You are on page 1of 33

162

แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่ วยที0 6 วิธีแรงดันโนด
จงเลือกคําตอบที/ถูกที/สุดเพียง 1 ข้อ
1. ขั:นตอนแรกของวิธีแรงดันโนด คือ ข้อใด
ก. สมมติและกําหนดทิศทางกระแส ข. สํารวจจํานวนโนดแล้วกําหนดลงในวงจร
ค. เขียนสมการ แรงดันโนด ง. แก้สมการหาค่าตัวแปรที/ตอ้ งการ
จากวงจรในรู ปที/ 1 จงใช้ตอบคําถาม ข้อ 1 – 2
R1 VA R3 VB R5

I1 I3 I5
I2 I4
E1 R2 R4 E2

VC

รู ปที/ 1 ใช้ตอบคําถาม ข้อ 1 – 2


2. สมการ KCL ที/โนด VA คือข้อใด
ก. I 2 = I1 + I 3 ข. I 3 = I1 + I 2
ค. I1 = I 2 + I3 ง. I 3 - I1 = I 2
3. ใช้กฎของโอห์มแทนค่า I 3 ได้เป็ นข้อใด
VA - VB VA + VB
ก. I3 = ข. I 3 =
R3 R3
VA VB
ค. I3 = ง. I3 =
R3 R3
จากวงจรในรู ปที/ 2 จงใช้ตอบคําถาม ข้อ 4 – 7
V1 R 2 = 6 Ω V2

I2
R1 R3
7A I1 I3 2A
2Ω 4Ω
C

รู ปที/ 2 ใช้ตอบคําถาม ข้อ 4 – 7


4. สมการ KCL ที/โนด V1 คือข้อใด
ก. I 2 - I1 = 7 A ข. 7 A = I1 + I 2
ค. I1 + 7 A = I 2 ง. I 2 + 7 A = I1
163

5. V1 มีค่าเท่าใด
ก. 15 V ข. 8 V
ค. 10 V ง. 13 V
6. V 2 มีค่าเท่าใด
ก. 15 V ข. 8 V
ค. 10 V ง. 13 V
7. I 2 มีค่าเท่าใด
ก. 0.5 A ข. 1 A
ค. 1.5 A ง. 2 A
จากวงจรในรู ปที/ 3 ใช้สําหรับคําถามข้อ 8 – 10
+ VO
I in = 0
- b IL

Vg R2 = 2 k W RL
3V
a 9kW
R1
1k W
c

รู ปที/ 3 วงจรสําหรับคําถามข้อ 8 – 10

8. สมการ KCL ที/จุด a คือข้อใด


ก. I1 + 0 = I 2 ข. I2 + 0 = IL
ค. I1 = - I 2 ง. I1 + I 2 = I L
9. VO มีค่าเท่าใด
ก. 4 V ข. 9 V
ค. 10 V ง. 18 V
10. I L มีค่าเท่าใด
ก. 3 mA ข. 1 A
ค. 10 mA ง. 1 mA
164

หน่ วยที0 6 วิธีแรงดันโนด


สาระสําคัญ
วิธีแรงดันโนด เป็ นการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าที/มีจาํ นวนลูปหลายๆลูป โดยจะหาแรงดัน ณ จุด
ใดๆ บนจุดหรื อโนดในวงจร ขั:นตอนที/สําคัญคือ กําหนดจุดหรื อโนดลงบนวงจร แล้วสมมุติทิศทางของ
กระแส จากนั:นเขียนสมการ KVL แต่ละจุดหรื อโนด ขั:นตอนสุดท้ายคือแก้สมการหาค่าตัวแปรที/
ต้องการทราบโดยใช้ดีเทอร์มแิ นนต์และแมททริ กซ์

เนื=อหาสาระ
6.1 วิธีแรงดันโนด
6.2 การเขียนสมการแรงดันโนด
6.3 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าด้วย วิธี แรงดันโนด

จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ทั0วไป เพื/อให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้และเข้าใจในเรื/ อง :
6.1 วิธีแรงดันโนด
6.2 การเขียนสมการแรงดันโนด ในวงจรไฟฟ้าและวงจรอิเล็กทรอนิกส์
6.3 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า และวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ด้วย วิธี แรงดันโนด

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม หลังจากเรี ยนจบหน่วยเรี ยนนี:แล้ว ผูเ้ รี ยนควรมีความสามารถดังนี:

6.1 อธิบายขั:นตอน ของ วิธีแรงดันโนด ได้


6.2 เขียนสมการแรงดันโนด ในวงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ได้
6.3 วิเคราะห์วงจรไฟฟ้าและวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ด้วย วิธี แรงดันโนด ได้
165

หน่ วยที0 6 วิธีแรงดันโนด


วิธีการของการวิเคราะห์แบบใดๆ ของวงจรที/มีจาํ นวณลูปหลายๆ ลูป และหาแรงดัน ณ จุดใดๆ
บนจุดเชื/อมต่อในวงจร เรียกว่า วิธีแรงดันโนด โนด หมายถึง จุดเชื/อมต่อในวงจร วิธีแรงดันโนด เป็ น
พื:นฐาน ในการหาแรงดัน ณ จุดแต่ละจุดในวงจรโดยการนํา กฎกระแสของเคอร์ชอฟฟ์ มาประยุกต์ใช้
โนดแต่โนดจะต้องมีสาขาที/เชื/อมต่อกัน ไม่นอ้ ยกว่า 2 สาขา จํานวนสมการในวิธีแรงดันโนดจะน้อย
กว่า จํานวนสมการในวิธี กระแสเมช อยู่ 1 สมการ เสมอ

6.1 วิธีแรงดันโนด (Node Voltage Method) รายละเอียดของโนด มี ดังนี:


โนด (Node) คือ จุดต่อในวงจรไฟฟ้าที/มีจาํ นวนสาขาของวงจรต่ออยู่ต:งั แต่ 2 สาขาขึ:นไป
โนดหลัก (Principal Node) หรื อจุดเชื/อมต่อ คือจุดในวงจรไฟฟ้าที/มีจาํ นวนสาขาของวงจรที/
ต่ออยู่ต:งั แต่ 3 สาขาขึ:นไปมาต่อรวมกัน
โนดเปรี ยบเทียบ (Reference Node) หรื อจุดอ้างอิง ซึ/งจะกําหนดให้จุดเชื/อมต่อใดจุดหนึ/งเป็ น
จุดอ้างอิงก็ได้ แต่โดยทัว/ ไปแล้วจะเลือกจุดอ้างอิงที/ต่อร่ วมอยู่กบั กราวด์ (Ground) เสมอ เพราะง่ายต่อ
การพิจารณาและคํานวณ
แรงดันโนด (Node Voltage) คือ ความแตกต่างของระดับแรงดันที/จุดใดๆ ก็ได้ในวงจร เมื/อ
นําไปเปรี ยบเทียบกับจุดอ้างอิง
ขั=นตอนการใช้ วิธแี รงดันโนด จะพิจารณาเป็ นขั:นๆ ดังนี:
1. สํารวจ จํานวนของโนด กําหนดลงในวงจร ซึ/งจะมีท:งั โนดต่อเชื/อม (โนดหลัก) และโนด
อ้างอิง การพิจารณาแรงดันโนดจะให้ระดับของแรงดันไฟฟ้าที/โนดต่อเชื/อม มีค่าสูงกว่าระดับแรงดันที/
โนดอ้างอิง
2. สมมติและกําหนดทิศทางของกระแสไฟฟ้าที/โนดต่อเชื/อม การกําหนดทิศทางของกระแสไฟฟ้า
ที/โนดเชื/อมต่อ จะกําหนดให้กระแสไฟฟ้าไหลเข้าหรื อไหลออกก็ได้ โดยใช้หลักธรรมชาติพิจารณา ถ้า
ค่าที/คาํ นวณวิเคราะห์ออกมาเป็ นค่าลบ แสดงว่า นักเรี ยนกําหนดทิศทางตรงข้ามกับความเป็ นจริ ง
3. เขียนสมการ แรงดันโนด ในแต่ละโนดหลัก แล้วแทนค่า กระแสที/สมมติข: ึนมา โดยใช้ก ฎ
ของโอห์ม ลงใน สมการ แรงดันโนด
4. ปรับปรุ ง พัฒนาสมการ จากขั:นตอนที/ (3) โดยใช้วิธี ของสมการเชิงเส้น แล้วแก้ระบบสมการ
หาค่าตัว แปรที/ต ้องการทราบค่า โดยใช้ กฎของ คราเมอร์ หรื อ วิ ธีส มการเชิ งเส้น ถ้าวงจรที/ ก ําลัง
วิเคราะห์น: นั มี โนดหลักโนดเดียว
166

6.2 การเขียนสมการ แรงดันโนด ในวงจรไฟฟ้าและวงจรอิเล็กทรอนิกส์


ในหน่วยที/ 5 นักเรี ยนได้ศึกษา วิธีการประยุกต์ใช้ KVL มาแล้วในวิธีกระแสเมช ในหน่วยนี:
นักเรี ยนจะได้ศกึ ษา การประยุกต์ใช้ KCL ซึ/งเป็ นขั:นตอนที/สําคัญ ของวิธีแรงดันโนด
R1 R3 R5 R1 VA R3 VB R5

I1 I3 I5
R4 I2 I4
E1 R2 E2 E1 R2 R4 E2
VC

(ก) วงจรไฟฟ้า 3 ลูป (ข) การกําหนด โนด และทิศทางกระแส


รู ปที/ 6.1 วงจรไฟฟ้า 3 ลูป 2 โนดหลัก

จาก ขั:นตอนการใช้ วิธีแรงดันโนด ที/ได้กล่าวมาแล้ว รายละเอียดการใช้ วิธีแรงดันโนดมีดงั นี:


ขั:นตอนที/ (1) สํารวจ จํานวนของโนด กําหนดลงในวงจร ซึ/ง VA และ VB เป็ นโนดต่อเชื/อม และ VC
เป็ นโนดอ้างอิง ดังรู ปที/ 6.1 (ข)
ขั:นตอนที(/ 2) สมมติและกําหนดทิศทางของกระแสไฟฟ้าไหลเข้า – ออก ที/โนดต่อเชื/อม ดังรู ปที/ 6.1 (ข)
ขั:นตอนที/(3) เขียนสมการ แรงดันโนด ในแต่ละโนดหลัก ได้ดงั นี:
สมการ KCL ที/โนด VA : I1 = I 2 + I3
แทนค่า กระแสที/สมมติข: นึ มา โดยใช้กฎของโอห์ม ลงใน สมการ KCL ที/โนด VA
E1 - VA
จากกฎของโอห์ม I1 =
R1
V -0
I2 = A ; โนดอ้างอิง =0
R2
V - VB
I3 = A
R3
E1 - VA V V - VB
ดังนั:น โนด VA : = A+ A …………………(1)
R1 R2 R3
สมการ KCL ที/โนด VB : I 3 = I 4 + I 5
แทนค่า กระแสที/สมมติข: นึ มา โดยใช้กฎของโอห์ม ลงใน สมการ KCL ที/โนด VB
V - VB
จากกฎของโอห์ม I3 = A
R3
VB - 0
I4 =
R4
VB + E2
I5 =
R5
VA - VB V V + E2
ดังนั:น โนด VB : = B + B …………………(2)
R3 R4 R5
167

ขั:นตอนที(/ 4) ปรับปรุ ง พัฒนาสมการ จากขั:นตอนที/ (3) โดยใช้วิธี ของสมการเชิงเส้น แล้วแก้ระบบ


สมการหาค่าตัวแปรที/ตอ้ งการทราบค่า โดยการ แทนค่าตัวแปร ตัวต้านทาน แรงดัน จากนั:น เขียนให้
อยู่ในรู ป สมการเมตริ กซ์ แล้วใช้ กฎของคราเมอร์ แก้สมการ หาค่าแรงดัน VA และ VB

6.3 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า และวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ด้วย วิธี แรงดันโนด


วิธีแรงดันโนด สามารถนําไปประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ หาค่าแรงดัน ณ จุดเชื/อมต่อใดๆ บน
วงจรไฟฟ้า หรื อ วงจรอิเล็กทรอนิกส์ เมื/อทราบค่า แรงดัน ณ จุดนั:น แล้ว การจะหากระแสไฟฟ้าหรื อ ค่า
กําลังงานที/โหลด ตัวนั:น ก็ทาํ ได้ไม่ยาก โดยให้นกั เรี ยน ตั:งใจศึกษาจากตัวอย่าง ดังต่อไปนี:

จากตัวอย่างที/ 5.1 ซึ/งเป็ นการวิเคราะห์ หาค่าการแสไฟฟ้าที/ไหลผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว ด้วย


วิธีกระแสเมช ในหน่วยนี:เป็ นการวิเคราะห์ดว้ ยวิธีแรงดันโนด

ตัวอย่างที0 6.1 จากวงจรในรู ปที/ 6.2 จงวิเคราะห์หา กระแสไฟฟ้าที/ไหลผ่านตัวต้านทานแต่ละตัวด้วย วิธี


แรงดันโนด
R1 = 3 W R2 = 2 W 3W A 2W

I1 I2
E1 R3 E2 E1 I3 E2
1W
15 V 1W 12 V 15 V 12 V
D

(ก) วงจรไฟฟ้า 2 ลูป (ข) แสดงทิศทางกระแส และ โนดหลัก – โนดอ้างอิง


รู ปที/ 6.2 วงจรไฟฟ้าสําหรับตัวอย่างที/ 6.1
วิธีทํา
ขั:นตอนที/ (1) สํารวจ จํานวนของโนด กําหนดลงในวงจร ซึ/ง A เป็ นโนดต่อเชื/อม และ D เป็ นโนด
อ้างอิง ดังรู ปที/ 6.2 (ข)
ขั:นตอนที(/ 2) สมมติและกําหนดทิศทางของกระแสไฟฟ้าไหลเข้า – ออก ที/โนดต่อเชื/อม ดังรู ปที/ 6.2 (ข)
ขั:นตอนที/(3) เขียนสมการ แรงดันโนด ในโนดหลัก(A) ได้ดงั นี:
สมการ KCL ที/โนด VA : I 3 = I1 + I 2
แทนค่า กระแสที/สมมติข: นึ มาโดยใช้กฎของโอห์ม ลงในสมการ KCL ที/โนด A
E1 - VA
จากกฎของโอห์ม I1 = ( VA หมายถึงแรงดันที/โนด A)
R1
E - VA
I2 = 2
R2
V -0
I3 = A
R3
168

VA E - VA E2 - VA
ดังนั:น ทีโ/ นด A : = 1 + …………………(1)
R3 R1 R2
ขั:นตอนที(/ 4) ปรับปรุ ง พัฒนาสมการ จากขั:นตอนที/ (3) โดยใช้วิธี ของสมการเชิงเส้น
แทนค่า ความต้านทานแต่ละตัว และแรงดัน E1 , E2 ลงในสมการ(1)
VA 15 V - VA 12 V - VA
จะได้ = + …………………(1)
1W 3W 2W
สมการที/(1) จะพบว่าเป็ นเศษส่วน และ ครน. คือ 6 W นํา 6 W ซึ/งเป็ น ครน. ของสมการ(1) คูณ สมการ(1)
VA (15 V - VA )(6 W) (12 V - VA )(6W)
(6W) = +
1W 3W 2W
จะได้ 6VA = 30 V - 2VA + 36 V - 3VA
จัดรู ปสมการ 6VA + 2VA + 3VA = 66 V

11VA = 66 V
66 V
ดังนั:น VA = = 6V
11
เมื/อทราบค่าแรงดัน ณ จุด A แล้ว ต่อไป ก็ใช้กฎของโอห์ม หาค่ากระแสไฟฟ้า ที/ไหลผ่าน ตัวต้านทาน
E1 - VA
แต่ละตัว ดังนี: I1 =
R1
15 V - 6 V 9V
\ I1 = = = 3A .....................ตอบ
3W 3W
E - VA
I2 = 2
R2
12 V - 6 V 6V
\ I2 = = = 3A .....................ตอบ
2W 2W

และ I 3 = VA - 0 = 6 V = 6A .....................ตอบ
R3 1W
จากวงจร กระแสที/ไหลผ่าน R1 คือ I1 = 3 A
กระแสที/ไหลผ่าน R2 คือ I2 = 3A
กระแสที/ไหลผ่าน R3 คือ I3 = 6 A เท่ากันกับวิธีกระแสเมช

จากตัวอย่างนี: นักเรี ยนจะพบว่า วิธีแรงดันโนด จะใช้สมการน้อยกว่า วิธีกระแสเมช อยู่ หนึ/ง


สมการเสมอ คือ ถ้า วงจรใดๆ มีจาํ นวน n ลูป วิธีกระแสเมช จะใช้สมการ เท่ากับจํานวนลูป หรื อ n
สมการ แต่ถา้ ใช้วิธีแรงดันโนด จํานวนสมการจะเป็ น n – 1 สมการ ดังเช่น ตัวอย่างที/ 6.1 ซึ/งมีจาํ นวน
2 ลูป ทําให้มีจาํ นวนโนดเป็ น 1 โนด หรื อ 1 สมการ ทําให้การแก้สมการง่ายขึ:น การแก้สมการที/มีเพียง 1
สมการ ก็ใช้วิธีของ การแก้สมการเชิงเส้น ที/นกั เรียนได้ทบทวนมาแล้ว ในหน่วยที/ 1 นัน/ เอง
169

ตัวอย่างที0 6.2 จากวงจรในรู ปที/ 6.3 จงวิเคราะห์หา กระแสไฟฟ้าที/ไหลผ่านตัวต้านทานค่า 330 W ด้วย


วิธีแรงดันโนด
R1 = 470 W R3 = 330 W R5 = 100 W R1 VA R3 VB R5

I1 I3 I5
E1 R2 R4 E2 I2 I4
E1 R2 R4 E2
4.5 V 680 W 1k W 7V
VC

(ก) วงจรไฟฟ้า 3 ลูป (ข) แสดงทิศทางกระแส และ โนดหลัก – โนดอ้างอิง


รู ปที/ 6.3 วงจรไฟฟ้า สําหรับตัวอย่างที/ 6.2
วิธีทํา
ขั:นตอนที/ (1) สํารวจ จํานวนของโนด กําหนดลงในวงจร ซึ/ง VA และ VB เป็ นโนดต่อเชื/อม และ VC
เป็ นโนดอ้างอิง ดังรู ปที/ 6.3 (ข)
ขั:นตอนที(/ 2) สมมติและกําหนดทิศทางของกระแสไฟฟ้าไหลเข้า – ออก ที/โนดต่อเชื/อม ดังรู ปที/ 6.3 (ข)
ขั:นตอนที/(3 – 1) เขียนสมการ แรงดันโนด ในโนดหลัก VA ได้ดงั นี:
สมการ KCL ที/โนด VA : I1 = I 2 + I3
แทนค่า กระแสที/สมมติข: นึ มา โดยใช้กฎของโอห์ม ลงใน สมการ KCL ที/โนด VA
E1 - VA VA - 0 VA - VB
จากกฎของโอห์ม I1 = , I2 = ; โนดอ้างอิง = 0 และ I3 =
R1 R2 R3
E1 - VA V V - VB
ดังนั:นที/ โนด VA : = A+ A .........................(1.1)
R1 R2 R3
ขั:นตอนที(/ 4 – 1) ปรับปรุ ง พัฒนาสมการ จากขั:นตอนที/ (3 – 1) โดยใช้วิธี ของสมการเชิงเส้น
แทนค่า ความต้านทานแต่ละตัว และแรงดัน E1 ลงในสมการ(1.1)
4.5 V - VA VA V - VB
จะได้ = + A
470 W 680 W 330 W
4.5 V V V V V
จัดรู ปสมการ - A - A - A + B = 0
470 W 470 W 680 W 330 W 330 W
1 1 1 1 4.5
( + + )VA - ( )VB =
470 680 330 330 470

(2.127 ´ 10 -3 + 1.47 ´ 10 -3 + 3.03 ´ 10 -3 )VA - (3.03 ´ 10 -3 )VB = 9.57 ´ 10 -3


นํา 1,000 คูณ : (2.127 + 1.47 + 3.03)VA - (3.03)VB = 9.57
หรื อ 6.63VA - 3.03VB = 9.57 .........................(1)
ขั:นตอนที/(3 – 2) เขียนสมการแรงดันโนด ในโนดหลัก VB ได้ดงั นี:
สมการ KCL ที/โนด VB : I 3 = I 4 + I 5
แทนค่า กระแสที/สมมติข: นึ มา โดยใช้กฎของโอห์ม ลงใน สมการ KCL ที/โนด VB
170

VA - VB VB - 0
จากกฎของโอห์ม I3 = , I4 = และ I 5 = VB + E2
R3 R4 R5
VA - VB V - E2
ดังนั:น ทีโ/ นด VB : V
= B + B …………………(2.1)
R3 R4 R5
ขั:นตอนที(/ 4 – 2) ปรับปรุ ง พัฒนาสมการ จากขั:นตอนที/ (3 – 2) โดยใช้วิธี ของสมการเชิงเส้น
แทนค่า ความต้านทานแต่ละตัว และแรงดัน E2 ลงในสมการ(2.1)
VA - VB VB V - ( -7 V)
= + B
330 W 1000 W 100 W

จัดรู ปสมการ VA V
- B -
VB V
- B =
7
330 330 1000 100 100
1 1 1 1 7
( )VA - ( + + )VB =
330 330 1000 100 100

(3.03 ´ 10-3 )VA - (3.03 ´ 10-3 + 1 ´ 10-3 + 10 ´ 10-3 )VB = 0.07

0.00303VA - 0.01403VB = 0.07


นํา 1,000 คูณ : 3.03VA - 14.03VB = 70 …………………(2)
นําสมการ (1) และ (2) มาเขียนให้อยู่ในรู ป สมการเมตริ กซ์ ดังนี:
é 6.63 - 3.03ù éVA ù é9.57 ù
ê - 3.03 - 14.03 ú êV ú = ê 70 ú
ë û ë Bû ë û
6.63 - 3.03
หา D : D = = + (6.63)(-14.03) - (3.03)(-3.03)
3.03 - 14.03

D = - 93.0189 + 9.1809 = - 83.838


9.57 - 3.03
หา DVA : DVA = = + (9.57)(-14.03) - (70)(-3.03)
70 - 14.03

DVA = - 134.26 + 212.1 = 77.833


6.63 9.57
หา DVB : DVB = = + (6.63)(70) - (3.03)(9.57)
3.03 70

DVB = 464.1 - 28.997 = 435.103


DVA 77.833
ดังนั:น VA = = = - 928 mV
D - 83.838
DVB 435.103
และ VB = = = - 5.19 V
D - 83.838
กระแสที/ไหลผ่านตัวต้านทานค่า 330 W ก็คือ I 3
V - VB - 0.928 V - (-5.19 V)
ดังนั:น I3 = A =
R3 330 W
4.262 V
\ I3 = = 12.9 mA .....................ตอบ
330 W
171

ตัวอย่างที0 6.3 จากวงจรในรู ปที/ 6.4 จงวิเคราะห์หาแรงดัน V1 , V2 ด้วย วิธีแรงดันโนด


V1 R2 = 6 Ω V2 V1 R2 = 6 Ω V2
I1 I5
I3
R1 R3 R1 R3
1A 4A 1A I2 I4 4A
2Ω 7Ω 2Ω 7Ω
C C

(ก) วงจรไฟฟ้าที/มีแหล่งกําเนิดกระแส (ข) แสดงทิศทางกระแส


รู ปที/ 6.4 วงจรสําหรับตัวอย่างที/ 6.3
วิธีทํา
ขั:นตอนที/ (1) สํารวจ จํานวนของโนด กําหนดลงในวงจร ซึ/ง V1 และ V2 เป็ นโนดต่อเชื/อม และ VC
เป็ นโนดอ้างอิง ซึ/งโจทย์กาํ หนดมาให้แล้ว
ขั:นตอนที(/ 2) สมมติและกําหนดทิศทางของกระแสไฟฟ้าไหลเข้า – ออก ที/โนดต่อเชื/อม ดังรู ปที/ 6.4 (ข)
ขั:นตอนที/(3 – 1) เขียนสมการ แรงดันโนด ในโนดหลัก V1 ได้ดงั นี:
สมการ KCL ที/โนด V1 : I1 = I 2 + I3
แทนค่า กระแสที/สมมติข: นึ มา โดยใช้กฎของโอห์ม ลงใน สมการ KCL ที/โนด V1
V1 V1 - V2
จากวงจร I1 = 1 A , I 2 = และ I3 =
R1 R2
V V -V
ดังนั:นที/ โนด V1 : 1A = 1 + 1 2 .........................(1.1)
R1 R2
ขั:นตอนที(/ 4 – 1) ปรับปรุ ง พัฒนาสมการ จากขั:นตอนที/ (3 – 1) โดยใช้วิธี ของสมการเชิงเส้น
แทนค่า ความต้านทานแต่ละตัว ลงในสมการ(1.1)
V V - V2
จะได้ 1A = 1 + 1
2W 6W
นํา 6 W คูณ ( 6 W เป็ น ครน. ของสมการ(1.1))
(V ) (V - V )
ดังนั:น (1 A)(6 W) = (6 W) 1 + (6 W) 1 2
2W 6W
จัดรู ปสมการ 6 V = 3V1 + V1 - V2
หรื อ 6 V = 4V1 - V2 .........................(1)

ขั:นตอนที/(3 – 2) เขียนสมการ แรงดันโนด ในโนดหลัก V2 ได้ดงั นี:


สมการ KCL ที/โนด V2 : I 3 = I 4 + I 5
แทนค่า กระแสที/สมมติข: นึ มา โดยใช้กฎของโอห์ม ลงใน สมการ KCL ที/โนด V1
V2 V1 - V2
จากวงจร I5 = 4 A , I 4 = และ I3 =
R3 R2
V1 - V2 V
ดังนั:นที/ โนด V2 : = 2 + 4A .........................(2.1)
R2 R3
172

ขั:นตอนที(/ 4 – 2) ปรับปรุ ง พัฒนาสมการ จากขั:นตอนที/ (3 – 2) โดยใช้วิธี ของสมการเชิงเส้น


แทนค่า ความต้านทานแต่ละตัว ลงในสมการ(2.1)
V1 - V2 V
จะได้ = 2 + 4A
6W 7W
นํา 42 W คูณ ( 42 W เป็ น ครน. ของสมการ(2.1))
ดังนั:น (42 W) (V1 - V2 ) = (42 W) V2 + (42 W)(4 A)
6W 7W
จัดรู ปสมการ 7 V1 - 7V2 = 6V2 + 168 V
หรื อ 168 V = 7 V1 - 13V2 .........................(2)
นําสมการ (1) และ (2) มาเขียนให้อยู่ในรู ป สมการเมตริ กซ์ ดังนี:
é4 - 1 ù éV1 ù é 6 ù
ê7 - 13ú êV ú = ê168ú
ë û ë 2û ë û
4 -1
หา D : D = = + (4)(-13) - (7)(-1)
7 - 13
D = - 52 + 7 = - 45
6 -1
หา DV1 : DV1 = = + (6)(-13) - (168)(-1)
168 - 13

DV1 = - 78 + 168 = 90
4 6
หา DV2 : DV2 = = + (4)(168) - (7)(6)
7 168

DV2 = 672 - 42 = 630


DV1 90
ดังนั:น V1 = = = -2 V .....................ตอบ
D - 45
DV2 630
และ V2 = = = - 14 V .....................ตอบ
D - 45
173

ออปแอมป์ (Operational Amplifier)


ออปแอมป์ (Operational Amplifier) เป็ นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ที/ถูกบรรจุไว้ในตัวถังในรู ปแบบ
ไอซี นําไปใช้งานได้สะดวกโดยการต่ออุปกรณ์เพิ/มอีก 2 – 3 ตัว สัญลักษณ์ของออปแอมป์ แสดงดังรู ป
ที/ 6.5 ขั:วใช้งานหลักๆ ของออปแอมป์ มีดงั นี: ขั:วอินพุตมี 2 ขั:ว คือ ขั:วอินพุตกลับเฟส (Inverting Input)
ขั:วอินพุตไม่กลับเฟส (Non – inverting Input) ขั:วเอาต์พุต ขั:วต่อแหล่งจ่ายไฟบวก (Vcc) และขั:วต่อ
แหล่งจ่ายไฟลบ (Vee)
+Vcc
Non-inverting Input(+) I1 = 0
+ Out put + + I3 ¹ 0
Vd = 0
- - -
Inverting Input(-)
-Vee I2 = 0

(ก) สัญลักษณ์ของออปแอมป์ (ข) แสดงคุณสมบัติในอุดมคติ


รู ปที/ 6.5 สัญญลักษณ์และคุณสมบัติในอุดมคติของออปแอมป์

คุณสมบัติในทางอุดมคติ ที/สําคัญสําหรับกาวิเคราะห์วงจรออปแอมป์ มี 2 คุณสมบัติ คือ


1. กระแสไหลเข้าที/ข:วั อินพุตทั:ง 2 มีค่าเท่ากับ 0 A
2. แรงดันตกคร่ อม ขั:วอินพุตทั:ง 2 เท่ากับ 0 V
การวิเคราะห์วงจรออปแอมป์ มีหลายวิธี ด้วยกัน ในหน่วยนี: จะเน้นวิเคราะห์ดว้ ย วิธี แรงดันโนด

ตัวอย่างที0 6.4 จากวงจรในรู ปที/ 6.6 จงวิเคราะห์หาแรงดันเอาต์พุต VO ด้วย วิธีแรงดันโนด

a a
+ + d + + d
I in = 0 I in = 0
VI
- + VI
- +
- VO - VO
R2 - R2 -
b b

R1 I1 R1 I2
c c

(ก) วงจรขยายไม่กลับเฟส (ข) การกําหนดทิศทางกระแสจากคุณสมบัติทางอุดมคติ


รู ปที/ 6.6 วงจรสําหรับตัวอย่างที/ 6.4
วิธีทํา วิเคราะห์วงจรเบื:องต้น จากคุณสมบัติทางอุดมคติของออปแอมป์ จะพบว่า
1) แรงดันที/ ขั:วอินพุตบวก(+) กับขั:วอินพุตลบ(–) เท่ากับ 0 V ดังนั:นจุด a และ b เป็ นจุด
เดียวกัน(เสมือนเป็ นจุดเดียวกัน)
2) แรงดัน ณ จุด bc มีค่าเท่ากับ แรงดันอินพุต VI
174

3) กระแส I1 ไหลลงจาก จุด b มา จุด c เนื/องจากจุด c เป็ นกราวด์


4) กระแส I 2 ไหลลงจาก จุด d มา จุด b เนื/องจาก VO มีศกั ย์สูงกว่า VI
ต่อไปเป็ นการเป็ นการวิเคราะห์ตามขั:นตอนของวิธีแรงดันโนด
ขั:นตอนที/ (1) สํารวจ จํานวนของโนด กําหนดลงในวงจร ซึ/ง จุด b เป็ นโนดต่อเชื/อม และจุด c เป็ น
โนดอ้างอิง ซึ/งโจทย์กาํ หนดมาให้แล้ว
ขั:นตอนที(/ 2) สมมติและกําหนดทิศทางของกระแสไฟฟ้าไหลเข้า – ออก ที/โนดต่อเชื/อม ดังรู ปที/ 6.6 (ข)
ขั:นตอนที/(3) เขียนสมการ แรงดันโนด ในโนดหลัก จุด b ได้ดงั นี:
สมการ KCL ที/โนด b : I1 + 0 = I 2
แทนค่า กระแสที/สมมติข: นึ มา โดยใช้กฎของโอห์ม ลงใน สมการ KCL ที/โนด b
VI VO - VI
จากวงจร I1 = และ I2 =
R1 R2

ดังนั:นที/ โนด b : V1 = VO - VI
R1 R2
V1 VI V
+ = O
R1 R2 R2
æ 1 1 ö æ 1 ö
V1 çç + ÷÷ = çç ÷÷VO
è R1 R2 ø è R2 ø
æ 1 1 ö
V1 çç + ÷÷ R2 = VO
è R1 R2 ø
æR R ö
VO = çç 2 + 2 ÷÷VI
è R1 R2 ø
æR ö
หรื อ VO = çç 2 + 1÷÷VI .....................ตอบ
è R1 ø
æ R2 ö VO æR ö
ซึ/งเทอม çç +1÷÷ ก็คือ อัตราการขยายของวงจรนัน/ เอง จากสมการ AV = = çç 2 + 1÷÷
è R1 ø VI è R1 ø
ตัวอย่างที0 6.5 จากวงจรในรู ปที/ 6.7 จงวิเคราะห์หา I L ด้วย วิธีแรงดันโนด ถ้า Vg = 12 cos10t V

a a
+ d VO + d VO
I in = 0 I in = 0
- IL - IL

Vg R2 = 2 W RL Vg R2 = 2 W RL
b b
9W 9W
R1 I1 R1 I2
1W 1W
c c

(ก) วงจรขยายไม่กลับเฟส (ข) การกําหนดทิศทางกระแสจากคุณสมบัติทางอุดมคติ


รู ปที/ 6.7 วงจรสําหรับตัวอย่างที/ 6.5
175

วิธีทํา ขั:นตอนที/ (1) สํารวจ จํานวนของโนด กําหนดลงในวงจร ซึ/ง จุด b เป็ นโนดต่อเชื/อม และจุด c
เป็ นโนดอ้างอิง ซึ/งโจทย์กาํ หนดมาให้แล้ว
ขั:นตอนที(/ 2) สมมติและกําหนดทิศทางของกระแสไฟฟ้าไหลเข้า – ออก ที/โนดต่อเชื/อม ดังรู ปที/ 6.7 (ข)
ขั:นตอนที/(3) เขียนสมการ แรงดันโนด ในโนดหลัก จุด b ได้ดงั นี:
สมการ KCL ที/โนด b : I1 = I 2 และ Vbc = Vg
แทนค่า กระแสที/สมมติข: นึ มา โดยใช้กฎของโอห์ม ลงใน สมการ KCL ที/โนด b
Vg VO - Vg
จากวงจร I1 = และ I2 =
R1 R2
Vg VO - Vg
ดังนั:นที/ โนด b : =
R1 R2
Vg Vg VO
+ =
R1 R2 R2
æ 1 1 ö æ 1 ö
Vg çç + ÷÷ = çç ÷÷VO
è R1 R2 ø è R2 ø
æ 1 1 ö
Vg çç + ÷÷ R2 = VO
è R1 R2 ø
æR R ö
VO = çç 2 + 2 ÷÷Vg
è R1 R2 ø
æR ö
หรื อ VO = çç 2 + 1÷÷Vg
è R1 ø
æ 2W ö
แทนค่า R1 , R2 : VO = çç + 1÷÷Vg = 3Vg
è 1W ø
VO 3(12 cos10 t V)
ดังนั:น IL = =
RL 9W
36 cos10 t V
\ IL = = 4 cos10 t A .....................ตอบ
9W

ตัวอย่างที0 6.6 จากวงจรในรู ปที/ 6.8 จงวิเคราะห์หาแรงดันเอาต์พุต VO ด้วย วิธีแรงดันโนด


R2 R2

I2
R1 a R1 a
+ - b
+ - b
VI I in = 0
+
+ VI
I1 I in = 0 +
VO +
- - - VO
-
c c

(ก) วงจรขยายกลับเฟส (ข) การกําหนดทิศทางกระแสจากคุณสมบัติทางอุดมคติ


รู ปที/ 6.8 วงจรสําหรับตัวอย่างที/ 6.6
176

วิธีทํา วิเคราะห์วงจรเบื:องต้น จากคุณสมบัติทางอุดมคติของออปแอมป์ จะพบว่า


1) แรงดันที/ ขั:วอินพุตบวก(+) กับขั:วอินพุตลบ(–) เท่ากับ 0 V ดังนั:นจุด a และ c เป็ นจุดเดียวกัน
ซึ/งต่อลงกราวด์ (ดังนั:น จุด a เป็ นกราวด์เสมือน)
2) กระแส I1 ไหลลงจาก VI มา จุด a เนื/องจาก VI มีศกั ย์สูงกว่า จุด a
3) กระแส I 2 ไหลลงจาก VO มา จุด a เนื/องจาก VO มีศกั ย์สูงกว่า จุด a
ต่อไปเป็ นการเป็ นการวิเคราะห์ตามขั:นตอนของวิธีแรงดันโนด
ขั:นตอนที/ (1) สํารวจ จํานวนของโนด กําหนดลงในวงจร ซึ/ง จุด a เป็ นโนดต่อเชื/อม และจุด c เป็ น
โนดอ้างอิง ซึ/งโจทย์กาํ หนดมาให้แล้ว
ขั:นตอนที(/ 2) สมมติและกําหนดทิศทางของกระแสไฟฟ้าไหลเข้า – ออก ที/โนดต่อเชื/อม ดังรู ปที/ 6.8 (ข)
ขั:นตอนที/(3) เขียนสมการ แรงดันโนด ในโนดหลัก จุด a ได้ดงั นี:
สมการ KCL ที/โนด a : I1 + I 2 = 0 หรื อ I1 = - I 2
V1 - Va VO - Va
จากวงจร I1 = และ I2 = ซึ/ง Va = 0
R1 R2
V1 V
ดังนั:นที/ โนด a : = - O
R1 R2
V1
( R2 ) = - VO
R1
æR ö
\ VO = - çç 2 ÷÷V1 .....................ตอบ
è R1 ø
æR ö VO æR ö
ซึ/งเทอม - çç 2 ÷÷ ก็คือ อัตราการขยายของวงจรนัน/ เอง จากสมการ AV = = - çç 2 ÷÷
è R1 ø VI è R1 ø
เครื/ องหมายลบข้างหน้าหมายถึง กลับเฟส 180 องศา

ตัวอย่างที0 6.7 จากวงจรในรู ปที/ 6.9 จงวิเคราะห์หาแรงดันเอาต์พุต VL ด้วย วิธีแรงดันโนด


ถ้า Vg = 4 cos10 t V

+ VO R3 d + VO R3 = 1 W d
I in = 0 I in = 0
- b 1W IL - b
I3 I4 IL
R2 = 2 W R2 = 2 W
Vg RL Vg 12 W RL
a 12 W R4 VL 9W
a R4VL 9W
R1 I1 R1 I2
1W 1W
c c

(ก) วงจรขยายไม่กลับเฟส (ข) การกําหนดทิศทางกระแสจากคุณสมบัติทางอุดมคติ


รู ปที/ 6.9 วงจรสําหรับตัวอย่างที/ 6.7
177

วิธีทํา ขั:นตอนที/ (1) สํารวจ จํานวนของโนด กําหนดลงในวงจร ซึ/ง จุด a เป็ นโนดต่อเชื/อม และจุด c
เป็ นโนดอ้างอิง
ขั:นตอนที(/ 2) สมมติและกําหนดทิศทางของกระแสไฟฟ้าไหลเข้า – ออก ที/โนดต่อเชื/อม ดังรู ปที/ 6.9 (ข)
ขั:นตอนที/(3) เขียนสมการ แรงดันโนด ในโนดหลัก จุด a ได้ดงั นี:
สมการ KCL ที/โนด a : I1 = I 2 และ Vac = Vg
แทนค่า กระแสที/สมมติข: นึ มา โดยใช้กฎของโอห์ม ลงใน สมการ KCL ที/โนด a
Vg VO - Vg
จากวงจร I1 = และ I2 =
R1 R2
Vg VO - Vg
ดังนั:นที/ โนด a : =
R1 R2
Vg Vg VO
+ =
R1 R2 R2
æ 1 1 ö æ 1 ö
Vg çç + ÷÷ = çç ÷÷VO
è R1 R2 ø è R2 ø
æ 1 1 ö
Vg çç + ÷÷ R2 = VO
è R1 R2 ø
æR R ö
VO = çç 2 + 2 ÷÷Vg
è R1 R2 ø
æR ö
หรื อ VO = çç 2 + 1÷÷Vg
è R1 ø
æ 3W ö
แทนค่า R1 , R2 : VO = çç + 1÷÷Vg = 4Vg
è 1W ø
สมการ KCL ที/โนด d : I 3 = I 4 + I L
แทนค่า กระแสที/สมมติข: นึ มา โดยใช้กฎของโอห์ม ลงใน สมการ KCL ที/โนด d
VO - VL V V
จากวงจร I3 = , I 4 = L และ I L = L
R3 R4 RL

ดังนั:นที/ โนด d : VO - VL = VL + VL
R3 R4 RL
VO - VL VL V
แทนค่าตัวต้านทานลงไป = + L
1W 12 W 4 W
VO VL V V
= + L + L
1W 12 W 4 W 1W
นํา 12 W คูณตลอดสมการ : 12VO = VL + 3VL + 12VL = 16VL
12
\ VL = VO : VO = 4Vg
16
12 12
แทนค่า VO , Vg VL = (4Vg ) = ´ 4 ´ 4 cos10 t V
16 16
12
\ VL = ´ 16 cos10 t V = 12 cos10 t V ....................ตอบ
16
178

สรุปสาระสํ าคัญ
วิธีแรงดันโนด (Node voltage method) เป็ นวิธีการการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า และวงจร
อิเล็กทรอนิกส์ โดยการนํา กฎกระแสของเคอร์ชอฟฟ์ มาประยุกต์ใช้ โนด หมายถึง จุดเชื/อมต่อในวงจร
โนดแต่โนดจะต้องมีสาขาที/เชื/อมต่อกัน ไม่นอ้ ยกว่า 2 สาขา
โนดหลัก (Principal Node) หรื อจุดเชื/อมต่อ คือจุดในวงจรไฟฟ้าที/มีจาํ นวนสาขาของวงจรที/
ต่ออยู่ต:งั แต่ 3 สาขาขึ:นไปมาต่อรวมกัน
โนดเปรี ยบเทียบ (Reference Node) หรื อจุดอ้างอิง แต่โดยทัว/ ไปแล้วจะเลือกจุดอ้างอิงที/ต่อ
ร่ วมอยู่กบั กราวด์ (Ground) เสมอ
แรงดันโนด (Node Voltage) คือ ความแตกต่างของระดับแรงดันที/จุดใดๆ ก็ได้ในวงจร เมื/อ
นําไปเปรี ยบเทียบกับจุดอ้างอิง
สรุ ปขั:นตอนการใช้ วิธีแรงดันโนด มีดงั นี:
1. สํารวจ จํานวนของโนด กําหนดลงในวงจร ซึ/งจะมีท:งั โนดต่อเชื/อม (โนดหลัก) และโนด
อ้างอิง
2. สมมติและกําหนดทิศทางของกระแสไฟฟ้าที/โนดต่อเชื/อม การกําหนดทิศทางของกระแสไฟฟ้า
ที/โนดเชื/อมต่อ จะกําหนดให้กระแสไฟฟ้าไหลเข้าหรื อไหลออกก็ได้
3. เขียนสมการ แรงดันโนด ในแต่ละโนดหลัก แล้วแทนค่า กระแสที/สมมติข: ึนมา โดยใช้ก ฎ
ของโอห์ม ลงใน สมการ แรงดันโนด
4. ปรับปรุ ง พัฒนาสมการ จากขั:นตอนที/ (3) โดยใช้วิธี ของสมการเชิงเส้น แล้วแก้ระบบสมการ
หาค่าตัวแปรที/ตอ้ งการทราบค่า
179

แบบฝึ กหัด
หน่ วยที0 6 วิธีแรงดันโนด
1. จากวงจรในรู ปที/ 6.10 จงหาค่าแรงดันไฟฟ้าทีจ/ ุด A และกระแสไหลผ่านตัวต้านทานค่า 2 W
ตอบ VA = 5.43 V , I = 1.088 A
R1 = 1 W A R3 = 3 W

E1 R2 E2
5V 5W 10 V

รู ปที/ 6.10 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 1

2. จากวงจรในรู ปที/ 6.11 จงหาค่าแรงดันไฟฟ้า V1 , V2 ตอบ V1 = 12 V , V2 = 4 V


V1 R2 = 1Ω V2

R1 R3
14 A 7A
2Ω 4Ω
C

รู ปที/ 6.11 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 2

3. จากวงจรในรู ปที/ 6.12 จงหาค่าแรงดันไฟฟ้า V1 , V2 และ กระแสไฟฟ้า I


ตอบ V1 = 16 V , V2 = 16 V และ I = 0 A
4A

V1 R2 = 1Ω
V2

R1 I R3
8A
4Ω 4Ω
C

รู ปที/ 6.12 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 3

4. จากวงจรในรู ปที/ 6.13 จงหาค่า แรงดันไฟฟ้า V1 , V2 ตอบ V1 = 5 V , V2 = 4 V


R1 = 1W V1 R3 = 1W V2 R5 = 1W

E1 R2 R4 E2
11V 1W 1W 7V

รู ปที/ 6.13 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 4


180

5. จากวงจรในรู ปที/ 6.14 จงหาค่า แรงดันไฟฟ้า V1 , V2 และ V3


ตอบ V1 = 1V , V2 = 3 V , V3 = - 3 V
R3 = 8 W

V2 2A
V1 V3
R1 = 2 W
E1 R2 R4
1V 3W 2W

รู ปที/ 6.14 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 5

6. จากวงจรในรู ปที/ 6.15 จงหาค่า แรงดันไฟฟ้า V1 , V2 และ V3


ตอบ V1 = 9 V , V2 = 2 V , V3 = 3 V R = 3W 3

V1 V2 V3
R1 = 7 W R4 = 1 W
E1 R2 R5
9V 1W 3W

รู ปที/ 6.15 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 6

7. จากวงจรในรู ปที/ 6.16 จงหาค่า VO และ IL ตอบ VO = 12 V , I L = 4 mA

RA = 6 k W A
+ D VO I L
I in = 0

RB
-
Vg +
6kW R2 = 2 k W RL
VO
12 V B 3k W
R1 -
2kW
C

รู ปที/ 6.16 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 7


181

8. จากวงจรในรู ปที/ 6.17 จงหาค่ากระแสไฟฟ้า IL ตอบ I L = - 2 mA

R3 = 4 k W

I1 I3
R1 = 1 k W
- VO
R2 = 2 k W IL
V1
+
1V RL
V2 I2
5k W
3V

รู ปที/ 6.17 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 8


9. จากวงจรในรู ปที/ 6.18 จงหาค่า IO ถ้า Vg = 2 sin 3000 t V ตอบ I O = 2 sin 3000 t mA

R2 = 4 k W
R4 = 9 k W
I2
R1 = 2 k W I4
I3
A - VO1
I1
+ B R3 = 3 k W C - D VO 2
Vg + IO
RL
6kW
E

รู ปที/ 6.18 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 9

10. จากวงจรในรู ปที/ 6.19 จงหาค่า VO ในเทอมของ ตัวต้านทาน และแรงดัน V1 , V2 และ V3


æV V V ö
ตอบ VO = - RO çç 1 + 2 + 3 ÷÷
è R1 R2 R3 ø
RO
R1 I1
V1 I4
R2 I 2
V2
R3 I 3 A - VO
V3 +

รู ปที/ 6.19 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 10


182

แบบทดสอบหลังเรียน
หน่ วยที0 6 วิธีแรงดันโนด
จงเลือกคําตอบที/ถูกที/สุดเพียง 1 ข้อ
1. ขั:นตอนแรกของวิธีแรงดันโนด คือ ข้อใด
ก. สมมติและกําหนดทิศทางกระแส ข. แก้สมการหาค่าตัวแปรที/ตอ้ งกา
ค. เขียนสมการ แรงดันโนด ง. สํารวจจํานวนโนดแล้วกําหนดลงในวงจร
จากวงจรในรู ปที/ 1 จงใช้ตอบคําถาม ข้อ 1 – 2
R1 VA R3 VB R5

I1 I3 I5
I2 I4
E1 R2 R4 E2

VC

รู ปที/ 1 ใช้ตอบคําถาม ข้อ 1 – 2


2. สมการ KCL ที/โนด VA คือข้อใด
ก. I1 = I 2 + I3 ข. I 3 = I1 + I 2
ค. I 2 = I1 + I 3 ง. I 3 - I1 = I 2
3. ใช้กฎของโอห์มแทนค่า I 3 ได้เป็ นข้อใด
VA + VB VA - VB
ก. I3 = ข. I 3 =
R3 R3
VA VB
ค. I3 = ง. I3 =
R3 R3
จากวงจรในรู ปที/ 2 จงใช้ตอบคําถาม ข้อ 4 – 7
V1 R 2 = 6 Ω V2

I2
R1 R3
7A I1 I3 2A
2Ω 4Ω
C

รู ปที/ 2 ใช้ตอบคําถาม ข้อ 4 – 7


4. สมการ KCL ที/โนด V1 คือข้อใด
ก. I 2 - I1 = 7 A ข. I1 + 7 A = I 2
ค. 7 A = I1 + I 2 ง. I 2 + 7 A = I1
183

5. V1 มีค่าเท่าใด
ก. 15 V ข. 8 V
ค. 13 V ง. 10 V
6. V 2 มีค่าเท่าใด
ก. 15 V ข. 8 V
ค. 13 V ง. 10 V
7. I 2 มีค่าเท่าใด
ก. 1.5 A ข. 1 A
ค. 0.5 A ง. 2 A
จากวงจรในรู ปที/ 3 ใช้สําหรับคําถามข้อ 8 – 10
+ VO
I in = 0
- b IL

Vg R2 = 2 k W RL
3V
a 9kW
R1
1k W
c

รู ปที/ 3 วงจรสําหรับคําถามข้อ 8 – 10

8. สมการ KCL ที/จุด a คือข้อใด


ก. I1 = - I 2 ข. I2 + 0 = IL
ค. I1 + 0 = I 2 ง. I1 + I 2 = I L
9. VO มีค่าเท่าใด
ก. 4 V ข. 10 V
ค. 9 V ง. 18 V
10. I L มีค่าเท่าใด
ก. 3 mA ข. 1 mA
ค. 10 mA ง. 1 A
184

เอกสารอ้างอิง

มงคล ทองสงคราม. (2540). ทฤษฎีวงจรไฟฟ้ า 1. กรุ งเทพฯ : หจก. วี.เจ.พริ: นติง: .


มงคล ทองสงคราม. (2543). การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า 1. กรุ งเทพฯ : บริษทั รามาการพิมพ์จาํ กัด.
มนัส ประสงค์. (2546). คณิตศาสตร์ 2. กรุ งเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริ มวิชาการ.
ไมตรี วรวุฒิจรรยากุล. (2545). ทฤษฎีวงจรไฟฟ้า เล่ม 2. พิมพ์ครั:งที/ 4. กรุ งเทพฯ : บริ ษทั ส. เอเชียเพรส
(1989) จํากัด.
มนตรี ศิริปรัชญานันท์ , ธนูศกั ดิf อรุ ณไพร. (2558). ออปแอมป์ และลิเนียร์ ไอซี. กรุ งเทพฯ : บริ ษทั ซี
เอ็ดยูเคชัน/ จํากัด(มหาชน).
บัณฑิต บัวบูชา.(2540). ทฤษฎีและการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ า 1. กรุ งเทพฯ : หจก. สํานักพิมพ์ฟิสิกส์
เซ็นเตอร์.
ประทุม ฉํ/าโสฬส. (2549). วิเคราะห์วงจรไฟฟ้า. กรุ งเทพฯ : บริ ษทั สํานักพิมพ์เอมพันธ์ จํากัด.
นภัทร วัจนเทพินทร์. (2550). การประมวลผลสัญญาณด้วย ออปแอมป์ และลิเนียร์ ไอซี. กรุ งเทพฯ :
บริ ษทั สกายบุกส์ จํากัด.

Alan Jeffrey. ESSENTIALS OF ENGIEERING MATHEMATICS. Singapore. Chapman & Hall. 1992.
Charles K. Alexander Matthew N.O. Sadiku. Fundamentals of Electric Circuits. Second
Edition Singapore. McGraw-Hill. 2004.
David E. Johnson, Johnny R. Johnson, John L. Hilburn. Electric circuit analysis. (2 rd . Ed.),
Simon & Schuster Asia Pte Ltd., Singapore. Prentice-Hall International, Inc. 1996.
Kenneth Hardy. Linear Algebra For Engineers and Scientists. Pearson Prentice-Hall. Upper
Saddle River. New Jersey, 2005.
Thomas L. Floyd . Principles of Electric Circuits Conventional Current Version. 7th. Ed. New
Jersey. Prentice-Hall. 2003.
William H. Hayt, JR. Jack E. Kemmerly. Engineering Circuit Analysis. (5 th Ed.) Singapore.
McGraw-Hill. 1993.
185

ภาคผนวก
- เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
- เฉลยแบบฝึ กหัดท้ายหน่ วย
186

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน

1. ข 2. ค 3. ก 4. ข 5. ง 6. ค 7. ก 8. ก 9. ข 10. ง

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

1. ง 2. ก 3. ข 4. ค 5. ค 6. ง 7. ค 8. ค 9. ค 10. ข
187

เฉลยแบบฝึ กหัด
หน่ วยที0 6 วิธีแรงดันโนด

1. จากวงจรในรู ปที/ 6.10 จงหาค่าแรงดันไฟฟ้าทีจ/ ุด A และกระแสไหลผ่านตัวต้านทานค่า 5 W


ตอบ VA = 5.43 V , I = 1.088 A
R1 = 1W A R3 = 3 W

E1 I1 I3 E2
I2 R2
5V 5W 10 V

รู ปที/ 6.10 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 1


KCL ที/โนด VA : I 3 = I1 + I 2

10 V - VA V - 5 V VA
= A +
3Ω 1Ω 5Ω
นํา 15 W คูณตลอดเพื/อกําจัดเศษส่วน :
50 V - 5VA = 15VA - 75 V + 3VA
50 V + 75 V = 15VA + 3VA + 5VA = 23VA
125 V
VA =
23
VA = 5.43 V
V 5.43 V
ดังนั:น I1 = A = = 1.088 A .....................ตอบ
5Ω 5W

2. จากวงจรในรู ปที/ 6.11 จงหาค่าแรงดันไฟฟ้า V1 , V2 ตอบ V1 = 12 V , V2 = 4 V


V1 R2 = 1Ω V2

R1 I2 R
14 A I1 3 I3
2Ω 7A

C

รู ปที/ 6.11 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 2


KCL ที/โนด V1 : 14 A = I1 + I 2
V1 V -V
14 A = + 1 2
2Ω 1Ω
นํา 2W คูณตลอด : 28 V = V1 + 2V1 - 2V2
3V1 - 2V2 = 28 V …………………(1)
188

KCL ที/โนด V2 : I 2 = I3 + 7 A
V1 - V2 V
= 2 + 7A
1Ω 4Ω
นํา 4W คูณตลอด : 4V1 - 4V2 = V2 + 28 V
4V1 - 5V2 = 28 V …………………(2)
é3 - 2ù éV1 ù é28 V ù
เขียนในรู ปสมการเมตริ กซ์ได้ดงั นี: ê4 - 5ú êV ú = ê28 V ú
ë û ë 2û ë û

3 -2
Δ = = - 15 + 8 = - 7
4 -5
28 - 2
Δ V1 = = - 140 + 56 = - 84
28 - 5
3 28
Δ V2 = = 84 - 112 = - 28
4 28
-84
ดังนั:น V1 =
Δ V1
Δ
=
-7
= 12 V .....................ตอบ
Δ V2 - 28
และ V2 = = = 4V .....................ตอบ
Δ -7

3. จากวงจรในรู ปที/ 6.12 จงหาค่าแรงดันไฟฟ้า V1 , V2 และ กระแสไฟฟ้า I


ตอบ V1 = 16 V , V2 = 16 V และ I = 0 A
4A

V1 R2 = 1 Ω
V2

R1 I R3
8A I1 I2
4Ω 4Ω
C

รู ปที/ 6.12 (ก) วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 3


KCL ที/โนด V1 : 8 A + I - 4 A - I1 = 0 หรื อ 4 A = I1 - I
V1 V1 - V2
4A = -
4W 4W
นํา 4W คูณตลอด : 16 V = V1 - V2 + V1
16 V = 2V1 - V2 …………………(1)
KCL ที/โนด V2 : 4 A = I + I2
V2 - V1 V2
4A = +
4W 4W
นํา 4W คูณตลอด : 16 V = V2 - V1 + V2
189

16 V = - V1 + 2V2 …………………(1)
é 2 - 1ù éV1 ù é16 V ù
เขียนในรู ปสมการเมตริ กซ์ได้ดงั นี: ê- 1 2ú êV ú = ê16 V ú
ë û ë 2û ë û

2 -1
Δ = = 4 -1 = 3
-1 2
16 - 1
Δ V1 = = 32 + 16 = 48
16 2
2 16
Δ V2 = = 32 + 16 = 48
- 1 16
Δ V1 48
จะได้ V1 = = = 16 V .....................ตอบ
Δ 3
Δ V2 48
และ V2 = = = 16 V .....................ตอบ
Δ 3
V -V 16 V - 16 V 0V
ดังนั:น I = 1 2 = = = 0A .....................ตอบ
4W 4W 4W

4. จากวงจรในรู ปที/ 6.13 จงหาค่า แรงดันไฟฟ้า V1 , V2 ตอบ V1 = 5 V , V2 = 4 V

R1 = 1W V1 R3 = 1W V2 R5 = 1W

I1 I3 I5
E1 I2 R2 I4 R4 E2
11V 1W 1W 7V

รู ปที/ 6.13 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 4

KCL ที/โนด V1 : I1 = I 2 + I 3
11 V - V1 V V -V
= 1 + 1 2
1Ω 1Ω 1Ω
นํา 1Ω คูณตลอด : 11 V - V1 = V1 + V1 - V2
3V1 -V2 = 11 V …………………(1)
KCL ที/โนด V2 : I3 + I5 = I 4
V1 - V2 7 V - V2 V
+ = 2
1Ω 1Ω 1Ω
นํา 1Ω คูณตลอด : V1 - V2 + 7 V - V2 = V2
- V1 + 3V2 = 7 V …………………(2)
é 3 - 1ù éV1 ù é11 V ù
เขียนในรู ปสมการเมตริ กซ์ได้ดงั นี: ê- 1 3ú êV ú = ê 7 V ú
ë û ë 2û ë û
190

3 -1
Δ = = 9 -1 = 8
-1 3
11 - 1
Δ V1 = = 33 + 7 = 40
7 3
3 11
Δ V2 = = 21 + 11 = 32
-1 7
Δ V1 40
จะได้ V1 = = = 5V .....................ตอบ
Δ 8
Δ V2 32
และ V2 = = = 4V .....................ตอบ
Δ 8

5. จากวงจรในรู ปที/ 6.14 จงหาค่า แรงดันไฟฟ้า V1 , V2 และ V3


ตอบ V1 = 1V , V2 = 3 V , V3 = - 3 V
I1 R3 = 8 W

I2 2A
V1 V2
V3
R1 = 2 W
E1 I3 R2 I4 R4
1V 3W 2W

รู ปที/ 6.14 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 5


จากวงจร V1 = 1 V .....................ตอบ
KCL ที/โนด V2 : I 2 + 2 A = I3
1 V - V2 V
+ 2A = 2
2Ω 3Ω
นํา 6Ω คูณตลอด : 3 V - 3V2 + 12 V = 2V2

15 V = 2V2 + 3V2
15 V
\ V2 = = 3V .....................ตอบ
5
KCL ที/โนด V3 : I1 = 2 A + I 5
1 V - V3 V
= 2 A+ 3
8Ω 2Ω
นํา 8Ω คูณตลอด : 1 V - V3 = 16 V + 4V3

- 15 = 5V3
- 15 V
\ V3 = = - 3V .....................ตอบ
5
191

6. จากวงจรในรู ปที/ 6.15 จงหาค่า แรงดันไฟฟ้า V1 , V2 และ V3


ตอบ V1 = 9 V , V2 = 2 V , V3 = 3 V
I4 R3 = 3 W

I1 I3
V1 V2 V3
R1 = 7 W R4 = 1 W
E1 R2 R5
I2 I5
9V 1W 3W

รู ปที/ 6.15 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 6


จากวงจร V1 = 9 V .....................ตอบ
KCL ที/โนด V2 : I1 = I 2 + I 3
9 V - V2 V V -V
= 2 + 2 3
7Ω 1Ω 1W
นํา 7Ω คูณตลอด : 9 V - V2 = 7V2 + 7V2 - 7V3
9 V = 15V2 - 7V3 …………………(1)
KCL ที/โนด V3 : I3 + I 4 = I5
V2 - V3 9 V - V3 V
+ = 3
1Ω 3W 3Ω
นํา 3 Ω คูณตลอด : 3V2 - 3V3 + 9 V - V3 = V3
9 V = - 3V2 + 5V3 …………………(2)
é 15 - 7 ù éV2 ù é9 V ù
เขียนในรู ปสมการเมตริ กซ์ได้ดงั นี: =
ê- 3
ë 5 úû êëV3 úû êë9 V úû

15 - 7
Δ = = 75 - 21 = 54
-3 5
9 -7
Δ V2 = = 45 + 63 = 108
9 5
15 9
Δ V3 = = 135 + 27 = 162
-3 9
Δ V2 108
จะได้ V2 = = = 2V .....................ตอบ
Δ 54
Δ V3 162
และ V3 = = = 3V .....................ตอบ
Δ 54
192

7. จากวงจรในรู ปที/ 6.16 จงหาค่า VO และ IL ตอบ VO = 12 V , I L = 4 mA

RA = 6 k W A
+ D VO I L
I in = 0
-
Vg RB +
6kW R2 = 2 k W
RL VO
12 V B
R1 I2
3k W -
I1
2kW
C

รู ปที/ 6.16 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 7


6kW
จากวงจร และกฎการแบ่งแรงดัน VA = (12 V) = 6 V และ VA = VB
6kW + 6kW
KCL ที/โนด B : I1 + I 2 = 0
VA V - VO
+ A = 0
2 kΩ 2kW
นํา 2 kΩ คูณตลอด : VA + VA - VO = 0

2VA = VO
\ VO = 2(6 V) = 12 V .....................ตอบ
VO 12 V
ดังนั:น IL = = = 4 mA .....................ตอบ
RL 3k W

8. จากวงจรในรู ปที/ 6.17 จงหาค่ากระแสไฟฟ้า IL ตอบ I L = - 2 mA

R3 = 4 k W

I1 I3
R1 = 1 k W A
- VO
R2 = 2 k W IL
V1
+
1V RL
V2 I2
5k W
3V

รู ปที/ 6.17 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 8


KCL ที/โนด A : I1 + I 2 = - I 3
V1 V V
+ 2 = - O
1 kΩ 2 k W 4kW
นํา 4 kΩ คูณตลอด : 4V1 + 2V2 = - VO

VO = - (4V1 + 2V2 )
193

VO = - [4(1 V) + 2(3 V) ]
VO = - [(4 V) + (6 V) ] = 10 V
V - 10 V
ดังนั:น IO = O = = - 2 mA .....................ตอบ
RL 5k W

9. จากวงจรในรู ปที/ 6.18 จงหาค่า IO ถ้า Vg = 2 sin 3000 t V ตอบ I O = 2 sin 3000 t mA

R2 = 4 k W
R4 = 9 k W
I2
R1 = 2 k W I4
I3
A - VO1
I1
+ B R3 = 3 k W C - D VO 2
Vg + IO
RL
6kW
E

รู ปที/ 6.18 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 9


KCL ที/โนด A : I1 = - I 2
Vg VO 1
= -
2kW 4kW
4kW
VO 1 = - (Vg ) = - 2Vg
2kW
KCL ที/โนด C : I3 = - I 4
VO 1 V
= - O2
3k W 9kW
9kW
- VO 2 = - (VO 1 ) = - 3VO 1
3k W
VO 2 = - 3VO 1 = - 3(-2Vg ) = 6Vg
VO 2 6(2 sin 3000t ) V
ดังนั:น IO = = = 2 sin 3000t mA .....................ตอบ
RL 6kW
194

10. จากวงจรในรู ปที/ 6.19 จงหาค่า VO ในเทอมของ ตัวต้านทาน และแรงดัน V1 , V2 และ V3


æV V V ö
ตอบ VO = - RO çç 1 + 2 + 3 ÷÷
è R1 R2 R3 ø
RO
R1 I1
V1 I4
R2 I 2
V2
R3 I 3 A - VO
V3 +

รู ปที/ 6.19 วงจรสําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 10

KCL ที/โนด A : I1 + I 2 + I 3 = - I 4
V1 V2 V3 V
+ + = - O
R1 R2 R3 RO
æV V V ö
\ - VO = R4 çç 1 + 2 + 3 ÷÷ .....................ตอบ
è R1 R2 R3 ø

You might also like