You are on page 1of 19

ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์

PAT3 11.ไฟฟ้ากระแส
ฝึกทาข้อสอบPAT3#61 11.ไฟฟ้ากระแส
ข้อสอบPAT3 ความต้านทานและกฎของโอห์ม
1. ลวดที่ทาจากวัสดุเงินซึ่งมีสภาพความต้านทานไฟฟ้า 1.6x10-8   m ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5 mm ยาว 10
m ถ้าจะใช้ลวดที่ทาจากวัสดุคอนสแตนแตนที่มีสภาพความต้านทานไฟฟ้า 4.8x10-7   m เส้นผ่านศูนย์กลาง 5.0
mm จะต้องใช้ความยาวเท่าไรจึงจะมีความต้านทานเท่ากับลวดโลหะเงิน (PAT3 ต.ค.59)
1. 0.667 m
2. 1.333 m
3. 2.500 m
4. 3.333 m
5. 5.000 m

2. เส้นลวดทองแดง 2 เส้น เส้นที่หนึ่งมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับ d หน่วยยาว  หน่วย วัดค่าความต้านทานได้


เท่ากับ R โอห์ม ส่วนเส้นที่สองมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับ 2d หน่วย ยาว 2 หน่วย ค่าความต้านทานของลวด
เส้นนี้มีค่าเป็นเท่าใด (PAT3 ก.ค.53)
1. R/2 โอห์ม
2. R โอห์ม
3. 2R โอห์ม
4. 4R โอห์ม
5. R/4 โอห์ม

2
3. จากการทดสอบอุปกรณ์ x ได้ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสและแรงดันดังรูป (ก) ถ้านาอุปกรณ์ดังกล่าวมาต่อดังวงจร
รูป (ข) จงหาค่ากระแส I (PAT3 ก.ค.53)
I(A) 3 I
1. 1.2 A
2. 1.4 A
2
3. 2.4 A 12V
1 X
4. 3.0 A
5. 4.8 A
0 1 2 3 4 5 V(V)
() ()

3
ข้อสอบPAT3 การคานวณวงจรไฟฟ้า
4. ภายในกล่อง x ดังรูป บรรจุแหล่งจ่ายแรงดันต่ออนุกรมกับตัวต้านทานค่าหนึ่งถ้าวัดแรงดันที่ขั้วปลาย AB ขณะเมื่อ
ไม่มีอะไรมาเชื่อมต่อได้ 30 โวลต์ และเมื่อนาตัวต้านทานขนาด 2000 โอห์ม มาเชื่อมต่อที่ขั้วปลาย AB จะวัดแรงดันได้
10 โวลต์ จงหาค่าแหล่งจ่ายแรงดันและตัวต้านทานที่อยู่ภายในกล่อง (สมมุติให้เครื่องวัดเป็นไปตามอุดมคดิ) (PAT3
ก.ค.53)
1. 10 โวลต์, 8000 โอห์ม
2. 10 โวลต์, 4000 โอห์ม A
3. 30 โวลต์, 8000 โอห์ม X
4. 30 โวลต์, 4000 โอห์ม B
5. ไม่มีข้อถูก

5. จากรูปที่กาหนดให้ จงหาค่าความต้านทาน R ว่ามีค่ากี่โอห์ม ที่ทาให้กระแสไหลผ่านแบตเตอรี่มีค่าเท่ากับ 1


แอมแปร์ (PAT3 มี.ค.53)

10 Ω
10 Ω 10 Ω
I=1A
30 V 5Ω 10 Ω

10 Ω R

4
6. จากวงจรไฟฟ้าดังรูป จงคานวณหากระแส (I) ในวงจรเท่ากับกี่แอมป์ (PAT3 มี.ค.54)

1Ω 1Ω 1Ω 1Ω I

1Ω 2Ω 2Ω 2Ω

+
6V

7. เมื่อปิดสวิตซ์ S ให้กระแสไหลผ่านได้ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทาน 6 โอห์ม จะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร (PAT3


ต.ค.59) 3Ω 3Ω
1. กระแสจะเพิ่มขึ้น 0.125 A
2. กระแสจะเพิ่มขึ้น 0.75 A
3. กระแสจะลดลง 0.125 A 6Ω 9V
4. กระแสจะลดลง 0.25 A S 3Ω
5. กระแสจะลดลง 0.75 A 3Ω

5
facebook page : ฟิสิกส์โกเอก PAT3 11.ไฟฟ้ากระแส 7

8. จากวงจรรูปข้างล่าง จงหาแรงดันที่ตกคร่อมตัวต้านทาน 4 โอห์ม (PAT3 ต.ค.52)


6Ω 4Ω
1. 3.2 โวลต์
2. 4.8 โวลต์
10 Ω
3. 8 โวลต์ 20 V 20 Ω 6Ω
4. 12 โวลต์

6
ข้อสอบPAT3 วงจรวีทสโตนบริดจ์
9. ข้อใดกล่าวถูกต้อง (PAT3 เม.ย.57)
1. ถ้า R1 . R2 = R3 . R4 แล้ว VA = VB R1 R3
2. ถ้า R1 . R4 = R2 . R3 แล้ว VA = VB
+ VA A VB
3. ถ้า R1 . R3 = R2 . R4 แล้วแอมมิเตอร์ชี้ค่า 0

-
4. ถ้า R1 . R2 = R3 . R4 แล้วแอมมิเตอร์ชี้ค่า 0 R2 R4
5. แอมมิเตอร์ต้องมีกระแสไหลอยู่เสมอ

10. จากจากวงจรไฟฟ้ากระแสตรงดังแสดงในรูปด้านล่าง จงคานวณหาค่าความต้านทาน R1 ว่ามีค่าเท่าไหร่ที่ทาให้


แรงดันที่จุด AB มีค่าเท่ากับศูนย์โวลต์ (PAT3 ก.ค.52)

1. 10 
R1 R 2  10 Ω
2. 20 
Vs 100 V
3. 30  A B
4. 40  R 3  40 Ω R 4  20 Ω

7
11. จากวงจรข้างล่างนี้ หากตัวต้านทานทุกตัวมีค่า 100  แล้ว กระแส I มีค่าเท่ากับเท่าใด (PAT3 มี.ค.56)
I R1 R2
1. -1 A
R3
2. -0.1 A R4 R7
3. 0A R5 R6
4. 0.1 A
5. 1A 15V
+ -

8
ข้อสอบPAT3 กฎของเคอร์ชอฟฟ์
12. จากวงจรไฟฟ้ากระแสตรงดังรูป จงหากระแส I (PAT3 มี.ค.56)
I=?
1. -2 A
2. -1 A
10 A
3. 0A -5 A
4. 1A
5. 2A
1A
4A
2A

13. สมมุตให้แผงวงจรหนึ่งมีการไหลของกระแสไฟฟ้าเข้าและออกจากแผงวงจรดังรูป อยากทราบว่ากระแสไฟฟ้ า I มีค่า


เท่ากับกี่แอมป์ (PAT3 มี.ค.54)

9
14. ข้อใดกล่าวถูกต้อง (PAT3 ธ.ค.56)
10 Ω V 10 Ω
1. วงจรนี้น่าจะเกิดความเสียหายอย่างรุนแรง
I1 I2 I3
2. I2 = 0
5V + + 5V
3. ถ้า I 1 = 250 mA แล้ว I 2 = 500 mA 5Ω

-
-
4. ถ้า I 1  0 A แล้ว I 2 ต้องเท่ากับ 0 A
5. ถ้า I 2  0 A แล้ว I 1 ต้องเท่ากับ 0 A

15. จากวงจรที่กาหนดให้ดังรูป จงหาค่ากระแส I เป็นกี่แอมแปร์ (PAT3 ก.ค.53)


1Ω 2Ω

I
2V 2Ω 2Ω 5V
1Ω 2Ω

10
16. วงจรไฟฟ้าวงจรหนึ่ง R1 = R2 = R3 = R4 = 10  หาก V1 = V2 = 10 V และ I1 = I 2 = 0.5 A แล้ว
ข้อใดกล่าวผิด (PAT3 มี.ค.59)
I2
R2
1. I 3 = I 4 R1 I4
2. I1 = I2 = I3 = I4 I1
3. แรงดันตกคร่อม R1 = แรงดันตกคร่อม R3
I3
4. แรงดันตกคร่อม R3 = แรงดันตกคร่อม R4 V1 R R4 V2
3
5. แหล่งจ่ายไฟฟ้าอย่างน้อย 1 ตัว จะได้รับความเสียหาย

11
ข้อสอบPAT3 เครื่องมือวัดทางไฟฟ้า
17. ในการนาแอมป์มิเตอร์ ไปวัดกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านอุปกรณ์ ตัวเลือกใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง (PAT3 ก.ค.53)
ก. แอมป์มิเตอร์ที่ใช้จะต้องมีความต้านทานภายในต่ามาก
ข. แอมป์มิเตอร์ที่ใช้จะต้องมีความต้านทานภายในสูงมาก
ค. ต้องต่อแอมมิเตอร์ขนานกับอุปกรณ์ที่ต้องการวัด
ง. ต้องต่อแอมป์มิเตอร์อนุกรมกับอุปกรณ์ที่ต้องการวัด
1. ตัวเลือก ก และ ค
2. ตัวเลือก ข และ ง
3. ตัวเลือก ก และ ง
4. ตัวเลือก ข และ ค
5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง

18. แรงดันและกระแสที่อ่านได้จากเครื่องวัดในวงจรนี้ ควรมีค่าตามข้อใด (PAT3 ต.ค.58)

1. 0 V และ  A A
2. 0 V และ 7 A
5 4 3
3. 12 V และ 7 A 12 V V
4. 12 V และ 9 A 2A 3A 4A
5. 12 V และ 9.4 A

12
19. ถ้าแหล่งจ่ายมีขนาด 9 V และตัวต้านทานทุกตัวมีขนาด 1 โอห์มแล้ว ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุด (PAT3 เม.ย.57)

+
1. แอมมิเตอร์ชี้ค่า 0

-
2. แอมมิเตอร์ชี้ค่าไม่เท่ากับ 0
3. โวลต์มิเตอร์ชี้ค่า 0 A
4. โวลต์มิเตอร์ชี้ค่าไม่เท่ากับ 0
5. โวลต์มิเตอร์และแอมมิเตอร์ชี้ค่า 0
V

20. ถ้านาเครื่องวัดความต้านทานมาต่อกับเครื่องวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง ดังรูปแล้วได้ผลการวัดดังนี้ เครื่องวัดความ


ต้านทานอ่านค่าได้ 200 k  และ เครื่องวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงอ่านค่าได้ 5.7 โวลด์ แล้ว

 V

อยากทราบว่า ถ้านาเครื่องวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง มาวัดแรงดันตกคร่อมตัวต้านทาน R2 ดังรูปแล้ว เครื่องวัด


แรงดันไฟฟ้ากระแสตรงจะอ่านค่าได้เท่าใด (PAT3 ก.ค.53)
200 k
1. (1/3) x 10 โวลต์
2. (1/2) x 10 โวลต์ R1
200 k

3. 10 - 5.7 โวลต์
4. 5.7 โวลต์
10 V R2 V
5. 10 โวลต์

13
21.

หากเข็มชี้เบนอยู่ในตาแหน่งที่ปรากฏดังรูป โดยเป็นการวัดความต้านทานที่มีการปรับตั้งย่านวัดไว้ที่ x 1k ควารอ่านค่าได้


เท่าใด (PAT3 ต.ค.53)
1. 7.2 
2. 36.9 
3. 739 
4. 742 
5. 7,300 

22. หากเครื่องวัดมีคุณลักษณะตามอุดมคติแล้ว การต่อวงจรในข้อใด น่าจะเกิดความเสียหายกับเครื่องวัดได้มากที่สุด


กาหนดให้แหล่งจ่ายมีขนาดแรงดัน 12 โวลต์ (PAT3 ต.ค.54)
1k 1k
V
1. 2.
+ A 1k + 1k
l l

V
3. 4.
+ A 1k 1k + 1k
l l

1k
5.
+ V 1k
l

14
23. หากอุปกรณ์ในวงจรตามรูปเป็นไปตามอุดมคติ ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุด (PAT3 ต.ค.58)

2

3

12 V 4 A1 A2 A3

1. A1 อ่านได้ 0 A A2 อ่านได้ 0 A A3 อ่านได้ 0 A


2. A1 อ่านได้ 4 A A2 อ่านได้ 3 A A3 อ่านได้ 2 A
3. A1 อ่านได้ 3 A A2 อ่านได้ 3 A A3 อ่านได้ 3 A
4. A1 อ่านได้ 3 A A2 อ่านได้ 0 A A3 อ่านได้ 3 A
5. วงจรจะเกิดความเสียหาย

24. หากใช้เครื่องวัดเอนกประสงค์และวัดแรงดันดังรูป แล้วทาการปิดสวิตซ์เลือก (selector Switch)


จาก V A  แล้ว ข้อใดกล่าวถูกต้อง (PAT3 มี.ค.59)

1. เข็มจะชี้ค่า 24 0.24 100 ตามลาดับ


A
2. จะเห็นเข็มชี้ค่า 24 แล้วชี้ไปที่ 100
3. จะเห็นเข็มชี้ค่าที่ 100  V
4. ที่ปิดสวิตซ์เลือกจะได้รับความเสียหาย
5. เป็นการใช้เครื่องวัดที่ผิดวิธี

24 V 100 

15
25. แอมมิเตอร์เครื่องหนึ่งมีความต้านทานภายใน 100 โอห์ม ใช้วัดกระแสเต็มสเกลได้สูงสุด 1 แอมแปร์ ถ้าต้องการให้
แอมมิเตอร์เครื่องนี้วัดกระแสได้สูงสุด 10 แอมแปร์จะต้องใช้ตัวต้านทานมาต่อขนานกี่โอห์ม (PAT3 มี.ค.52)
1. 1.11 โอห์ม
2. 11.11 โอห์ม
3. 2.22 โอห์ม
4. 22.22 โอห์ม

26. เครื่องวัดชนิดหนึ่งมีค่าความต้านทานภายใน 1 k  สามารถวัดแรงดันไฟฟ้าได้สูงสุด 2 kV เมื่อต้องนาไปวัด


แรงดันไฟฟ้า 20 kV ต้องนาตัวต้านทนค่าเท่าไหร่มาต่ออนุกรม (PAT3 ก.ค.52)
1. 1 k 
2. 9 k 
3. 10 k 
4. 18 k 

16
ข้อสอบPAT3 พลังงานและกาลังไฟฟ้า
27. ค่าไฟฟ้าสาหรับบ้านพักอาศัย คือค่าใช้จ่ายในการซื้อปริมาณในข้อใด (PAT3 ต.ค.54)
1. กระแสไฟฟ้า
2. แรงดันไฟฟ้า
3. กาลังไฟฟ้า
4. พลังงานไฟฟ้า
5. ถูกทั้งข้อ 1. และข้อ 3.

28. หากต้องการวัดพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ไป ต้องเลือกใช้เครื่องวัดชนิดใดจึงจะได้คาตอบโดยตรง (PAT3 มี.ค.59)


1. Voltmeter
2. Ammeter
3. Power Meter
4. Multimeter
5. Watt-hour Meter

29. บ้านหลังหนึ่งใช้ไฟฟ้ารวมกันทั้งหมด 2,100 วัตต์ ถ้ามิเตอร์ไฟฟ้าของบ้านหลังนี้มีอัตราการหมุนของจานมิเตอร์


1,200 รอบ/กิโลวัตต์-ชั่วโมง ในเวลา 10 นาที มิเตอร์จะหมุนกี่รอบ (PAT3 ต.ค.53)
1. 220 รอบ
2. 320 รอบ
3. 420 รอบ
4. 520 รอบ
5. 620 รอบ

17
30. หากกาต้มน้าไฟฟ้า สามารถบิดปรับระดับ % แรงดันไฟฟ้าได้ในลักษณะตามรูป อยากทราบว่าถ้าต้องการลดอัตรา
การให้ความร้อนลงเหลือ 1 ใน 4 ของค่าสูงสุด ต้องบิดปรับไปที่ตาแหน่งใด (PAT3 ต.ค.58)
50
1. 25 %
2. 30 %
25 75
3. 40 %
4. 50 %
5. 75 %
0 %V 100

31. บ้านหลังหนึ่งต่อยู่กับแหล่งจ่ายไฟฟ้า 220 โวลต์ โดยมีเครื่องใช้ไฟฟ้าดังต่อไปนี้ หม้อหุงข้าวขนาด 700 วัตต์


เครื่องทาน้าอุ่นขนาด 2500 วัตต์ ตู้เย็นขนาด 150 วัตต์ จานวน 2 ตู้ เครื่องซักผ้าขนาด 200 วัตต์ เครื่องปรับอากาศ
1500 วัตต์ หลอดไฟขนาด 100 วัตต์ จานวน 10 หลอด หากเครื่องใช้ไฟฟ้าทั้งหมดมีการใช้งานพร้อมกัน จง
คานวณหาขนาดของฟิวส์สาหรับบ้านหลังนี้ (PAT3 ต.ค.52)
1. 15 แอมแปร์
2. 20 แอมแปร์
3. 25 แอมแปร์
4. 30 แอมแปร์

32. บ้านหลังหนึ่งใช้ไฟฟ้าที่มีความต่างศักย์ 220 โวลต์ ถ้าใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าดังต่อไปนี้ หม้อหุงข้าวขนาด 600 วัตต์ใช้


งานวันละ 30 นาที เครื่องปรับอากาศขนาด 2000 วัตต์ เปิดใช้งานวันละ 12 ชม. สมมุติคอมเพรสเซอร์ทางานวันละ 4
ชม. และหลอดไส้ขนาด 100 วัตต์ 2 ดวง เปิดใช้งานวันละ 2 ชม. จงหาพลังงานไฟฟ้าที่บ้านหลังนี้ใช้ใน 1 เดือน
(PAT3 มี.ค.52)
1. 741 กิโลวัตต์ชั่วโมง
2. 261 หน่วย
3. 741 จูล
4. 261 จูล

18
33. หากบ้านหลังหนึ่งมีพฤติกรรมการใช้ไฟฟ้าในรอบวันดังกราฟข้างล่างนี้ อยากทราบว่าในวันดังกล่าวจะมีการใช้ไฟฟ้ากี่
หน่วย (PAT3 มี.ค.54)
P(W)

3,000
2,000
1,000
time(h)
0 4 8 12 16 20 24
1. 6,000 หน่วย
2. 24,000 หน่วย
3. ( 2 x 4 ) + ( 3 x 12 ) + ( 1 x 20 ) หน่วย
4. ( 2 + 3 + 1) x 4 หน่วย
5. ไม่มีข้อใดถูก

34. เครื่องกาเนิดไฟฟ้าสามารถส่งกาลังไฟฟ้าได้ 110 กิโลวัตต์ หากกาหนดให้เครื่องกาเนิดไฟฟ้าเครื่องนี้ส่งกาลั งไฟฟ้า


ด้วยความต่างศักย์ 220 โวลต์ผ่านสายไฟฟ้าที่มีความยาว 200 เมตร เป็นเวลานาน 50 วินาที โดยที่สายไฟฟ้ามีค่า
ความต้านทานเท่ากับ 0.2 โอห์มต่อกิโลเมตร จงคานวณหาค่าพลังงานความร้อนที่สูญเสียในสายไฟฟ้า (PAT3 ก.ค.52)
1. 500 กิโลจูล
2. 800 กิโลจูล
3. 2500 กิโลจูล
4. 8000 กิโลจูล

19

You might also like