You are on page 1of 112

โรงแรมแอมบาสเดอร์, สุขุมวิท จัดโดย ส่วนพัฒนากายภาพ,

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 7 พฤษภาคม 2562.

เทคนิ คการดาเนิ นงานก่อสร้าง (สาหรับผูท้ ี่


ไม่ใช่วิศวกรโยธา) เพื่อป้ องกันการวิ บัติจาก
นา้ หนักบรรทุกและวิบตั ภิ ยั
ดร.ภาณุวฒ
ั น์ จ้อยกลัด
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ประจาภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม มศว
ผูช้ ่วยอธิการบดี ฝ่ ายพัฒนากายภาพและสิ่งแวดล้อม มศว
สามัญวิศวกรโยธา และผูช้ านาญการพิเศษ สภาวิศวกร
ประธาน สาขาคอนกรีตวัสดุและการก่อสร้าง สมาคมคอนกรีตแห่ งประเทศไทย
อดีตประธานอนุกรรมการ คอนกรีตและวัสดุ วิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทย ฯ
หัวข้อการบรรยาย
o รูจ้ กั วิศวกรโยธา
o วิศวกรรมควบคุม และกฎหมายทาง
วิศวกรรม
o น้ าหนักบรรทุก
o การควบคุมงานเสาเข็มและฐานราก
o การควบคุมงานคอนกรีต
ตอนที่ 1
รูจ้ กั วิศวกรโยธา
รูจ้ กั วิศวกรโยธา
ความเป็ นมาของศาสตร์ที่เก่าแก่
Military Engineer

To

Civil Engineer
รูจ้ กั วิศวกรโยธา
สภาวิชาชีพ/สมาคมที่ เกี่ ยวข้อง

• รับรองปริญญาทางวิศวกรรมโยธา • ใ ห้ ค ว า ม รู ้ ท า ง
• กากับดูแล (ออก/ระงับ ใบอนุ ญาต) ของวิศวกร วิศวกรรม
ภาคีวิศวกรโยธาพิเศษ • อบรมสัมมนา
ภาคีวิศวกรโยธา (ภย.) • ให้บริการความรู ้
สามัญวิศวกรโยธา (สย.) ทางวิศวกรรม
วุฒิวิศวกรโยธา (วย.)
รูจ้ กั วิศวกรโยธา
ระดับ ของวิ ศ วกร 4 ประเภท
เมื่ อแบ่งตามทักษะการทางาน
ประกอบด้วย

วุฒิ
สามัญ
ภาคี ภาคีพิเศษ
รูจ้ กั วิศวกรโยธา
When Building Stand = Good Architect !
When Building Collapsed = Bad Engineer

ตึกรอยัลพลาซ่าถล่ม เมื่ อปี 2538 เนื่ องจากการต่อเสริม


อาคารอย่างไม่ถกู ต้อง มีผเู ้ สียชีวติ กว่า 500 คน
ตอนที่ 2
วิศวกรรมควบคุม
วิศวกรรมควบคุม
พรบ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรม
วิศวกรรมควบคุม
พรบ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรม
วิศวกรรมควบคุม
วิศวกรรมควบคุม
วิศวกรรมควบคุม
วิศวกรรมควบคุม
วิศวกรรมควบคุม
“อาคารสาธารณะ” ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 4 (พ.ศ.2526)
และกฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตามความใน
พระราชบัญ ญัติ ค วบคุ ม อาคาร พ.ศ. 2522 หมายความว่ า
อาคารที่ใช้เพื่อประโยชน์ในการชุ มนุ มคนได้โดยทั่ วไป เพื่อ
กิจกรรมทางราชการ การเมื อง การศึ กษา การศาสนา การ
สั ง คม การนั น ทนาการหรื อ การพาณิ ช ยกรรม เช่ น โรง
มหรสพ หอประชุ ม โรงแรม โรงพยาบาล สถานศึ กษา
หอสมุ ด สนามกี ฬ ากลางแจ้ง สถานกี ฬ าในร่ ม ตลาด
ห้า งสรรพสิ นค้า ศูน ย์ก ารค้า สถานบริก าร ท่ าอากาศยาน
อุโมงค์ สะพาน อาคารจอดรถ สถานีรถ ท่าจอดเรือ โป๊ ะจอด
เรือ สุสาน ณาปนสถาน ศาสนสถาน เป็ นต้น
วิศวกรรมควบคุม
พรบ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรม
วิศวกรรมควบคุม
พรบ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรม
วิศวกรรมควบคุม
พรบ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรม
วิศวกรรมควบคุม
ตามมาตรา 26 ออกตามความในพระราชบัญ ญัติค วบคุ มอาคาร
พ.ศ.2522 กาหนดไว้ดงั นี้
ในกรณีที่การก่อสร้าง ดัดแปลง รื้อถอน หรือเคลื่อนย้ายอาคารที่
ขออนุ ญ าตนั้ น มี ลัก ษณะหรื อ อยู่ ใ นประเภทที่ ไ ด้ก าหนดเป็ นวิ ช าชี พ
วิศวกรรมควบคุมตามกฎหมายว่าด้วย วิชาชีพวิศวกรรมหรือเป็ นวิ ชาชีพ
สถาปั ตยกรรมควบคุ ม ตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพสถาปั ตยกรรม ถ้า
วิ ศวกรหรือสถาปนิ กผูร้ ับผิ ดชอบในการนั้ นตามที่ ระบุไว้ในคาขอมิ ได้
เป็ นผูไ้ ด้รบั ใบอนุญาตให้ ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมหรือวิชาชีพ
สถาปั ตยกรรมควบคุมตามกฎหมายดังกล่าว แล้วแต่กรณีให้เจ้าพนั กงาน
ท้องถิ่นปฏิเสธไม่รบั พิจารณาคาขอนั้น
วิศวกรรมควบคุม
พรบ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรม
วิศวกรรมควบคุม

1
2 3 4
5
ยกเว้น งานให้คาปรึกษา !
วิศวกรรมควบคุม
วิศวกรรมควบคุม
ตอนที่ 3
น้ าหนักบรรทุก
วัสดุวิศวกรรม : กลสมบัตขิ องวัสดุ
- ความถ่วงจาเพาะ
ถ้า ถ.พ. มากกว่า 1
นัน่ คือ วัตถุจะจม แต่นอ้ ยกว่า
1 วัตถุจะลอย

(นวมิตร ลิ่วธนมงคล, คู่มือรวมข้อมูลก่อสร้าง, 2538)


วัสดุวิศวกรรม : กลสมบัตขิ องวัสดุ
- หน่วยน้ าหนัก (นวมิตร ลิ่วธนมงคล, คู่มือรวมข้อมูลก่อสร้าง, 2538)

หน่ วยน้ าหนัก (Unit Weight) นิ ยามด้วย g = W/V


เมื่อ W คือ น้ าหนัก (Weight)
V คือ ปริมาตร (Volume) ที่สมนัยกับน้ าหนักข้างต้น
วัสดุวิศวกรรม : กลสมบัตขิ องวัสดุ
- หน่วยน้ าหนักงานดิน

(นวมิตร ลิ่วธนมงคล, คู่มือรวมข้อมูลก่อสร้าง, 2538)


วัสดุวิศวกรรม : กลสมบัตขิ องวัสดุ
- น้ าหนักแผ่ของวัสดุปู

(นวมิตร ลิ่วธนมงคล, คู่มือรวมข้อมูลก่อสร้าง, 2538)


วัสดุวิศวกรรม : กลสมบัตขิ องวัสดุ
- น้ าหนักแผ่ของวัสดุก่อ

(สมศักดิ์ คาปลิว, การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก, 2535)


มาตรฐานออกแบบ/ก่อสร้าง : มาตรฐาน
- น้ าหนักบรรทุกออกแบบ

(นวมิตร ลิ่วธนมงคล, คู่มือรวมข้อมูลก่อสร้าง, 2538)


มาตรฐานออกแบบ/ก่อสร้าง : มาตรฐาน
- แรงลมออกแบบ
(นวมิตร ลิ่วธนมงคล, คู่มือรวมข้อมูลก่อสร้าง, 2538)
มาตรฐานออกแบบ/ก่อสร้าง
: มาตรฐาน - อาคารทนไฟ

(นวมิตร ลิ่วธนมงคล, คู่มือรวมข้อมูลก่อสร้าง, 2538)


ตอนที่ 4
การควบคุมงาน
เสาเข็มและฐานราก
วิศวกรรมปฐพีและฐานราก : Soil Engineering
ทราย (Sand) ประกอบด้วยเม็ดใหญ่
น้ อ ยที่ ไม่ มี ค วามเชื่ อมแน่ น (Cohesionless
soils) หรื อ ไม่ มี แ รงยึ ด เกาะกัน ระหว่ า งเม็ ด
น้ าซึมผ่านได้ง่าย รับแรงแบกทานได้ดี
ดินทรายที่ความลึก 18 ม. (กรุงเทพฯ)
ดินตะกอนหรือดินเหนียว (Silt and
clay) เป็ นดิ นเม็ดละเอียด มี ความเชื่ อมแน่ น
(Cohesive soils) หรื อมีแรงยึดเกาะกัน
ระหว่า งเม็ด ดิ น น้ าซึ มผ่ า นได้ย าก มี การยืด
พองตั ว (heave) ซึ่ ง สามารถเปลี่ ย นแปลง
ปริมาตรได้ ดินเหนี ยวอ่อนที่ความลึก 3-10 ม. (กรุงเทพฯ)
การเจาะสารวจดิน

ชั้นดินเหนียว
35
(ดินอ่อน)
ใช้แรงดันน้ าใน
การกดกระบอก

การเก็บตัวอย่างดินเหนียว
thin tube sampler

ชั้นดินทราย
(ดินแข็ง)
ใช้ตมุ ้ ตอกใน
การกดกระบอก
+ SPT-N value

การเก็บตัวอย่างชั้นทราย
split sampler
วิศวกรรมปฐพีและฐานราก : Soil Engineering
– การเจาะสารวจ
ระยะห่ างหลุ ม
เจาะสารวจสาหรับ
ชั้ น ดิ น อ่ อ น ที่ มี
ความสมา่ เสมอ

ต า แ ห น่ ง ห ลุ ม เ จ า ะ ที่
แนะน าตามแต่ พื้ นที่ ก่ อ สร้า ง
รูปแบบต่างๆ

(วิทวัส สิทธิกูล, เทคนิคก่อสร้าง, 2544)


วิศวกรรมปฐพีและฐานราก : Soil Engineering
– Soil Profiles
พื้ นที่ราบลุ่มแม่น้ าเจ้าพระยาตอนล่างมีลกั ษณะชั้นดินแบบดินเหนี ยว
อ่อนปากแม่น้ า หรือเป็ นดินตะกอนที่ถูกพัดมาทับถมกัน หนาประมาณ 18
กม. มีชื่อเฉพาะว่า Bangkok Clay
0
0
Soft to medium silty CLAY
Stiff to very stiff silty CLAY -20
-20

-40
-40 Medium compact to very compact
fine to medium silty SAND Very compact fine to -60
-60 Hard sandy CLAY Hard Silty CLAY coarse SAND
End of Investigation -80
-80
วิศวกรรมปฐพีและฐานราก : Soil Engineering
– Soil Profiles
ดินชั้นบนของ Bangkok Clay ดินเหนี ยวอ่อน (Soft clay) หนา
ประมาณ 12 – 15 ม. รับน้ าหนักสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ไม่ได้
โดยทัว่ ไปต้องวางเข็มไปที่ช้นั ดินเหนี ยวแข็ง (Stiff clay) จนไปถึงชั้น
ทรายชั้นที่ 1 ซึ่งมีความลึกตั้งแต่ 19 – 27 ม.
หากสิ่งก่อสร้างมีน้ าหนักบรรทุกมากขึ้ น เช่น อาคารสูงตั้งแต่ 20 ชั้น
ขึ้ นไป อาจต้องวางเข็มไปที่ช้นั ดินเหนี ยวแข็งมาก (Hard clay) หรือชั้นทราย
ชั้นที่ 2 ซึ่งอาจพบที่ความลึกตั้งแต่ 38 – 49 ม. เป็ นต้นไป
ในบางกรณีอาจจาเป็ นต้องวางปลายเข็มไว้ในชั้นทรายชั้นที่ 3 ซึ่งมี
ความลึกตั้งแต่ 54 – 55 ม. เป็ นต้นไป
มาตรฐานออกแบบ/ก่อสร้าง : มาตรฐานออกแบบ
- น้ าหนักบรรทุกของดิน

(นวมิตร ลิ่วธนมงคล, คู่มือรวมข้อมูลก่อสร้าง, 2538)


มาตรฐานออกแบบ/ก่อสร้าง : ข้อแนะนา
- น้ าหนักบรรทุกของดิน
(สมศักดิ์ คาปลิว, การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก, 2535)

Bangkok Chao Pra Ya River Thunburi


0
0
Soft to medium silty CLAY

Stiff to very stiff silty CLAY -20


-20

-40
-40
Medium compact to very
compact fine to medium silty
SAND Very compact fine to -60
-60 coarse SAND
Hard sandy CLAY
Hard Silty CLAY
-80
End of Investigation
-80
วิศวกรรมปฐพีและฐานราก :
Foundation Engineering
– ข้อดี-ข้อเสียของฐานรากเสาเข็มแบบต่างๆ
(วิทวัส สิทธิกูล, เทคนิคก่อสร้าง, 2544)
วิศวกรรมปฐพีและฐานราก : Foundation Engineering
– ข้อดี-ข้อเสียของฐานรากเสาเข็มแบบต่างๆ

(วิทวัส สิทธิกูล, เทคนิคก่อสร้าง, 2544)


วิศวกรรมปฐพีและฐานราก : Foundation Engineering
– ข้อดี-ข้อเสียของฐานรากเสาเข็มแบบต่างๆ

(วิทวัส สิทธิกูล, เทคนิคก่อสร้าง, 2544)


วิศวกรรมปฐพีและฐาน
ราก : Foundation
Engineering
– ข้อดี-ข้อเสียของฐาน
รากเสาเข็มแบบต่างๆ

(วิทวัส สิทธิกูล, เทคนิคก่อสร้าง, 2544)


วิศวกรรมปฐพีและฐานราก : Foundation Engineering
– ระยะห่างของเสาเข็มในฐานราก
(วิทวัส สิทธิกูล, เทคนิคก่อสร้าง, 2544)
หากตอกเสาเข็ ม ใกล้กั น
มาก อาจทาให้กาลังรับน้ าหนัก
ของเสาเข็ ม ลดลงได้ หรื อ ที่
เรียกว่า Pile Group Effect
แนะนาระยะห่างของเสาเข็มในแต่ละฐาน
วิศวกรรมปฐพีและฐานราก : Foundation Engineering
– รูปแบบการจัดเรียงเสาเข็มในฐาน

รู ป แบบการ
จั ด เรี ย งเสาเข็ ม ใน
ฐานแบบต่างๆ
ทั้ ง นี้ ระยะ s
ให้พิ จ ารณาถึ ง Pile
Group Effect
มาตรฐานออกแบบ/ก่อสร้าง : มาตรฐานออกแบบ
- กาลังรับน้ าหนักของเสาเข็มไม้

(นวมิตร ลิ่วธนมงคล, คู่มือรวมข้อมูลก่อสร้าง, 2538)


วิศวกรรมปฐพีและฐานราก : Foundation Engineering
– กาลังรับน้ าหนักของเสาเข็มตอก โดยประมาณ
(นวมิตร ลิ่วธนมงคล, คู่มือรวมข้อมูลก่อสร้าง, 2538)
วิศวกรรมปฐพีและฐานราก : Foundation Engineering
– ลาดับการตอกเสาเข็ม

เพื่ อ ให้ปั ญหาการย้า ย


ปั้ น จั ่ น ล ด ล ง ค ว ร มี ก า ร
จัด ล าดับ (Sequence) ของ
การตอกเสาเข็มให้ชดั เจน

อี ก ทั้ ง ก า ร ก า ห น ด
ทิศทางที่ถูกต้องจะลดปั ญหา
เรื่ องการบวมตั ว ของดิ น
เนื่ องจากการติดอีกด้วย
(วิทวัส สิทธิกูล, เทคนิคก่อสร้าง, 2544)
วิศวกรรมปฐพีและฐานราก : Foundation Engineering
– การยกเสาเข็ม
ตาแหน่ งยกเสาเข็มจะถูกออกแบบมาโดยวิศวกร เพื่อปรับให้เกิด
โมเมนต์ในเสาเข็มน้อยที่ สุด หรือเกิดความสมมาตร ซึ่งจะทาให้ เหล็ก
เสริม/ลวดอัดแรงที่ออกแบบมีประสิทธิภาพสูงสุด
วิศวกรรมปฐพีและฐานราก : Foundation Engineering
– การกองเก็บเสาเข็ม
หลังจากเตรียมพื้ นที่ (ไม่มแี นวโน้มการทรุดตัวของพื้ นที่) ให้ใช้ไม้
ขนาด 1.5 นิ้ ว x 3 นิ้ ว รองคัน่ ระหว่างเสาเข็มแต่ละต้น ทั้งนี้ ต้องว่าง
ตาแหน่ งของไม้ดงั กล่าวให้ตรงกัน โดยการเพิ่มตาแหน่ งของไม้รองอาจลด
ขนาดของโมเมนต์ที่เกิดจากการของเก็บในเสาเข็มได้

(วิทวัส สิทธิกูล, เทคนิคก่อสร้าง, 2544)


วิศวกรรมปฐพีและฐานราก : Foundation Engineering
– เสาเข็มเจาะแบบแห้ง (Dry Method)

(วิทวัส สิทธิกูล, เทคนิคก่อสร้าง, 2544)

ก าลัง รับ
น้ า หนั ก ปลอดภั ย ของ
เสาเข็มเจาะ ที่ ก่อสร้าง
แบบแห้ง
วิศวกรรมปฐพีและฐานราก : Foundation Engineering
– เสาเข็มเจาะแบบปลอก (Casting Method)
วิศวกรรมปฐพีและฐานราก : Foundation Engineering
– เสาเข็มเจาะแบบปลอก (Casting Method)
วิศวกรรมปฐพีและฐานราก : Foundation Engineering – เสาเข็มเจาะแบบเปี ยก (Wet/Slurry Method)
วิศวกรรมปฐพีและฐานราก : Foundation Engineering
– เสาเข็มเจาะแบบเปี ยก (Wet/Slurry Method)

กาลังรับนา้ หนักปลอดภัยของเสาเข็มเจาะ ที่ ก่อสร้างแบบเปี ยก

(วิทวัส สิทธิกูล, เทคนิคก่อสร้าง, 2544)


ตอนที่ 5
การควบคุมงาน
คอนกรีต
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– ปั จจัยที่มีผลต่อคุณภาพคอนกรีต

ซีเมนต์ มวลรวม สารผสมเพิ่ม วัสดุเฉื่อย น้ า


คุณภาพของ ขนาด รูปร่าง คุณสมบัติ (ใช้ทดแทนซีเมนต์) ปริมาณ
ส่วนประกอบ ขนาดคละ ปริมาณ ทางเคมี คุณภาพของ และ
และความชื้ น ส่วนประกอบ คุณภาพ

สมรรถนะของคอนกรีตสด การผสม

การขนส่งและการเทลงแบบ + การจี้ เขย่า

สมรรถนะของคอนกรีตแข็ง
การบ่ม
วิศวกรรมปฐพีและฐานราก : คอนกรีตสด
–การจาแนกประเภทของคอนกรีตโดยน้ าหนัก
หากจาแนกตามน้ าหนักของคอนกรีต จะแบ่งได้ดงั นี้

คอนกรีตมวลเบา (Light weight concrete) คือ คอนกรีตที่มี


หน่ วยน้ าหนักน้อยกว่า 1,800 กก./ม.3
คอนกรีตมวลปรกติ (Normal weight concrete) คือ คอนกรีตที่มี
หน่ วยน้ าหนักประมาณ 2,400 กก./ม.3
คอนกรีตมวลหนัก (Heavy weight concrete) คือ คอนกรีตที่มี
หน่ วยน้ าหนักมากกว่า 3,200 กก./ม.3
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
–การจาแนกประเภทของคอนกรีตโดยกาลังอัด
กาลังอัด (compressive strength, f'c) เป็ นคุณสมบัติที่สาคัญที่สุด
ของคอนกรีต คานวณได้จากการนาแรงประลัย (Ultimate compressive
force, Pu) ที่กดชิ้ นทดสอบคอนกรีต (รูปทรงกระบอกมาตรฐานที่ 28 วัน)
หารด้วยพื้ นที่รบั แรง (Projected area, A) หรือ f'c = Pu/A

สาหรับประเทศไทย เมื่อแรงมีหน่ วยเป็ น “กก.” และพื้ นที่รับแรงมี


หน่ วยเป็ น “ซม.2” ค่ากาลังอัดจะมีหน่ วยเป็ น “กก./ซม.2” หรือ ksc

ในหน่ วย SI ค่ากาลังอัดมีหน่ วยเป็ น N/mm.2 หรือ MPa ซึ่งมีค่าน้อย


กว่า ksc ประประมาณ 10 เท่า
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
–การจาแนกประเภทของคอนกรีตโดยกาลังอัด

ในกรณี ข อง “คอนกรี ต มวลปรกติ ” หากแบ่ ง ตามก าลั ง อัด ประลั ย


(compressive strength) ที่ 28 วัน คือ

คอนกรีตกาลังต ่า (Low-strength concrete) คือ คอนกรีตที่มี


กาลังอัดน้อยกว่า 200 กก./ซม.2
คอนกรีตกาลังปานกลาง (Moderate-strength concrete) คือ
คอนกรีตที่มีกาลังอัดระหว่าง 200 – 400 กก./ซม.2
คอนกรีตกาลังสูง (High-strength concrete) คือ คอนกรีตที่มี
กาลังอัดสูงกว่า 400 กก./ซม.2
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– คุณสมบัตขิ องคอนกรีต vs. วัสดุอื่นๆ
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– ตัวอย่างปริมาณส่วนผสม/กาลัง
กาลังต ่า กาลังปานกลาง กาลังสูง
ส่วนผสม
กก./ม.3 กก./ม.3 กก./ม.3
ปูนซีเมนต์ 255 356 510
น้ า 178 178 178
มวลรวมละเอียด 801 848 890
มวลรวมหยาบ 1,169 1,032 872
อัตราส่วนซีเมนต์เพลสต่อน้ าหนัก 18 22.1 28.1
อัตราส่วนซีเมนต์เพลสต่อปริมาตร 26 29.3 34.3
อัตราส่วนน้ าต่อซีเมนต์ (W/C) โดยน้ าหนัก 0.70 0.50 0.35
กาลังรับแรงอัด (กก./ซม.2) 180 300 600
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– กาลังของคอนกรีต vs. ปริมาณน้ า

กาลังอัดของคอนกรีตขึ้ นอยูก่ บั
1. อัตราส่วนน้ าต่อซีเมนต์ (W/C ratio)
หรือปริมาณน้ าต่อวัสดุประสาน
2. ความต่อเนื่ องของปฏิกิริยาไฮเดรชัน
3. การบ่มและสภาวะแวดล้อม และ
4. อายุของคอนกรีต ฯ

อย่างไรก็ดีค่า w/c ถือว่าเป็ นปั จจัย


ที่สาคัญอันดับต้นๆ
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– ส่วนผสมของคอนกรีตอย่างง่าย

(นวมิตร ลิ่วธนมงคล, คู่มือรวมข้อมูลก่อสร้าง, 2538)


วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– ส่วนผสมของคอนกรีตอย่างง่าย
ปูนต์ซีเมนต์ : ทราย : หิ น

(นวมิตร ลิ่วธนมงคล, คู่มือรวมข้อมูลก่อสร้าง, 2538)


วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– ส่วนผสมของคอนกรีตอย่างง่าย

(นวมิตร ลิ่วธนมงคล, คู่มือรวมข้อมูลก่อสร้าง, 2538)


กาลังอัดประลัยที่ 28 วัน คอนกรีตผสมเสร็จ
(กก./ซม.2) ค่ายุบตัว วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด –
ทรงลูกบาศก์ ทรงกระบอก (ซม.) รูปทรงของชิ้ นทดสอบ
15x15x15 ซม. 15x30 ซม.
180 140 7.5 + 2.5
210 180 7.5 + 2.5
240 210 7.5 + 2.5
280 240 7.5 + 2.5
320 280 7.5 + 2.5 = 0.875x
350 300 7.5 + 2.5
380 320 7.5 + 2.5
กระบอก ลูกบาศก์
400 350 7.5 + 2.5
420 380 7.5 + 2.5 พบว่ากาลังของชิ้ นทดสอบแบบกระบอกมีค่าน้อย
450 400 7.5 + 2.5 กว่าแบบลูกบาศก์ ประมาณ 12.5%
210 180 10 + 2.5
240 210 10 + 2.5
280 240 10 + 2.5
320 280 10 + 2.5
350 300 10 + 2.5
380 320 10 + 2.5
400 350 10 + 2.5
420 380 10 + 2.5 ใช้ค่าการยุบตัว (slump) เป็ นตัวควบคุม
450 400 10 + 2.5
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การทดสอบการไหล

การวัดการยุบตัว (slump test), การทดสอบการไหล


(flow test), การจมของลูกบอล (ball penetration test) และ
การอัดแน่ น (compaction test) เป็ นวิธีที่ใช้โดยทัว่ ไป

อย่างไรก็ดี 2 วิธีที่เป็ นที่นิยม คือ (1) slump test และ


(2) flow test เนื่ องจากทาได้ง่าย
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– Slump Test

• ปริมาณน้ าและความสามารถในการทางานได้ของคอนกรีตสามารถ
ทดสอบได้จาก “การยุบตัวหรือ slump test”
กรวยสูง 30 ซม.

วัด slump
เครื่องมือ
ชัก slump
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– Slump Test
• ปริมาณน้ าและความสามารถในการทางานได้ของคอนกรีตสามารถ
ทดสอบได้จาก “การยุบตัวหรือ slump test”
ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2

เติมคอนกรีตในกรายประมาณ 1/3 เติมอีก 1/3 (= 2/3) แล้ว


โดยปริมาตรแล้วกระทุง้ 25 ครั้ง กระทุง้ 25 ครั้ง
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– Slump Test

ขั้นที่ 3 ขั้นที่ 4

เติมคอนกรีตจนล้นแล้ว หลังจากนั้นปาดคอนกรีตที่ล้น
กระทุ้ง 25 ครั้ง ออกให้สะอาด
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– Slump Test

ขั้นที่ 5 ขั้นที่ 6

ดึงกรายขึ้นตรงๆช้าๆ วัดระยะการยุบตัว
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– Slump Test

หากคอนกรี ตตั้งอยู่ดีจะสามารถวัดการยุบตัวได้ (รูป ก) แต่ หาก


คอนกรีตเปี ยกและเกาะกันไม่ได้ กองก็จะค่อยๆพังลงมาข้างใดข้างหนึ่ ง (รูป
ข) และถ้ามีน้ าผสมมากกองนั้นก็จะยุบตัวไปกองกับพื้ น (รูป ค) การยุบตัว
2 แบบหลังไม่ถูกต้องและไม่เป็ นที่ตอ้ งการ

(ก) (ข) (ค)


วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– Slump Test

ค่าการยุบตัวยิ่งมากกาลังของคอนกรีตก็จะยิ่งน้อย แต่
หากคอนกรีตแห้งมากไปก็จะทาให้คอนกรีตเทเข้าแบบยาก

ทั้งนี้ คอนกรีตที่มีหินหรือกรวดที่มีขนาดโตกว่า 2 นิ้ ว


การวัดค่าความข้นเหลวด้วยวิธีนี้จะไม่ค่อยมีประสิทธิภาพ

การเริ่ มก่ อ ตั ว ของคอนกรี ตตรวจสอบได้ จ าก


“ความสามารถในการเทได้ที่สูญเสียไป” หรือ “slump loss”
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– Slump Test

(นวมิตร ลิ่วธนมงคล, คู่มือรวมข้อมูลก่อสร้าง, 2538)


วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การเยิ้มและการแยกตัว
การแยกตัวสัมพันธ์กับการลาเลียงและการเท โดย
แนวโน้ ม การแยกตั ว จะเพิ่ ม ขึ้ นเมื่ อ ขนาดของมวลรวม ,
ปริมาณของมวลรวมและปริมาณน้ าเพิ่มขึ้ น

ในกรณี ที่ ส่ ว นผสมมี ค วามเหมาะสม การแยกตั ว


สามารถลดลงได้ โดย

1. หลีกเลี่ยงการเทคอนกรีตจากที่สูง
2. จี้ เขย่าอย่างถูกวิธี และ
3. อย่าจี้ เขย่านานเกินไป
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การเยิ้มและการแยกตัว

เป็ นรูปแบบหนึ่ งของการแยกตัว เนื่ องจากน้ าที่ม ากเกินไป


ท าให้ค อนกรี ต มี พ ฤติ ก รรมเป็ นสารแขวนลอย มวลหนั ก (หิ น
ทรายและซีเมนต์) จะตกลงล่างและน้ าจะลอยขึ้ นบน

สภาพน้ าที่เยิ้ม ผิวบนหลุดร่อนเนื่องจากมีแต่น้ า


วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– ผลจากการเยิ้ม

โครงสร้าง
คอนกรีตล้วน

จาลองการเกิด bleeding ในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก


วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– ผลจากการเยิ้ม

ทั้งน้ าที่ไหลขึ้ นบน (ซึ่งผ่านรอยต่อของหินและซีเมนต์เพลสต์)


จะสร้างร่องและทาให้แรงยึดหน่ วงตกลงและเป็ นผลให้กาลังตกลงได้

ร่องน้ าระหว่างหินและซีเมนต์

Shear-bond failure
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– ปั ญหาสูก่ ารออกแบบ

เพื่ อ แก้ไ ขปั ญ หาข้า งต้น จึ ง ควรท าการ


ออกแบบส่ ว นผสมคอนกรี ต อย่ า งถู ก ต้อ ง โดย
คานึ งถึงปริมาณน้ าในธรรมชาติของหินและทราย

ปั ญหาการหดตัว
ปั ญหาการแยกตัว
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด –การ
ขนส่งและการลาเลียง

สายส่ง รถส่ง
การขนส่งคอนกรีตสามารถ
ท าได้ห ลายวิ ธี แ ละด้ว ยเครื่ อ งมื อ
หลายชนิ ด ไม่ว่าจะเป็ น รถเข็น รถ
ผสม ท่อ สายพานและปั๊ ม
shotcrete tremie

pump
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
–การขนส่งและการลาเลียง

1. การแยกตัว ซึ่ ง มัก จะเกิ ด ณ จุ ด ที่ ค อนกรี ต เปลี่ ย น


ภาชนะจากอันหนึ่ งไปอีกอันหนึ่ ง

ดังนั้ นในจุดดังกล่าวจาเป็ นต้องมีอุปกรณ์ที่จะช่วย


ให้ค อนกรี ต รวมตัว และควรหลี ก เลี่ ย งท่ อ เหลี่ ย มเนื่ อง
อาจจะเกิดการติดค้างตามมุม

2. การสูญเสียน้ า หรือ w/C ลดลง ซึ่งอาจเกิดกจากการ


ล าเลี ย งที่ มี ร ะยะทางไกล ในกรณี ข องสายส่ ง ควรมี
หลังคา
วิวิศศวกรรมคอนกรี
วกรรมคอนกรีตต: :คอนกรี
คอนกรีตตสด
สด
–แบบหล่
– การล้าองทาความสะอาด
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
–ระยะหุม้ - GOOD
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
–ระยะหุม้ - GOOD
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
–ระยะหุม้ - POOR
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
–ระยะหุม้ - POOR
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
–ระยะหุม้
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
–ระยะหุม้
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
–ระยะหุม้
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การเทคอนกรีต

คอนกรีตที่มีคุณภาพดีแต่หากเทคอนกรีตลงแบบ
ไม่ดีอาจทาให้กาลังตกลงได้ โดยก่อนที่จะเทคอนกรีต

ต้องเตรียมพื้ นที่ให้สะอาด โดยเฉพาะในกรณีที่จะ


เทคอนกรีตใหม่ลงบนคอนกรีตเก่า ต้องมีการเตรียมพื้ นที่
ให้มีความหยาบ เพื่อให้เกิดแรงเสียดทาน ทั้งนี้ พื้ นที่ควร
มีความชื้ นที่เพียงพอเพิ่มเสริมการยึดเกาะ

โดยข้อปฏิบตั ิในการเทมีดงั นี้


วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การเทคอนกรีต

จุดที่ concrete อยูค่ วรจะวางใว้ให้ใกล้กบั แบบหล่อ


มากที่สุด
ต้องไม่เทในลักษณะที่จะทาให้คอนกรีตไหลไปเอง
ทางข้าง เพราะจะทาให้เกิดการแยกตัวได้ง่าย

ควรเทคอนกรีตตรงและไม่มีมุม เพื่อป้ องกันการ


แยกตัว ในกรณีที่ใช้ท่อช่วยเทอย่าดึงจนท่อเอียงแล้วค่อยเท
ควรแน่ ใจว่าท่ออยูใ่ นแนวดิ่งก่อน
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การเทคอนกรีต

ในกรณี ที่ แ บบมี ค วามลึ ก ใช้ท่ อ หรื อ แผงกั้ น เพื่ อให้


คอนกรีตตกลงตรงๆ

ไม่ ค วรเทให้ค อนกรี ต ให้ก องเป็ นเนิ น สู ง ๆควรแบ่ ง เท


คอนกรีตออกเป็ นชั้นๆให้แผ่ทวั ่ โดยแต่ละชั้นไม่เกิน 45 ซม.
วิศวกรรมปฐพีและฐานราก : คอนกรีตสด
– การเทคอนกรีต

ไม่ควรให้คอนกรีตปะทะกับแบบหล่อโดยตรง

ท่อสั้นอย่างนี้มีโอกาสที่คอนกรีตจะ
กระทบกับแบบหล่อได้
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การทาคอนกรีตให้แน่น

การทาให้คอนกรีตแน่ นสามารถทาได้โดยการ (1) กระทุง้ ด้วยมือ


(2) การเคาะไม้แบบ และ (3) ใช้เครื่องมือสัน่ โดยวิธีสุดท้ายเป็ นวิธีที่มี
ความเหมายะสมที่สุด
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การทาคอนกรีตให้แน่น

การจี้ ควรจุ่ ม หัว ในแนวดิ่ ง โดยให้ร ะยะระหว่ า งจุ ด ที่ จุ่ ม


ประมาณ 45-75 ซม.

การสัน่ ควรทิ้ งช่วงไว้ประมาณ 5-15 วินาที และดึงหัวจุ่ม


ออกอย่างช้าๆ (ห้ามใช้วิธีลากไปมา)
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การทาคอนกรีตให้แน่น

การสั ่น ต้ อ งท าให้ ต ลอดความหนาของชั้ น


คอนกรี ต และให้จุ่ม ลึ ก ลงไปในชั้นของคอนกรี ตที่ เทไว้
ก่อน (หลายๆเซนติเมตร) ➔ เพื่อให้คอนกรีตเป็ นเนื้ อ
เดียวกัน
หัวสัน่ อาจจะกระทบกับเหล็กเสริมได้ (ต้องผูก
เหล็กเสริมให้แน่ นก่อน) แต่ไม่ควรให้หวั จี้ ไปโดนไม้แบบ
เพราะจะทาให้เป็ นรอยถายหลังจากการถอดไม้แบบแล้ว
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– ผลจากคอนกรีตที่แน่น

• เครื่ อ งสั น่ ไม่ ใ ช่ ตั ว ที่ ท าให้


ค อ น ก รี ต แ ข็ ง แ ร ง ขึ้ น
เพียงแต่ช่วยให้ผสมคอนกรีต
ไ ด้ ข ้ น ก ว่ า ซึ่ ง จ ะ ท า ใ ห้
คอนกรีตมีกาลังสูงและและ
มีคุณภาพดี
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– ผลจากคอนกรีตที่แน่น

คอนกรีตที่มีการสัน่ จะมีค่า slump จะลดลง


ได้เกือบครึ่งหนึ่ งของคอนกรีตที่ยงั ไม่สนั ่

การสัน่ ที่ ถูก ต้องจะไม่ท าให้เกิ ดการแยกตัว


การเยิ้ มแต่ ตอ้ งส่งผลให้เกิ ด การความเน่ นและเพิ่ม
แรงยึดหน่ วงระหว่างเหล็กเสริมและคอนกรีต
Honeycombing
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การบ่มคอนกรีต

คือ การบารุงรักษาคอนกรีตให้มีคุณภาพดี โดยการ


ป้ องกันไม่ให้ปริมาณน้ าที่ตอ้ งใช้ในการทาปฏิก ริยาไฮเดรชัน่
สูญเสียไวเกิน

การสู ญ เสี ย ดัง กล่ า วเป็ นผลให้ค อนกรี ต หดตัว และ


แตกร้าวได้

การบ่มน้ าทันที่คอนกรีตควรจะกระทาทันที่ หลังจาก


การเทและเมื่อคอนกรีตเริ่มมีสภาพหมาดๆ ไปจนคอนกรี ต
ได้กาลังซึ่งแล้วแต่ประเภทของซีเมนต์
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การบ่มคอนกรีต

เพื่ อ ให้ค อนกรี ต มี คุ ณ ภาพ ต้อ งบ่ ม


โดยพยามยามให้มี อุ ณ หภู มิ ป ระมาณ 22
องศา เป็ นเวลาอย่ า งน้ อ ย 3 วัน และบ่ ม
ต่อเนื่ องไป 7 วัน

วิธีการบ่มโดยทัว่ ไป มีดงั นี้

1. การขัง น้ า หรื อ หล่ อ น้ า จากการใช้ ดิ น


เหนี ย วและอิ ฐ ก่ อ โดยให้น้ า มี ค วามสู ง
ประมาณ 2 ซม. ทั้งนี้ ต้องระวังการรัว่ ซึม
และต้องแน่ ใจว่าพื้ นมีความราบ
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การบ่มคอนกรีต

2. การใช้ วั ส ดุ เ ปี ยกชื้ นคลุ ม โดยมากใช้


กระสอบป่ านและพรมน้ าให้ชุ่ม วิธีนี้ นิ ยม
เนื่ องจากง่ายและมีราคาถูก
3. การใช้ทราย ขี้ เลี่อย ฟางข้าวหรือดิน ที่ชื้น
คลุม วิธีนี้ง่ายแต่ค่อนข้างสกปรก
4. การใช้กระดาษกันซึมคลุมไว้ โดยกระดาษนี้
ต้องพรมน้ าให้เปี ยกอยูต่ ลอดเวลา ค่ อนข้าง
มีราคาแพงเพราะเป็ นกระดาษกาวเหนี ยว
2 ชั้นที่ยดึ ด้วยกาว
กระสอบคลุม
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การบ่มคอนกรีต

5. การใช้พ ลาสติ ก คลุ ม เพื่ อ ป้ อ งกัน การระเหยของน้ า ใน


คอนกรี ต (คล้ายกับใช้กระดาษ) มีน้ าหนั กเบา ท าง่าย
ราคาไม่แพงและไม่ตอ้ งคอยรดน้ า แต่ ตอ้ งระวังการฉี ก
ขาดและปลิว
6. การฉี ด น้ า พรมน้ า หรื อ รด
น้ า เพื่ อ ท าให้ค อนกรี ต ชุ่ ม
ตลอดเวลา แต่ตอ้ งไม่ให้เกิด
การเปี ยกแห้ง สลับ กัน ไปมิ
เช่นนั้นจะเกิดรอบร้าวได้
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การบ่มคอนกรีต

7. การใช้สารเคมี (curing compound) ใช้พ่นลงบนพื้ นผิวคอนกรีต เพื่อป้ องกัน


ไม่ให้น้ าระเหย ให้ผลดี ง่ายแต่คอนข้างมีราคาแพง
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– การบ่มคอนกรีต

8. การใช้ไอน้ า (steam curing) เป็ น


การให้ค วามร้อ นและความชื้ นแก่
คอนกรี ต จึ ง ช่ ว ยเร่ ง ปฏิ ก ริ ย าไฮ
เดรชัน่ แต่ตอ้ งมีเนื้ อที่ในการบ่ม จึง
ไม่เหมาะกับคอนกรีตในสนามแต่จะ
เหมาะกับคอนกรีตแบบหล่อสาเร็จ
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– ระยะเวลาในการบ่ม

ระยะเวลาในการบ่ ม ขึ้ นอยู่กับ ประเภทของ


ซีเมนต์และส่วนผสมของคอนกรีต กาลังของคอนกรีต
ที่ตอ้ งการ ขนาดและรูปร่างของโครงสร้างคอนกรี ต
อุณหภูมิและความชื้ นขณะที่ทาการบ่ม

สาหรับโครงสร้า งทัว่ ไป ไม่ค วรน้ อ ยกว่ า 7


วัน และอาจจะเป็ น 28 วัน หรื อมากกว่า นี้ สาหรับ
คอนกรีตที่มีความหนามากๆ เช่น คอนกรีตหลา ฯ
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– ความรวดเร็วในการบ่ม vs. Strength

เมื่อมีการบ่มคอนกรีต
ทันที จะพบว่ากาลังรับแรงอัด
สู ง กว่ า คอนกรี ตที่ เพิ่ ม บ่ ม
หลังจากปล่อยทิ้ งไว้หลายวัน
วิศวกรรมคอนกรีต : คอนกรีตสด
– ระยะเวลาในการถอดแบบ

สาหรับปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1

(วิทวัส สิทธิกูล, เทคนิคก่อสร้าง, 2544)


ขอบคุณครับ

http://physdo.op.swu.ac.th/
เอกสารอ้างอิง
1. ภาณุ วฒ ั น์ จ้อยกลัด, เอกสารประกอบการสอน วิชา วศย
๓๒๑ การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก, ภาควิชาวิศวกรรม
โยธาและสิ่งแวดล้อม, มศว, 2558.
2. วิทวัส สิทธิกูล, เทคนิคก่อสร้าง (Construction Technique),
2544.
3. วินิ ต ช่ อ วิ เ ชี ย ร, การออกแบบโครงสร้า งคอนกรี ต เสริ ม
เหล็ก ด้วยวิธีกาลัง (Reinforced Concrete Design :
Strength Design Method), 2545.
4. นวมิตร ลิ่วธนมงคล, คู่มือรวมข้อมูลก่อสร้าง, 2538.
5. สมศักดิ์ คาปลิว, การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ ก,
2535.
6. สุขสม เสนานาญ, เขียนแบบก่อสร้าง, สานั กพิมพ์ ส.ส.ท.,
2537.

You might also like