You are on page 1of 96

บทที่ 9 การออกแบบอาคารโครงข้อแข็ง คสล.

ต้านแผ่นดินไหว

ศ.ดร.อมร พิมานมาศ
ดร. ภาณุวฒ
ั น์ จ้อยกลัด
ดร. ปรีดา ไชยมหาวัน
รายละเอียดการออกแบบ
 จงออกแบบรายละเอียดเหล็กเสริมในคานและเสาสาหรับอาคารสูง
6 ชัน้ ชนิดโครงข้อแข็ง (Frame building)
 ออกแบบให้เป็ นโครงต้านทานแรงดัดที่มีความเหนี ยวจากัด
(Ductile Moment-Resisting Frame with Limited Ductility) ใน
“บริเวณที่ 1” ตามกฎกระทรวงฉบับ ปี พ.ศ.2550
รูปที่ 1.1 (ก) แปลนอาคาร คาน BL 20x45
y

C BL C BL C BL C BL C BL C BL C

คาน BT 25x50 BT1 BT1 BT1 BT1 BT 1 BT1 BT 1

5.0
4.2
C BL C BL C BL C BL C BL C BL C

BT2 BT2 BT2 x

3.0
2.8
BT 2 BT2 BT2 BT2
C C C C C C C
BL BL BL BL BL BL

เสา 30x50

5.0
4.2
BT1 BT1 BT1 BT1 BT 1 BT1 BT 1

C BL C BL C BL C BL C BL C BL C

3.0 3.0 3.0 3.0 3.0 3.0


รูปที่ 1.1 (ข) ระดับอาคาร
+22.00

3.5 C C C C
+18.50

C C C C
3.5

+15.00

C C C C
3.5

+11.50
3.5

C C C C
+8.00

C C C C
3.5

+4.50 BT1 BT2 BT1

C 4.2 C 2.8 C 4.2 C


4.5

+0.00
6@3.0 = 18.0m 5.0 3.0 5.0

Longitudinal Transverse
มาตรฐาน
(1) กฏกระทรวง กาหนดการรับน้าหนัก ความต้านทาน ความคงทนของ
อาคารและพืน้ ที่รองรับอาคารในการต้านทานแรงสันสะเทื
่ อนของ
แผ่นดินไหว ฉบับปี พ.ศ. 2550  เอกสารแนบ 1
(2) การออกแบบอาคารเพื่อต้านทานการสันสะเทื
่ อนและแผ่นดินไหว
(มยผ.1301-50)  เอกสารแนบ 2
(3) มาตรฐานสาหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกาลัง
(วสท.1008-38)
(4) Building Code Requirements for Structural Concrete (ACI318-99)
น้าหนักบรรทุก
(1) หน่ วยน้าหนักของคอนกรีตเพื่อคานวณน้าหนักบรรทุกคงที่ (Dead Load)
ใช้เท่ากับ 2,400 กก./ม.3
(2) น้าหนักบรรทุกจร (Live load) สาหรับชัน้ ทัวไปเท่
่ ากับ 300 กก./ม.2
(3) น้าหนักบรรทุกจรชัน้ หลังคาเท่ากับ 150 กก./ม.2
(4) น้าหนักบรรทุกคงที่เพิ่มเติม (Super Imposed Dead Load) สาหรับชัน้
ทัวไปเท่
่ ากับ 100 กก./ม.2
(5) น้าหนักบรรทุกเพิ่มเติมชัน้ หลังคาเท่ากับ 50 กก./ม.2
การรวมแรง
กรณี ที่ 1 : U = 1.4(DL + SDL) + 1.7LL
กรณี ที่ 2 : U = 0.75[1.4(DL + SDL) + 1.7LL+ 1.87EQ]
กรณี ที่ 3 : U = 0.9(DL + SDL) + 1.43EQ

เมือ่ DL = น้ ำหนักบรรทุกคงที ่
LL = น้ ำหนักบรรทุกจร
SDL = น้ ำหนักบรรทุกคงทีเ่ พิม่ เติม
EQ = แรงกระทำจำกแผ่นดินไหว
กาลังของวัสดุ
f’c = 240 กก./ซม.2 คอนกรีต

fy = 4,000 กก./ซม.2 เหล็กชัน้ คุณภาพ SD40

fy = 2,400 กก./ซม.2 เหล็กชัน้ คุณภาพ SR24


คานวณน้าหนักของอาคาร
น้าหนักของโครงสร้างในชัน้ ทัวๆไป
่ (Typical floor) คานวณจากการรวม
น้าหนักของ พืน้ คาน กาแพงอิฐก่อและครึ่งของเสาทัง้ ด้านบนและด้าน
ล่างของแต่ละชัน้ จะได้

(ก) พื้นคอนกรีตหนา 10 ซม. เท่ากับ 240.00 กก./ม.2


(ข) กาแพงอิฐก่อ (สูง 2.90 ม.) ประมาณ 363.62 กก./ม.2
(ค) น้ าหนักคาน ประมาณ 183.13 กก./ม.2
(ง) น้ าหนักบรรทุกคงทีเ่ พิม่ เติม เท่ากับ 100.00 กก./ม.2
คานวณหาน้าหนักของอาคาร
รวมน้าหนักเฉลี่ยต่อพืน้ ที่ในแต่ละชัน้ ทัวๆไปจะได้

wDL  240  363.62  183.13  100  886.74 กก./ม.2

รวมน้าหนักของเสา สูง 1.75 + 1.75 ม. ซึ่งเท่ากับ 3.50 ม. จานวน 28 ต้น

wcol  0.30  0.50  3.50  28  2,400  35,280 กก.

พืน้ ที่ใน 1 ชัน้ เท่ากับ 18x13 = 234 ม.2


น้าหนักของชัน้ ทัวๆไปเท่
่ ากับ Wi  0.887  234  35.28  242.84 ตัน
ตารางที่ 2.1 การรวมน้าหนักในแต่ละชัน้ และน้าหนักรวมทัง้ หมดของอาคาร

ชัน้ พืน้ + กาแพงอิฐ + คาน + น้ าหนักบรรทุกเพิม่ เสา น้ าหนักรวม


พืน้ ที่ น้ าหนักแผ่ น้ าหนัก พืน้ ที่ สูง น้ าหนัก
(ม.2) (ตัน/ม.2) (ตัน) (ม.2) (ม.) (ตัน) (ตัน)

R 234 0.473 110.68 4.20 1.75 17.64 128.32


6 234 0.887 207.56 4.20 3.50 35.28 242.84
5 234 0.887 207.56 4.20 3.50 35.28 242.84
4 234 0.887 207.56 4.20 3.50 35.28 242.84
3 234 0.887 207.56 4.20 3.50 35.28 242.84
2 234 0.887 207.56 4.20 4.00 40.32* 247.88
รวม 1,347.56
ประมาณคาบธรรมชาติของโครงสร้าง
ข้อที่ 10 ของกฎกระทรวงฯ
0.09h n
T 
D

ความสูงทัง้ หมดของอาคาร (hn) คือ 22.00 ม.


ความกว้างของโครงสร้าง (D) คือ 13.00 ม.

0.09  22
T   0.55 วินาที
13
แรงเฉื อนที่ฐาน (Base Shear)
ข้อที่ 6 ของกฎกระทรวงฯ
V  ZIKCSW
Z คือ ค่าสัมประสิทธ์ ิ ความเข้มของพืน้ ดิน 0.19 สาหรับบริเวณที่ 1
I คือ ตัวคูณเกี่ยวกับการใช้อาคารเท่ากับ 1.50 สาหรับอาคาร.
สาธารณะ ตามข้อ 8 ของกฎกระทรวง
K คือ สัมประสิทธ์ ิ ของโครงสร้าง เท่ากับ 1.00 สาหรับโครงข้อแข็งที่มี
ความเหนี ยวจากัด ตามกฎกระทรวงฯ ข้อ 9
S คือ สัมประสิทธ์ ิ ประสานความถี่ธรรมชาติระหว่างอาคาร
และชัน้ ดินที่ตงั ้ เท่ากับ 2.5 สาหรับอาคารที่ตงั ้ อยู่บนดิน
อ่อนมาก (กรุงเทพฯ) ตามกฎกระทรวงฯ ข้อ 12
แรงเฉื อนที่ฐาน (Base Shear)
C คือสัมประสิทธ์ ิ ตาม (2.3) หรือดูข้อ 11 ตามกฎกระทรวงฯ
1
C   0.12 (2-3)
15 T
สาหรับ T = 0.55 วินาที จะได้
1
C   0.090
15 0.55

ทัง้ นี้ ต้องพิจารณาผลคูณ CS ว่ามีค่ามากกว่า 0.26 สาหรับดินอ่อนมากหรือไม่


(ดูกฎกระทรวงฯ ข้อที่ 12) นัน้ คือ CS  0.09  2.5  0.225  0.26

ใช้ CS  0.225
แรงเฉื อนที่ฐาน (Base Shear)
แทนค่าทัง้ หมดเพื่อหาแรงเฉื อนที่ฐาน จะได้
V  0.19  1.50  1.00  0.09  2.50  W

 0.0641W ตัน

นัน่ คือแรงเฉื อนที่ฐานมีค่าเท่ากับร้อยละ 6.41 ของน้าหนักอาคาร


และสาหรับ W = 1,347.56 ตัน จะได้

V  0.0641  1,347.56  86.41 ตัน


กระจายแรงเฉื อนในแต่ละชัน้ ของอาคาร
กฎกระทรวงข้อที่ 6 (2) กาหนดให้กระจายแรงเฉื อนที่ฐานไปเป็ นแรงกระทา
ที่ชนั ้ บนสุดหรือ Ft

สาหรับกรณี ที่ มากกว่า 0.70 วินาที ดังนี้


Ft  0.07TV  0.25V

 และให้ใช้ 0 เท่ากับศูนย์ในกรณี ที่คาบธรรมชาติน้อยกว่า 0.70 วินาที

Ft  0 < == สาหรับ T = 0.55 วินาที


กระจายแรงเฉื อนในแต่ละชัน้ ของอาคาร
จากกฎกระทรวงข้อ 6 (2) ให้กระจายแรงเฉื อนที่ฐานไปเป็ นแรงกระทาด้าน
ข้างในแต่ละชัน้
(V  Ft )wn h n
Fn  m
 wi h i
i 1

เมื่อ wn, hn คือ น้าหนักและความสูงของชัน้ ที่พิจารณาซึ่งวัดจากพืน้ ดิน


และ m คือ จานวนชัน้
ตารางที่ 2.2 ค่าแรงทางข้างในแต่ละชัน้ และแรงเฉื อนในเสาชัน้ ในพืน้

ชัน้ ความสูง น้ าหนักแต่ละชัน้ wn*hn แรงทางข้าง แรงเฉือนในเสา


Fn Vn
(ม.) (ตัน) (ตัน-ม.) (ตัน) (ตัน)
R 22.00 128.32 2,823.04 14.51 14.51
6 18.50 242.84 4,492.54 23.09 37.60
5 15.00 242.84 3,642.60 18.73 56.33
4 11.50 242.84 2,792.66 14.36 70.69
3 8.00 242.84 1,942.72 9.99 80.68
2 4.50 247.88 1,115.46 5.73 86.41
รวม 1347.56 16,809.02 86.41
กระจายแรงเฉื อนในแต่ละชัน้ ของอาคาร
 แรงแผ่นดินไหวเกิดจากน้าหนักของตัวโครงสร้าง
 แรงที่เกิดขึน้ จากการกระจาย
แรงเฉื อนที่ฐานเข้าไปยังแต่ละชัน้
ของอาคาร จึงถูกกาหนดให้กระทา 14.51 T

อยู่ที่ตาแหน่ ง 23.09 T
18.73 T
จุดศนย์กลางมวล (Center of mass, CM) 14.36 T
ในแต่ละชัน้ ของอาคาร 9.99 T
5.73 T
การบิดโดยบังเอิญ (Accidental Torsion)
มาตรฐาน UBC กาหนดให้เลื่อน CM ในแต่ละชัน้ ของอาคารออกไปจากจุด
ที่คานวณได้ตามทฤษฏีเป็ นระยะ 5% ของความยาวด้านที่ตงั ้ ฉากกับแรง
z

y x
z
CM, CR CM (5%)Dx
y x
Dx CR
Fn Fn

without torsional Effect with torsional Effect


CM = CR CM <> CR
Vi1

V K yi
Vi1  V
K yi
แรงตรงศูนย์
xi

Vi yi
Vi2

e K yi xi
Vi 2  Mt
Jr

แรงเยื้องศูนย์ n m

M t  Ve Jr  
i 1
xi2 K yi  
i 1
yi2 K xi
การแปลงแรงจาก 3D ไปเป็ น 2D
ต้องกระจายแรงตาม stiffness ของโครงสร้าง + แรงเฉื อนจากการบิด!!
K yi K yi xi
Vi  V Mt
 K yi JR

Direct shear Torsion


M t  0.05Dx  Vy
การแปลงแรงจาก 3D ไปเป็ น 2D
สติฟเนสสัมพัทธ์ (Relative stiffness, R) ของโครงย่อยที่ 1 ตามแนว
ในชัน้ ใดๆ มีค่าเท่ากับ
K y1 ky 1
Vi1     0.1429
K yi 7k y 7

สติฟเนสเชิงหมุน (Rotational stiffness) ของทุกโครงย่อยในแต่ละชัน้


คานวณจาก
n m
Jr  
i 1
xi2 K yi  
i 1
yi2 K xi
Story Stiffness
DRIFT 
V
beam

h
column

Story stiffness = V / 
Stiffness ของชัน้ อาคาร (Storey Stiffness)
เสา 30 x 50
y
เมื่อ ky คือ stiffness ของชัน้
ตามแนวแกน y ในชัน้ ใดๆ
y2
เมื่อ kx คือ stiffness ของชัน้
ตามแนวแกน x ในชัน้ ใดๆ y1 x
ky
12E c
k
2
1 1 

x1
h    x2
 c
k  kb  x3
kx
(Storey Stiffness)
(เชิงหมุน)
Jr  2  {x12  ky  x22  ky  x32  ky}  2  { y12  kx  y 22  kx}
สติฟเนส
 เสาของโครงย่อยในแนว Y : Iy 
1
bh 3 
1
(30)(50)3  312,500 ซม.4
12 12

1 1
 เสาของโครงย่อยในแนว X : Ix 
12
hb 3 
12
(50 )(30 )3  112,500 ซม.4
1 1
 คานในแนวขวาง - BT : IT 
12
bh 3 
12
(25 )(50 )3  260,416.67 ซม.4
 คานในแนวยาว - BL : IL 
1
bh 3 
1
(20 )(45)3  151,875.00 ซม.4
12 12

เสา, h = 350 ม. คาน BT, l = 300, 500 ม. คาน BL, l = 300 ม.


ky 
Iy

312,500
 892.86 ซม.3 kbt 3 
I T 260,416.67
  520.83 ซม.3
h 350  500 I L 151,875.00
kb    506.25
 300
kx 
I x 112,500
  321.43 ซม.3 kbt 3 
I T 260,416.67
  868.06 ซม.3 ซม.3
h 350  300
สติฟเนส
 ผลรวมของสติฟเนสในแต่ละโครงย่อย ของชัน้ ใดๆตามแนว Y เท่ากับ
12  233,928.19
ky 
2 1 1 
 28,514.67 กก./ซม.
350   
 4  892.86 2  520.83  868.06 

 ผลรวมของสติฟเนสในแต่ละโครงย่อย ของชัน้ ใดๆตามแนว X เท่ากับ


12  233,928.19
kx   29,619.47
2
350 
1

1 

กก./ซม.
 7  321.43 6  506.25 

 สติฟเนสเชิงหมุนในชัน้ ทัวไป

J r  28,514.67  2  (900 2  600 2  300 2 )  29,619.47  2  (650 2  150 2 )

 9.822  1010 กก.-ซม.


K yi 0.05Dx K yi xi
Vi   เมื่อ V  1.00
K yi Jr

โครง สติฟเนส สติฟเนส ร้อยละของการ


0.05Dx K yi xi
K yi xi สัมพัทธ์ Vi กระจายแรง
(กก./ซม.) (ซม.) K yi / K yi
Jr เฉื อน
1 28,514.67 900 0.1429 0.0235 0.1664 16.64
2 28,514.67 600 0.1429 0.0157 0.1586 15.86
3 28,514.67 300 0.1429 0.0078 0.1507 15.07
4 28,514.67 0 0.1429 0.0000 0.1429 14.29
5 28,514.67 -300 0.1429 -0.0078 0.1351 13.51
6 28,514.67 -600 0.1429 -0.0157 0.1272 12.72
7 28,514.67 -900 0.1429 -0.0235 0.1194 11.94
รวม 1.0003
1.0003 100.03
ตารางที่ 2.4 ค่าแรงกระทาในแต่ละชัน้ ของอาคารของโครงตัวนอก

ชัน้ ที่ ค่าแรงกระทาแต่ละชัน้ ของ ค่าแรงกระทาในแต่ละชัน้ ของ ค่าแรงกระทาในแต่ละชัน้ ของ


โครงสร้าง 3 มิติ โครงสร้าง 2 มิติ โครงสร้าง 2 มิติ
กรณี ไม่คิดผลของการบิด กรณี คิดผลของการบิด
(ตัน) (ตัน) (ตัน)
R 14.51 2.07 2.41
6 23.09 3.30 3.84
5 18.73 2.68 3.12
4 14.36 2.05 2.39
3 9.99 1.43 1.66
2 5.73 0.82 0.95
รวม 86.41 12.35 14.37
Torsional Effect
Roof 2.07 T Roof 2.41 T

6th 3.30 T 6th 3.84 T

5th 2.68 T 5th 3.12 T

4th 2.05 T 4th 2.39 T

3rd 1.43 T 3rd 1.66 T

2nd 0.82 T 2nd 0.95 T

12.35 T 14.37 T
5.0m 3.0m 5.0m 5.0m 3.0m 5.0m

without torsional Effect with torsional Effect


2D 2D
การตรวจสอบความมันคงของโครงสร้
่ าง
การตรวจสอบการเคลื่อนตัวระหว่างชัน้ (Interstory drift)
DRIFT
 0.04h i 
• เมื่อ T < 0.70 s  i  min
 Rw
,0.005h i 

V
beam

• เมื่อ T >= 0.70 s  0.03h i


 i  min

,0.004h i  h
 Rw  column

ค่าการเคลื่อนตัวคานวณจาก V

V Stiffness effect
i  i
Ki

K 2  6  7.0  28,514.67  199,602.69 กก./ซม.


K1  7.0  15,687.86  109,815.02 กก./ซม.
ทัง้ ชัน้
แสดงผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนรูป
ตารางที่ 3.1 ค่าการเคลื่อนตัวในแต่ละชัน้ ของทัง้ อาคารตามทิศ Y
ชัน้ ที่ แรงทางข้าง แรงเฉื อนในเสา ความสูง สติฟเนส การเคลื่อนตัว การเคลื่อนตัวที่
ระหว่างชัน้ ที่ ยอมให้
(ตัน) (ตัน) (ซม.) (ตัน./ซม.) คานวณได้ (ซม.)
(ซม.)

R 14.51 14.51 350 199.60 0.073 < 1.75

6 23.09 37.60 350 199.60 0.188 < 1.75

5 18.73 56.33 350 199.60 0.282 < 1.75

4 14.36 70.69 350 199.60 0.354 < 1.75

3 9.99 80.68 350 199.60 0.404 < 1.75

2 5.73 86.41 450 109.82 0.787 < 2.25


การตรวจสอบความมันคงของโครงสร้
่ าง
การตรวจสอบการพลิกควา่ (Overturn) 14.51 T

3.5m
23.09 T
MR

3.5m
F .S .  18.73 T
MO W= 1347.56 T

3.5m
14.36 T

เมื่อ Mo คือ โมเมนต์พลิกควา่

3.5m
9.99 T
MR คือ โมเมนต์ต้านการพลิกควา่
3.5m
5.73 T

ต้องมากกว่า 1.5 4.5m

A
5.0m 3.0m 5.0m
ตารางที่ 3.2 การคานวณค่าโมเมนต์พลิกควา่

ชัน้ ที่ แรงทาง ความสูงเพือ่ คานวณโมเมนต์ โมเมนต์พลิกคว่า โมเมนต์ต้าน


ข้าง วัดจากพืน้ ดินถึงชัน้ ที่ i
 13 
(เมตร) M R  1,347.56     8,759 .14
 2 
i (ตัน-เมตร)
(ตัน)
R 14.51 22.00 319.22 ตรวจสอบ
6 23.09 18.50 427.17
8,759.14
5 18.73 15.00 280.95 F .S .   6.75 O.K.
1,298.19
4 14.36 11.50 165.14
3 9.99 8.00 79.92
2 5.73 4.50 25.79
รวม 1,298.19 MO
การตรวจสอบความมันคงของโครงสร้
่ าง
การตรวจสอบผลกระทบเนื่ องจากแรงและการเคลื่อนตัว (P-D Effect)
Wi  i
i 
Vi hi

สัมประสิทธิค์ วามมันคง ่ (Stability Coefficient) ซึ่งเป็ นอัตราส่วนระหว่าง


โมเมนต์ที่เพิ่มขึน้ เนื่ องจากการเคลื่อนตัวทางข้างต่อโมเมนต์ที่เกิดจาก
แรงแผ่นดินไหว หากไม่เกิน 0.10 ไม่ต้องคิด P-
ตารางที่ 3.3 สัมประสิทธ์ ิ ความมันคง
่ (Stability Coefficient)
ชัน้ น้าหนัก น้าหนักสะสม การเคลื่อนตัว แรงเฉื อน ความสูง 
Wi ระหว่างชัน้ Vi hi
(ตัน) (ซม.) (ตัน) (ซม.)
(ตัน) i
R 128.32 128.32 0.073 14.51 350 0.002
6 242.84 371.16 0.188 37.60 350 0.005
5 242.84 614.00 0.282 56.33 350 0.009
4 242.84 856.84 0.354 70.69 350 0.012
3 242.84 1,099.68 0.404 80.68 350 0.016
2 247.88 1,347.56 0.787 86.41 450 0.027

Pi  i < 0.10 without P- effect!!


i 
Vi h i
วิเคราะห์โครงสร้าง
ใช้การวิเคราะห์โครงสร้างระบบ 2 มิติ โดยคิดผลของแรงบิดโดย
บังเอิญด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยชุดการรวมแรง 5 กรณี
วิเคราะห์โครงสร้าง
ลักษณะการเสียรูปของโครงสร้าง
ชุดการรวมแรงที 2 {U=0.75[1.4(DL+SDL)+1.7LL+1.87EQ]}
ชุดการรวมแรงที่ 3 {U=0.9[DL+SDL]+1.43EQ}
ชุดการรวมแรงที่ 1
{U=1.4(DL+SDL)+1.7LL} กรณี อาคารเอียงไป กรณี อาคารเอียงไป
ทางขวา ทางซ้าย
วิเคราะห์โครงสร้าง
ลักษณะของโมเมนต์ไดอะแกรม

ชุดการรวมแรงที 2 {U=0.75[1.4(DL+SDL)+1.7LL+1.87EQ]}
ชุดการรวมแรงที่ 3 {U=0.9[DL+SDL]+1.43EQ}
ชุดการรวมแรงที่ 1
{U=1.4(DL+SDL)+1.7LL} กรณี อาคารเอียงไป กรณี อาคารเอียงไป
ทางขวา ทางซ้าย
วิเคราะห์โครงสร้าง
ลักษณะผังแรงเฉื อน

ชุดการรวมแรงที 2 {U=0.75[1.4(DL+SDL)+1.7LL+1.87EQ]}
ชุดการรวมแรงที่ 3 {U=0.9[DL+SDL]+1.43EQ}
ชุดการรวมแรงที่ 1
{U=1.4(DL+SDL)+1.7LL} กรณี อาคารเอียงไป กรณี อาคารเอียงไป
ทางขวา ทางซ้าย
วิเคราะห์โครงสร้าง
ลักษณะแรงตามแนวแกน

ชุดการรวมแรงที 2 {U=0.75[1.4(DL+SDL)+1.7LL+1.87EQ]}
ชุดการรวมแรงที่ 3 {U=0.9[DL+SDL]+1.43EQ}
ชุดการรวมแรงที่ 1
{U=1.4(DL+SDL)+1.7LL} กรณี อาคารเอียงไป กรณี อาคารเอียงไป
ทางขวา ทางซ้าย
+8.00 3rd floor

วิเคราะห์โครงสร้าง

3.5
+4.50 a b cd e
2nd floor
a b cd e
exterior column
ตาราง 4.1 โมเมนต์ดดั ประลัยในคานชัน้ 2

4.5
interior column

+0.00 Ground floor


4.2 2.8 4.2

กรณี คานช่วงนอก (Exterior span) คานช่วงใน (Interior span)


ขอบเสาต้น กลางคาน ขอบเสาต้น ขอบเสาต้น กลางคาน
นอก (ตัน-ม) ใน ใน (ตัน-ม)
(ตัน-ม) section b- (ตัน-ม) (ตัน-ม) section e-e
section a-a b section c-c section d-d
1 -5.05 6.61 -5.43 -4.54 0.78
2 ขวา 5.99 8.10 -12.28 8.04 0.59
2 ซ้าย -13.54 6.39 4.18 -14.85 0.59
3 ขวา 7.65 7.76 -10.85 9.59 0.36
3 ซ้าย -12.26 5.99 5.87 -13.74 0.36
+8.00 3rd floor

วิเคราะห์โครงสร้าง

3.5
+4.50 a b cd e
2nd floor
a b cd e
ตาราง 4.2 แรงอัด แรงดัดและแรงเฉื อนประลัย ในเสาชัน้ 1 exterior column

4.5
interior column

+0.00 Ground floor


4.2 2.8 4.2

กรณี เสาต้นริม (Exterior Column) เสาต้นใน (Interior Column)

แรงอัด แรงดัด แรงเฉือน แรงอัด แรงดัด แรงเฉือน


(ตัน) (ตัน-ม.) (ตัน) (ตัน) (ตัน-ม.) (ตัน)

บน ล่าง บน ล่าง

1 96.54 3.72 -1.85 -1.24 137.66 -1.88 0.91 0.62

2 ขวา 56.24 -4.06 11.43 3.44 90.72 -12.34 15.49 6.18

2 ซ้าย 88.56 9.61 -14.17 -5.29 115.79 9.51 -14.11 -5.25

3 ขวา 32.23 -5.28 12.22 3.89 54.99 -12.00 15.51 6.11

3 ซ้าย 65.17 8.66 -13.87 -5.01 80.54 5.99 -14.66 -5.54


วิเคราะห์โครงสร้าง

เปรียบเทียบสัดส่วนระหว่างผล ผลการวิเคราะห์ใกล้เคียงกันมาก
การวิเคราะห์โครงสร้างด้วยระบบ สังเกตจากอัตราส่วนของผลการ
2 มิติกบั 3 มิติกรณี ไม่คิดการบิด วิเคราะห์มีค่าเฉลีย่ เท่ากับ 1
วิเคราะห์โครงสร้าง

เปรียบเทียบสัดส่วนระหว่างผล
การวิเคราะห์โครงสร้างด้วย
ระบบ 2 กรณี คิดกับไม่คิดผล
ของการบิด

การบิดมีผลต่อการวิเคราะห์
โครงสร้างอย่างมาก
ประมาณ 16% ในตัวอย่างนี้
วิเคราะห์โครงสร้าง

เปรียบเทียบส่วนระหว่างผลการ ผลการวิเคราะห์ใกล้เคียงกันมาก
วิเคราะห์โครงสร้างด้วยระบบ 2 มิติกบั 3 สังเกตจากอัตราส่วนของผลการ
มิติกรณี คิดผลของการบิด ในโครงที่ 7 วิเคราะห์มีค่าเฉลีย่ เท่ากับ 1
การออกแบบคาน
คานช่วงนอก พิจารณาขอบเสาต้นนอก ตารางที่ 4.1

กรณี โมเมนต์ทข่ี อบ
เสาต้นนอก
+8.00 3rd floor
(ตัน-ม.) a-a
3.5

+4.50 a b cd e
2nd floor 1 -5.05
a b cd e
exterior column 2 ขวา 5.99
4.5

interior column

+0.00 Ground floor


4.2 2.8 4.2 2 ซ้าย -13.54
3 ขวา 7.66
3 ซ้าย -12.26
การออกแบบคาน
คานช่วงนอก BT1
0.25
b  25 ซม.
d  44 ซม.
6-DB16
d  6 ซม.
As  12.06 ซม2
2-hoop.RB6 As  8.04 ซม2
0.50

4cm 1  0.85
4-DB16 f c  240 กก./ซม.2
fy  4,000 กก./ซม.2

กาลังต้านทานโมเมนต์ลบ = M n  17.30 ตัน-ม. > 13.54 ตัน-ม. OK


กาลังต้านทานโมเมนต์บวก = M n  11.83 ตัน-ม. > 7.66 ตัน-ม. OK
การออกแบบคาน
คานช่วงนอก BT1 พิจารณาช่วงกลางคาน ตารางที่ 4.1

กรณี โมเมนต์กลาง
+ M n  11.83 ตัน-ม. > 8.10 ตัน-ม. OK คาน (ตัน-ม.)
b-b
+8.00 3rd floor
1 6.61
2 ขวา 8.10
3.5

+4.50 a b cd e
2nd floor
a b cd e 2 ซ้าย 6.39
exterior column
4.5

interior column

+0.00 Ground floor


3 ขวา 7.76
4.2 2.8 4.2
3 ซ้าย 5.99
การออกแบบคาน
คานช่วงนอก BT1 พิจารณาช่วงขอบเสาต้นใน ตารางที่ 4.1

- M n  17.30 ตัน-ม. > 12.28 ตัน-ม. OK กรณี โมเมนต์ขอบ


+ M n  11.83 ตัน-ม. > 5.87 ตัน-ม. OK
เสาต้นใน
(ตัน-ม.) c-c
+8.00 3rd floor
1 -5.43
2 ขวา -12.28
3.5

+4.50 a b cd e
2nd floor
a b cd e 2 ซ้าย 4.18
exterior column
4.5

interior column

+0.00 Ground floor


3 ขวา -10.85
4.2 2.8 4.2
3 ซ้าย 5.87
การออกแบบคาน
คานช่วงนอก BT1
มยผ. 1301-54 ส่วนที่ 4 ข้อ 4.3.1 กาหนดว่า
กาลังต้านทานโมเมนต์บวกที่ขอบของจุดต่อต้องไม่น้อยกว่า 1/3 ของ
กาลังต้านทานโมเมนต์ลบ
M n  11.83 ตัน-ม. > 17.30/3 =5.77 ตัน-ม. OK

กาลังต้านทานโมเมนต์บวกและโมเมนต์ลบที่หน้ าตัดใดๆ ตลอดความ


ยาวคานจะต้องไม่น้อยกว่า 1/5 ของกาลังต้านทานโมเมนต์สงู สุดที่ขอบของ
จุดต่อ
+ M n  11.83 ตัน-ม. > 17.30/5 =3.46 ตัน-ม. OK
- M  17.30 ตัน-ม. > 17.30/5 =3.46 ตัน-ม. OK
n
การออกแบบคาน
คานช่วงนอก BT1
ตรวจสอบกาลังรับแรงเฉื อน
มยผ.1301-54 ส่วนที่ 4 ข้อ4.2 กาหนดไว้ว่ากาลังรับแรงเฉื อนที่ใช้ออกแบบ
คาน เสาจะต้องไม่น้อยว่าค่าแรงเฉื อนที่คานวณได้จาก
 แรงเฉื อนที่เกิดขึน้ เมื่อแรงดัดที่ปลายขององค์อาคารทัง้ สองถึงค่า
โมเมนต์ระบุรวมกับแรงเฉื อนจากน้าหนักบรรทุกจากแรงโน้ มถ่วง (ถ้ามี)
 แรงเฉื อนสูงสุดที่ได้จากการรวมน้าหนักบรรทุกออกแบบ ที่พิจารณาแรง
แผ่นดินไหวเป็ น 2 เท่าของแรงที่กาหนดในกฎหมายควบคุมอาคารว่าด้วย
การก่อสร้างอาคารในเขตที่อาจได้รบั แรงสันสะเทื
่ อนจากแผ่นดินไหว
กาลังต้านทานโมเมนต์
การออกแบบคาน ลบจากคานด้านซ้าย กาลังต้านทานโมเมนต์
คานช่วงนอก BT1 บวกจากคานด้านขวา

ตรวจสอบกาลังรับแรงเฉื อน
M n1  M n 2 w u L c
คานวณแรงเฉือนทีเ่ กิดขึน้ ตามสมการ V ul  
Lc 2
A B น้าหนักบรรทุก
Sideway to left Wu=3.94 T/m
แนวดิง่
Mn1=19.22 T-m Mn2=13.14 T-m
4.2m 19.22  13.14 3.94  4.2
15.979 T 0.569 T Vu    15.979
4.2 2
A B
ตัน
Sideway to right Wu=3.94 T/m

Mn1=13.14 T-m Mn2=19.22 T-m


4.2m 15.979 T
0.569 T
การออกแบบคาน
คานช่วงนอก BT1
ตรวจสอบกาลังรับแรงเฉื อน
กาลังรับแรงเฉือนโดยคอนกรีตล้วน
V c  0.53 f c bd

Vc  0.53 240  25  44  9.03 ตัน


แรงเฉือนทีต่ อ้ งรับด้วยเหล็กเสริมเท่ากับ
Vs  Vu  Vc
Vs  15.979  (0.85)  9.03  8.30 ตัน
Vs  8.30 /0.85  9.76 ตัน
การออกแบบคาน
คานช่วงนอก BT1
ตรวจสอบกาลังรับแรงเฉื อน
สมมุตใิ ช้เหล็กปลอกขนาด 2-RB6 มม. จะต้องวางเรียงกันให้มรี ะยะห่างเท่ากับ
A f d 1.13  2,400  44
s v v s
9.76  1,000
 12.23 ซม.
Vs
มยผ.1301-54 (ส่วนที่ 4 ข้อ 4.3.2) ระบุระยะเรียงเหล็กปลอกภายในปลาย
คานทีห่ า่ งจากขอบของจุดรองรับเป็ นระยะ 2 เท่าของความลึกจะต้องเสริม
เหล็กปลอกทีม่ รี ะยะเรียงไม่มากกว่า
d / 4  44 / 4  11
8d  12.8 ดังนัน้ เสริมเหล็กปลอก 2-RB6@0.10 งอ
 b
s max 
24d  14 .4
ซม. ขอ 135 องศา ในช่วงห่างจากจุดรองรับ
 v
30 จนถึง 1.0 ม. (2h)
การออกแบบคาน
คานช่วงนอก BT1 ตรวจสอบกาลังรับแรงเฉื อน
สาหรับเหล็กปลอกทีอ่ ยูน่ อกช่วงจุดหมุนพลาสติก ข้อกาหนดของ มยผ.1301-54
ส่วนที่ 4 ข้อ 4.3.3 ระบุวา่ ระยะเรียงมากสุดต้องไม่เกิน d /2  22 ซม.
และมีกาลังรับแรงเฉือนมากกว่าแรงเฉือนทีก่ ระทาห่างจากหน้าเสาเป็ นระยะ 2h =
1.0 m ซึง่ มีคา่ เท่ากับ Vu  15.979  3.94  1.0  12.04 ตัน
Av f v d 1.13  2400  44
สมมุตใิ ช้เหล็กปลอก 2-RB6@0.20 V s  s  20  1,000  5.97 ตัน

Vn  (Vc  Vs )  0.85  (9.03  5.97)  12.75 ตัน มากกว่า 12.04 ตัน O.K.
ใช้เหล็กปลอก 2-RB6@0.20 นอกช่วงจุดหมุนพลาสติก
การออกแบบคาน
คานช่วงนอก BT1
ตาแหน่งทีส่ ามารถหยุดเหล็ก
ต้องการหยุดเหล็ก 2-DB16
A B โดยทีห่ น้าตัดคานจะมีเหล็ก
Sideway to left Wu=2.39 T/m
4-DB16 ทัง้ บนและล่าง กาลัง
Mn1=19.22 T-m Mn2 =13.14 T-m
12.724 T 4.2m 2.686 T
ต้านทานโมเมนต์ดดั 13.14
13.14 T-m ตัน-ม.
0.501
ระยะทีส่ ามารถหยุดเหล็กได้
-13.14 T-m
เท่ากับ x =0.50 ม.
-19.22 T-m

ระยะทีส่ ามารถหยุดเหล็กได้เท่ากับ 0.50 ม. + d = 0.94 ม. ใช้ 1.0 ม. ทัง้ สองด้าน


การออกแบบคาน
คานช่วงนอก BT1
ตรวจสอบระยะฝั ง
0.06Ab f y 0.06  2.01  4000
ระยะฝั งทัวไปส
่ าหรับเหล็ก DB16 l db 
f c

240
 31.1 ซม.
0.08 f y db
ระยะฝั งทัวไปส
่ าหรับเหล็กของอ 90 องศา, l hb 
f c

0.08  4,000  1.6
240
 33 ซม.

ข้อมูลสาหรับตัวคูณประกอบ เหล็กบน เหล็กล่าง


ระยะหุม้ คอนกรีตด้านบนหรือล่าง 2.75db 3.25db
ระยะหุม้ คอนกรีตด้านข้าง 1.56db 1.56db
ระยะเรียงว่างของเหล็กเสริม 4.75db 2.81db
การออกแบบคาน
คานช่วงนอก BT1
ตรวจสอบระยะฝั ง
0.11db f y
 45 ซม.
0.11  1.6  4000
ระยะฝั งต้องไม่น้อยกว่า f

240
c

ระยะฝั ง l ต้องไม่น้อยกว่า 15 ซม. และ 8d  12.8 ซม.


hb b

-เหล็กบน ldb=1.3x31.1=40 ซม. ดังนัน้ ldb=45 ซม. แต่ฝังจริง 100 ซม. OK


-เหล็กล่าง ldb=1x31.1=31 ซม. ดังนัน้ ldb=45 ซม. แต่ระยะฝั งจริง 240ซม. OK
-สาหรับเหล็กทีด่ ดั งอ90องศา lhb=0.8x33=26.4 ใช้ 30 ซม. OK
-สาหรับปลายฉากยืน่ 12 db = 19.2 ซม. ใช้ 20 ซม.
การออกแบบคาน
คานช่วงนอก BT1
ระยะทาบเหล็ก
-เหล็กบน 1.3 ldb=58.5 ซม. ใช้ 60 ซม. OK
-เหล็กล่าง 1.3 ldb=58.5 ซม. ใช้ 60 ซม. OK
รายละเอียดการเสริมเหล็ก
คานช่วงนอก BT1 0.25 0.25

6-DB16 4-DB16
2-hoop.RB6
2-RB6 @ 0.20

0.50

0.50
@0.10
4cm
0.50 4-DB16 4-DB16
0.50
1 1 2 2
1.0 1.0
4-DB 16 Hoop 2-RB6@0.10 4-DB16
Splice 0.60m
0.3m 1 2-DB 16 2 2-DB 16

0.2m
0.3m 1 2
4-DB16 Splice 0.60m 4-DB16
Hoop 2-RB6@0.10
1.0m 1.0m
Hoop 2-RB6@0.10 Stirrup 2-RB6@0.20 4.2m Stirrup 2-RB6@0.20 Hoop 2-RB6@0.10

5.0m

หมายเหตุ การทาบเหล็กต้องทาภายนอกช่วง 2h และไม่อยูก่ ลางคาน


การออกแบบคาน
คานช่วงใน BT2 ตารางที่ 4.1

กรณี โมเมนต์ท่ี
ขอบเสาต้นใน
+8.00 3rd floor
(ตัน-ม.) d-d
1 -4.54
3.5

nd
+4.50 a b cd e
2 floor

exterior column
a b cd e
2 ขวา 8.04
4.5

interior column

+0.00 Ground floor 2 ซ้าย -14.85


4.2 2.8 4.2
3 ขวา 9.59
3 ซ้าย -13.74
การออกแบบคาน
คานช่วงใน BT2
0.25
b  25 ซม.
d  44 ซม.
d  6 ซม.
6-DB16 2
As  12.06 ซม.
2-hoop.RB6 As  8.04 ซม.2
0.50

4cm 1  0.85
4-DB16 f c  240 กก./ซม.2
2
f y  4,000 กก./ซม.

กาลังต้านทานโมเมนต์ลบ = M n  17.30 ตัน-ม. > 14.85 ตัน-ม. OK


กาลังต้านทานโมเมนต์บวก = M n  11.83 ตัน-ม. > 9.59 ตัน-ม. OK
การออกแบบคาน
คานช่วงใน BT2 ตารางที่ 4.1

กรณี โมเมนต์กลาง
+ M n  11.83 ตัน-ม. > 0.78 ตัน-ม. OK คาน (ตัน-ม.)
e-e
+8.00 3rd floor
1 0.78
2 ขวา 0.59
3.5

+4.50 a b cd e
2nd floor
a b cd e 2 ซ้าย 0.59
exterior column
4.5

interior column

+0.00 Ground floor


3 ขวา 0.36
4.2 2.8 4.2
3 ซ้าย 0.36
การออกแบบคาน
คานช่วงใน BT2
มยผ. 1301-54 ส่วนที่ 4 ข้อ 4.3.1 กาหนดว่า
กาลังต้านทานโมเมนต์บวกทีข่ อบของจุดต่อต้องไม่น้อยกว่า 1/3 ของ
กาลังต้านทานโมเมนต์ลบ
M n  11.83 ตัน-ม. > 17.30/3 =5.77 ตัน-ม. OK

กาลังต้านทานโมเมนต์บวกและโมเมนต์ลบทีห่ น้าตัดใดๆ ตลอดความยาว


คานจะต้องไม่น้อยกว่า 1/5 ของกาลังต้านทานโมเมนต์สงู สุดทีข่ อบของจุดต่อ
+ M n  11.83 ตัน-ม. > 17.30/5 =3.46 ตัน-ม. OK

- M n  17.30 ตัน-ม. > 17.30/5 =3.46 ตัน-ม. OK


การออกแบบคาน
คานช่วงใน BT2
ตรวจสอบกาลังรับแรงเฉื อน
19.22  13.14 3.94  2.8
Vu 
2.8

2
 17.073 ตัน
B C
Sideway to left Wu=3.94 T/m

Mn1=19.22 T-m Mn2=13.14 T-m


17.073 T 2.8m 6.041 T
B C
Sideway to right Wu=3.94 T/m

Mn1=13.14 T-m Mn2=19.22 T-m


6.041 T 2.8m 17.073 T
การออกแบบคาน
คานช่วงใน BT2
ตรวจสอบกาลังรับแรงเฉื อน
กาลังรับแรงเฉือนโดยคอนกรีตล้วน
Vc  0.53 240  25  44  9.03 ตัน
แรงเฉือนทีต่ อ้ งรับด้วยเหล็กเสริมเท่ากับ
Vs  17.073  0.85  9.03  9.40 ตัน
Vs  9.40 /0.85  11.06 ตัน
สมมุตใิ ช้เหล็กปลอกขนาด 2-RB6 มม. จะต้องวางเรียงกันให้มรี ะยะห่างเท่ากับ
1.13  2,400  44
s  10.8 ซม.
11.06  1,000
การออกแบบคาน
คานช่วงใน BT2
ตรวจสอบกาลังรับแรงเฉื อน
d / 4  44 / 4  11
8d  12.8 ดังนัน้ เสริมเหล็กปลอก 2-RB6@0.10 งอ
 b ซม. ขอ 135 องศา ในช่วงห่างจากจุดรองรับ
s max
24dv  14.4
30 จนถึง 1.0 ม. (2h)
สาหรับเหล็กปลอกทีอ่ ยูน่ อกช่วงจุดหมุนพลาสติก เสริมเหล็ก 2-RB6@0.15 < d/2
1.13  2,400  44
Vs   7.96 ตัน
15  1,000
Vn  (Vc  Vs )  0.85  (9.03  7.96)  14.44 ตัน

> แรงเฉือนประลัยที่ 1.0 ม.จากขอบเสา ตัน


Vu  17.073  3.94  1.0  13.13

OK
การออกแบบคาน
คานช่วงใน BT2
ตาแหน่ งที่จะสามารถหยุดเหล็ก ต้องการหยุดเหล็ก 2-DB16
B C โดยทีห่ น้าตัดคานจะมีเหล็ก
Sideway to left Wu=2.39 T/m
4-DB16 ทัง้ บนและล่าง กาลัง
Mn1=19.22 T-m Mn2=13.14 T-m ต้านทานโมเมนต์ดดั 13.14
14.903 T 2.8m 8.211 T
13.14 T-m
ตัน-ม.
0.422 m
ระยะทีส่ ามารถหยุดเหล็กได้
-13.14 T-m
เท่ากับ x =0.422 ม.
-19.22 T-m

ระยะทีส่ ามารถหยุดเหล็กได้เท่ากับ 0.422 ม. + d =0.862 ม. ใช้ 0.90 ม. ทัง้ สองด้าน


การออกแบบคาน
คานช่วงใน BT2
ตรวจสอบระยะฝั ง
0.06Ab f y 0.06  2.01  4000
ระยะฝั งทัวไปส
่ าหรับเหล็ก DB16 l db 
f c

240
 31.1 ซม.

ข้อมูลสาหรับตัวคูณประกอบ เหล็กบน เหล็กล่าง


ระยะหุม้ คอนกรีตด้านบนหรือล่าง 2.75db 3.25db
ระยะหุม้ คอนกรีตด้านข้าง 1.56db 1.56db
ระยะเรียงว่างของเหล็กเสริม 4.75db 2.81db
การออกแบบคาน
คานช่วงใน BT2
ตรวจสอบระยะฝั ง
0.11db f y 0.11  1.6  4000
ระยะฝั งต้องไม่น้อยกว่า f c

240
 45 ซม.

ระยะฝั ง l ต้องไม่น้อยกว่า 15 ซม. และ


hb 8db  12.8 ซม.

-เหล็กบน ldb=1.3x31.1=40 ซม. ดังนัน้ ldb=45 ซม. แต่ฝังจริง 90 ซม. OK


-เหล็กล่าง ldb=1.4x31.1=43.5 ซม.ดังนัน้ ldb=45 ซม.แต่ระยะฝั งจริง 140ซม. OK
การออกแบบคาน
คานช่วงใน BT2
ระยะทาบเหล็ก
-เหล็กบน 1.3 ldb=58.5 ซม. ใช้ 60 ซม. OK
-เหล็กล่าง 1.3 ldb=58.5 ซม. ใช้ 60 ซม. OK
รายละเอียดการเสริมเหล็ก
คานช่วงใน BT2 0.25 0.25

6-DB16 4-DB16

2-hoop.RB6 @0.10 2-RB6 @0.15

0.50

0.50
4cm 4cm
4-DB16 4-DB16
0.50 0.50
1 1 2 2
0.90m Hoop 2-RB6@0.10 0.90m
4-DB16 Splice length =0.6m 4-DB 16
1 2-DB16 2 2-DB16

0.05

1 2
4-DB 16 4-DB 16
1.0m 1.0m
Stirrup 2-RB6@0.15
Hoop 2-RB6@0.10 Hoop 2-RB6@0.10
2.8m
3.0m
หมายเหตุ การทาบเหล็กต้องทาภายนอกช่วง 2h และไม่อยูก่ ลางคาน
จุดต่อภายใน
แรงเฉื อนภายในจุดต่อ
มยผ.1301-54 ให้คานวณแรงเฉือนภายในจุดต่อสามารถคานวณได้จาก
 
V j  As1 f y  As2 f y  Vcol

เมือ่ Vcol คือแรงเฉือนในเสาตามสมมุตฐิ าน

โมเมนต์ระบุลบด้านขวาเท่ากับโมเมนต์
ระบุบวกด้านซ้าย
โมเมนต์ทงั ้ สองในคานถ่ายแรงไปเป็ น
โมเมนต์ในเสาต้นบนและเสาต้นล่าง
่ มยผ. 1301-54
ทีมา โมเมนต์เสาต้นบน=โมเมนต์เสาต้นล่าง
จุดต่อภายใน
แรงเฉื อนภายในจุดต่อ
B
Hc/2 = 2.9/2 Mu= (19.22+13.14)/2 = 16.18 T-m
Vcol= (2 x16.18)/2.9 = 11.16T
6-DB16
Vcol
C2 = T2 T1=6x2.01x4000 /1000
Vj =48.25 T
Hc/2 = 2.9/2 M + =13.14 T-m
nbL - =19.22 T-m
MnbR
T2=4x2.01x4000/1000 C 1 = T1
=32.16 T
3-DB16
Vcol
M u= 16.18 T-m V col= 11.16 T
Mu= 16.18 T-m

(6  2.01  4,000  4  2.01  4,000 )


Vj   11.16  69.24 ตัน
1,000
จุดต่อภายใน
กาลังต้านทานแรงเฉื อนภายในจุดต่อ
คานตามแนวยาวมีความ
กว้างคานต่อความกว้างเสา
0.20 / 0.5  0.50 < 0.75

คานตามแนวขวางมีความ
)
กว้างคานต่อความกว้างเสา
0.25 / 0.3  0.83 > 0.75

V n  3.9 f c A j

่ มยผ. 1301-54
ทีมา
จุดต่อภายใน
กาลังต้านทานแรงเฉื อนภายในจุดต่อ

่ มยผ. 1301-54
ทีมา

Aj  h  ความกว้างประสิทธิผล
b  h  25  50  75 ซม.
ความกว้างประสิทธิผล = ค่าน้อยระหว่าง b  2x1  25  2  2.5  30 ซม.
A j  30  50 ซม.2
จุดต่อภายใน
กาลังต้านทานแรงเฉื อนภายในจุดต่อ

Vn  3.9  240  (50  30)/1000  90.63 ตัน


Vn  0.85  90.63  77.04 ตัน > Vj = 69.24 ตัน OK
เสริมเหล็กปลอกในจุดต่อตาม (5-16) Av  3.5
bw s และ ระยะไม่เกิน 2S0
fy

S0 คือระยะเรียงเหล็กปลอกเสาช่วงจุดหมุนพลาสติก ในทีน่ ้ีสมมุตใิ ช้ S0 = 12.5 ซม.


สมมุตใิ ช้เหล็กปลอก 2-STIR RB6@0.20 Av=1.13 ซม.2 > 30  20
Av  3.5 
2,400
 0.875 ซม.2
สมมุตใิ ช้เหล็กปลอก 2-STIR RB6@0.20 + 1-STIR RB6@0.2
50  20
Av=1.70 ซม.2 > Av  3.5   1.46 ซม.2 OK
2,400
จุดต่อภายนอก
แรงเฉื อนภายในจุดต่อ
A
Hc/2 = 2.9/2 Mu= 19.22/2 = 9.61 T-m
Vcol= (2x9.61)/2.9= 6.63 T
6-DB16
Vcol
T1=6x2.01x4,000=48.24 T
Vj
Hc/2 = 2.9/2 - =19.22 T-m
MnbR
C 1 = T1

Vcol
M u= 9.61 T-m Vcol= 6.63 T
M u=9.61 T-m

6  2.01  4,000
Vj   6.63  41.61 ตัน
1,000
จุดต่อภายนอก
กาลังต้านทานแรงเฉื อนภายในจุดต่อ
คานตามแนวยาวมีความ
กว้างคานต่อความกว้างเสา
0.2 / 0.5  0.40 < 0.75

คานตามแนวขวางมีความ
กว้างคานต่อความกว้างเสา
0.25 / 0.3  0.83 > 0.75

V n  3.2 f c A j

่ มยผ. 1301-54
ทีมา
จุดต่อภายนอก
กาลังต้านทานแรงเฉื อนภายในจุดต่อ
3.2  240  (50  30)
Vn 
1,000
 74.36 ตัน
Vn  0.85  74.36  63.20 ตัน > Vj = 41.61 ตัน OK
เสริมเหล็กปลอกในจุดต่อตาม (5-16) Av  3.5
bw s
fy
และ ระยะไม่เกิน 2S0 =25 ซม.
สมมุตใิ ช้เหล็กปลอก 2-STIR RB6@0.20 Av=1.13 ซม.2 > Av  3.5  30  20  0.875 ซม.2
2,400
สมมุตใิ ช้เหล็กปลอก 2-STIR RB6@0.20 + 1-STIR RB6@0.20
50  20
Av=1.70 ซม.2 > Av  3.5 
2,400
 1.46 ซม.2 OK
การออกแบบเสา (Column Design)
Step 1 : ตรวจสอบพฤติกรรม (Column behavior)
 หากแรงอัดประลัย (Pu) มีคา่ มากกว่า/เท่ากับ 0.1Agf’c = เสา
 หากแรงอัดประลัย (Pu) มีคา่ น้อยกว่า 0.1Agf’c = คาน
กาหนดขนาด
Max Pu = 137.66 ตัน!!
>>
0.10*30*50*0.24 = 36 ตัน!!
12-DB16
>> Column
การออกแบบเสา (Column Design)
Step 2 : ตรวจสอบมิติของเสา (Column Dimension)
ด้านสัน้ สุดของเสาต้องมากกว่าหรือเท่ากับ 30 ซม. : ผ่าน
อัตราส่วนด้านสัน้ ต่อด้านยาวต้องไม่น้อยกว่า 0.40 , 3/5 = 0.6 : ผ่าน
Step 3 : ปริมาณเหล็กเสริม (Reinforcing ratio)

ทดลองใช้ 12DB16 , r = 1.6%

มากกว่า 1 % แต่ไม่เกิน 6% (UBC requirement)  O.K.


กรณี เสาต้นริม (Exterior Column) เสาต้นใน (Interior Column)
แรงอัด แรงดัด แรงเฉือน แรงอัด แรงดัด แรงเฉือน
(ตัน) (ตัน-ม.) (ตัน) (ตัน) (ตัน-ม.) (ตัน)

บน ล่าง บน ล่าง

1 96.54 3.72 -1.85 -1.24 137.66 -1.88 0.91 0.62

2 ขวา 56.24 -4.06 11.43 3.44 90.72 -12.34 15.49 6.18

2 ซ้าย 88.56 9.61 -14.17 -5.29 115.79 9.51 -14.11 -5.25

3 ขวา 32.23 -5.28 12.22 3.89 54.99 -12.00 15.51 6.11

3 ซ้าย 65.17 8.66 -13.87 -5.01 80.54 5.99 -14.66 -5.54


เส้นโค้งปฏิสมั พันธ์ (Interaction diagram)
Step 4 : ตรวจสอบกาลังรับน้าหนักของเสา (Column Capacity)
300 Pn, ตัน

250

200

150
Pu & Mu
100

50
Mn, ตัน-ซม.
แรงประลัยอยู่ในเส้นโค้งถือ
0
M = 17.5, M = 25
ว่าปลอดภัย !!
0 500 1,000 1,500 n 2,000 n 2,500

พิจารณาจากจุดสาคัญ 7 จุด (สาหรับเส้นโค้งโดยประมาณ)


อัตราส่วนกาลังของเสาและคาน
Step 5 : ตรวจสอบความเป็ น “เสาแข็ง-คานอ่อน” Strong Column-Weak Beam
เมื่อ  M nc  M ncT  M ncB
Min Pu  Interaction Diagram
 M nb  M nbL  M nbR  M nc  25.00  25.00  50.00 ตัน-ม.

 M nc 1
จุดต่อภายนอก  M nb  19.20 ตัน-ม.
 M nb
MncT จุดต่อภายใน M nb  13.14  19.22  32.37 ตัน-ม.
PASS!!
MnbL MnbR

MncB
แรงเฉื อนในเสา
Step 6 : คานวณแรงเฉื อนในเสา (Shear in Column)
Pu
(MnbL+MnbR)/2
Vcol M nbL  M nbR
(MnbL+MnbR)/2 Vcol 
Vcol Hc

Hc M nbL MnbR
Beams-control
(32.4 / 2)  (32.4 / 2)
Vcol 
2.90
 11.16 ตัน
Vcol
Vcol (MnbL+MnbR)/2
(MnbL+MnbR)/2
Pu
กาลังต้านทานแรงเฉื อน
Step 7 : กาลังของคอนกรีตล้วน (Concrete contribution)
 Pu 
Vc  0.531   f c bd
 140.60 Ag 

เมื่อ Pu,min = 32,230 กก.


 32,230 
V c  0.531   240  30  44.80
 140 .60  30  50 

หรือ Vc  12.72 ตัน


หรือ Vc  0.85  12.72  10.81 ตัน < Vcol = 11.16  ใช้เหล็กเสริมขัน้ ต ่า
เหล็กเสริมรับแรงเฉื อน
Step 8 : เหล็กเสริมรับแรงเฉื อนขัน้ ตา่ (Minimum Shear reinforcements)
ตามมาตรฐาน ACI
Av f y
s
3.5b

แทนค่า
ด้าน 50 ซม.
4  0.283  2,400
s  15.52 ซม.
3.5  50
ด้าน 30 ซม. ควบคุม!!

4  0.283  2,400
s  25.87 ซม.
3.5  30
เหล็กเสริมรับแรงเฉื อน
Step 9 : เหล็กเสริมโอบรัด (Confinement reinforcements)
มยผ.1301-54 ข้อ 4.4 ระบุว่าต้องเสริมเหล็กเสริมตามขวางให้มีระยะเรียง s0
ในช่วง l0 ซึ่งวัดจากขอบของจุดต่อบนและล่างโดย s0 ต้องไม่มากกว่า

 8 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กเสริมตามยาว, s 0  8 1.6  12.80 ซม.


 24 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กเสริมตามขวาง,s 0  24  0.6  14.40 ซม.
 ครึ่งหนึ่ งของมิติที่เล็กสุดของหน้ าตัด, s  b  15
0 ซม.
 30 ซม.
ดังนัน้ ระยะเรียงตา่ สุดจากข้อกาหนดการโอบรัดคือ 12.80 ซม.
ระยะเรียงเหล็กเสริมตามขวาง
เมื่อเปรียบเทียบระยะเรียงที่ควบคุมโดย
การโอบรัดหน้ าตัด 12.80 ซม. และระยะ
เรียงเพื่อต้านทานแรงเฉื อน 15.52 ซม.
จะเห็นว่าระยะเรียงเพื่อการโอบรัด
ควบคุมการออกแบบ
ระยะโอบรัด
เหล็กเสริมตามขวางจะต้องจะต้องจัดให้มีระยะเรียงในช่วง l0 ที่วดั จาก
ปลายบนและปลายล่างของเสา โดยที่ s0 ต้องไม่น้อยกว่าความยาวดังนี้

 หนึ่ งในหกของความสูงจากขอบถึงของขอบเสา, (1/6)*2.9 = 48.33 ซม.


 มิติด้านที่มากที่สดุ ของเสา, 50 ซม.
 50 ซม.
จากข้อกาหนดทัง้ หมดจึงกาหนดให้เรียงเหล็กกลมเส้นผ่านศูนย์กลาง 6 มม.
หรือ RB6 ในช่วง 50 ซม. จากขอบเสาทัง้ สองด้านเป็ นระยะ 12.50 ซม.
(RB6@12.50 ซม.) โดยเหล็กปลอกเส้นแรกต้องวางห่างจากขอบเสาไม่เกิน
ครึ่งหนึ่ งของระยะเรียง 0.5s0 หรือ 6.25 ซม. (มยผ.1301-54)
B

การทาบเหล็ก 0.2m
Roof
2-RB6@0.20

0.5m
ldh=0.35 m + 1RB6@0.20

 เพือ่ ป้ องกันไม่ให้เกิดการ 3-RB6@0.125

0.5m
+ 1RB6@0.125
วิบตั แิ บบปริเนื่องจากการทาบ
2-RB6@0.25
เหล็กเสริมทีโ่ คนเสา (Lap splice 0.30
1 1 + 1RB6@0.25

failure) มาตรฐาน มยผ.1301-

3.0m
Splice 2-RB6@0.125
0.65 m + 1RB6@0.125
50 ข้อ 4.4.7 กาหนดให้การทาบ 0.50
12-DB16

2-RB6@0.25
ต่อเหล็กเสริมในเสาให้กระทาที่ + 1RB6@0.25

1 1 2-RB6@0.125

0.5m
บริเวณช่วงกลางความสูงเสา < 6.25cm + 1RB6@0.125

2-RB6@0.20

0.5m
+ 1RB6@0.20

0.5m
2RB6 + 1RB6

You might also like