You are on page 1of 38

195

แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่ วยที0 7 ทฤษฎีโครงข่ายวงจรไฟฟ้า
จงเลือกคําตอบที/ถูกต้องที/สุดเพียงข้อเดียว
จากรู ปที/ 1 จงใช้ทฤษฎีการวางซ้อน วิเคราะห์หาค่า V และ IO สําหรับคําถามข้อ 1 – 4
R1 R3

6 Ω IO + 2Ω
VS R2 IS
VO
10 V 4Ω 2A
-

จากรู ปที/ 1 วงจรใช้สําหรับคําถามข้อ 1– 4


1. ถ้า เป็ นผลมาจากแหล่งกําเนิดแรงดันไฟฟ้า 10V แล้ว I O1 มีค่าเท่าใด
I O1

ก. 0.5 A ข. 1 A
ค. 1.5 A ง. 2 A
2. ถ้า VO1 เป็ นผลมาจากแหล่งแรงดันไฟฟ้า 10 V แล้ว VO1 มีค่าเท่าใด
ก. 1 V ข. 2 V
ค. 3 V ง. 4 V
3. ถ้า I O 2 เป็ นผลมาจากแหล่งกําเนิดกระแสไฟฟ้า 2 A แล้ว I O1 มีค่าเท่าใด
ก. 0.6 A ข. 1 A
ค. 1.2 A ง. 1.8 A
4. VO มีค่าเท่าใด
ก. 6.6 V ข. 6.8 V
ค. 8.8 V ง. 9.8 V
จากรู ปที/ 2 จงใช้ทฤษฎีเทวินิน วิเคราะห์หาค่ากระแสไฟฟ้า I L
R1 R3 x
IL
30 Ω 5Ω
VS
R2 15 Ω RL 10 Ω
15 V

y
จากรู ปที/ 2 วงจรใช้สําหรับคําถามข้อ 5– 7
5. RTH มีค่าเท่าใด
ก. 10 W ข. 15 W

ค. 20 W ง. 25 W
196

6. ETH มีคา่ เท่าใด


ก. 3 V ข. 4V
ค. 5 V ง. 6V
7. กระแสไฟฟ้า I L ที/ไหลผ่านตัวต้านทาน 10 Ω มีค่าเท่าใด
ก. 0.2 A ข. 2A
ค. 0.3 A ง. 3A
จากรู ปที/ 3 จงใช้ทฤษฎีนอร์ตนั วิเคราะห์หาค่ากระแสไฟฟ้า I L
R1 R3 x
IL
20 Ω 20 Ω
VS
R2 20 Ω RL 10 Ω
15 V

y
รู ปที/ 3 ใช้สําหรับคําถามข้อ 8 – 10
8. RNมีค่าเท่าใด
ก. 10 W ข. 15 W

ค. 20 W ง. 30 W

9. I N มีค่าเท่าใด
ก. 0.5 A ข. 0.25 A
ค. 0.125 A ง. 0.185 A
10. กระแสไฟฟ้า I L ที/ไหลผ่านตัวต้านทาน 10 Ω มีค่า เท่าใด
ก. 0.5 A ข. 0.25 A
ค. 0.125 A ง. 0.185 A
197

หน่ วยที0 7 ทฤษฎีโครงข่ ายวงจรไฟฟ้า

สาระสําคัญ
ทฤษฎีการวางซ้อนใช้วิเคราะห์วงจรที/มีแหล่งกําเนิดอิสระมากกว่า 2 ตัว โดยพิจารณาทีละตัว แล้ว
นําผลที/ได้ มารวมทางพีชคณิตคือ ติดเครื/ องหมายและทิศทางด้วย
ทฤษฎีเทวินินเป็ นการวิเคราะห์หาวงจรสมมูลย์ของวงจรที/เป็ นเชิงเส้นใด ๆ สามารถแทนได้
ด้วยแหล่งกําเนิดแรงดัน 1 ตัว และความต้านทานภายใน 1 ตัว
ทฤษฎีนอร์ตนั เป็ นการวิเคราะห์หาวงจรสมมูลย์ของวงจรทีเ/ ป็ นเชิงเส้นเช่นเดียวกับทฤษฎี
เทวินิน แต่จะแทนด้วยแหล่งจ่ายกระแส 1 ตัวและโหลดภายใน 1 ตัว

เนืBอหาสาระ
7.1 ทฤษฎีการวางซ้อน
7.2 ทฤษฎีเทวินิน
7.3 ทฤษฎีนอร์ตนั

จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ทั0วไป เพื/อให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้และเข้าใจในเรื/ อง :
7.1 ทฤษฎีการวางซ้อน
7.2 ทฤษฎีเทวินิน
7.3 ทฤษฎีนอร์ตนั
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม หลังจากเรี ยนจบหน่วยเรี ยนนีYแล้ว ผูเ้ รี ยนควรมีความสามารถดังนีY
7.1 ใช้ทฤษฎีการวางซ้อนหาค่ากระแสและแรงดันในวงจรไฟฟ้าได้
7.2 หาค่าพารามิเตอร์ของวงจรสมมูลย์เทวินินได้
7.3 ใช้ทฤษฎีเทวินินหาค่ากระแสและแรงดันที/ไหลผ่านและตกคร่ อมโหลดได้
7.4 หาค่าพารามิเตอร์ของวงจรสมมูลย์นอร์ตนั ได้
7.5 ใช้ทฤษฎีนอร์ตนั หาค่ากระแสและแรงดันที/ไหลผ่านและตกคร่ อมโหลดได้
198

หน่ วยที0 7 ทฤษฎีโครงข่ายวงจรไฟฟ้า

ทฤษฎีโครงข่าย ( Network Theorem ) เป็ นเครื/ องมือที/ช่วยให้การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าและ


อิเล็กทรอนิกส์ ที/ซับซ้อนได้ง่ายขึYน บางครัYงทีว/ งจรหรื อโครงข่ายมีขนาดใหญ่ แต่ตอ้ งการทราบแรงดัน
หรื อกระแสเฉพาะจุด เท่านัYน ไม่ตอ้ งทําการวิเคราะห์คาํ นวณหาทัYงระบบทําให้ลดเวลาลงไปได้มาก

7.1 ทฤษฎีการวางซ้ อน (Superposition Theorem)


ถ้าวงจรใดมีแหล่งกําเนิดอิสระมากกว่า 2 ตัว วิธีการที/จะหาค่าแรงดันหรื อกระแสก็คือใช้วิธี
วงรอบหรื อวิ ธีก ระแสเมช และวิ ธีแ รงดัน โนด แต่ ยงั มี อีก วิธีห นึ/ งในการหาค่า แรงดัน ไฟฟ้ าหรื อ
กระแสไฟฟ้ าจากแต่ละแหล่งจ่ายอิสระที/ละแหล่งจ่าย แล้วรวมผลที/ได้จากแต่ละแหล่งจ่ายเข้าด้วยกัน
วิธีการนีY เรี ยกว่า ทฤษฎีการวางซ้อน
หลักการของทฤษฎีการวางซ้อนช่วยให้การวิเคราะห์วงจรเชิงเส้นที/มีแหล่งกําเนิดอิสระมากกว่า
1 ตัวได้ง่ายขึYน โดยการคํานวณหาผลที/เกิดจากแหล่งกําเนิดแต่ละตัว การนําหลักการของ ทฤษฎีการ
วางซ้อนไปใช้ จะต้องคํานึงถึง ขัYนตอนสําคัญดังนีY
เมื/อขณะกําลังพิจารณาผลจากแหล่งกําเนิด ตัวใดตัวหนึ/งอยู่ แหล่งกําเนิดตัวอื/นๆ จะต้องปิ ด
โดยแหล่งกําเนิดแรงดันทําให้เป็ น 0 V (ลัดวงจร) ส่วนแหล่งกําเนิดกระแสทําให้เป็ น 0 A (เปิ ดวงจร)

7.1.1 ขัBนตอนของ ทฤษฎีการวางซ้ อน มีดังนีB


1. ปิ ดแหล่งกําเนิดทัYงหมด (แหล่งกําเนิดแรงดันทําการ ลัดวงจร แหล่งกําเนิดกระแส ทําการ
เปิ ดวงจร ) ยกเว้นแหล่งกําเนิดตัวทีก/ าํ ลังวิเคราะห์ หาค่าแรงดันไฟฟ้าหรื อกระแสไฟฟ้า ที/เป็ นผลมาจาก
แหล่งกําเนิดตัวนัYน
2. ทําซํYาตามขัYนตอน(1) สําหรับแหล่งกําเนิดตัวอื/นๆ ที/เหลือ จนครบทุกตัว
3. หาผลรวมทัYงหมดจากแหล่งกําเนิดทุกตัว โดยพิจารณาทิศทางของกระแสไฟฟ้าและขัYวของ
แรงดันไฟฟ้า

ตัวอย่างที0 7.1 จากวงจรในรู ปที/ 7.1 (ก) จงใช้ทฤษฎีการวางซ้อน หา Va และ I


4Ω Va 2Ω

I
10 V 2Ω 2A

รู ปที/ 7.1 (ก) วงจรไฟฟ้าที/มีแหล่งจ่าย 2 ชนิด

วิธีทํา จากวงจรมีแหล่งกําเนิด 2 ตัว ดังนัYน Va = V1 + V2 และ I = I1 + I 2


ขัYนตอน(1) พิจารณาแหล่งกําเนิดแรงดัน 10 V เขียนวงจรใหม่ดงั รู ปที/ 7.1 (ข)
199

4Ω 2Ω

+ I1
10 V V1 2Ω
-

รู ปที/ 7.1 (ข) แสดงขณะวิเคราะห์ผลจากแหล่งจ่ายแรงดัน 10 V

ใช้ KVL รอบวงปิ ด : 6 I1 - 10 V = 0


10 V 5
I1 = = A
6Ω 3
æ5 ö 10
\ V1 = 2 I1 = 2 W ç A ÷ = V
è3 ø 3
ขัYนตอน(2) พิจารณาแหล่งกําเนิดกระแส 2 A เขียนวงจรใหม่ดงั รู ปที/ 7.1 (ค)
4Ω 2Ω

I3 + I2
V2 2Ω 2A
-

รู ปที/ 7.1 (ค) แสดงขณะวิเคราะห์ผลจากแหล่งจ่ายกระแส 2 A


4W 4
ใช้กฎการแบ่งกระแส I2 = (2 A) = A
4W + 2W 3
æ4 ö 8
\ V2 = 2 I 2 = 2 W ç A ÷ = V
è3 ø 3
ขัYนตอน(3) หาผลรวมจาก 2 แหล่งกําเนิด จะพบว่า V1 และ V2 มีขYวั เหมือนกัน ดังนัYน
10 8
\ Va = V1 + V2 = V+ V = 6 V .....................ตอบ
3 3
4 5
และ I = I1 + I 2 = A+ A = 3 A .....................ตอบ
3 3

ตัวอย่างที0 7.2 จากวงจรในรู ปที/ 7.2 (ก) จงหากระแสไฟฟ้าที/ไหลผ่าน R2 โดยใช้ทฤษฎีการวางซ้อน


R1 R3
100 Ω I 100 Ω
E1 E2
100 Ω R2
10 V 5V

รู ปที/ 7.2 (ก) วงจรสําหรับตัวอย่างที/ 7.2

วิธีทํา จากวงจรมีแหล่งกําเนิด 2 ตัว ดังนัYน I = I1 + I 2


200

ขัYนตอน(1) พิจารณาแหล่งจ่าย E1 แล้วลัดวงจร แหล่งจ่ายไฟ E2 ดังรู ปที/ 7.2 (ข)


I T1 R1 R3
100 Ω 100 Ω
E1 R2 I1
10 V 100 Ω

รู ปที/ 7.2 (ข) แสดงทิศทางกระแส จากแหล่งกําเนิดแรงดันตัวที/ 1


จากวงจรในรู ปที/ 7.1 (ข) หาค่าความต้านทานรวมก่อน
ความต้านทานรวม เมื/อพิจารณาจากทางด้านแหล่งจ่ายแรงดัน E1
RT 1 = R1 + ( R2 R3 )
æ 100 W ´ 100 W ö
RT 1 = 100 W + çç ÷÷
è 100 W + 100 W ø
RT 1 = 100 W + 50 W = 150 W
E1 10 V
ดังนัYน IT1 = = = 66.7 mA
RT 1 150 W
ใช้กฎการแบ่งกระแส จะได้
æ R3 ö æ 100 Ω ö
I1 = 66.7 mA çç ÷÷ = 66.7 mA çç ÷÷ = 33.3 m A
è R2 + R3 ø è 200 Ω ø

ขัYนตอน(2) พิจารณาแหล่งจ่ายแรงดัน E2 แล้วลัดวงจร แหล่งจ่ายแรงดัน E1 ดังรู ปที/ 7.2 (ค)


R1 R3 IT2
100 Ω 100 Ω
R2 I2 E2
100 Ω 5V

รู ปที/ 7.2 (ค) แสดงทิศทางกระแส จากแหล่งกําเนิดตัวที/ 2


จากวงจรในรู ปที/ 7.2 (ค) หาค่าความต้านทานรวมก่อน
ความต้านทานรวม เมื/อพิจารณาจากทางด้านแหล่งจ่ายแรงดัน E2
RT 2 = R3 + ( R2 R1 )
æ 100 W ´ 100 W ö
RT 2 = 100 W + çç ÷÷
è 100 W + 100 W ø
RT 2 = 100 W + 50 W = 150 W
E2 5V
ดังนัYน IT 2 = = = 33.3 mA
RT 2 150 W
ใช้กฎการแบ่งกระแส จะได้
æ R1 ö æ 100 Ω ö
I 2 = 33.3 mA çç ÷÷ = 33.3 mA çç ÷÷ = 16.7 m A
è R1 + R2 ø è 200 Ω ø
201

ขัYนตอน(3) หาผลรวมจาก 2 แหล่งจ่ายแรงดันกําเนิด จะพบว่า I1 และ I2 มีทิศทางตามกัน ดังนัYน


\ I = I1 + I 2 = 33.3 mA + 16.7 m A = 50 m A .....................ตอบ

7.2 ทฤษฎีเทวินนิ (Thevenin’s Theorem)


เทวินิน ( M.L. Thevenin ) ชาวฝรั/งเศสได้พฒั นาทฤษฎีของเขาในปี ค.ศ.1883 ทฤษฎีข อง
เทวินิน เป็ นวิธีก ารในการแก้ปัญหาในวงจรที/ยุ่งยากซับซ้อน ทฤษฎีนY ีมีสาระสําคัญ สรุ ปได้ว่า วงจร
ที/มีลกั ษณะเป็ นเชิงเส้น (Linear Circuits) ใดๆ แทนได้ดว้ ยวงจรสมมูลย์ของแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้า
แหล่งเดียวต่ออนุกรมกับตัวต้านทาน 1 ตัว
วงจรสมมูลย์เทวินิ น ประกอบด้วยแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้าสมมูลย์เทวินิน ( ETH ) ต่ออนุ กรม
กับความต้านทานสมมูลย์เทวินิน ( RTH ) ดังรู ปที/ 7.3
x
Linear x RTH
ETH
Network y
y

รู ปที/ 7.3 วงจรสมมูลย์เทวินิน

7.2.1 ขัBนตอนการใช้ ทฤษฎีเทวินินวิเคราะห์แก้ปัญหาวงจรไฟฟ้า


1. เปิ ดวงจรที/ขYวั ซึ/งต้องการพิจารณา เขียนวงจรสมมูลย์ เทวินิน โดยปลดส่วนที/ถกู กําหนดให้เป็ น
โหลด ออก เหลือไว้เฉพาะขัYวทีถ/ กู เปิ ดวงจร
2. หาค่าความต้านทานสมมูลย์ เทวินิน RTH เป็ นความต้านทานทัYงหมด เมื/อพิจารณาจากขัYวที/
ถูกเปิ ดวงจรขณะหาค่า RTH นัYน ต้องไม่มีแหล่งจ่ายไฟฟ้าใดๆ ในวงจร โดยลัดวงจรที/แหล่งจ่าย
แรงดัน (ถ้ามี) หรื อเปิ ดวงจรที/แหล่งจ่ายกระแส (ถ้ามี)
3. หาค่าแรงดันไฟฟ้าสมมูลย์ เทวินิน ETH เป็ นแรงดันไฟฟ้าตกคร่ อมขัYวที/เปิ ดวงจร
4. แทนวงจรเดิมด้วยวงจรสมมูลย์ เทวินิน โดยขัYวของวงจรสมมูลย์ ต้องอยู่ในตําแหน่ง
เดียวกับขัYวของวงจรเดิม จากนัYนนําส่วนของวงจร ทีป/ ลดออกไปในขัYนที/ 1 กลับมาต่อไว้ที/ขYวั ดังกล่าว
อีกครัYง เพื/อแก้ปัญหาตามทีโ/ จทย์กาํ หนด
ตัวอย่างที0 7.3 จากรู ปวงจรที/ 7.4 (ก) จงเขียนวงจรสมมูลย์ เทวินินเมื/อพิจารณาทีข/ Yวั x- y
R1 R4 x
100 Ω 100 Ω
R2 47 Ω
VS
10 V RL
R3 22 Ω

y
รู ปที/ 7.4 (ก) วงจรสําหรับตัวอย่างที/ 4.3
202

วิธีทํา ขัYนตอนที/ (1) ปลดตัวต้านทานโหลด RL ออกจากวงจร


ขัYนตอนที/ (2) หาค่าความต้านทานสมมูลย์ เทวินิน โดย ลัดวงจรที/แหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้า 10 V
แล้วเขียนวงจรใหม่ ดังรู ปที/ 7.4 (ข)
R1 R4 x
100 Ω 100 Ω
R2 47 Ω
RTH
R3 22 Ω

รู ปที/ 7.4 (ข) แสดงขณะวิเคราะห์ หาค่าความต้านทานสมมูลย์เทวินิน

รู ปที/ 7.4 (ข) หาค่า RTH โดยพิจารณาจากขัYว x- y :

RTH = R4 + ( R2 + R3 ) R1
R ( R + R3 )
RTH = R4 + 1 2
R1 + R2 + R3
100 W (47 W + 22 W)
RTH = 100 W +
100 W + 47 W + 22 W
100 W (69 W)
RTH = 100 W +
169 W
RTH = 100 W + 41 W = 141 W
ขัYนตอนที/ (3) หาค่าแรงดันสมมูลย์ เทวินิน พิจารณารู ปที/ 7.4 (ข) อีกครัYงหนึ/งโดยนําแหล่งจ่าย
แรงดันใส่ในวงจรอีกครัYง ดังรู ป 7.4 (ค)
R1 R4 x
100 Ω 100 Ω
R2 47 Ω
VS ETH
10 V
R3 22 Ω

รู ปที/ 7.4 (ค) แสดงการวิเคราะห์ หาค่าแรงดันสมมูลย์ เทวินิน

จากรู ปที/ 7.4 (ค) จะพบว่ากระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวต้านทาน R4 มีค่าเท่ากับศูนย์ ทําให้


แรงดันไฟฟ้าตกคร่ อม R4 เท่ากับศูนย์ดว้ ย ใช้หลักการ Voltage Divider มาวิเคราะห์ จะพบว่า
แรงดันสมมูลย์ ETH ก็คือ แรงดันที/ตกคร่ อม R2 และ R3 รวมกัน ดังนัYน
æ R2 + R3 ö
ETH = çç ÷÷ (VS )
è R1 + R2 + R3 ø
203

æ 69 W ö
ETH = çç ÷÷ (10 V ) = 4.08 V
è 169 W ø
ขัYนตอนที/ (4) เขียนวงจรสมมูลย์เทวินินได้ดงั รู ปที/ 7.4 (ง)
RTH x RTH x
141Ω 141Ω
ETH ETH
4.08 V RL
4.08 V
y y

รู ปที/ 7.4 (ง) แสดงวงจรสมมูลย์ เทวินิน

ตัวอย่างที0 7.4 จากรู ปวงจรที/ 7.5 (ก) จงหากําลังไฟฟ้าที/ RL โดยใช้ทฤษฎีเทวินิน เมื/อ


(ก) RL = 10 W (ข) RL = 20 W (ค) RL = 40 W
R1 R3 x
IL
6Ω 16 Ω
VS
R2 12 Ω RL
18 V
y

รู ปที/ 7.5 (ก) วงจรสําหรับตัวอย่างที/ 7.4


ขัYนตอนที/ (1) ปลดขัYวตัวต้านทานโหลดออก
ขัYนตอนที/ (2) หาค่า RTH เขียนวงจรใหม่ได้ดงั นีY
R1 R3
x
6Ω 16 Ω
R2 RTH
12 Ω

y
รู ปที/ 7.5 (ข) การวิเคราะห์หา ความต้านทานสมมูลย์ เทวินิน
RTH = 16 W + (6W 12W)
(6W ´ 12W)
RTH = 16 W +
(6W + 12W)
72 æ W 2 ö
RTH = 16 W + ç ÷ = 20 W
18 çè W ÷ø
ขัYนตอนที/ (3) หาค่า ETH นําแหล่งจ่ายแรงดันมาใส่ในวงจรอีกครัYง เขียนวงจรใหม่ได้ดงั นีY
R1 R3
x
6Ω 16 Ω
VS
R2 12 Ω ETH
18 V
y
รู ปที/ 7.5 (ค) แสดงการวิเคราะห์ หาค่าแรงดันสมมูลย์ เทวินิน
204

12 W
ใช้กฎการแบ่งแรงดัน จะได้ ETH = (18 V ) = 12 V
(6 + 12) W
ขัYนตอนที/ (4) เขียนวงจรสมมูลย์ แล้วนําโหลดมาต่อเข้าทีข/ Yวั ที/ปลดออก
RTH x
20 Ω IL
ETH
RL
16 V
y

รู ปที/ 7.5 (ง) แสดงวงจรสมมูลย์ เทวินิน


คํานวณหากําลังไฟฟ้าที/โหลด RL
(ก) RL = 10 W
ETH 12 V 12 V
ดังนัYน IL = = = = 0.4 A
RTH + R L 20 Ω + 10 Ω 30 Ω

PL = I L2 RL = (0.4 A)2 (10 W)


PL = (0.16)(10 ) = 1.6 W .....................ตอบ
(ข) RL = 20 W
ETH 12 V 12 V
ดังนัYน IL = = = = 0.3 A
RTH + R L 20 Ω + 20 Ω 40 Ω

PL = I L2 RL = (0.3 A)2 (20 W)


PL = (0.09)(20 ) = 1.8 W .....................ตอบ
(ค) RL = 40 W
ETH 12 V 12 V
ดังนัYน IL = = = = 0.2 A
RTH + R L 20 Ω + 40 Ω 60 Ω

PL = I L2 RL = (0.2 A)2 (40 W)


PL = (0.04)(40 ) = 1.6 W .....................ตอบ
จะพบว่า กําลังไฟฟ้าที/โหลดจะสูงสุด เมื/อ ค่าความต้านทานที/โหลด เท่ากับ ค่าความต้านทาน
สมมูลย์ เทวินิน
205

ตัวอย่างที0 7.5 จากรู ปวงจรที/ 7.6 (ก) จงหากระแสไฟฟ้าที/ไหลผ่าน RL โดยใช้ทฤษฎีเทวินิน

R1 = 6W R 2 = 6W
RL = 4W
15 V
I
R3 = 12W R4 = 3W

รู ปที/ 7.6 (ก) วงจรสําหรับตัวอย่างที/ 7.5

ขัYนตอนที/ (1) ปลดขัYวตัวต้านทานโหลดออก


ขัYนตอนที/ (2) ลัดวงจรแหล่งจ่ายแรงดันเพื/อ หาค่า RTH เขียนวงจรใหม่ได้ดงั รู ปที/ 7.6 (ข)

R1 R2
6W A B 6W
RTH
R3 R4
12W 3W

รู ปที/ 7.6 (ข) การวิเคราะห์หา ความต้านทานสมมูลย์ เทวินิน


พิจารณาวงจร จะพบว่า R1 กับ R3 ขนานกัน และ R2 กับ R4 ก็เช่นกัน วงจรขนานทัYง 2 ชุดนีY อนุกรม
กันอีกครัYง(มองเข้าทีข/ Yวั A – B ) ดังนัYน จะได้
æ R ´ R ö æ R ´ R4 ö
RTH = çç 1 3 ÷÷ + çç 2 ÷÷
è R1 + R3 ø è R2 + R4 ø
æ (6 W)(12 W) ö æ (6 W)(3 W) ö
RTH = çç ÷÷ + çç ÷÷
è 6 W + 12 W ø è 6 W + 3 W) ø
æ (72 W 2 ) ö æ (18 W 2 ) ö
RTH = çç ÷+ç
÷ ç
÷ = 4W + 2W = 6W
÷
è 18 W ø è 9 W) ø
ขัYนตอนที/ (3) หาค่า ETH นําแหล่งจ่ายแรงดันมาใส่ในวงจรอีกครัYง เขียนวงจรใหม่ได้ดงั นีY

+ +
R1 V1 V2 R2
6W - A B- 6W
15 V ETH
+ +
R3 R4
V3 V4
12W 3W
- -

รู ปที/ 7.6 (ค) แสดงการวิเคราะห์ หาค่าแรงดันสมมูลย์ เทวินิน


206

พิจารณารู ปที/ 7.6 (ค) ใช้ กฎการแบ่งแรงดันมาวิเคราะห์ จะได้


R1 6W
V1 = ´ 15 V = ´ 15 V = 5 V
R1 + R3 6 W + 12 W
R3 12 W
V3 = ´ 15 V = ´ 15 V = 10 V
R1 + R3 6 W + 12 W
R2 6W
V2 = ´ 15 V = ´ 15 V = 10 V
R2 + R4 6 W + 3W
R4 3W
V4 = ´ 15 V = ´ 15 V = 5 V
R2 + R4 6 W + 3W
พิจารณาทีข/ Yวั A – B จะพบว่า ขัYว A อยู่ดา้ น V3 ให้ขYวั A เป็ นศักย์บวก เนื/องจาก V3 มีค่า 10 V ซึ/งสูง
กว่า V4 ที/มีค่า 5 V ใช้ KVL รอบวงปิ ด ขัYว A – B มา V4 ตามด้วย V3 ครบวงรอบที/จดุ A
จะได้ VAB = + ETH + V4 - V3 = 0
ETH = V3 - V4 = 10 V - 5 V = 5 V
ขัYนตอนที/ (4) เขียนวงจรสมมูลย์ แล้วนําโหลดมาต่อเข้าทีข/ Yวั ที/ปลดออก
RTH A
6W I
ETH RL
5V
4W

B
รู ปที/ 7.6 (ง) แสดงวงจรสมมูลย์ เทวินิน
หาค่ากระแสไฟฟ้าที/ไหลผ่าน RL ได้ดงั นีY
IL =
ETH
RTH + R L
=
5V
6 Ω+ 4 Ω
=
5V
10 Ω
= 0.5 A .....................ตอบ
207

7.3 ทฤษฎีนอร์ ตัน (Norton’s Theorem)


ในปี ค.ศ.1926 E.L. Norton วิศวกรชาวอเมริกนั ได้คิดค้นทฤษฎีขYนึ มาทฤษฎีหนึ/ง ซึ/งมีความ
คล้ายคลึงกับทฤษฎีเทวินิน คือ ทฤษฎีนอร์ตนั ทฤษฎีนอร์ตนั มีใจสําคัญความสรุ ปได้ ว่า วงจรที/มีลกั ษณะ
เป็ นเชิงเส้น (Linear Circuits) ใดๆ แทนได้ดว้ ยวงจรสมมูลย์ของแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้าแหล่งจ่ายเดียวต่อ
ขนานกับตัวต้านทาน 1 ตัว
วงจรสมมู ลย์น อร์ ต ัน ประกอบด้วย แหล่ งจ่ ายกระแสไฟฟ้ าสมมูลย์น อร์ ต ัน ( I N ) และความ
ต้านทานสมมูลย์นอร์ตนั ( RN ) ต่อขนานกันดังรู ปที/ 7.6 (ข)
a a

ETH
IN = RN = RTH IN RN
RTH
b b

(ก) การแปลงวงจรสมมูลย์นอร์ตนั จากวงจรสมมูลย์เทวินิน (ข) วงจรสมมูลย์นอร์ตนั


รู ปที/ 7.7 วงจรสมมูลย์นอร์ตนั

จากรู ปที/ 7.7 (ก) แสดงการแปลงวงจรสมมูลย์นอร์ตนั จากวงจรสมมูลย์เทวินิน และรู ปที/ 7.7 (ข)
แสดงวงจรสมมูลย์นอร์ตนั

7.3.1 ขัBนตอนการวิเคราะห์วงจรด้วยทฤษฎีนอร์ ตัน


1. เปิ ดขัYววงจรที/ซ/ ึงต้องการเขียนวงจรสมมูลย์นอร์ตนั แล้วปลดส่ วนที/ถูกกําหนดให้เป็ นโหลด
ออก เหลือไว้แต่ ขัYวที/ถูกลัดวงจร
2. ความต้านทานนอร์ตนั ( RN ) มีค่าเท่ากับความต้านทานเทวินิน มีขYนั ตอนในการหาเหมือนกัน
3. กระแสไฟฟ้าสมมูลย์นอร์ตนั ( I N ) เป็ นกระแสไฟฟ้าทีข/ Yวั ทีถ/ ูกลัดวงจร กระแสไฟฟ้านีY
สามารถคํานวณหาได้จากหลายๆ วิธี จาก ที/ได้ศึกษามาแล้ว
4. แทนวงจรเดิมด้วยวงจรสมมูลย์นอร์ตนั โดยขัYวของวงจรสมมูลย์นอร์ตนั ต้องอยู่ในตําแหน่ง
เดียวกับขัYวของวงจรเดิม จากนัYนนําส่วนที/ถูกปลดออกไปในขัYนตอนที/ (1) กลับมาไว้ที/ขYวั เดิมอีกครัYง
เพื/อแก้ปัญหาตามที/โจทย์ตอ้ งการ

สิ/งที/ตอ้ งระมัดระวัง คือ ทิศทางของ IN ต้องเป็ นทิศทางที/สร้างกระแสไฟฟ้าเหมือนกับวงจรเดิม


208

ตัวอย่างที0 7.6 จากรู ปวงจรที/ 7.8 (ก) จงหากระแสไฟฟ้าที/ไหลผ่าน RL โดยใช้ทฤษฎีนอร์ตนั


I S = 10 mA
R2 R4 x IL
22 kΩ 33 kΩ
R1
10 kΩ 5.6 kΩ R3 12 kΩ R5 RL 3 kΩ
y

รู ปวงจรที/ 7.8 (ก) วงจรสําหรับตัวอย่างที/ 7.6


วิธีทํา ขัYนตอนที/(1) ปลดโหลด ออก
ขัYนตอนที(/ 2) เปิ ดวงจรที/แหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้าเพื/อหาค่า RN ได้ดงั รู ปที/ 7.8 (ข)
R2 R4 x

22 kΩ 33 kΩ
R1 R3 R5
10 kΩ RN
5.6 kΩ 12 kΩ

y
รู ปที/ 7.8 (ข) แสดงการวิเคราะห์หา RN

พิจารณารู ปที/ 7.8 (ข) จะพบว่า RN = 12 kΩ


ขัYนตอนที(/ 3) นําแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้าต่อเข้ากับวงจร แล้วลัดวงจรทีข/ Yวั x และ y ดังรู ปที/ 7.8 (ค)
I S = 10 mA
R2 R4 x
22 kΩ 33 kΩ
R1 R3 R5 IN
10 kΩ 5.6 kΩ 12 kΩ

y
รู ปที/ 7.8 (ค) แสดงการวิเคราะห์หา IN

พิจารณารู ปที/ 7.8 (ค) จะพบว่า I N = IS = 10 mA


ขัYนตอนที(/ 4) นําค่า RN , IN มาเขียนวงจรสมมูลย์นอร์ตนั พร้อมทัYงนําโหลดมาต่อเข้ากับขัYว x และ y
x IL

IN
RN 12 kΩ 3 kΩ
10 mA
y

รู ปที/ 7.8 (ง) วงจรสมมูลย์นอร์ตนั


ใช้กฎ การแบ่งกระแส มาวิเคราะห์ หา IL
æ RN ö æ 12 kΩ ö
I L = I N çç ÷÷ = (10 mA) çç ÷÷
è RN + RL ø è 12 kΩ + 3 kΩ ø
æ 12 kΩ ö
จะได้ I L = (10 mA) çç ÷÷ = 8 mA .....................ตอบ
è 15 kΩ ø
209

ตัวอย่างที0 7.7 จากรู ปวงจรที/ 7.9 (ก) จงหาแรงดันไฟฟ้าที/ตกคร่ อม RL โดยใช้ทฤษฎีนอร์ตนั


R1 R2

5Ω 3Ω +
VS IS RL
VL
20 V 8A 2Ω
-

รู ปวงจรที/ 7.9 (ก) วงจรสําหรับตัวอย่างที/ 7.7


วิธีทํา ขัYนตอนที/(1) ปลดโหลด ออก
ขัYนตอนที(/ 2) เปิ ดวงจรแหล่งจ่ายกระแสและปิ ดวงจรแหล่งจ่ายแรงดัน เพื/อหาค่า RNได้ดงั รู ปที/ 7.9 (ข)
R1 R2 A
5Ω 3Ω
RN

B
รู ปที/ 7.9 (ข) แสดงการวิเคราะห์หา RN

พิจารณารู ปที/ 7.9 (ข) จะพบว่า RN = 3 Ω+ 5 W = 8 W


ขัYนตอนที(/ 3.1) นําแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้าต่อเข้ากับวงจรแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้ายังเปิ ดอยู่ แล้วลัดวงจรที/
ขัYว A และ B ดังรู ปที/ 7.9 (ค) เพื/อหา I N1
R1 R2 A
5Ω 3Ω
VS
I N1
20 V

B
รู ปที/ 7.9 (ค) แสดงการวิเคราะห์หา I N1

VS 20 V
พิจารณารู ปที/ 7.8 (ค) แล้วใช้กฎของโอห์ม จะได้ I N1 = = = 2.5 A
R1 + R2 8W
ขัYนตอนที(/ 3.2) นําแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้าต่อเข้ากับวงจร แหล่งจ่ายแรงดันลัดวงจร แล้วลัดวงจรที/ขYวั A
และ B ดังรู ปที/ 7.9 (ง) เพื/อหา I N 2
R1 R2 A
5Ω 3Ω
IS
IN2
8A

B
รู ปที/ 7.9 (ง) แสดงการวิเคราะห์หา IN2

พิจารณารู ปที/ 7.8 (ง) แล้วใช้กฎการแบ่งกระแสมาวิเคราะห์ หา IN 2


æ R1 ö æ 5W ö
จะได้ I N 2 = ( IS )çç ÷÷ = (8 A)çç ÷÷
è R1 + R2 ø è 5 W + 3W ø
210

æ 5W ö
I N 2 = (8 A)çç ÷÷ = 5 A
è 8W ø
ดังนัYน I N = I N 1 + I N 2 = 2.5 A + 5 A = 7.5 A

ขัYนตอนที(/ 4) นําค่า RN , IN มาเขียนวงจรสมมูลย์นอร์ตนั พร้อมทัYงนําโหลดมาต่อเข้ากับขัYว A และ B


A IL
+
IN
RN 8Ω VL 2Ω
7.5 A
B -

รู ปที/ 7.9 (จ) วงจรสมมูลย์นอร์ตนั


ใช้กฎการแบ่งกระแส มาวิเคราะห์ หา IL
æ RN ö æ 8Ω ö
I L = I N çç ÷÷ = (7.5 A) çç ÷÷
è RN + RL ø è 8 Ω+ 2 Ω ø
æ 8Ω ö
I L = (7.5 mA) çç ÷÷ = 6 A .....................ตอบ
è 10 Ω ø
ดังนัYน VL = I L RL = (6 A) (2W) = 12 V .....................ตอบ
211

สรุปสาระสํ าคัญ
ทฤษฎีการวางซ้อนใช้สําหรับวิเคราะห์วงจรทีป/ ระกอบไปด้วยแหล่งจ่ายอิสระหลายตัว เพื/อหา
กระแส หรื อ แรงดันไฟฟ้า โดยวิเคราะห์ผลที/เกิดจากแหล่งจ่ายอิสระแต่ละตัว แล้วหาผลรวมทัYงหมดทาง
พีชคณิต
ทฤษฎีเทวินิน เป็ นการหาค่าวงจรสมมูลย์ โดยพิจารณาที/ ขัYว x – y ที/กาํ ลัง วิเคราะห์ โดยการ
แทนแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้า 1 ตัว ต่ออนุกรมกับ ความต้านทาน 1 ตัว โดยค่าแรงดัน ETH นีY เป็ นแรงดันที/
เปิ ดวงจรที/ขYวั x – y และความต้านทาน RTH เป็ นความต้านทานเทวินิน จากการมองเข้าที/ขYวั x – y ที/เปิ ด
วงจร โดยทําให้แหล่งจ่ายอิสระทัYงหมดในวงจรนัYนเป็ น ศูนย์ เขียนวงจรสมมูลย์ได้แล้ว จึงนําโหลด มาต่อ
ที/ขYวั x – y เพื/อแก้ปัญหาต่อไป
ทฤษฎีนอร์ตนั เป็ นการหาค่าวงจรสมมูลย์ โดยพิจารณาที/ ขัYว x – y ที/กาํ ลัง วิเคราะห์ โดยการ
แทนแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้า ( I N )1 ตัว ต่อขนานกับ ความต้านทาน ( RN ) 1 ตัว โดยค่ากระแสไฟฟ้า I N นีY
เป็ นกระแส ที/ไหลตรงขัYวที/ ลัดวงจร ขัYว x – y และความต้านทาน RN ก็คือความต้านทาน RTH นัน/ เอง
เมื/อหาค่า วงจรสมมูลย์ได้แล้ว จึงนําโหลด มาต่อที/ขYวั x – y เพื/อแก้ปัญหาต่อไป
212

แบบฝึ กหัด
หน่ วยที0 7 ทฤษฎีโครงข่ายวงจรไฟฟ้า
1. จากวงจรในรู ปที/ 7.10 จงหากระแสไฟฟ้า I X โดยใช้ทฤษฎีการวางซ้อน ตอบ I X = 1.56 A
12 Ω
IX
10 V 10 Ω 40 Ω 2A

รู ปที/ 7.10 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 1

2. จากวงจรในรู ปที/ 7.11 จงหา IO โดยใช้ทฤษฎีการวางซ้อน ตอบ IO = 1 A


IO
20 V 4Ω 5A

รู ปที/ 7.11 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 2

3. จากวงจรในรู ปที/ 7.12 จงหาค่า IO โดยใช้ทฤษฎีการวางซ้อน ตอบ IO = 3 A



IO
12 V 2Ω 3Ω 4A

รู ปที/ 7.12 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 3

4. จากวงจรในรู ปที/ 7.13 จงหาค่า I X โดยใช้ทฤษฎีการวางซ้อน ตอบ I X = 0.2 A

10 Ω 10 Ω

IX
10 V 10 Ω 10 Ω 1A

รู ปที/ 7.13 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 4


213

5. จากวงจรในรู ปที/ 7.14 จงหาค่ากระแสไฟฟ้า I O โดยใช้ทฤษฎีเทวินิน


ตอบ ETH = 6 V , RTH = 90 Ω และ I O = 0.06 A
180 Ω 18 Ω A
IO
R1 R3
15 V R2 120 Ω RL 10 Ω
B

รู ปที/ 7.14 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 5


6. จากวงจรในรู ปที/ 7.15 จงหาค่าวงจรสมมูลย์เทวินิน เมื/อพิจารณาทีข/ Yวั A – B
ตอบ ETH = - 2 V , RTH = 1kΩ
+18 V

R1 3 kΩ

B
R2 1.5 kΩ

-12 V
รู ปที/ 7.15 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 6
7. วงจรในรู ปที/ 7.16 จงหาค่ากระแสที/ไหลผ่านโหลด RL โดยใช้ทฤษฎีเทวินิน
ตอบ ETH = 60 V , RTH = 14 Ω , I L = 3 A
12 Ω x

R3 IL
R2 6Ω
R1 3Ω 4A RL 6Ω
VS + 12 V
-
y

รู ปที/ 7.16 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 7


8. วงจรในรู ปที/ 7.17 จงหาค่ากระแสที/ไหลผ่านโหลด RL โดยใช้ทฤษฎีเทวินิน
ตอบ ETH = 6 V , RTH = 2 Ω , I L = 0.5 A
R1 R3 x
3Ω 2Ω IL
R2 6Ω
VS1
R4 4Ω RL 10 Ω
6V VS 2
+
24 V -
y

รู ปที/ 7.17 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 8


214

9. จากวงจรที/ 7.18 จงเขียนวงจรสมมูลย์นอร์ตนั เมื/อพิจารณาที/ขYวั x – y


ตอบ RN = 3 k Ω , I N = 8 A
R2 x
2 kΩ
IS
R1 1 kΩ RL
24 A
y

รู ปที/ 7.18 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 9

10. จากวงจรที/ 7.19 จงหาค่ากระแส I L โดยใช้ทฤฎีนอร์ตนั


ตอบ RN = 300 Ω , I N = 30 m A , I L = 22.5 mA
R1

400 Ω
R2 200 Ω x IL

VS 400 Ω
200 Ω RL 100 Ω
18 V
y

รู ปที/ 7.19 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 10

11. จากวงจรในรู ปที/ 7.20 จงหากระแสไฟฟ้า IO โดยใช้ทฤษฎีนอร์ตนั ตอบ I O = 1.8 A


R1 R3
30 Ω 15 Ω
E1 R2 E2
IO
18 V 10 Ω 45 V

รู ปที/ 7.20 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 11

12. จากวงจรในรู ปที/ 7.21 จงหากระแสไฟฟ้า I L โดยใช้ทฤษฎีนอร์ตนั ตอบ IL = 2 A


R1 R3 x
15 Ω 8Ω IL
IS
5A R2 12 Ω 10 Ω RL
y

รู ปที/ 7.21 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 12


215

แบบทดสอบหลังเรียน
หน่ วยที0 7 ทฤษฎีโครงข่ายวงจรไฟฟ้า
จงเลือกคําตอบที/ถูกต้องที/สุดเพียงข้อเดียว
จากรู ปที/ 1 จงใช้ทฤษฎีการวางซ้อน วิเคราะห์หาค่า V และ IO สําหรับคําถามข้อ 1 – 4
R1 R3

6 Ω IO + 2Ω
VS R2 IS
VO
10 V 4Ω 2A
-

จากรู ปที/ 1 วงจรใช้สําหรับคําถามข้อ 1– 4


1. ถ้า เป็ นผลมาจากแหล่งกําเนิดแรงดันไฟฟ้า 10V แล้ว I O1 มีค่าเท่าใด
I O1

ก. 0.5 A ข. 1.5 A
ค. 1 A ง. 2 A
2. ถ้า VO1 เป็ นผลมาจากแหล่งแรงดันไฟฟ้า 10 V แล้ว VO1 มีค่าเท่าใด
ก. 2 V ข. 1 V
ค. 4 V ง. 3 V
3. ถ้า I O 2 เป็ นผลมาจากแหล่งกําเนิดกระแสไฟฟ้า 2 A แล้ว I O1 มีค่าเท่าใด
ก. 0.6 A ข. 1.2 A
ค. 1.5 A ง. 1.8 A
4. VO มีค่าเท่าใด
ก. 8.8 V ข. 6.8 V
ค. 6.8 V ง. 9.8 V
จากรู ปที/ 2 จงใช้ทฤษฎีเทวินิน วิเคราะห์หาค่ากระแสไฟฟ้า I L
R1 R3 x
IL
30 Ω 5Ω
VS
R2 15 Ω RL 10 Ω
15 V

y
จากรู ปที/ 2 วงจรใช้สําหรับคําถามข้อ 5– 7
5. RTH มีค่าเท่าใด
ก. 20 W ข. 10 W

ค. 15 W ง. 25 W
216

6. ETH มีค่าเท่าใด
ก. 5 V ข. 4V
ค. 3 V ง. 6V
7. กระแสไฟฟ้า I L ที/ไหลผ่านตัวต้านทาน 10 Ω มีค่าเท่าใด
ก. 0.5 A ข. 0.2 A
ค. 0.3 A ง. 1A
จากรู ปที/ 3 จงใช้ทฤษฎีนอร์ตนั วิเคราะห์หาค่ากระแสไฟฟ้า I L
R1 R3 x
IL
20 Ω 20 Ω
VS
R2 20 Ω RL 10 Ω
15 V

y
รู ปที/ 3 ใช้สําหรับคําถามข้อ 8 – 10
8. RNมีค่าเท่าใด
ก. 30 W ข. 20 W

ค. 25 W ง. 15 W

9. I N มีค่าเท่าใด
ก. 0.185 A ข. 0.5 A
ค. 0.125 A ง. 0.25 A
10. กระแสไฟฟ้า I L ที/ไหลผ่านตัวต้านทาน 10 Ω มีค่า เท่าใด
ก. 0.5 A ข. 0.25 A
ค. 0.185 A ง. 0.125 A
217

เอกสารอ้างอิง

มงคล ทองสงคราม. (2540). ทฤษฎีวงจรไฟฟ้า 1. กรุ งเทพฯ : หจก. วี.เจ.พริY นติงY .


มงคล ทองสงคราม. (2543). การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า 1. กรุ งเทพฯ : บริษทั รามาการพิมพ์จาํ กัด.
ไมตรี วรวุฒิจรรยากุล. (2554). ทฤษฎีวงจรไฟฟ้า เล่ ม 2 . พิมพ์ครัYงที/ 12 กรุ งเทพฯ : บริ ษทั ส. เอเชีย
เพรส (1989) จํากัด.
บัณฑิต บัวบูชา. (2540). ทฤษฎีและการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า เล่ม 1. กรุ งเทพฯ : หจก. สํานักพิมพ์
ฟิ สิกส์เซ็นเตอร์.
สุภาภรณ์ แก้วศักดา. (2548). อิเล็กทรอนิกส์ 1. พิมพ์ครัYงที/ 9. กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัย
รามคําแหง.

Charles K. Alexander Matthew N.O. Sadiku. Fundamentals of Electric Circuits. Second


Edition Singapore. McGraw-Hill. 2004.
David E. Johnson, Johnny R. Johnson, John L. Hilburn. Electric circuit analysis. (2 rd . Ed.),
Simon & Schuster Asia Pte Ltd., Singapore. Prentice-Hall International, Inc. 1996.
Thomas L. Floyd. Principles of Electric Circuits Conventional Current Version. 7th. Ed.
New Jersey. Prentice-Hall. 2003.
Herbert W. Jackson. Introduction to Electric circuits (5 th Ed.) Englewood cliffs, New
Jersey. Prentice-Hall. 1981.
William H. Hayt , JR. Jack E. Kemmerly. Engineering Circuit Analysis. (5 th Ed.) Singapore.
McGraw-Hill. 1993.
218

ภาคผนวก
- เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
- เฉลยแบบฝึ กหัดท้ายหน่ วย
219

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนหน่ วยที0 7
1. ข 2. ง 3. ค 4. ค 5. ข 6. ค 7. ก 8. ง 9. ข 10. ง

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหน่ วยที0 7
1. ค 2. ค 3. ข 4. ก 5. ค 6. ก 7. ข 8. ก 9. ง 10. ค
220

เฉลยแบบฝึ กหัด
หน่ วยที0 7 ทฤษฎีโครงข่ายวงจรไฟฟ้า
1. จากวงจรในรู ปที/ 7.10 จงหากระแสไฟฟ้า I X โดยใช้ทฤษฎีการวางซ้อน ตอบ I X = 1.56 A
12 Ω
IX
10 V 10 Ω 40 Ω 2A

รู ปที/ 7.10 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 1


วิธีทํา จากวงจรมีแหล่งกําเนิด 2 ชุด ดังนัYน I X = I X1 + I X 2
1) พิจารณาแหล่งกําเนิดแรงดัน 10 V เขียนวงจรใหม่ได้ดงั นีY
12 Ω

IT I X1
10 V 10 Ω 40 Ω

หาค่าความความต้านทานรวม มองที/ฝั/งแหล่งจ่ายแรงดัน 10 V
(10 W ´ 40 W)
RT = 12 W + (10 W 40 W) = 12 W +
(10 W + 40 W)
(400 W 2 )
RT = 12 W + = 12 W + 8 W = 20 W
(50 W)
VS 15 V
IT = = = 0.75 A
RT 20 W
40 W 40
ดังนัYน I X1 = ´ (0.75 A) = (0.75 A) = 0.6 A
40 W + 10 W 50

2) พิจารณาแหล่งกําเนิดกระแส 2A เขียนวงจรใหม่ได้ดงั นีY


12 Ω
IX 2 IT
I T1 I1
RT1 10 Ω 40 Ω 2A

120 W 2
หาค่าความความต้านทาน ที/ RT 1 : RT 1 = 12 W 10 W = = 5.45 W
22 W
40 W
ใช้กฎการแบ่งกระแส จะได้ IT1 = ( 2 A ) = 1.76 A
(5.45 + 40) W
221

12 W
ดังนัYน IX 2 = (1.76 A ) = 0.96 A
(12 + 10) W
3) หาผลรวมทัYงสองแหล่งกําเนิดดังนัYน
จะได้ I X = I X1 + I X 2 = 0.6 A + 0.96 A = 1.56 A .....................ตอบ

2. จากวงจรในรู ปที/ 7.11 จงหา IO โดยใช้ทฤษฎีการวางซ้อน ตอบ IO = 1 A


IO
20 V 4Ω 5A

รู ปที/ 7.11 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 2


วิธีทํา จากวงจรมีแหล่งกําเนิด 2 ชุด ดังนัYน I O = I O1 + I O 2
1) พิจารณาแหล่งกําเนิดแรงดัน 20 V เขียนวงจรใหม่ได้ดงั นีY

I O1

20 V 4Ω

20 V 20 V
พิจารณาจากวงจร จะพบว่า I O1 = = = 2A
6W + 4W 10 W
2) พิจารณาแหล่งกําเนิดกระแส 5 A เขียนวงจรใหม่ได้ดงั นีY

4Ω 5A
IO2

พิจารณาจากวงจรใช้กฎการแบ่งกระแส
6W 6
จะได้ IO 2 = (5 A) = (5 A) = 3 A
6W + 4W 10
3) หาผลรวมทัYงสองแหล่งกําเนิดจะพบว่าทิศทางของกระแสทัYง 2 สวนทางกัน ดังนัYน
จะได้ I O = I O 2 - I O1 = 3 A - 2 A = 1A .....................ตอบ
222

3. จากวงจรในรู ปที/ 7.12 จงหาค่า IO โดยใช้ทฤษฎีการวางซ้อน ตอบ IO = 3 A



IO
12 V 2Ω 3Ω 4A

รู ปที/ 7.12 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 3


วิธีทํา จากวงจรมีแหล่งกําเนิด 2 ชุด ดังนัYน I O = I1 + I 2
1) พิจารณาแหล่งกําเนิดแรงดัน 12 V เขียนวงจรใหม่ได้ดงั นีY

IT I O1
12 V 2Ω 3Ω

พิจารณาจากวงจร จะพบว่า RT = 6 W + (2 W 3 W ) = 6 W + 1.2 W = 7.2 W

ดังนัYน IT =
12 V
7.2 Ω
= 1.67 A

3W
ใช้กฎการแบ่งกระแส จะได้ I O1 =
(2 + 3) W
( 1.67 A ) = 1 A

2) พิจารณาแหล่งกําเนิดกระแส 4 A เขียนวงจรใหม่ได้ดงั นีY


6Ω I T1

IO 2 I1
RT1 4A
2Ω 3Ω

(6 W ´ 2 W) 12 W 2
พิจารณาจากวงจร จะพบว่า RT 1 = 6 W 2W = = = 1.5 W
(6W + 2 W) 8W
3W 3
ใช้กฎการแบ่งกระแส ดังนัYน I T1 = (4 A) = (4 A) = 2.67A
1.5 W + 3 Ω 4.5
6W 6
ใช้กฎการแบ่งกระแสอีกครัYง IO 2 = ( 2.67 A ) = (2.67 A) = 2 A
(6 + 2) W 8
3) หาผลรวมทัYงสองแหล่งกําเนิดดังนัYน
จะได้ IO = I O1 + I O 2 = 1A+ 2 A = 3 A .....................ตอบ
223

4. จากวงจรในรู ปที/ 7.13 จงหาค่า I X โดยใช้ทฤษฎีการวางซ้อน ตอบ I X = 0.2 A

10 Ω 10 Ω

IX
10 V 10 Ω 10 Ω 1A

รู ปที/ 7.13 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 4


วิธีทํา จากวงจรมีแหล่งกําเนิด 2 ชุด ดังนัYน I X = I X1 + I X 2
1) พิจารณาแหล่งกําเนิดแรงดัน 10 V เขียนวงจรใหม่ได้ดงั นีY
10 Ω 10 Ω
IT
I X1
10 V 10 Ω 10 Ω

พิจารณาจากวงจร จะพบว่า RT = 10 W + (10 W (10 W + 10 W) )

RT = 10 W + (10 W 20 W)

RT = 10 W + 6.67 W = 16.67 W
10 V
ดังนัYน IT = = 0.6 A
16.67 Ω
10 W
ใช้กฎการแบ่งกระแส จะได้ I X1 = ( 0.6 A ) = 0.2 A
(10 + 20) W
2) พิจารณาแหล่งกําเนิดกระแส 1 A เขียนวงจรใหม่ได้ดงั นีY
10 Ω 10 Ω 1A
I1
IX 2
RT 1 10 Ω 1A
10 Ω

พิจารณาจากวงจร จะพบว่า RT 1 = 10 W 10 W = 5 W
10 W
ใช้กฎการแบ่งกระแส จะได้ IX 2 = (1 A ) = 0.4 A
(10 + 10 + 5) W
3) หาผลรวมทัYงสองแหล่งกําเนิดดังนัYน
จะได้ IX = I X 2 - I X 1 = 0.4 A - 0.2 A = 0.2 A ...................ตอบ
224

5. จากวงจรในรู ปที/ 7.14 จงหาค่ากระแสไฟฟ้า I O โดยใช้ทฤษฎีเทวินิน


ตอบ ETH = 6 V , RTH = 90 Ω และ I O = 0.06 A
180 Ω 18 Ω A
IO
R1 R3
15 V R2 120 Ω RL 10 Ω
B

รู ปที/ 7.14 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 5


วิธีทํา ขัYนตอนที/ (1) ปลดขัYวตัวต้านทานโหลดออก
ขัYนตอนที/ (2) หาค่า RTH เขียนวงจรใหม่ได้ดงั นีY
180 Ω 18 Ω A
R1 R3
R2 120 Ω RTH

B
พิจารณาจากวงจร จะพบว่า RTH = 18 W + (120 W 180 W)
(21,600 W 2 )
RTH = 18 W + = 18 W + 72 W = 90 W
300 W
ขัYนตอนที/ (3) หาค่า ETH เขียนวงจรใหม่ได้ดงั นีY
180 Ω 18 Ω A
R1 R3
15 V I R2 120 Ω ETH

R2 B
พิจารณาจากวงจร จะพบว่า ETH = ´ 15 V
R1 + R2
120 W
ETH = ´ 15 V = 6 V
(120 + 180) W
ขัYนตอนที/ (4) เขียนวงจรเทียบเคียง แล้วนําโหลดมาต่อเข้าที/ขYวั ที/ปลดออก
RTH A
IO
90 Ω
ETH
RL 10 Ω
6V
B

ETH 6V 6V
ดังนัYน IO = = = = 60 mA .....................ตอบ
RTH + R L 90 Ω + 10 Ω 100 Ω
225

6. จากวงจรในรู ปที/ 7.15 จงหาค่าวงจรสมมูลย์เทวินิน เมื/อพิจารณาทีข/ Yวั A – B


ตอบ ETH = - 2 V , RTH = 1kΩ
+18 V

R1 3 kΩ

B
R2 1.5 kΩ

-12 V
รู ปที/ 7.15 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 6
วิธีทํา วาดวงจรใหม่ได้ดงั นีY R1 R2

3 kΩ 1.5 kΩ
A E2
E1
18 V B 12 V

ขัYนตอนที/ (1) ปลดขัYวตัวต้านทานโหลดออก


ขัYนตอนที/ (2) หาค่า RTH เขียนวงจรใหม่ได้ดงั นีY
R1 R2

3 kΩ 1.5 kΩ
A
RTH
B

4.5 æ k W 2 ö
RTH = 3 k W 1.5 k W = ç ÷ = 1 kΩ
4.5 çè k W ÷ø
ขัYนตอนที/ (3) หาค่า ETH เขียนวงจรใหม่ได้ดงั นีY
R1 R2 R1 R2

1.5 kΩ
E1
3 kΩ
+ A 3 kΩ
- A 1.5 kΩ E2
ETH1 ETH 2
18 V - B + B 12 V

1.5 kΩ
ETH 1 = (18 V ) = 6 V
1.5 kΩ + 3 kΩ
3 kΩ
ETH 2 = ( - 12 V ) = - 8 V
1.5 kΩ + 3 kΩ
จะได้ ETH = ETH 1 + ETH 2 = 6 V + (-8 V) = - 2 V
226

ขัYนตอนที/ (4) เขียนวงจรสมมูลย์ RTH

1 kΩ
ETH A
2V B

7. วงจรในรู ปที/ 7.16 จงหาค่ากระแสไฟฟ้าที/ไหลผ่านโหลด RL โดยใช้ทฤษฎีเทวินิน


ตอบ ETH = 60 V , RTH = 14 Ω , I L = 3 A
12 Ω x

R3 IL
R2 6Ω
R1 3Ω 4A RL 6Ω
VS + 12 V
-
y

รู ปที/ 7.16 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 7


วิธีทํา ขัYนตอนที/ (1) ปลดขัYวตัวต้านทานโหลดออก
ขัYนตอนที/ (2) หาค่า RTH เขียนวงจรใหม่ได้ดงั นีY
12 Ω x
R3
R2 6Ω
R1 3Ω RTH

RTH = 12 W + (6 W 3 W) = 12 W + 2 W = 14 W
ขัYนตอนที/ (3) หาค่า ETH เขียนวงจรใหม่ได้ดงั นีY
12 Ω x R3 = 12 Ω 4 A
x
R3 +- V +
I1 R2 + + R2 3
+ V2 +
R1 6Ω R1 6Ω
V1 ETH1 V1 4 A ETH 2
3Ω 3Ω -
+ VS - -
- - 12 V I2 -
y
y

VS 12 V
พิจารณา ETH 1 : I1 = = = 1.33 A
R1 + R2 9W

ETH 1 = V1 = I1R1 = (1.33 A)(3W) = 4 V


พิจารณา ETH 2 : ETH 2 = V3 + V2
227

R1 3W
ใช้กฎการแบ่งกระแส หา I2 จะได้ I2 = (4 A) = (4 A) = 1.33 A
R1 + R2 (3 + 6) W
ดังนัYน V2 = I 2 R2 = (1.33 A)(6 W) = 8 V

และ V3 = (4 A) R3 = (4 A)(12 W) = 48 V
จะได้ ETH 2 = V3 + V2 = 8 V + 48 V = 56 V

\ ETH = ETH 1 + ETH 2 = 4 V + 56 V = 60 V


ขัYนตอนที/ (4) เขียนวงจรเทียบเคียง แล้วนําโหลดมาต่อเข้าที/ขYวั ที/ปลดออก
RTH x
14 Ω IL
ETH RL 6Ω
60 V

y
ETH 60 V 60 V
ดังนัYน IL = = = = 3A .....................ตอบ
RTH + R L 14 Ω + 6 Ω 20 Ω

8. วงจรในรู ปที/ 7.17 จงหาค่ากระแสที/ไหลผ่านโหลด RL โดยใช้ทฤษฎีเทวินิน


ตอบ ETH = 6 V , RTH = 2 Ω , I L = 0.5 A
R1 R3 x
3Ω 2Ω IL
R2 6Ω
VS1
R4 4Ω RL 10 Ω
6V VS 2
+
24 V -
y

รู ปที/ 7.17 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 8


วิธีทํา ขัYนตอนที/ (1) ปลดขัYวตัวต้านทานโหลดออก
ขัYนตอนที/ (2) หาค่า RTH เขียนวงจรใหม่ได้ดงั นีY
R1 R3 x
3Ω 2Ω
R2
RT1 6Ω R4 RTH

y
(3 W ´ 6 W)
RTH = ( RT 1 + R3 ) R4 ; RT 1 = = 2W
(3 + 6) W

RTH = (2 Ω + 2 W) 4 Ω = 2 W
228

ขัYนตอนที/ (3) หาค่า ETH เขียนวงจรใหม่ได้ดงั นีY


IT I2
R1 R3 x R1 R3 x
3Ω R 2Ω 3Ω 2Ω
2 + R2 +
VS1 6Ω R4 6Ω I4
RT 1 ETH1 I3 R4 4Ω ETH 2
6V I1 4Ω
- +
VS 2 - 24 V -

y y
(6 W ´ 6 W)
พิจารณา ETH 1 : RT 1 = R2 ( R3 + R4 ) = = 3W
(6 + 6) W

RT = R1 + RT 1 = 3 W + 3 W = 6 W
V 6V
I T = S1 = = 1A
RT 6W
R2 6W
ใช้กฎการแบ่งกระแส หา I2 จะได้ I2 = (1 A) = (1 A) = 0.5 A
R2 + ( R3 + R4 ) (6 + 6) W
ดังนัYน ETH 1 = I 2 R4 = (0.5 A)(4 W) = 2 V

พิจารณา ETH 2 : RT = R2 + ( R3 + R4 ) R1

RT = 6 W + (2 W + 4 W) 3 W

RT = 6 W + 2 W = 8 W
V 24 V
IT = S 2 = = 3A
RT 8W
R1 3W
ใช้กฎการแบ่งกระแส หา I4 จะได้ I4 = (3 A) = (3 A) = 1 A
R1 + ( R3 + R4 ) (3 + 6) W
ดังนัYน ETH 2 = I 4 R4 = (1 A)(4 W) = 4 V

\ ETH = ETH 1 + ETH 2 = 2 V + 4 V = 6 V


ขัYนตอนที/ (4) เขียนวงจรเทียบเคียงแล้วนําโหลดมาต่อเข้าที/ขYวั ที/ปลดออก
RTH x
IL

ETH
RL 10 Ω
6V

y
ETH 6V 6V
\ IL = = = = 0.5 A .....................ตอบ
RTH + R L 2 Ω + 10 Ω 12 Ω
229

9. จากวงจรที/ 7.18 จงเขียนวงจรสมมูลย์นอร์ตนั เมื/อพิจารณาที/ขYวั x – y


ตอบ RN = 3 k Ω , I N = 8 A
R2 x
2 kΩ
IS
R1 1 kΩ RL
24 A
y

รู ปที/ 7.18 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 9


วิธีทํา ปลดโหลด ออกพร้อมทัYงเปิ ดวงจรที/แหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้าเพื/อหาค่า RN
R2
x
2 kΩ
R1 1 kΩ RN

พิจารณาวงจรจะพบว่า RN = 1 k W + 2 kΩ = 3 k W
นําแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้าต่อเข้ากับวงจร แล้วลัดวงจรที/ขYวั x และ y เพื/อหาค่า IN

R2
x
2 kΩ
IS IN
24 A R1 1 kΩ

1k W 1
ใช้กฎการแบ่งกระแส จะได้ IN = (24 A) = (24 A) = 8 A
1k W + 2 k W 3
นําค่า RN , IN มาเขียนวงจรสมมูลย์นอร์ตนั
x

IN
RN 3 kΩ
8A

y
.....................ตอบ

10. จากวงจรที/ 7.19 จงหาค่ากระแส IL โดยใช้ทฤฎีนอร์ตนั


R1

400 Ω
R2 200 Ω x IL

VS 400 Ω
200 Ω RL 100 Ω
18 V
y

รู ปที/ 7.19 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 10


230

ขัYนตอนที/ (1) ปลดขัYวตัวต้านทานโหลดออก ลัดวงจรแหล่งกําเนิดแรงดัน เพื/อหาค่า RN

400 Ω
R2 200 Ω x
400 Ω
200 Ω RN

พิจารณาวงจรจะพบว่า RN = 200 W + [200 W (400 W 400 W)]


RN = 200 W + [200 W 200 W ]
RN = 200 W + 100 W = 300 W

ขัYนตอนที/ (2) หา IN วาดวงจรใหม่ได้ดงั นีY


IT R1 R2 200 Ω
x
200 Ω
VS I1 IN
18 V 200 Ω

จากวงจรมองเข้าทางแหล่งจ่ายแรงดัน จะพบว่า RT = 200 W + (200 W 200 W) = 300 W


VS 18 V
ดังนัYน IT = = = 60 mA
RT 300 W
200 Ω
ใช้กฎการแบ่งกระแส IN = ( 60 mA ) = 30 mA
200 Ω + 200 Ω
ขัYนตอนที/ (3) เขียนวงจรเทียบเคียง แล้วนําเอาโหลดมาต่อเข้าที/ขYวั x- y
x
IL
IN RN RL 100 Ω
30 mA 300 Ω

y
RN 300 Ω
\ IL = (I N ) = ( 30 mA ) = 22.5 mA ...............ตอบ
RN + R L 400 Ω
11. จากวงจรในรู ปที/ 7.20 จงหากระแสไฟฟ้า IO โดยใช้ทฤษฎีนอร์ตนั ตอบ I O = 1.8 A
R1 R3
30 Ω 15 Ω
E1 R2 E2
IO
18 V 10 Ω 45 V

รู ปที/ 7.20 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 11


231

วิธีทํา ขัYนตอนที/ (1) ปลดขัYวตัวต้านทานโหลดออก ลัดวงจรแหล่งกําเนิดแรงดัน หาค่าความต้านทาน


นอร์ตนั R1 R3

30 Ω a 15 Ω
RN
b

(30 ´ 15) W 2
พิจารณาวงจรจะพบว่า RN = 30 W 15 W = = 10 W
(30 + 15) W
ขัYนตอนที/ (2) หา IN ลัดวงจรที/ขYวั a – b ใส่แหล่งจายแรงดันทีละตัว
R1 R3 R1 R3
30 Ω a 15 Ω 30 Ω a 15 Ω
E1 E2
I N1 IN2
18 V 45 V
b b

18 V
พิจารณา รู ปซ้ายมือ จะได้ I N1 = = 0.6 A
30 Ω
45 V
พิจารณา รู ปขวามือ จะได้ IN 2 = = 3A
15 Ω

I N = I N 1 + I N 2 = 0.6 A + 3 A = 3.6 A
ขัYนตอนที/ (3) เขียนวงจรเทียบเคียง แล้วนําเอาโหลดมาต่อเข้าที/ขYวั a – b
a
IL
IN RN RL 10 Ω
3 .6 A 10 Ω
b

RN 10 Ω
ใช้กฎการแบ่งกระแส จะได้ IL = (I N ) = (3.6 A )
RN + RL 10 Ω + 10 Ω
\ I L = 1.8 A .....................ตอบ

12. จากวงจรในรู ปที/ 7.21 จงหากระแสไฟฟ้า I L โดยใช้ทฤษฎีนอร์ตนั ตอบ IL = 2 A


R1 R3 x
15 Ω 8Ω IL
IS
5A R2 12 Ω 10 Ω RL
y

รู ปที/ 7.21 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 12


232

วิธีทํา ขัYนตอนที/ (1) ปลดขัYวตัวต้านทานโหลดออก เปิ ดวงจรแหล่งกําเนิดกระแส เพื/อหาค่าความ


ต้านทานนอร์ตนั R1 R3 x
15 Ω 8Ω
R2 12 Ω RN

พิจารณาวงจรจะพบว่า RN = 8 W + 12 W = 20 W

ขัYนตอนที/ (2) หา I N ลัดวงจรที/ ขัYว x – y นําแหล่งจ่ายกระแสใส่วงจรเหมือนเดิม


R1 R3 x
15 Ω 8Ω
IS IN
5A R2 12 Ω

y
12 W 12
พิจารณาวงจรจะพบว่า IN = (5 A) = (5 A) = 3 A
12 Ω + 8 W 20
ขัYนตอนที/ (3) เขียนวงจรสมมูลย์ แล้วนําเอาโหลดมาต่อเข้าที/ขYวั ที/ปลดโหลดออกไป
x
IL
IN RN RL 10 Ω
3A 20 Ω
y

RN 20 Ω
ดังนัYน IL = (I N ) = ( 3A )
RN + RL 20 Ω + 10 Ω
20 Ω
\ IL = (3 A) = 2 A .....................ตอบ
30 Ω

You might also like