You are on page 1of 19

ตัวอย่างที่ 3.

1 สมมติหม้อแปลงขนาด 50 kVA 2400/240 V มีค่าพารามิเตอร์ต่างๆดังนี้


R1 = 4.5  R2 = 0.06  X1 = 6.8  X2 = 0.08 
Rc1 = 50 k Xm1 = 5.0 k
ก. จงหาวงจรสมมูลแบบแม่นตรงอ้างอิงด้านปฐมภูมแิ ละอ้างอิงด้านทุตยิ ภูมขิ องหม้อแปลง
ข. จงหาวงจรสมมูลโดยประมาณอ้างอิงด้านปฐมภูมแิ ละอ้างอิงด้านทุตยิ ภูมขิ องหม้อแปลง
วิ ธีทา ก. จากข้อมูลทีก่ าหนดให้ สามารถเขียนวงจรสมมูลแบบแม่นตรงของหม้อแปลงได้ดงั รูปที่
3.24

2400 : 240 I2
I1 j6.8  0.06  j0.08 
4.5 

V1 50 k  j5.0 k  V2

รูปที่ 3.24 วงจรสมมูลแบบแม่นตรงของตัวอย่างที่ 3.1

N1 V1 2400
อัตราส่วนรอบหรืออัตราส่วนแรงดันของหม้อแปลงนี้คอื  
N 2 V2 240
 10

การหาวงจรสมมูลแบบแม่นตรงอ้างอิงด้านปฐมภูม ิ ต้องโอนย้ายอิมพีแดนซ์ดา้ นทุตยิ ภูมไิ ป


ไว้ดา้ นปฐมภูม ิ นันคื
่ อ
R1  a 2 R2  10 2  0.06  6 

X 1  a 2 X 2  10 2  0.08  8 

ดังนัน้ จะได้วงจรสมมูลแบบแม่นตรงอ้างอิงด้านปฐมภูมดิ งั รูปที่ 3.25


I2 /a
I1 j6.8  6 j8 
4.5 

V1 50 k  j5.0 k  aV2

รู ปที่ 3.25 วงจรสมมูลแบบแม่นตรงอ้างอิงด้านปฐมภูมิของหม้อแปลงตัวอย่างที่ 3.1

การหาวงจรสมมูลแบบแม่นตรงอ้างอิงด้านทุตยิ ภูมติ ้องโอนย้ายอิมพีแดนซ์ด้านปฐมภูมไิ ปไว้


ด้านทุตยิ ภูม ิ นันคื
่ อ
R1 4.5
R2    0.045 
a 2 10 2
X 1 6.8
X 2    0.068 
a 2 10 2
Rc1 50000
Rc2    500 
a2 10 2
X m1 5000
X m 2    50 
a2 10 2
ดังนัน้ จะได้วงจรสมมูลแบบแม่นตรงอ้างอิงด้านทุตยิ ภูมดิ งั รูปที่ 3.26

aI1 I2
j0.068  0.06  j0.08 
0.045 

V1 /a 500  j50  V2

รู ปที่ 3.26 วงจรสมมูลแบบแม่นตรงอ้างอิงด้านทุติยภูมิของหม้อแปลงตัวอย่างที่ 3.1

ก. จากข้อมูล ที่กาหนดให้ สามารถเขียนวงจรสมมูลโดยประมาณของหม้อแปลงได้ดงั รูปที่


3.27
I1 2400 : 240 I2
j6.8  0.06  j0.08 
4.5 

V1 50 k j5.0 k V2

รูปที่ 3.27 วงจรสมมูลโดยประมาณหม้อแปลงตัวอย่างที่ 3.1

การหาวงจรสมมูลโดยประมาณอ้างอิงด้านปฐมภูม ิ ต้องโอนย้ายอิมพีแดนซ์ดา้ นทุตยิ ภูมไิ ปไว้


ด้านปฐมภูม ิ นันคื
่ อ
Req1  R1  a 2 R2  4.5  10 2  0.06  10.5 

X eq1  X 1  a 2 X 2  6.8  10 2  0.08  14.8 

ดังนัน้ จะได้วงจรสมมูลแบบแม่นตรงอ้างอิงด้านปฐมภูมดิ งั รูปที่ 3.28

I1 I2/a

10.5  j14.8 

V1 50 k j5.0 k aV2

รู ปที่ 3.28 วงจรสมมูลโดยประมาณอ้างอิงด้านปฐมภูมิหม้อแปลงตัวอย่างที่ 3.1

การหาวงจรสมมูลโดยประมาณอ้างอิงด้านทุตยิ ภูม ิ ต้องโอนย้ายอิมพีแดนซ์ดา้ นปฐมภูมไิ ปไว้


ด้านทุตยิ ภูม ิ นันคื
่ อ

R1 4.5 
Req 2  R2  2
 0.06  2  0.105
a 10
X1 6.8
X eq 2  X 2  2
 0.08  2  0.148 
a 10
Rc1 50000
Rc2    500 
a2 10 2
X m1 5000
X m 2    50 
a2 10 2
ดังนัน้ จะได้วงจรสมมูลโดยประมาณอ้างอิงด้านทุตยิ ภูมดิ งั รูปที่ 3.29

aI1 I2

0.105  j0.148 

V1 /a 500  j50  V2

รูปที่ 3.29 วงจรสมมูลโดยประมาณอ้างอิงด้านทุติยภูมิหม้อแปลงตัวอย่างที่ 3.1


Z eq1
จากวงจรสมมูลในรูปที่ 3.28 และรูปที่ 3.29 จะพบว่า Z eq1  a 2 Z eq 2 และ Z eq 2 
a2

ตัวอย่างที่ 3.2 หม้อแปลงตัวหนึ่งมีพารามิเตอร์ต่างๆดังนี้ N1 = 50 รอบ N2 = 100 รอบ R1


= 0.1  R2= 0.4  L1 = 0.6631 mH และ L2 = 2.653 mH กระแสกระตุน ้ ด้านปฐมภูม ิ
1.414cos(377t-80) A ถ้าแรงดันและกระแสด้านทุตย ิ ภูมเิ ป็ น v2(t) = 707cos(377t) V และ i2(t)
= 14.14cos(377t-36.9) A ตามลาดับ
ก. จงหาแรงดันและกระแสด้านปฐมภูมใิ นรูปของเฟสเซอร์
ข. จงหากาลังงานจ่ายเข้าและประสิทธิภาพของหม้อแปลง

วิ ธีทา จากค่าทีโ่ จทย์กาหนดต้องเปลีย่ นค่าเชิงเวลาให้อยูใ่ นรูปของเฟสเซอร์


 707
v2 (t )  707cos(377t ) จะได้ V2  0  500 0 Vrms
2
 14.14
i2 (t )  14.14cos(377t  36.9 ) จะได้ I2    36.9  10  36.9 Arms
2
 1.414
iex (t )  1.414cos(377t  80 ) จะได้ I ex    80  1.0  80 Arms
2
X 1  L1  377  0.6631 10 3  0.250 

X 2  L2  377  2.653  10 3  1.0 

N1
a  50  0.5
N 2 100

ก. การหาแรงดันและกระแสด้านปฐมภูมติ อ้ งใช้วงจรอ้างอิงด้านปฐมภูม ิ
Req1  R1  a 2 R2  0.1  (0.5) 2  0.4  0.2 

X eq1  X 1  a 2 X 2  0.25  (0.5) 2 1.0  0.5 

ดังนัน้ จะได้วงจรสมมูลโดยประมาณอ้างอิงด้านปฐมภูมขิ องหม้อแปลงดังรูปที่ 3.41



I 2 10
   36.9  20.0  36.9 A
a 0.5

  I2
I1  I ex   1.0  80  20  36.9
a

I1  16.17  j12.99  20.74  38.78 Arms ##

  I2
V1  aV2  ( Req1  jX eq 2 )
a

V1  0.5  (5000 )  (20  36.9 )  (0.2  j 0.5)  5259 .1993  j5.968

V1  259.261.237  Vrms #

I1 I1 I2/a
j 0.5 
Iexc 0.2 

V1 Rc1 jXm1 aV2

รูปที่ 3.41 วงจรสมมูลโดยประมาณอ้างอิงด้านปฐมภูมิของตัวอย่างที่ 3.2

ข. หากาลังงานจ่ายเข้าและประสิทธิภาพหม้อแปลง

Pin  Re{V1I1*}  Re{(259.261.237  )  (20.74  38.78 )}
Pin  4118 .04 W

Pout  V2 I 2 cos2  500 10  cos36.9  3998.4 W

Pout
 100%  3998 .4 100%  97.07% #
Pin 4119 .04

ตัวอย่างที่ 3.3 หม้อแปลงขนาด 10 kVA 2300/230 V มีค่าพารามิเตอร์ต่างๆดังนี้


R1 = 4.4  R2 = 0.04 
X1 = 5.5  = 0.06 
X2
Rc1 = 48 k Xm1= 4.5 k
ก. จงหาวงจรสมมูลโดยประมาณอ้างอิงด้านปฐมภูมขิ องหม้อแปลง
ข. จงหาวงจรสมมูลโดยประมาณอ้างอิงด้านทุตยิ ภูมขิ องหม้อแปลง
ค. ถ้าหม้อแปลงจ่ายโหลดพิกดั ทีแ่ รงดันคงทีด่ ว้ ยตัวประกอบกาลัง 0.8 PF Lagging
ง. จงหาประสิทธิภาพของหม้อแปลง ตามการจ่ายโหลดในข้อ ค.

วิ ธีทา ก. วงจรสมมูลโดยประมาณอ้างอิงด้านปฐมภูม ิ ต้องทาการย้ายอิมพีแดนซ์ดา้ นทุตยิ ภูม ิ


ทัง้ หมดมาด้านปฐมภูม ิ
V1 2300
a   10
V2 230

Req1  R1  a 2 R2  4.4  10 2  0.04  8.4 

X eq1  X 1  a 2 X 2  5.5  10 2  0.06  11.5 

ดังนัน้ จะได้วงจรสมมูลอ้างอิงด้านปฐมภูมดิ งั รูปที่ 3.42


I1 I1 I2 /a
j 11.5 
8.4 
Iexc
V1 48 k  j4.5 k  aV2

รูปที่ 3.42 วงจรสมมูลโดยประมาณอ้างอิงด้านปฐมภูมิของตัวอย่างที่ 3.3

ข. วงจรสมมูลอ้างอิงด้านทุตยิ ภูม ิ ต้องย้ายอิมพีแดนซ์ดา้ นปฐมภูมทิ งั ้ หมดมาไว้ดา้ นทุตยิ ภูม ิ


R1 4.4
Req 2  R2  2
 0.04  2  0.084 
a 10

X1 5.5
X eq 2  X 2  2
 0.06  2  0.115 
a 10

Rc1 48  10 3
Rc 2    480 
a2 10 2

X m1 4.5  10 3
X m2  2   45 
a 10 2

ดังนัน้ จะได้วงจรสมมูลอ้างอิงด้านทุตยิ ภูมดิ งั รูปที่ 3.43

aI1 aI1 I2
j0.115 
aIexc 0.084 

V1 /a 480  j45  V2

รู ปที่ 3.43 วงจรสมมูลโดยประมาณอ้างอิงด้านทุติยภูมิของตัวอย่างที่ 3.3

ข. การหาแรงดันด้านปฐมภูมแิ ละแรงดันปรับแก้ ใช้วงจรสมมูลโดยประมาณอ้างอิงด้านทุตยิ


ภูมติ ามทีแ่ สดงในรูปที่ 3.43 ของข้อ ข.

V1  
 V2  I 2 ( Req 2  jX eq 2 )
a
V1
 230  j0  43.48(0.8  j0.6)(0.084  j0.115)
a

V1 V
 235.92  j1.81
a
 V
V1  2359 .2  j18.1

V1  2359 .270.44 V
 
V1 / a  V2
VR    100 %
V2

VR  235 .92  230  100 %  2.57%


230

ง. ประสิทธิภาพได้จาก
V2 I 2 cos 
  100 %
Pcu  Pcore  V2 I 2 cos 

2
โดยที่ Pcu  I 22 Req 2 และ Pcore  V1 /a / RC

Pout  10000  0.8  8000 W

Pcu  43.482  0.084  158.8 W


2
Pcore  235.92  115.95 W
480

8 103
 100%  96.68%
8 103  115.95  158.8

ตัวอย่างที่ 3.4 หม้อแปลงขนาด 50 kVA 32000/400 V มีค่าพารามิเตอร์ต่างๆดังนี้


RHV = 120  RLV = 0.024  XHV = 440  XLV = 0.1 
กาลังงานสูญเสียในแกนเหล็ก 600 W ที่ แรงดัน 400 V
มุมตัวประกอบกาลังในสภาวะไร้โหลด 78 องศา
ถ้านาหม้อแปลงตัวนี้ไปใช้งานแบบแปลงแรงดันเพิม่ ขึน้ โดยต่อโหลดเข้ากับด้านแรงดันสูง ถ้า
หม้อแปลงจ่ายโหลดเต็มทีด่ ว้ ยแรงดันพิกดั 32000 V ตัวประกอบกาลังของโหลดมีค่า 0.8 กระแสล้า
หลัง
ก. จงหาแรงดันทีจ่ า่ ยเข้าทางขดลวดแรงดันต่าและตัวประกอบกาลังทางขดลวดแรงดันต่า
ข. จงหาแรงดันปรับแก้และประสิทธิภาพของหม้อแปลงเมือ่ จ่ายโหลดเต็มที่
ค. จงหาประสิทธิภาพของหม้อแปลงตลอดวัน ถ้าหม้อแปลงตัวนี้จา่ ยโหลดเต็มทีว่ นั ละ 8
ชัวโมง
่ เวลาทีเ่ หลืออยูใ่ นสภาวะไร้โหลด

วิ ธีทา ก. ถ้านาหม้อแปลงไปใช้งานแบบเพิม่ แรงดัน แล้วด้านแรงดันต่าจะเป็ นด้านปฐมภูมสิ ่วนด้าน


แรงดันสูงจะเป็ นด้านทุตยิ ภูม ิ
R2 = RHV = 120 
R1 = RLV = 0.024 
X2 = XHV = 440 
X1 = X LV = 0.1 
V1
a  400  0.0125
V2 32000

Req1  R1  a 2 R2  0.024  (0.0125 ) 2 120  0.04275 

X eq1  X 1  a 2 X 2  0.1  (0.0125 ) 2  440  0.16875 

ดังนัน้ จะได้วงจรสมมูลโดยประมาณอ้างอิงด้านปฐมภูมดิ งั แสดงในรูปที่ 3.44

I1 I1 I2 /a
j 0.16875 
0.04275 
Iexc
V1 Rc1 jXm1 aV2

รูปที่ 3.44 วงจรสมมูลโดยประมาณอ้างอิงด้านปฐมภูมิของตัวอย่างที่ 3.4

I 2  50 10  1.5625 A
3 I2
กระแสด้านทุตยิ ภูม ิ และ a
 125
3200

cos  2  0.8 lagging

ดังนัน้  2   cos1 0.8  36.87 


นันคื
่ อ I2
 125  36.87 A
a

  I2
จากวงจรสมมูล V1  aV2  ( R eq1 jX eq1 )
a

V1  (0.0125)(32000 0 )  125(0.8  j 0.6)(0.04275  j 0.16875 )

V1  416.93  j13.67  417.1541.878 V


2
จาก Pcore  I c1
2 2
Rc1  V1 / Rc1 ดังนัน้ Rc1  417.154  290 
600
V1 417 .154
I c1    1.438 A
Rc1 290

I c1  I ex cos nl

I c1
I ex   1.438  6.92
cos nl cos 78 A


I ex  6.92  78 A

 I2 
I1   I ex  125  36.87   6.92  78
a

I1  125(0.8  j0.6)  6.92(0.208  j0.978)  101.44  j81.77  130.29  38.87 A

cos1  cos(1.878  38.87  )  0.758 Lagging ##


ข. การหาแรงดันปรับแก้และประสิทธิภาพของหม้อแปลง ต้องใช้วงจรสมมูลอ้างอิงด้านทุตยิ
ภูม ิ
R1
Req 2  R2   120  0.024 2  273.6 
a2 0.0125

X
X eq 2  X 2  1  440  0.1  1080 
a2 0.01252

ดังนัน้ จะได้วงจรสมมูลโดยประมาณอ้างอิงด้านทุตยิ ภูมดิ งั แสดงในรูปที่ 3.45


aI1 aI1 I2
j1080 
aIexc 273.6 

V1 /a Rc2 jXm2 V2

รูปที่ 3.45 วงจรสมมูลโดยประมาณอ้างอิงด้านทุติยภูมิของตัวอย่างที่ 3.4


V1  
 V2  I 2 ( Req 2  jX eq 2 )
a

V1
 32000  1.5625(0.8  j 0.6)(273.6  j1080 )  33354 .5  j1093 .5
a

V1
 33372.421.88 V
a

VR  33372 .42  32000  100 %  4.29%


32000

Pout  50kVA  0.8  40kW

Pcu  1.5625 2  273.6  667.97W

Pcore  600W


40  10 3
 100 %  96.93%
##
40  10 3  667 .97  600

ค. ประสิทธิภาพตลอดวัน
Pout  hr
 100 %
Pout  hr  Pcu  hr  Pcore  24


40  10 3  8
 100 %  94.19%
##
40  10 3  8  667 .97  8  600  24
ตัวอย่างที่ 3.5 หม้อแปลงตัวหนึ่งมีประสิทธิภาพสูงสุด 98 % เมือ่ จ่ายโหลด 15 kVA ตัวประกอบ
กาลัง 1.0 สมมติว่าในเวลาหนึ่งวันหม้อแปลงต้องจ่ายโหลดดังนี้
จ่ายโหลด 2 kW ตัวประกอบกาลัง 0.5 เป็ นเวลา 12 ชัวโมง ่
จ่ายโหลด 12 kW ตัวประกอบกาลัง 0.8 เป็ นเวลา 6 ชัวโมง ่
จ่ายโหลด 18 kW ตัวประกอบกาลัง 0.9 เป็ นเวลา 6 ชัวโมง ่
จงหาประสิทธิภาพตลอดวันของหม้อแปลง
วิ ธีทา ทีค่ ่าประสิทธิภาพสูงสุด Pcore  Pcu
Pout
max 
Pout  2 Pcore

Pout 15 103  15 103


 Pout
max W
Pcore   0.98  153.06
2 2

Pcore  Pcu  153.06 W

เนื่องจากกาลังงานสูญเสียในขดลวดของหม้อแปลงทีโ่ หลดใดๆได้จาก Pcu  I 22 Req 2 ถ้าทราบ


กาลังงานจ่ายออกก็สามารถหากระแส I2 ได้ เนื่องจากว่าในการใช้งานมักจะให้ V2 คงที่ ดังนัน้
I 2  Pout /(V2cosθ2 )
ทีก่ าลังงานจ่ายออก Pout1 และ Pout2 ใดๆ กาลังงานสูญเสียในขดลวดจะเป็ น

Pout1 2 Pout2
Pcu1  I 21
2
Req 2  (
V2 cos 21
) Req 2 และ Pcu 2  I 22
2
Req 2  (
V2 cos 22
) 2 Req 2

ดังนัน้ อัตราส่วนของกาลังงานสูญเสียในขดลวดของกาลังงานจ่ายออก Pout1 และ Pout2 ใดๆ


คือ
Pcu1 P cos 22 2
 ( out1  )
Pcu 2 Pout cos 21

จากโจทย์กาหนดให้ Pout = 15 kW ได้ Pcu = 153.06 W


ทีโ่ หลด 2 kW ตัวประกอบกาลัง 0.5 จะได้
153 .06  (15  10 3  0.5 ) 2
Pcu 2 2  10 3 1.0

Pcu 2  10.88 W

ทีโ่ หลด 12 kW ตัวประกอบกาลัง 0.8 จะได้


153 .06  (15  103  0.8 ) 2
Pcu 2 12  103 1.0

Pcu 2  153.06 W

ทีโ่ หลด 18 kW ตัวประกอบกาลัง 0.9 จะได้


153 .06  (15  103  0.9 ) 2
Pcu 2 18  103 1.0

Pcu 2  272.11 W

 Pout  hr
ประสิทธิภาพตลอดวัน all  100 %
 Pout  hr   Pcu  hr  Pcore  24

 Pout  hr  12  2 103  6 12 103  6 18 103  204 kWhr

 Pcut  hr  12 10.88  6 153.06  6  272.11  2.682 kWhr

Pcore  24  153.06  24  3.673 kWhr

204  10 3
 all   100 %  96.98% ##
204  10 3  2.682  10 3  3.673  10 3

ตัวอย่างที่ 3.6 หม้อแปลงเฟสเดียวพิกดั 5 kVA 440/220 V 50 Hz มีผลการทดสอบดังนี้


การทดสอบเปิ ดวงจร การทดสอบลัดวงจร
Voc = 220 V Vsc = 22.72 V
Ioc = 1.10 A Isc = 11.36 A
Woc = 48.4 W Wsc = 52.2 W
ก. จงหาวงจรสมมูลโดยประมาณของหม้อแปลงอ้างอิงด้านปฐมภูม ิ
ข. จงหาวงจรสมมูลโดยประมาณของหม้อแปลงอ้างอิงด้านทุตยิ ภูม ิ

วิ ธีทา หาอัตราส่วนรอบของหม้อแปลง
N1 V
a  1  440  2
N2 V2 220

จากผลการทดสอบเปิ ดวงจร
)  cos1 ( 48.4 )  cos1 0.2
Poc
 oc  cos1 (
Voc I oc 220 1.10

oc  78.46

I ex, 2  I oc  1.10 A

I h  e  I oc cosoc  1.1 cos78.46  0.22 A

I  I oc sin  oc  1.1 sin 78.46  1.078 A

Voc
Rc , 2   220  1.0 k
I h e 0.22

Voc
X c,2   220  204 .08 
I 1.078

จากผลการทดสอบลัดวงจร
Vsc 22.72
Z eq,1    2.0 
I sc 11.36

Psc
 sc  cos1 ( )  cos1 ( 52.0 )  78.38
Vsc I sc 22.72 11.36

Psc 52.0
Req,1    0.403 
2
I sc 11.36 2

X eq,1  Z eq,1 sin  sc  2.0  sin 78.38  1.959 

ก. วงจรสมมูลโดยประมาณอ้างอิงไปด้านปฐมภูมหิ รือด้านแรงดันสูง
ในการเขียนวงจรสมมูลนัน้ ค่าพารามิเตอร์ต่างๆทีไ่ ด้จากการทดสอบลัดวงจรให้นามาเขียนได้
เลย ส่วนค่าพารามิเตอร์ต่างๆทีไ่ ด้จากการทดสอบเปิ ดวงจรต้องแปลงไปด้านปฐมภูม ิ
Rc 2  Rc, LV และ X m2  X m, LV

Req1  Req, HV และ X eq1  X eq, HV

Rc1  Rc , 2  a 2  1.0  10 3  2 2  4.0


k
X m1  X m, 2  a 2  204.08  22  816.32 
I1 I1  I2 /a

j 1.959 
0.403 

V1 4.0 k j816.32  aV2

รู ปที่ 3.54 วงจรสมมูลโดยประมาณอ้างอิงด้านปฐมภูมิ

ข. วงจรสมมูลโดยประมาณอ้างอิงไปด้านทุตยิ ภูมหิ รือด้านแรงดันต่า


ในการเขียนวงจรสมมูลนัน้ พารามิเตอร์ทไ่ี ด้จากการทดสอบเปิ ดวงจรให้นามาเขียนได้เลย
พารามิเตอร์ทไ่ี ด้จากการทดสอบลัดวงจรต้องแปลงไปด้านทุตยิ ภูม ิ

Rc 2  Rc, LV และ X m2  X m, LV

Req1  Req, HV และ X eq1  X eq, HV

1 0.403
Req 2  Req1    0.101 
a2 22
1 1.959
X eq 2  X eq1  2
  0.48975 
a 22

aI1 aI1 I2

0.101  j 0.48975 

V1 /a 1.0 k  j204.08  V2

รู ปที่ 3.55 วงจรสมมูลโดยประมาณอ้างอิงด้านทุติยภูมิ

ตัวอย่างที่ 3.7 หม้อแปลงเฟสเดียวขนาด 500 kVA 40000/2400 V 60 Hz มีผลการทดสอบ


เปิ ดวงจรและลัดวงจรดังนี้
การทดสอบเปิ ดวงจร (จ่ายแรงดันทางด้านแรงดันต่า)
Volt Ampere Watt
2400 9.1 1925
การทดสอบลัดวงจร(ลัดวงจรด้านแรงดันต่ า)
Volt Ampere Watt
2300 12.5 4075
ก. จงหาวงจรสมมูลโดยประมาณอ้างอิงด้านปฐมภูม ิ
ข. จงหาวงจรสมมูลโดยประมาณอ้างอิงด้านทุตยิ ภูม ิ
ค. จงคานวณหาแรงดันปรับแก้ทโ่ี หลดพิกดั PF 0.8 Lagging PF 0.8 Leading และ PF 1.0
โดยใช้สมการแบบแม่นตรง
ง. คานวณเช่นเดียวกับข้อ ค. แต่ใช้สมการโดยประมาณ
จ. ประสิทธิภาพของหม้อแปลงทีโ่ หลดพิกดั PF 0.8 Lagging

N1 V
วิ ธีทา a  1  40000  16.67
N 2 V2 2400

จากผลการทดสอบเปิ ดวงจร Core Loss = Poc=1925 W

Poc
oc  cos1 ( )  cos1 ( 1925 )
Voc I oc 2400  9.1

oc  84.94

I ex 2  I oc  9.1 A

I he  I oc cosoc  9.1 cos84.94  0.8 A

I  I oc sin  oc  9.1 sin 84.94  9.06 A

Voc 2400
Rc 2    3.0 k
I h e 0.8

Voc 2400
X c2    264 .9 
I 9.06

จากผลการทดสอบลัดวงจร
V
Zeq1  sc  2300  184 
I sc 12.5

Psc
 sc  cos1 ( )  cos1 ( 4075 )  81.85
Vsc I sc 2300 12.5

Psc 4075
Req1    26.08 
I sc2 12.52
X eq1  Z eq1 sin  sc  184  sin 81.85  182.14 

ก. วงจรสมมูลโดยประมาณอ้างอิงด้านปฐมภูมหิ รือด้านแรงดันสูง
ในการเขียนวงจรสมมูลนัน้ พารามิเตอร์ทไ่ี ด้จากการทดสอบลัดวงจรให้นามาเขียนได้เลย
พารามิเตอร์ทไ่ี ด้จากการทดสอบเปิ ดวงจรต้องแปลงไปด้านปฐมภูม ิ

Rc 2  Rc, LV และ X m2  X m, LV

Req1  Req, HV และ X eq1  X eq, HV

Rc1  Rc 2  a 2  3.0 103 16.67 2  907.37 k

X m1  X m2  a 2  2264 .9 16.67 2  68.61 k

I1 I1 I2 /a

j 182.14 
26.08 

V1 907.37 k j68.61 k aV2

รูปที่ 3.56 วงจรสมมูลโดยประมาณอ้างอิงด้านปฐมภูมิ

ข. วงจรสมมูลโดยประมาณอ้างอิงด้านทุตยิ ภูมหิ รือด้านแรงดันต่ า


ในการเขีย นวงจรสมมูล นัน้ พารามิเ ตอร์ท่ไี ด้จากการทดสอบเปิ ดวงจรให้นามาเขีย นได้เ ลย
พารามิเตอร์ทไ่ี ด้จากการทดสอบลัดวงจรต้องแปลงไปด้านทุตยิ ภูม ิ
Rc 2  Rc, LV และ X m2  X m, LV

Req1  Req, HV และ X eq1  X eq, HV

1 26.08
Req 2  Req1  2
  0.09385 
a 16.67 2
1 182 .14
X eq 2  X eq1  2
  0.6554
a 16.67 2

aI1 aI1 I2

0.09385  j 0.6554 

V1 /a 3.0 k  j2.2648  V2

รูปที่ 3.57 วงจรสมมูลโดยประมาณอ้างอิงด้านทุติยภูมิ

ค. จากวงจรสมมูลในข้อ ข.

V1  
 V2  I 2 ( Req 2  jX eq 2 )
a
PF = 0.8 Lagging
 
V2  2400  j 0 V และ I 2  208.3(0.8  j 0.6) A

V1
 2400  j 0  208.3(0.8  j 0.6)(0.09385  j 0.6554 )
a

V1
 2497 .55  j97.49  2499 .452.355 V
a

VR  2499 .45  2400  100 %  4.14% #


2400

PF = 0.8 Leading
 
V2  2400  j 0 V และ I 2  208.3(0.8  j 0.6) A

V1
 2400  j 0  208.3(0.8  j 0.6)(0.09385  j 0.6554 )
a

V1
 2333 .73  j120.95  2336 .862.9668  V
a

VR  2336 .86  2400  100 %  2.63% #


2400

PF = 1.0
 
V2  2400  j 0 V และ I 2  208 .3  j 0 A

V1
 2400  j 0  (208.3  j 0)(0.09385  j 0.6554 )
a

V1
 2419 .55  j136.52  2423 .403.229  V
a

VR  2423 .40  2400  100 %  0.975 % #


2400

ง. ใช้สมการโดยประมาณ
V1
 V2  I 2 Req 2 cos  I 2 X eq 2 sin 
a
PF = 0.8 Lagging

V1
 2400  (208 .3  0.09385  0.8)  (208 .3  0.6554  0.6)  2497 .55 V
a

VR  2497 .55  2400  100 %  4.06% #


2400

PF = 0.8 Leading

V1
 2400  (208 .3  0.09385  0.8)  (208.3  0.6554  0.6)  2333 .73 V
a

VR  2333 .73  2400 100 %  2.76% #


2400

PF = 1.0
V1
 2400  (208 .3  0.09385 )  2419 .55 V
a

VR  2419 .55  2400  100 %  0.814 % #


2400

ฉ. หาประสิทธิภาพ
Pout  500  103  0.8  400 kW

Pcore,loss  1925 W

Pcu,loss  4075 W

400000
 100%  98.52% #
400000  1925  4075

You might also like