขอบเขตของงาน
งานโลหะตามสัญญานี้ มีขอบเขตของงานรวมถึงการจัดหา (Provided) การติดตั้ง (Installation)
การประกอบ (Assembly) การก่อสร้าง (Erection) เกี่ยวกับงานโลหะ อาทิเช่น งานบานระบาย (Slide
Gates) เครื่องยก (Hoist) ประตูเหล็ก (Steel Door) ก้านยกและโครงยกพร้อมอุปกรณ์ประกอบ ราวกันตก
งานตะแกรงกันสวะ (Trashrack) งานบันไดลิง ตลอดจนงานเหล็กและโลหะประกอบต่าง ๆ เช่น เหล็กฝัง
ยึด (Anchor Bolts) และเหล็กอื่น ๆ ตามที่กําหนดไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด หรือตามคําแนะนําของ
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
11.2 ข้อกําหนดทั่วไป
11.2.1 ผู้รับจ้างต้องเสนอแผนงานการผลิตและติดตั้งต่อคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ เพื่อพิจารณาให้
ความเห็นชอบ ก่อนเริ่มงานไม่น้อยกว่า 15 (สิบห้า) วัน
11.2.2 ผู้ รั บ จ้ า งต้ อ งเสนอชื่ อ สถาบัน ที่จ ะทํา หน้ า ที่ ท ดสอบวั ส ดุ ต่ อ คณะกรรมการตรวจรั บพัส ดุ
เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ ก่อนเริ่มดําเนินการ
11.2.3 ผู้ รั บ จ้ า งต้ อ งจั ด หาหรื อ เตรี ย มเครื่ อ งมื อ วั ด ชนิ ด ต่ า ง ๆ ให้ กั บ ผู้ ค วบคุ ม งานก่ อ สร้ า งของ
ผู้ว่าจ้าง เพื่อใช้ในการตรวจสอบคุณภาพงาน เมื่อผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างร้องขอ
11.2.4 ผู้รับจ้างต้องตรวจสอบความถูกต้องของแบบรูปและรายการละเอียดประกอบต่าง ๆ ให้เรียบร้อย
ก่อนที่จะเริ่มดําเนินการ หากแบบรูปและรายการละเอียดมีข้อผิดพลาด ไม่ชัดเจน หรือขัดแย้งกับข้อกําหนด
ต่าง ๆ ในสัญญา ผู้รับจ้างต้องเสนอรายละเอียดดังกล่าวต่อคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ เพื่อพิจารณาสั่งการ
11.2.5 คณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างสามารถสั่งให้มีการแก้ไข
รายละเอี ย ดงานได้ เมื่ อ พบว่ า ผลงานการผลิต หรื อ ติ ด ตั้ง อุ ป กรณ์ ต่ า ง ๆ ไม่ เ รี ย บร้ อ ย ไม่ เ หมาะสมหรือ
ไม่ ถู ก ต้ อ งตามข้ อ กํ า หนดต่ า ง ๆ ในสั ญ ญาหรื อ ตามที่ ค ณะกรรมการตรวจรั บ พั ส ดุ ไ ด้ อ นุ มั ติ ไ ว้ หรื อ ถ้ า มี
ข้อสงสัยในคุณภาพของงาน สามารถเรียกเอกสารต่าง ๆ อาทิ เช่น หนังสือรับรองจากผู้จําหน่ายหรือผู้ผลิต
หรือผลทดสอบ ฯลฯ เพิ่มเติมจากผู้รับจ้างได้ และค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการแก้ไข เปลี่ยนแปลง
ตรวจสอบหรือทดสอบเพิ่มเติมนี้ ผู้รับจ้างต้องรับผิดชอบทั้งหมด
11.2.6 ก้านยกและโครงยกพร้อมอุปกรณ์ประกอบ และบานฝาท่อ ให้ควบคุมการผลิตและติดตั้ง
โดยผู้ ไ ด้ รั บ ใบอนุ ญ าตเป็ น ผู้ ป ระกอบวิ ช าชี พ วิ ศ วกรรมควบคุ ม ระดั บ ไม่ ต่ํ า กว่ า สามั ญ วิ ศ วกร สาขา
วิศวกรรมเครื่องกล
11.3 มาตรฐานที่ใช้
วัสดุที่จะนํามาใช้ในการผลิตเพื่อการก่อสร้าง จะต้องได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมล่าสุด หรือ
มาตรฐานอื่น ๆ อันเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป ดังต่อไปนี้
ASTM : American Society for Testing and Materials

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
11 - 1 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 11 : งานโลหะ

ASME : American Society of Mechanical Engineers


ANSI : American National Standards Institute
AWWA : American Water Works Association
API : American Petroleum Institute
AISC : American Institute of Steel Construction
AWS : American Welding Society
ISO : International Organization for Standardization
JIS : Japanese Industrial Standards
TIS : Thai Industrial Standards
ในกรณีที่ผู้รับจ้างจะใช้มาตรฐานอื่น นอกเหนือจากที่กําหนดไว้แล้วนี้ จะต้องเสนอรายละเอียดของ
มาตรฐานนั้ น ๆ ที่ เ ขี ย นเป็ น อั ง กฤษ พร้ อ มคํ า แปลภาษาไทย มาพร้ อ มกั บ การยื่ น ขออนุ มั ติ เพื่ อ ให้
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุพิจารณาอนุมัติ
วัสดุที่จะนํามาใช้ในงาน หรือใช้ในการผลิต จัดทํา หรือประกอบการจัดทํา ก้านยกและโครงยก
พร้อมอุปกรณ์ประกอบ บานฝาท่อ ตะแกรง และอุปกรณ์อื่น ๆ จะต้องเป็นของใหม่ ไม่ผ่านการใช้งานมา
ก่อน และในกรณีที่แบบรูปและรายการละเอียดไม่ได้กําหนดมาตรฐานวัสดุอุปกรณ์ไว้ ให้ผู้รับจ้างใช้วัสดุ
อุปกรณ์ตามที่กําหนดให้ ดังต่อไปนี้
(1) เหล็ ก แผ่ น ให้ ใ ช้ ต ามมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม เลขที่ มอก.1479-2558
ชั้นคุณภาพ SS400
(2) เหล็กโครงสร้างรูปพรรณรีดร้อน ให้ใช้ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.
1227-2558 ชั้ น คุ ณ ภาพ SS400 และเหล็ ก โครงสร้ า งรู ป พรรณขึ้ น รู ป เย็ น ให้ ใ ช้ ต ามมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.1228-2549 ชั้นคุณภาพ SSC400
(3) เหล็ ก กล้ า ไร้ ส นิ ม (Stainless Steel) ให้ ใ ช้ ต ามมาตรฐาน JIS G4304 ชั้ น คุ ณ ภาพ
SUS304
(4) เหล็ ก หล่ อ ให้ ใ ช้ ต ามมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม เลขที่ มอก.536-2527
ชั้นคุณภาพ GCI 300
(5) เหล็กเพลา ให้ใช้ตามมาตรฐาน JIS G 4051 ชั้นคุณภาพ S45C
(6) ท่ อ เหล็ ก กล้ า ให้ ใ ช้ ต ามมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม เลขที่ มอก.276-2532
ประเภท 2
(7) ท่อเหล็กกล้าอาบสังกะสี ให้ใช้ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.277-2532
(8) สลักเกลียว ให้ใช้ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.171-2530 ชั้นสมบัติ
ไม่ต่ํากว่า 8.8
(9) แป้นเกลียว ให้ใช้ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.672-2530 ประเภท 1
ชั้นผลิตภัณฑ์ A หรือ B แบบ 1 ชั้นสมบัติไม่ต่ํากว่า 8

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
11 - 2 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 11 : งานโลหะ

(10) แหวนรองแบบเรียบและแบบสปริง ให้ใช้ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่


มอก.258-2521 และตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.259-2521
(11) ลวดเชื่อมเหล็กกล้า ให้ใช้ตามมาตรฐาน AWS A5.1 “Carbon Steel Electrodes for
Shielded Metal Arc Welding” Class E7016
(12) ลวดเชื่ อ มเหล็ ก กล้ า ไร้ ส นิ ม ให้ ใ ช้ ต ามมาตรฐาน AWS A5.4 “Stainless Steel
Electrodes for Shielded Metal Arc Welding” Class E308 หรือ E309L
11.4 การเตรียมวัสดุ
บรรดาเหล็กรูปพรรณ เหล็กเส้น เหล็กที่ตัดเป็นท่อน เหล็กแผ่น ท่อเหล็ก หรือเหล็กอื่น ๆ จะต้อง
นํามาตัด (Cutting) เจาะ (Drilling) งอ (Bending) และทําให้เข้ารูปตามขนาดที่กําหนดไว้ในแบบรูปและ
รายการละเอียด บรรดาเสี้ยน สะเก็ด ครีบ ที่เกิดจากการตัด หรือการเจาะจะต้องทําการไส หรือเจียร
หรือสกัดออกให้หมดจนผิวหน้าเรียบสม่ําเสมอ
รู (Holes) ที่จะใช้ขันสลัก (Bolts) เข้าไปจะใช้วิธีเจาะเพียงวิธีเดียว และจะต้องอยู่ในตําแหน่งที่
ถูกต้อง และเที่ยงตรงเพื่อขันสลักเข้าไปได้โดยง่าย และกระชับกันดี
11.5 การเชื่อมโลหะ (Welding Connection)
11.5.1 การเชื่อม และการทดสอบฝีมือช่างเชื่อม ให้ใช้ตามมาตรฐาน AWS D1.1 “Structural
Welding Code-Steel” หรือ ASME Section IX “Welding and Brazing Qualifications”
11.5.2 ช่างเชื่อมจะต้องผ่านการทดสอบฝีมือและมีใบรับรองฝีมือที่ออกให้โดยหน่วยงานราชการ
หรือสถาบันทดสอบฝีมือช่างที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุยอมรับ ในกรณีที่ช่างเชื่อมคนใดไม่ทํางานเชื่อม
ติดต่อกันมานาน คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะถือว่าช่างคนดังกล่าว ไม่มีคุณสมบัติที่จะปฏิบัติงาน พร้อมนี้
ช่างเชื่อมทุกคนที่ปฏิบัติงานเชื่อมจะต้องมีใบรับรองฝีมือที่เหมาะสมกับลักษณะงานด้วย
11.5.3 ถ้าผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างหรือคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ มีข้อสงสัยในคุณภาพ
ของงาน หรือฝีมือของช่างเชื่อม ผู้รับจ้างต้องจัดให้มีการทดสอบฝีมือช่างอีกครั้ง โดยให้หน่วยงานราชการ
หรือสถาบันทดสอบฝีมือช่างที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นชอบเป็นผู้ทดสอบ
11.5.4 บรรดางานเชื่อมทั้งมวลจะต้องใช้วิธีเชื่อมด้วยไฟฟ้า (Shielded Electric Arc Method) โดย
ใช้ช่างเชื่อมที่มีความรู้ความชํานาญ สามารถปฏิบัติงานได้มาตรฐานด้านฝีมือเป็นอย่างดี และได้รับการ
เห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างแล้ว
11.5.5 ผิวหน้าของโลหะที่จะนํามาเชื่อมจะต้องทําความสะอาดให้หมดสิ่งสกปรก เช่น สนิม ขี้เหล็ก
หรื อ เศษโลหะ สี ร องพื้ น ที่ ติ ด มากั บ เหล็ ก หรื อ วั ส ดุ ที่ ห ลุ ด หลวม (Loose Scale) ส่ ว นประกอบ
ที่ จ ะทํ า การเชื่ อ มให้ ติ ด กั น นั้ น จะต้ อ งวางอยู่ ใ นตํ า แหน่ ง ที่ ถู ก ต้ อ ง ในการเชื่ อ มจะต้ อ งจั ด ทํ า โดยให้
รอยเชื่อมสม่ําเสมอ และให้มีการหลอมเหลว (Fusion) ของลวดเชื่อมและแผ่นเหล็กโดยสมบูรณ์ ผลของการ
เชื่อมที่ถูกต้องนั้น รอยเชื่อมต้องสม่ําเสมอ ไม่เป็นตามด หรือรูโพรง (Gas Pockets) หรือการหลอมเหลวที่
ไม่สมบูรณ์ หลังการเชื่อมแต่ละครั้งจะต้องเคาะขี้เชื่อมออก เพื่อตรวจดูความเรียบร้อยและความถูกต้อง
ก่อนที่จะทําการทาสีต่อไป

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
11 - 3 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 11 : งานโลหะ

11.5.6 การลดความร้ อ นเหล็ ก เชื่ อ มโดยการนํ า ไปจุ่ ม น้ํ า หรื อ ราดด้ ว ยน้ํ า จะไม่ ย อมให้ ก ระทํ า
แต่จะต้องปล่อยให้เหล็กเชื่อมค่อย ๆ เย็นลงทีละน้อยจนมีอุณหภูมิใกล้เคียงกับอากาศโดยรอบ
11.6 การขันสลักเกลียว และแป้นเกลียว (Bolt Fastener)
รู (Holes) ที่จะต้องขันสลักเข้าไปในแต่ละส่วนจะต้องมีขนาดพอดีกัน และทิศทางตรงกัน โดย
จะต้องขจัดขุยเหล็ก หรือสิ่งสกปรกที่ติดอยู่ตามขอบรู หรือเกลียวให้สะอาด สลักที่จะสอดเข้าไปในชิ้นส่วน
ต่ า ง ๆ จะต้ อ งเป็ น เกลี ย วแบบมาตรฐาน (Whitworth) เป็ น หั ว หกเหลี่ ย ม ซึ่ ง มี แ ป้ น เกลี ย ว
หกเหลี่ยม (Hexagonal) และมีแหวนรอง (Washers) ที่เหมาะสม ปลายของสลักจะต้องโผล่ออกมาจาก
แป้นเกลียวประมาณ 5 มิลลิเมตร การขันสลักทุกครั้งห้ามใช้ค้อนตอก นอกจากจะใช้กุญแจปากตายค่อย ๆ
หมุนเข้าไปเท่านั้น
11.7 การประกอบและการก่อสร้าง (Assembly and Erection)
ชิ้นส่วนของงานโลหะจะต้องประกอบให้เสร็จเรียบร้อยไปจากโรงงาน และจะต้องทําการตรวจสอบ
ความถูกต้อง ก่อนที่จะฝังลงไปในคอนกรีต ก่อนการเทคอนกรีตจะต้องทําการตรวจสอบขั้นสุดท้าย เกี่ยวกับ
ขนาดต่าง ๆ (Dimensions) ระดับ (Leveled) ตําแหน่ง (Position) ให้อยู่ในสภาพถูกต้องตรงตามแบบรูป
และรายการละเอียดที่กําหนด
11.8 บานระบายตรง (Slide Gates)
วัสดุที่จะนํามาใช้ในการผลิต จัดทํา หรือประกอบการจัดทําก้านยกและโครงยกพร้อมอุปกรณ์ประกอบ
และบานฝาท่อ จะต้องผ่านการตรวจสอบคุณสมบัติทางกล และคณะกรรมการตรวจรับพัสดุอนุมัติให้นํามาใช้ใน
งาน
11.8.1 การเชื่อมประกอบบานฝาท่อ ให้ใช้ตามมาตรฐาน AWS D1.1 หรือ ASME Section IX
ลวดเชื่ อ มที่ จ ะนํ า มาใช้ ใ นงานจะต้ อ งมี ใ บรั บ รองคุ ณ ภาพจากบริ ษั ท ผู้ ผ ลิ ต บรรจุ ใ นกล่ อ งอย่ า งมิ ด ชิ ด
เพื่อป้องกันการเสียหายจากสภาวะอากาศ ก่อนนําไปใช้งานต้องอบลวดเชื่อมที่อุณหภูมิ 300-350 องศา
เซลเซียส ในเตาอบลวดเชื่อมเป็นเวลา 60 นาที และลวดเชื่อมที่อยู่นอกเตาอบเกิน 4 ชั่วโมง จะต้อง
นํากลับเข้าเตาอบ ก่อนนํามาใช้งาน
11.8.2 กรรมวิธีการผลิต เช่น การกัด การตัด การเจาะ การกลึง การคว้าน การไส และ
อื่น ๆ จะต้องดําเนินการด้วยเครื่องจักร เครื่องมือที่เหมาะสมกับลักษณะงาน เพื่อให้ได้มาซึ่งชิ้นงานที่มี
คุณภาพ เป็นระเบียบเรียบร้อย ในกรณีที่ผู้รับจ้างดําเนินการโดยวิธีที่ไม่เหมาะสมและส่งผลให้ได้ชิ้นงาน
ที่ไม่มีคุณภาพ หรือไม่เรียบร้อย หรือไม่ปลอดภัยสําหรับการใช้งาน คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสามารถ
สั่งการให้ผู้รับจ้างแก้ไขงานดังกล่าวได้ โดยค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบทั้งหมด
11.8.3 ชิ้นส่วนที่จัดทําหรือขึ้นรูปด้วยการหล่อ อาทิเช่น กรอบบาน เฟือง ฯลฯ จะต้องปราศจาก
รอยแตก รอยร้าว รูพรุนหรือสิ่งบกพร่องต่าง ๆ ที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า และต้องปรับแต่งด้วย
เครื่องจักร หรือเครื่องมือกลให้ได้รูปร่าง ขนาดและพิกัดต่าง ๆ ถูกต้องตามแบบรูปและรายการละเอียด
11.8.4 กรอบบาน เหล็กเสริม และซีลบาน จะต้องผ่านการไส หรือปาดด้วยเครื่องจักรกล ให้ได้
ขนาดและพิกัดต่าง ๆ ถูกต้องตามแบบรูปและรายการละเอียด
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
11 - 4 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 11 : งานโลหะ

11.8.5 เฟืองต้องกัดด้วยเครื่องจักร ค่าพิกัดต่าง ๆ ต้องถูกต้องตามแบบรูปและรายการละเอียด และ


ตามมาตรฐาน AGMA
11.8.6 ก้านยกและโครงยกพร้อมอุปกรณ์ประกอบ และบานฝาท่อ จะต้องจัดทําและประกอบสําเร็จ
จากโรงงานผู้ผลิต ระหว่างทําการผลิตหรือประกอบจะต้องตรวจสอบขนาดและพิกัดต่าง ๆ รวมถึงการทํางาน
เป็นระยะ ๆ หากพบข้อผิดพลาด หรือความคลาดเคลื่อนใดเกิดขึ้น ให้แก้ไขให้เรียบร้อย เมื่อประกอบแล้วเสร็จ
ก้านยกและโครงยกพร้อมอุปกรณ์ประกอบ และบานฝาท่อต้องมีชิ้นส่วน รูปร่าง ขนาดและพิกัดต่าง ๆ ถูกต้อง
และสามารถใช้งานร่วมกันได้เป็นอย่างดี
11.8.7 การเคลือบสี
ในกรณีที่ในแบบรูปและรายการละเอียดไม่ได้กําหนดไว้เป็นอย่างอื่น ให้ผู้รับจ้างทําการเคลือบ
ผิวก้านยกและโครงยกพร้อมอุปกรณ์ประกอบ และบานฝาท่อตามรายละเอียดต่าง ๆ ดังนี้
(1) การเลือกใช้สี และส่วนผสมต่าง ๆ สํ าหรับการเคลือบสี ให้เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ผู้ผลิต
เดียวกันและให้ปฏิบัติตามคําแนะนําของผู้ผลิตอย่างเคร่งครัด
(2) ก่อนเคลือบสีให้เตรียมพื้นผิวเหล็กโดยวิธีพ่นทรายหรือเม็ดโลหะให้ได้ความสะอาดระดับ
Near-White Blast Cleaning ตามมาตรฐาน SSPC-SP10 และให้เคลือบสีรองพื้นทันที เมื่อเตรียมผิวเสร็จ
(3) บานฝาท่อให้เคลือบผิวด้วยสีมาสติกอีพ็อกซี 2 ชั้น ๆ ละ 200 ไมครอน ความหนารวม
ของฟิล์มสีเมื่อแห้งไม่น้อยกว่า 400 ไมครอน
(4) ก้านยกและโครงยกพร้อมอุปกรณ์ประกอบ ให้เคลือบผิวด้วยสีอัลคิด รองพื้นด้วย Alkyd
primer 2 ชั้น ๆ ละ 40 ไมครอน และทับหน้าด้วย Alkyd Topcoat 1 ชั้น หนา 40 ไมครอน ความ
หนารวมของฟิล์มสีเมื่อแห้งต้องไม่น้อยกว่า 120 ไมครอน
(5) ชิ้นส่วนหรือพื้นผิวโลหะที่ไม่ต้องทําการเคลือบสี ได้แก่ ฟันเฟือง ผิวโลหะที่ผ่านการชุบ
ผิวแล้ว เหล็กกล้าไร้สนิม และผิวโลหะส่วนที่จะฝังในคอนกรีต
11.8.8 การติดตั้ง
ก้านยกและโครงยกพร้อมอุปกรณ์ประกอบ และบานฝาท่อ จะต้องติดตั้งในช่อง Blockout
ที่เตรียมไว้ ตามที่แสดงไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด ในการติดตั้งจะต้องปรับตั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้ได้แนว
ได้ ระดั บ และได้ ระนาบที่ เ หมาะสมสํ าหรั บการใช้ งาน ก่ อนทํ าการขั นยึ ดแป้ นเกลี ยวเข้ ากั บสลั กเกลี ยว
ฝั ง คอนกรี ต ที่ ฝั ง เตรี ย มไว้ ก่ อ นแล้ ว ในงานก่ อ สร้ า ง ระหว่ า งทํ า การขั น ยึ ด แป้ น เกลี ย วให้ ต รวจสอบ
ความคลาดเคลื่อนเป็นระยะ ๆ หากพบข้อผิดพลาดใดเกิดขึ้นให้แก้ไขให้เรียบร้อย และให้เทคอนกรีตปิดช่อง
Blockout ก้านยกและโครงยกพร้อมอุปกรณ์ประกอบ และบานฝาท่อที่ติดตั้งแล้วเสร็จจะต้องสามารถเปิดบาน
ได้ร้อยละ 100 และปิดบานได้ร้อยละ 100 มีความมั่นคง แข็งแรง ขนาดและพิกัดต่าง ๆ ถูกต้องตามแบบรูป
และรายการละเอียด บานฝาท่อมีอัตราการรั่วของน้ําผ่านบานไม่เกิน 0.2 แกลลอนต่อนาที (U.S. Gallon per
Minute) ต่อความยาวขอบเปียกของบานฝาท่อในหน่วยฟุต และสามารถใช้งานได้เป็นอย่างดีตามวัตถุประสงค์
ของงาน

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
11 - 5 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 11 : งานโลหะ

11.9 การทาสีงานโลหะ (Painting for Metal Work)


11.9.1 งานทั่วไป
ผู้รับจ้างจะต้องทําการทาสีงานโลหะทั้งหมด (ยกเว้นท่อเหล็กอาบสังกะสี) โดยใช้สีเสนบริสุทธิ์
(Prime Coat of Pure Red Lead) กับน้ํามัน (Linseed) สําหรับเป็นสีรองพื้นชั้นแรกก่อนหนึ่งชั้น เมื่อ
ประกอบงานเหล็กเสร็จแล้ว จะต้องทาสีทับอีกสองชั้น ก่อนทาจะต้องทําความสะอาดตกแต่งตามที่จําเป็น
อาทิเช่น ขัดสนิม เคาะสะเก็ดโดยการพ่นด้วยทราย (Sand Blast) หรือขัดด้วยแปรงลวด
สําหรับส่วนที่จมอยู่ใต้น้ํา จะต้องทาด้วยน้ํามันดิน (Coal Tar) ทับอีก 3 ชั้น
11.9.2 สีที่ใช้ (Paint Materials)
สีที่ใช้สําหรับรองพื้นกับงานโลหะต่าง ๆ จะต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
ก่อนนําไปใช้ สีที่ใช้จะต้องนํามาเก็บไว้ในบริเวณงานก่อสร้างในสภาพเดิมที่ยังไม่มีการเปิดฝากระป๋อง และเมื่อ
เปิดฝาแล้วจะต้องป้องกันมิให้สิ่งสกปรก หรือสิ่งแปลกปลอมเข้าไปเจือปนได้
การนําเอาน้ํามันผสมให้สีใสขึ้นจะไม่ยอมให้กระทํา เว้นแต่ว่าจะมีรายละเอียดคําแนะนําของ
โรงงานผู้ผลิตแสดงไว้ และจะต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด
11.9.3 การเตรียมผิวหน้าโลหะก่อนทาสี (Surface Preparation)
ผิ ว หน้ า ของวั ส ดุ ที่ จ ะทาสี จ ะต้ อ งทํ า ความสะอาด โดยการกํ า จั ด สนิ ม ที่ ผิ ว เหล็ ก ที่ เ กิ ด ใน
เนื้ อเหล็ ก สิ่ งสกปรกและวัส ดุแ ปลกปลอมทั้งมวล โดยการขั ดด้ วยแปรงลวด หรืออุปกรณ์ ที่ขั บเคลื่อน
ด้วยไฟฟ้า หรือการพ่นด้วยทราย ส่วนน้ํามัน หรือจารบีที่ติดอยู่จะต้องใช้น้ํามันก๊าด หรือน้ํามันเบนซินล้าง
ออกให้หมด เมื่อเช็ดให้แห้งแล้ว จะต้องเริ่มทําการทาสีรองพื้นทันที
11.9.4 วิธีการทาสี (Application of Paint)
การทาสีรองพื้นชั้นแรกต้องทาด้วยแปรง โดยจะต้องกระทําในวันที่ทําความสะอาดผิวหน้าของ
โลหะเสร็จใหม่ ๆ ส่วนการทาสีในชั้นต่อ ๆ ไป อาจใช้วิธีพ่น (Spray) แต่จะต้องกระทําตามคําแนะนําของ
ผู้ผลิตให้ได้ความหนาของสีแต่ละชั้นอย่างเคร่งครัด
ผิวหน้าของโลหะต้องแห้งสนิทในขณะกําลังทาสี โดยต้องทาสีติดต่อกันไปโดยตลอดให้มีความ
หนาสม่ําเสมอ ไม่ให้มีรอยสีหลุด หรือไหล โหว่ หรือเป็นแนวย้อย
ถ้าเกิดความเสียหายเพราะเครื่องจักร รอยขีดข่วน รอยลอก และรอยแยกไม่ประสานกัน
จะต้องทําการซ่อมแซมให้เรียบร้อย และในการทาสีชั้นต่อ ๆ ไป จะต้องรอให้สีชั้นที่แล้วแห้งสนิทเสียก่อน
รวมทั้งทําการเป่าฝุ่นละอองที่เกาะติดอยู่ออกให้หมด
การปฏิบัติงานทาสี การซ่อม และขั้นตอนต่าง ๆ ตั้งแต่เริ่มงานจนกระทั่งเสร็จงาน จะต้อง
ปฏิบัติงานโดยใช้ช่าง หรือคนงานที่มีฝีมือ และมีความชํานาญทางด้านนี้โดยเฉพาะ ทั้งนี้ ต้องเป็นที่ยอมรับ
ของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง และการปฏิบัติงานทุกขั้นตอนต้องอยู่ภายใต้การควบคุมดูแ ลของ
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง การปฏิบัติงานทาสีจะเริ่มไม่ได้หากผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างยังไม่ให้
การรับรองว่าผิวหน้าสะอาดดีแล้ว สิ่งที่ผู้รับจ้างกระทําไว้โดยไม่ถูกขั้นตอน จะต้องทําการชําระออกให้หมด

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
11 - 6 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 11 : งานโลหะ

แล้วทําความสะอาดใหม่ จนกระทั่งเป็นที่พอใจของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง ซึ่งผู้รับจ้างจะไม่มีการ


เรียกร้องค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น
11.9.5 ชนิดของสีและวัสดุรองพื้น (Coating and Primer)
(1) งานเหล็กที่สัมผัสอากาศ
จะต้องทาสีรองพื้ นด้วย Zinc Rich Epoxy Primer หนาไม่น้อยกว่ า 0.03 มิลลิเมตร
จํานวน 1 ชั้น ชั้นที่สองทาด้วย Chlorinated Rubber Based Primer หนาอย่างน้อย 0.07 มิลลิเมตร
ชั้นที่สาม และชั้นที่สี่ ให้ทาด้วย Chlorinated Rubber Based Finish จํานวน 2 ชั้น หนาชั้นละไม่น้อยกว่า
0.035 มิลลิเมตร
(2) งานเหล็กที่จมอยู่ใต้น้ํา
จะต้ อ งเคลื อ บด้ ว ยสี ชนิ ด High Build Coal Tar Epoxy 3 ชั้ น ชั้ น แรกหนา
ไม่น้อยกว่า 0.05 มิลลิเมตร ชั้นที่สองหนาไม่น้อยกว่า 0.15 มิลลิเมตร และชั้นที่สามหนาไม่น้อยกว่า 0.20
มิลลิเมตร การเคลือบสีทั้งสามชั้นต้องกระทําจากโรงงาน
11.10 ราวกันตก
11.10.1 ผู้รับจ้างจะต้องจัดทําราวกันตกทําด้วยท่อเหล็กกล้าอาบสังกะสี (Galvanized Steel Pipes)
ตามมาตรฐานผลิ ตภั ณฑ์ อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.277-2532 เว้นแต่จะระบุเป็นอย่ างอื่นในแบบรู ปและ
รายการละเอียด อันมีองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น ท่อเหล็กหน้าตัดสี่เหลี่ยมจัตุรัส แผ่นเหล็กฐาน ตัวเชื่อมต่าง ๆ
สลักเกลียวและรายการเบ็ดเตล็ดต่าง ๆ ราวกันตกที่เป็นเหล็กจะต้องติดตั้งโดยผู้รับจ้างในตําแหน่งที่แสดงใน
แบบรูปและรายการละเอียด และจะต้องจัดทําราวกันตกที่ติดตายหรือถอดได้รวมทั้งโซ่กั้นเพื่อความปลอดภัย
และจะต้องติดตั้งที่บริเวณที่แสดงในแบบรูปและรายการละเอียด
11.10.2 การต่ อ เชื่ อ มชิ้ น ส่ ว นทั้ ง ในโรงงานและในสนามจะต้ อ งทํ า โดยการเชื่ อ มนอกเสี ย จาก
จะกําหนดเป็นอย่างอื่นในแบบรูปและรายการละเอียด รอยเชื่อมต่าง ๆ จะต้องถูกขัดจนเรียบ ราวกันตกควร
จะทําด้วยเหล็กกล้าอาบสังกะสี หรือทาสีหลังจากประกอบติดตั้งแล้วดังสีที่ระบุในแบบรูปและรายการละเอียด
หากผิวเหล็กอาบสังกะสีนี้ได้รับความเสียหายในสนาม จะต้องทําการซ่อมแซมหรือเปลี่ยนใหม่ตามคําสั่งของ
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
11.10.3 ราวกันตกจะต้องมีการเตรียมการอย่างระมัดระวังก่อนประกอบติดตั้ง เพื่อให้มั่นใจว่าเข้ากัน
ได้ ดี กั บ ส่ ว นต่ อ เชื่ อ มที่ มี อ ยู่ ถั ด ไป และอยู่ ใ นแนวที่ ถู ก ต้ อ งตลอดความยาว ราวกั น ตกที่ จ ะต้ อ งติ ด ตั้ ง
เมื่อมีการเทคอนกรีต หรือเว้นช่องไว้ (Recess) หรือมีการเจาะเข้าไปในคอนกรีตเพื่อการยึดให้แน่น และ
ติดตั้งราวกันตกและยาแนว (Grouted) ด้วยคอนกรีตให้แน่นในเวลาต่อมา
11.11 แผ่นวัดระดับ (Staff Gauge)
11.11.1 ทั่วไป
ผู้รับจ้างจะต้องส่งมอบและติดตั้งแผ่นวัดระดับดังแสดงในแบบรูปและรายการละเอียด หรือตาม
คําสั่งของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง ตําแหน่งที่ตั้งและระดับของไม้วัดระดับจะต้องกําหนดไว้แน่นอน
ตามข้อกําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด หรือตามคําสั่งของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
11 - 7 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 11 : งานโลหะ

11.11.2 วัสดุ
แผ่นวัดระดับจะต้องทําจากแผ่นเหล็กกล้า ซึ่งมีความหนาอย่างน้อย 2 มิลลิเมตร และผิวหน้า
จะต้ อ งเคลื อ บด้ ว ยอี น าเมล (Enamel) การแบ่ ง ช่ อ งแสดงระยะห่ า งบนแผ่ น เหล็ ก จะต้ อ งเป็ น ไปตาม
รายละเอียดที่ระบุไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด รายละเอียดของสี เป็นไปตามที่แสดงไว้ในแบบรูปและ
รายการละเอียด
อี น าเมล จะประกอบด้ ว ยชั้ น รองพื้ น 1 ชั้ น และผิ ว หน้ า 1 ชั้ น ซึ่ ง ทาและอบให้ มี
ความหนาเท่ากันตลอด มีสีที่เป็นเนื้อเดียวกันและมีความสม่ําเสมอกันตลอด ผิวสุดท้ายจะต้องราบเรียบแบบ
เปลือกไข่ รูต่าง ๆ บนแผ่นวัดระดับจะต้องเจาะก่อนจะเคลือบด้วยอีนาเมล
11.11.3 การติดตั้ง
ผู้รับจ้างจะต้องติดตั้งแผ่นวัดระดับตามข้อกําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด หรือตาม
คําสั่งของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง รูที่ใช้สําหรับการติดตั้งจะต้องอยู่ในตําแหน่งที่กําหนดและเจาะ
อย่างเที่ยงตรงตามแบบรูปและรายการละเอียด แผ่นวัดระดับจะต้องมีผิวหน้าที่เรียบปราศจากการบิด แตก
หรือมีข้อบกพร่องหรือจุดบกพร่องที่สังเกตได้อื่น ๆ ภายหลังการติดตั้งแล้ว
11.12 ตะแกรงกันสวะ (Trashrack)
11.12.1 ทั่วไป
ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาและติดตั้งตะแกรงกันสวะ (Trashrack) และตะแกรงเหล็กอื่น ๆ ดังแสดง
ในแบบรูปและรายการละเอียด หรือตามคําสั่งของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง ขนาดและตําแหน่งที่
ติดตั้งตะแกรงกันสวะ (Trashrack) เป็นไปตามข้อกําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด หรือตามคําสั่งของ
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้าง
11.12.2 วัสดุ
(1) สลั กเกลี ยว แป้ นเกลี ยว และแหวนรอง ให้ ใช้ Stainless Steel ตามมาตรฐาน JIS
G 4304 SUS 304 นอกจากจะกําหนดไว้เป็นอย่างอื่น
(2) แผ่นเหล็ก จะต้องอาบสังกะสีชนิด Hot-dip Process ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
เลขที่ มอก.1479-2558 ชั้นคุณภาพ SS 400 ลวดตาข่ายเคลือบสังกะสีใช้ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
เลขที่ มอก.208-2521 และลวดหนามเคลือบสังกะสีเบอร์ 14 ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่
มอก.76-2517
(3) เหล็ ก รู ป พรรณ จะต้ อ งอาบสั ง กะสี ช นิ ด Hot-dip Process และตามมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.1227-2558 ชั้นคุณภาพ SS 400 และอาบสังกะสี ชนิด Hot-dip
11.12.3 การติดตั้ง
(1) ผู้รับจ้างจะต้องประกอบตะแกรงกันสวะ (Trashrack) ตะแกรงเหล็ก ให้ได้ขนาดถูกต้อง
ตามที่แสดงในแบบรูปและรายการละเอียด จากนั้นจึงนําไปติดตั้งให้ตรงตามตําแหน่งที่แสดงในแบบรูปและ
รายการละเอียด โดยไม่เกิดการโก่งงอ และมีความมั่นคงแข็งแรง

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
11 - 8 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 11 : งานโลหะ

(2) การเชื่อมเหล็กให้เชื่อมด้วยวิธี Butt-welded จะต้องได้ตามมาตรฐาน AWS D1.1 หรือ


ตามที่กําหนดในแบบรูปและรายการละเอียด
11.12.4 การเคลือบผิว (Protective Coating)
(1) ผิวของเหล็กอาบสังกะสี ต้องอาบด้วยสังกะสีหนาสม่ําเสมอติดต่อกันในอัตราไม่น้อยกว่า
0.30 กิโลกรัมต่อตารางเมตร และความหนาของสังกะสีที่จุดใดก็ตามต้องไม่น้อยกว่า 0.09 มิลลิเมตร
(2) ในกรณีผิวที่อาบสังกะสีเป็นแผลขีดข่วนระหว่างทําการประกอบ หรือในขณะขนย้ายก็ตาม
จะต้องทาสีทับที่รอยขีดข่วนนั้นโดยเร็วที่สุดที่จะทําได้ตามวิธีการต่อไปนี้
- ขัดผิวจนถึงเนื้อเหล็กจนเป็นมันวาว
- ขัดตะเข็บอาบสังกะสีโดยรอบบริเวณนั้น ให้เนียนกลมกลืนกับผิวเหล็ก
- ล้างไขมันออกด้วยวิธีตาม SSPC-SP1
- ทาด้วยสีชนิด Zinc Rich Primer 2 ชั้น ความหนาของสีที่แห้งรวมกันต้องไม่น้อยกว่า
0.075 มิลลิเมตร
(3) ผิวเหล็ก หลังจากได้ผลิตได้ขนาดและรูปร่างตามแบบรูปและรายการละเอียด และผ่านการ
ตรวจสอบของผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างแล้ว ให้ผู้รับจ้างทําความสะอาดตามผิวเหล็ก ทําการเคลือบผิว
ตามที่ระบุในแบบรูปและรายการละเอียด และตามรายละเอียดด้านวิศวกรรม หรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง
ของผู้ว่าจ้างสั่งการ
11.13 บันไดลิง
11.13.1 ผู้รับจ้างจะต้องจัดทําและติดตั้งบันไดลิง ให้ได้ขนาดและตําแหน่งดังแสดงในแบบรูปและ
รายการละเอียด หรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นสมควร
11. 13. 2 เ ห ล็ ก บั น ไ ด ลิ ง ใ ห้ ใ ช้ เ ห ล็ ก เ ส้ น ก ล ม ชั้ น คุ ณ ภ า พ SR 24 ต า ม ม า ต ร ฐ า น
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.20-2559 หรือตามที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้
11.14 บันไดเหล็กและราวบันได
11.14.1 ผู้รับจ้างจะต้องจัดทําและติดตั้งงานบันไดเหล็กและราวบันได ให้ได้ขนาดและตําแหน่งดัง
แสดงในแบบรูปและรายการละเอียด หรือตามที่ผู้ควบคุมงานก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นสมควร
11.14.2 เสาราวบันไดและราวกันตก จัดทําจากท่อเหล็กกล้าอาบสังกะสี ตามมาตรฐานผลิ ตภั ณฑ์
อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.277-2532
1.14.3 แม่ บั น ได ตง และขอบชานพั ก จั ด ทํ า จากเหล็ ก โครงสร้ า งรู ป พรรณรี ด ร้ อ น ให้ ใ ช้ ต าม
มาตรฐานผลิ ตภั ณ ฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.1227-2558 ชั้นคุ ณภาพ SS400 และเหล็ กโครงสร้าง
รู ป พรรณขึ้ น รู ป เย็ น ให้ ใ ช้ ต ามมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม เลขที่ มอก.1228-2549 ชั้ น คุ ณ ภาพ
SSC400
1.14.4 พื้ นลู กนอน จะต้ องใช้ Checker Plate หนา 2.3 มิ ลลิ เมตร ตามมาตรฐานผลิ ตภั ณฑ์
อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.1479-2558 ชั้นคุณภาพ SS400

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
11 - 9 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 11 : งานโลหะ

11.14.5 แผ่นเหล็ก จะต้องอาบสังกะสีชนิด Hot-dip Process ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม


เลขที่ มอก.1479-2558 ชั้นคุณภาพ SS 400
11.14.6 สลักเกลียว ให้ใช้ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.171-2530 ชั้นสมบัติ
ไม่ต่ํากว่า 8.8
11.14.7 แป้นเกลียว ให้ใช้ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.672-2530 ประเภท 1
ชั้นผลิตภัณฑ์ A หรือ B แบบ 1 ชั้นสมบัติไม่ต่ํากว่า 8
11.15 งานจั ด หาและติ ด ตั้ ง Trash Boom ขนาด 400x2000 มม. พร้ อ มเชื อ กลวดและ
อุปกรณ์ประกอบ
11.15.1 ผู้รับจ้างจะต้องจัดทําและติดตั้ง Trash Boom ขนาด 400x2000 มม. พร้อมเชือกลวดและ
อุปกรณ์ประกอบ ให้ได้ขนาดและตําแหน่งดังแสดงในแบบรูปและรายการละเอียด หรือตามที่ผู้ควบคุมงาน
ก่อสร้างของผู้ว่าจ้างเห็นสมควร
11.15.2 Trash Boom และอุ ป กรณ์ ป ระกอบ ให้ ใ ช้ เ หล็ ก รู ป พรรณ ตามมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์
อุตสาหกรรม เลขที่ มอก.116-2529 หรือตามที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้
11.15.3 ถังเหล็กภายในบรรจุด้วย POLYSTYRENE FOAM ให้เต็ม โดยรอยเชื่อมทุกแห่งต้องมีขนาด
ไม่น้อยกว่า 6 มิลลิเมตร นอกจากแสดงไว้เป็นอย่างอื่น หรือตามที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้
11.15.4 การเคลือบสีท่อเหล็กและเหล็กเส้นผ่านศูนย์กลาง 75 มิลลิเมตร ต้องเตรียมพื้นผิวเหล็ก
โดยวิธีพ่นทรายหรือพ่นด้วยเม็ดโลหะให้ได้ตามมาตรฐาน SSPC-SP-10 ก่อนรองพื้น
- ลีรองพื้นใช้ ZINC RICH EPOXY หนาไม่น้อยกว่า 0.05 มิลลิเมตร
- ลีเคลือบใช้ COAL TAR EPOXY หนาไม่น้อยกว่า 0.05 มิลลิเมตร
11.16 การวัดปริมาณงานและการจ่ายเงิน
11.16.1 งานจัดหาและติดตั้งตะแกรงกันสวะ
(ก) งานจัดหาและติดตั้งงานตะแกรงกันสวะ (Trashrack) ขนาด 5.20x1.012 ม.
(ข) งานจัดหาและติดตั้งงานตะแกรงกันสวะ (Trashrack) ขนาด 5.50x1.012 ม.
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรั บ พั ส ดุ จ ะตรวจวั ด ปริ ม าณงานจั ด หาและติ ด ตั้ ง ตะแกรงกั น สวะ
ตามรายการที่แสดงไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานเสร็จเรียบร้อย
แล้วตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงาน
นั้นมีหน่วยเป็นชุด ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายใน
ขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
เป็นเกณฑ์
ในกรณีงานจัดหาและติดตั้งตะแกรงกันสวะ อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารตามที่แสดงไว้
ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิด
รวมไว้ในงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
11 - 10 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 11 : งานโลหะ

การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นชุด ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและ
ราคาของสัญญานี้ อัตราต่อหน่วยในงานที่เกี่ยวข้องนี้ให้รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร วัสดุ อุปกรณ์ ค่า
ขนส่ง แรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์
11.16.2 งานฝาตะแกรงเหล็กปิดรางระบายน้ํา ขนาด 1.00x0.38 ม.
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรั บ พั ส ดุ จ ะตรวจวั ด ปริ ม าณงานฝาตะแกรงเหล็ ก ปิ ด รางระบายน้ํ า
ตามรายการที่แสดงไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานเสร็จเรียบร้อย
แล้วตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงาน
นั้นมีหน่วยเป็นชุด ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายใน
ขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
เป็นเกณฑ์
ในกรณีงานจัดหาและติดตั้งฝาตะแกรงเหล็กปิดรางระบายน้ํา อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงาน
อาคารตามที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยก
ตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้ในงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นชุด ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและ
ราคาของสัญญานี้ อัตราต่อหน่วยในงานที่เกี่ยวข้องนี้ให้รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร วัสดุ อุปกรณ์ ค่า
ขนส่ง แรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์
11.16.3 งานเหล็กรูปพรรณ เหล็กฉากขาเท่ากัน (Equal angles) L ขนาด 150x150x12 มม.
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานเหล็กรูปพรรณ เหล็กฉากขาเท่ากัน (Equal
angles) L ตามรายการที่แสดงไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางาน
เสร็จเรียบร้อยแล้วตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการ
ตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นกิโลกรัม ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตาม
ปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานจัดหาและติดตั้งงานเหล็กรูปพรรณ เหล็กฉากขาเท่ากัน (Equal angles) L อยู่
ภายในขอบเขตสํ า หรั บ งานอาคารตามที่ แ สดงไว้ ใ นใบแจ้ ง ปริ ม าณงานและราคาที่ มี ห น่ ว ยเป็ น แห่ ง
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้ในงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
11 - 11 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 11 : งานโลหะ

การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นกิโลกรัม ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงาน
และราคาของสัญญานี้ อัตราต่อหน่วยในงานที่เกี่ยวข้องนี้ให้รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร วัสดุ อุปกรณ์
ค่าขนส่ง แรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์
11.16.3 งานราวกันตก
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานราวกันตก ตามรายการที่แสดงไว้ในรายการ
ใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานเสร็จเรียบร้อยแล้วตามที่คณะกรรมการตรวจ
รับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นเมตร ตาม
ขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานจัดหาและติดตั้งงานราวกันตก อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารตามที่แสดงไว้
ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิด
รวมไว้ในงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นเมตร ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและ
ราคาของสัญญานี้ อัตราต่อหน่วยในงานที่เกี่ยวข้องนี้ให้รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร วัสดุ อุปกรณ์ ค่า
ขนส่ง แรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์
11.16.4 งานเหล็กรูปพรรณชนิดต่าง ๆ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะไม่แยกตรวจวัดปริมาณงานเหล็กรูปพรรณชนิดต่าง ๆ ให้ แต่ให้
ผู้รับจ้างคิดค่าใช้จ่ายอยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้องตามที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณ
งานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง
11.16.5 ก้านยกและโครงยกพร้อมอุปกรณ์ประกอบ และบานฝาท่อ
คณะกรรมการตรวจรั บ พั ส ดุ จ ะไม่ ต รวจวั ด ปริ ม าณงานก้ า นยกและโครงยกพร้ อ มอุ ป กรณ์
ประกอบ และบานฝาท่อต่าง ๆ ให้ แต่ให้ผู้รับจ้างคิดค่าใช้จ่ายอยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารแต่ละแห่ง
ที่เกี่ยวข้องตามที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง
11.16.6 งานแผ่นวัดระดับน้ํา
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานแผ่นวัดระดับน้ํา ตามรายการที่แสดงไว้ใน
รายการใบแจ้ ง ปริ ม าณงานและราคาของสั ญ ญานี้ เมื่ อ ผู้ รั บ จ้ า งได้ ทํ า งานเสร็ จ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว ตามที่
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วย
เป็นชุด ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
11 - 12 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 11 : งานโลหะ

ในกรณีงานจัดหาและติดตั้งแผ่นวัดระดับน้ํา อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารตามที่แสดง
ไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะ
คิดรวมไว้ในงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นชุด ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและ
ราคาของสัญญานี้ อัตราต่อหน่วยในงานที่เกี่ยวข้องนี้ให้รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร วัสดุ อุปกรณ์
ค่าขนส่ง แรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์
11.16.7 งานบันไดลิง ขนาด Ø 15 มม.
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานบันไดลิง ขนาด Ø 15 มม. ตามรายการที่
แสดงไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานเสร็จเรียบร้อยแล้วตามที่
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วย
เป็นขั้น ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นขั้น ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและ
ราคาของสัญญานี้ อัตราต่อหน่วยในงานที่เกี่ยวข้องนี้ให้รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร วัสดุ อุปกรณ์ ค่า
ขนส่ง แรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์
11.16.8 งานบันไดเหล็กและราวบันได
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะตรวจวัดปริมาณงานบันไดเหล็กและราวบันได ตามรายการที่
แสดงไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานเสร็จเรียบร้อยแล้วตามที่
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วย
เป็นแห่ง ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นแห่ง ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและ
ราคาของสัญญานี้ อัตราต่อหน่วยในงานที่เกี่ยวข้องนี้ให้รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องจักร-
เครื่องมือ ค่าขนส่ง แรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
11 - 13 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ
รายละเอียดด้านวิศวกรรม บทที่ 11 : งานโลหะ

11.16.9 งานจัดหาและติดตั้ง Trash Boom ขนาด 400x2000 มม. พร้อมเชือกลวดและอุปกรณ์


ประกอบ
การวัดปริมาณงาน
คณะกรรมการตรวจรั บ พั ส ดุ จ ะตรวจวั ด ปริ ม าณงานจั ด หาและติ ด ตั้ ง Trash Boom ขนาด
400x2000 มม. พร้อมเชือกลวดและอุปกรณ์ประกอบ ตามรายการที่แสดงไว้ในรายการใบแจ้งปริมาณงานและ
ราคาของสัญญานี้ เมื่อผู้รับจ้างได้ทํางานเสร็จเรียบร้อยแล้วตามที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นสมควร โดย
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะทําการตรวจวัดปริมาณงานนั้นมีหน่วยเป็นชุด ตามขอบเขตที่แบบรูปและรายการ
ละเอียดกําหนดไว้ หรือตามปริมาณที่ทําได้จริงภายในขอบเขตที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุสั่งการ โดยให้
ยึดถือการวัดปริมาณงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเป็นเกณฑ์
ในกรณีงานจัดหาและติดตั้ง Trash Boom ขนาด 400x2000 มม. พร้อมเชือกลวดและอุปกรณ์
ประกอบ อยู่ภายในขอบเขตสําหรับงานอาคารตามที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและราคาที่มีหน่วยเป็นแห่ง
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะไม่แยกตรวจวัดให้แต่จะคิดรวมไว้ในงานอาคารแต่ละแห่งที่เกี่ยวข้อง
การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้ในอัตราต่อหน่วยเป็นชุด ตามรายการที่แสดงไว้ในใบแจ้งปริมาณงานและ
ราคาของสัญญานี้ อัตราต่อหน่วยในงานที่เกี่ยวข้องนี้ให้รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องจักร วัสดุ เชือกลวด
อุปกรณ์ ค่าขนส่ง แรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อให้งานบรรลุวัตถุประสงค์

งานจ้างก่อสร้างสถานีสูบน้ําและอาคารประกอบ โครงการสถานีสูบน้ําด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ําตําบลดู่
11 - 14 ตําบลกุง อําเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ

You might also like