You are on page 1of 26

ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์

PAT3 8.ของไหล
ฝึกทาข้อสอบPAT3#61 8.ของไหล
ข้อสอบPAT3 ความดันในของเหลว
1. ถังรูปทรงกระบอกสูง 30 เซนติเมตร รัศมี 10 เซนติเมตร บรรจุสารสามชนิดคือ น้้า น้้ามันพืช และปรอท ชนิดละ
1 ลิตร โดยที่สารแต่ละชนิดไม่ละลายซึ่งกันและกัน จงหาว่าถ้าถังบรรจุสารใบนี้มีรูรั่วที่ความสูงจากก้นถึง 7 เซนติเมตร
จะพบว่าสารใดรั่วออกมา (PAT3 ต.ค.54)
1. น้้า
2. น้้ามันพืช
3. ปรอท
4. น้้าและน้้ามันพืช
5. ไม่มีสารใดรั่วออกมาเลย

2. การวัดความดันในถังที่ต่้ากว่าความดันบรรยากาศ (Vacuum Pressure) ของวิศวกรบางครั้งนิยมใช้หน่วยของการวัด


เป็นหน่วย torr ข้อใดเป็นค่าความดันที่ถูกต้องของความดันในหน่วยนี้ (PAT3 ต.ค.52)
1. 1 torr = 100 Pa
2. 1 torr = 0.1 psi (ปอนด์ต่อตารางนิ้ว)
3. 1 torr = 1 mmHg
4. 1 torr = 10 N/cm2

3. ภาชนะบรรจุน้ารูปทรงต่างๆ ดังรูป มีขนาดพื้นที่หน้าตัดเท่ากันทุกใบ ข้อใดต่อไปนี้สรุปถูกต้อง (PAT3 ต.ค.55)

1. PA  Pa  PB  Pb  PC  Pc
2. PA  PB  PC  Pa  Pb  Pc
3. PA  PB  PC  Pa  Pb  Pc h
H
4. PA  PB  PC  Pa  Pb  Pc a b c
5. PA  PB  PC  Pa  Pb  Pc
A B C

2
4. ความดันโลหิตค่าสูง 120 มิลลิเมตรปรอท เท่ากับความดันกี่นิวตันต่อตารางเมตร (PAT3 ธ.ค.56)
ก้าหนดความหนาแน่นเลือด = 1,050 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
ความหนาแน่นปรอท = 13.6x103 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
1. 1,260 นิวตันต่อตารางเมตร
2. 1,360 นิวตันต่อตารางเมตร
3. 12,600 นิวตันต่อตารางเมตร
4. 13,600 นิวตันต่อตารางเมตร
5. 16,320 นิวตันต่อตารางเมตร

5. ในการวัดความดันบรรยากาศ ณ สถานที่แห่งหนึ่ง โดยใช้บารอมิเตอร์นั้น พบว่าถ้าใช้บารอมิเตอร์ปรอทวัดความดัน


บรรยากาศระดับปรอทจะสูง 740 มิลลิเมตร ถ้าเราเปลี่ยนจากบารอมิเตอร์ปรอทมาเป็นบารอมิเตอร์น้าในการวัดความดัน
บรรยากาศนี้ ระดับน้้าในบารอมิเตอร์จะสูงเท่าใด ก้าหนดให้ ความหนาแน่นของปรอท = 13,600 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์
เมตร, ความหนาแน่นของน้้า = 1,000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และ g = 10 เมตรต่อวินาที2 (PAT3 ต.ค.54)
1. 1.064 เซนติเมตร
2. 1.136 เซนติเมตร
3. 10.036 เมตร
4. 10.064 เมตร
5. 10.136 เมตร

6. ถังทรงกระบอกเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 70 cm บรรจุน้ามัน และน้้าปริมาตรเท่ากัน โดยที่น้ามันมีค่าความหนาแน่น


เท่ากับ 250 kg/m3 พบว่าความดันกดที่ก้นถัง เท่ากับ 100 kN/m2 จงหาว่าถังใบนี้บรรจุน้ามันอยู่กี่ m3 (PAT3 มี.ค.56)

3
70 cm
1. 0.616 m
2. 1.232 m3
3. 1.848 m3
4. 2.464 m3
5. 3.080 m3

3
7. วัดความดันของอากาศในยางรถยนต์ด้วยเกจวัดความดัน ถ้าอ่านค่าเป็นความดันเกจได้ 210 กิโลปาสกาล ขณะที่
ความดันบรรยากาศบริเวณรอบๆ นั้นมีค่าเท่ากับ 1 บาร์ความดันสัมบูรณ์ของอากาศภายในยางรถยนต์มีค่าเท่าใด
(PAT3 มี.ค.52)
1. 310 กิโลปาสกาล
2. 220 กิโลปาสกาล
3. 200 กิโลปาสกาล
4. 110 กิโลปาสกาล

8. ถ้าต้องการสร้างหอถังสูง ที่ท้าให้น้าที่จุด C มีความดัน 2 บาร์ ต้องสร้างหอให้มีความสูง h กี่เมตร เมื่อในถังมีน้า


บรรจุสูง 1.5 เมตร ก้าหนดให้ g = 10 เมตรต่อวินาที2 ความดันบรรยากาศเท่ากับ 96 กิโลปาสคาล 1 บาร์ = 100
กิโลปาสคาล (PAT3 มี.ค.53)

1.5

4
ข้อสอบPAT3 มานอมิเตอร์และหลอดรูปตัวยู
9. ถ้ามานอมิเตอร์รูปตัว U มีลักษณะดังรูป โดยของเหลวทางด้านซ้ายของหลอดคือน้้า ถ้าระดับความสูงของของเหลว
เป็นไปตามรูป ถามว่าของเหลว A ควรเป็นของเหลวประเภทใดมากที่สุด เมื่อพิจารณาตามตารางคุณสมบัติด้านล่าง
ก้าหนดให้ความหนาแน่นน้้ามีค่า 1,000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (PAT3 มี.ค.53)

ชนิด ความหนาแน่น A
(กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร)
น้้ามันก๊าด 850 7 cm
มีเทนเหลว 420
โพรเพนเหลว 570 12 cm
แอมโมเนียเหลว 625 8 cm
น้้ามันออกเทน 700

1. น้้ามันออกเทน
2. น้้ามันก๊าด
3. แอมโมเนียเหลว
4. มีเทนเหลว
5. โพรเพนเหลว

10. ถ้ามีหลอดแก้วรูปตัวยูดังรูป ซึ่งมีพื้นที่หน้าตัดของท่อเท่ากับ 1 ตารางเซนติเมตร และมีของเหลวชนิดหนึ่งที่มีความ


ถ่วงจ้าเพาะ 0.8 อยู่ในหลอดดังรูป จะต้องเติมของเหลวอีกชนิดหนึ่งที่มีความถ่วงจ้าเพาะ 2.0 ลงไปที่ปลายด้านหนึ่งจึง
จะท้าให้ของเหลวเดิมมีระดับสูงขึ้นถึงปลายหลอดพอดี เป็นปริมาตรกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร (PAT3 เม.ย.57)
3 cm

5
11. เมื่อใช้มาโนมิเตอร์วัดความดันของอากาศในท่อลมนั้น พบว่าถ้าวัดความดันบรรยากาศที่กระท้าต่อปลายอีกด้านของ
มาโนมิเตอร์มีค่าเท่ากับ 100 กิโลปาสคาล ให้ค้านวณหาค่าความดันที่จุด A ในหน่วยกิโลปาสคาล โดยก้าหนดให้น้ามี
ความหนาแน่น 1,000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และ g เท่ากับ 10 เมตรต่อวินาที2 (PAT3 ต.ค.54)

X
SG = 0.5

A 20 cm
7 cm

5 cm
Y
Z SG = 2.0
SG = 1

12. จากรูปจงหาว่ามาตรวัดความดัน A อ่านค่าได้เท่าใด ก้าหนดให้น้ามีความหนาแน่น 1000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์


เมตร น้้ามันมีความหนาแน่น 800 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตรปรอทมีความหนาแน่นมากกว่าน้้า 13.6 เท่า ความดัน
บรรยากาศ 100 กิโลปาสกาลและค่า g = 10 เมตรต่อวินาที2 (PAT3 ต.ค.52)
A
1. 7.2 กิโลปาสกาล
2. -7.2 กิโลปาสกาล
3. 106.2 กิโลปาสกาล 100 cm
4. -92.8 กิโลปาสกาล 200 cm

20 cm
B B

6
13. จากรูป ก้าหนดให้ของไหล A ลอยอยู่บนน้้าดังรูป ระดับความสูงมีหน่วยเป็น cm จงหาความหนาแน่นของของไหล
A (PAT3 ต.ค.59)
P
1. 820 kg/m3
2. 910 kg/m3
3. 990 kg/m3 4 A
4. 1,010 kg/m3 6
5. 1,098 kg/m3 2.36
H2O H2O

7
ข้อสอบPAT3 แรงดันจากของเหลวและกฎของพาสคาล
14. ถ้ากระจกหน้าปัดนาฬิกาซึ่งมีพื้นที่ 4 cm2 รับแรงรวมได้ 200 N นาฬิกาเรือนนี้จะสามารถทนแรงดันสูงสุดที่น้าลึก
ได้กี่เมตร (PAT3 ต.ค.58)
1. 5 เมตร
2. 10 เมตร
3. 25 เมตร
4. 50 เมตร
5. 100 เมตร

15. กระบะขนาด กว้าง 3 m ยาว 4 m สูง 1 m บรรจุทรายเต็มกระบะ ถ้าแรงรวมที่กระท้าต่อผนังด้าน 3 m x 1


m มีขนาดเท่ากับ 24,000 N จงหาความหนาแน่นของทรายในกระบะ ว่าเป็นกี่ kg/m3 (PAT3 มี.ค.59)
1. 800 kg/m3
2. 1200 kg/m3
3. 1600 kg/m3
4. 1800 kg/m3
5. 2400 kg/m3

16. เขื่อนที่มีระดับความลึกเท่ากันมีผิวด้านหนึ่งเป็นพื้นเอียง ข้อใดกล่าวถูกต้อง (PAT3 ต.ค.54)

A B C

1. แรงดันที่น้ากระท้าต่อพื้นเอียงของเขื่อน A > เขื่อน B > เขือ่ น C


2. แรงดันที่น้ากระท้าต่อพื้นเอียงของเขื่อน A = เขื่อน B = เขือ่ น C
3. ความดันของน้้า ณ ต้าแหน่งกึ่งกลางของพื้นเอียงของเขื่อน A > เขื่อน B > เขื่อน C
4. ความดันของน้้า ณ ต้าแหน่งกึ่งกลางของพื้นเอียงของเขื่อน A = เขื่อน B = เขือ่ น C
5. ไม่มีข้อใดกล่าวถูก

8
17. แท่งคอนกรีตฐานกว้างที่มีภาคตัดขวางดังรูป วางกั้นน้้าซึ่งมีระดับความสูงของน้้า 4 เมตร ถ้าแท่งคอนกรีตมีหน้า
กว้างเท่ากับ 1 เมตร แรงกระท้าของน้้าบนผิวด้าน AB ของแท่งคอนกรีตในแนวนอน และแนวดิ่งมีค่าเท่าไร (PAT3 ต.ค.
59)
1. แรงแนวนอน 6,000 N แรงแนวดิ่ง 8,000 N
2. แรงแนวนอน 8,000 N แรงแนวดิ่ง 6,000 N
A
3. แรงแนวนอน 60,000 N แรงแนวดิ่ง 80,000 N

4m
4. แรงแนวนอน 80,000 N แรงแนวดิ่ง 60,000 N
5. แรงแนวนอน 120,000 N แรงแนวดิ่ง 160,000 N B 3m

18. ในถังบรรจุทรายที่มีความสูง 4 เมตร ดังในรูป มีประตูบานพับ (Hinges) ขนาด 2 เมตร x 2 เมตร ซึ่งอยู่ที่
ด้านล่างของถัง จงหาแรง F กระท้าที่ใช้ในการปิดประตูในหน่วยกิโลนิวตัน ถ้าทรายมีความหนาแน่น 1,800 กิโลกรัมต่อ
ลูกบาศก์เมตร (PAT3 เม.ย.57)

Sand
4m

2m

Hinge
2m

9
19. เครื่องอัดไฮดรอลิก มีเส้นผ่านศูนย์กลางของกระบอกสูบด้านเล็กเท่ากับ 3 cm และเส้นผ่านศูนย์กลางของกระบอก
สูบด้านใหญ่เท่ากับ 15 cm ถ้าไม่มีการสูญเสีย และไม่คิดผลจากความสูง ถ้ามีแรงกดที่บนปลายกระบอกสูบด้านใหญ่
เท่ากับ 2,000 N จะต้องใช้แรงกดบนกระบอกสูบด้านเล็กเท่ากับกี่นิวตัน (PAT3 ต.ค.58)
1. 80 N
2. 100 N
3. 200 N
4. 400 N
5. 800 N

20. เครื่องอัดไฮดรอลิก ประกอบด้วยลูกสูบ A และลูกสูบ B ภายในบรรจุน้าดังแสดงในรูป หากลูกสูบ A มีขนาดเส้น


ผ่านศูนย์กลาง 7 เซนติเมตร และลูกสูบ B มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 14 เซนติเมตร จงค้านวณหาขนาดแรงที่กระท้าที่
ลูกสูบ A ว่ามีขนาดเท่าใด จึงจะท้าให้ระดับของลูกสูบ B สูงขึ้นไปอีก 10 เซนติเมตร (PAT3 เม.ย.57)
A B
1. 3.85 นิวตัน
PB
h B =10 cm

2. 14.33 นิวตัน
PA
3. 19.25 นิวตัน
4. 20.0 นิวตัน
VA
hA

5. 45.5 นิวตัน

10
21. ในภาชนะบรรจุน้าที่มีปลาย 3 ด้านเป็นกระบอกสูบ ซึ่งมีลูกสูบที่สามารถเคลื่อนที่ขึ้นลงได้โดยไม่มีแรงเสียดทาน ถ้า
พื้นที่หน้าตัดของปลายทั้งสามเป็น A1 = 0.4 m2 A2 = 0.2 m2 และ A3 = 0.6 m2 ในสภาวะเริ่มต้นลูกสูบทั้งสามอยู่
ในระดับเดียวกัน หากวางมวล m1 = 100 kg ลงบนลูกสูบ 1 และมวล m2 = 80 kg ลงบนลูกสูบ 2 จะต้องวางมวลลง
บนลูกสูบ 3 กี่กิโลกรัม เพื่อให้ลูกสูบสามอยู่ในต้าแหน่งเดิมโดยไม่เคลื่อนที่ขึ้นลง (PAT3 มี.ค.59)

1 2 3

11
ข้อสอบPAT3 หลักของอาร์คีมีดิสและแรงลอยตัว
22. ข้อใดต่อไปนี้ผิด (PAT3 ต.ค.59)
1. ถ้าไม่มีแรงโน้มถ่วง ก็จะไม่มีแรงลอยตัว
2. เรือด้าน้้าใช้วิธีการปล่อยน้้าเข้ามาในตัวถังหรือเพื่อด้าน้้า
3. น้้าแข็งลอยบนน้้าในแก้ว เมื่อน้้าแข็งละลายแล้วระดับน้้าในแก้วจะคงเดิม
4. น้้าแข็งบนพื้นทวีปที่ขั้วโลกละลายจะท้าให้ระดับน้้าในทะเลเท่าเดิม
5. บอลลูนที่บรรจุด้วยแก๊สเบาที่ความดันคงที่จะลอยสูงถึงระดับความสูงหนึ่งเท่านั้น ไม่สามารถหลุดออกไปจากชั้น
บรรยากาศได้

23. วัตถุชนิดหนึ่งมีค่าความถ่วงจ้าเพาะเท่ากับ 0.25 ลอยอยู่ในสารละลายที่มีค่าความหนาแน่น 500 kg/m3 ถ้าวัตถุนี้


จมอยู่ในสารละลายเพียงครึ่งหนึ่งของความสูง ข้อใดต่อไปนี้สรุปถูก (PAT3 มี.ค.56)
1. ข้อมูลนี้เป็นจริงเฉพาะวัตถุรูปทรงกลม
2. ข้อมูลนี้เป็นจริงเฉพาะวัตถุรูปทรงลูกบาศก์
3. ข้อมูลนี้เป็นจริงเฉพาะวัตถุรูปทรงกระบอก
4. ข้อมูลนี้เป็นจริงได้ทั้ง วัตถุรูปทรงกลม ลูกบาศก์ และทรงกระบอก
5. ข้อมูลที่ให้ไม่เพียงพอที่จะสรุปได้

24. ถ้าก้อนน้้าแข็งมีความหน่าแน่น 920 kg/m3 ลอยอยู่ในน้้า และมีส่วนของก้อนน้้าแข็งที่โผล่พ้นน้้า โดยที่ส่วนที่โผล่


พ้นน้้านี้มีปริมาตร 1 ลูกบาศก์เมตร อยากทราบว่าก้อนน้้าแข็งส่วนที่จมอยู่ใต้ระดับน้้ามีปริมาตรกี่ลูกบาศก์เมตร สมมุติ
ให้น้าแข็งไม่มีการละลาย และน้้ามีความหนาแน่น 1000 kg/m3 (PAT3 มี.ค.54)

12
25. วัตถุทรงกรวยฐานวงกลม มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ฐาน 1 เมตร และความสูง 2 เมตร มีความหนาแน่น
0.5x103 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ลอยตัวในของเหลวที่มีความหนาแน่น 1.0x103 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร โดยให้
ปลายยอดแหลมอยู่ด้านล่างระยะความลึกที่ปลายแหลมของกรวยจมลงไปในของเหลวนั้นเป็นกี่เมตร (PAT3 มี.ค.53)

1. 2 เมตร
1 .
2. 3 เมตร
3. 3
2 เมตร
4. 3
3 เมตร 2 .
5. 3
4 เมตร
h

26. มีบอลลูนที่ยังไม่บรรจุแก๊สพร้อมทั้งสัมภาระทั้งหมดมวลรวมกันเท่ากับ 800 kg จะต้องเติมแก๊สฮีเลียมเข้าไปใน


บอลลูนอย่างน้อยกี่กิโลกรัม จึงจะท้าให้บอลลูนนี้เริ่มลอยตัวขึ้นได้ ถ้าความหนาแน่นของอากาศ และแก๊สเท่ากับ 1.3
และ 0.18 kg/m3 ตามล้าดับ (PAT3 ต.ค.58)
1. 97 kg
2. 110 kg
3. 129 kg
4. 615 kg
5. 714 kg

27. ถ้ามวลหนัก 1,200 kg วางบนโฟมแผ่นหนา 20 cm ที่มีความหนาแน่น 40 kg/m3 แล้วโฟมลอยปริ่มน้้าพอดี


ต้องใช้โฟมพื้นที่เท่าใดในหน่วย m2 (PAT3 มี.ค.59)
1. 2.60
2. 4.17
3. 6.25
4. 8.00
5. 12.50

13
28. โป๊ะเทียบเรือรูปกล่องสี่เหลี่ยมผืนผ้าหนัก 12 ตัน มีพื้นที่รองรับผู้โดยสารเท่ากับ 30 ตารางเมตร จงหาขนาดของ
ความสูงรวมของโป๊ะ h กี่เซนติเมตร เพื่อให้รองรับผู้โดยสารให้ได้ 100 คน ก้าหนดให้น้าหนักเฉลี่ยของผู้โดยสารแต่ละ
คนมีค่าเท่ากับ 60 กิโลกรัม และให้โป๊ะมีส่วนที่อยู่พ้นผิวน้้าต่อส่วนที่จมน้้าเป็น 1 : 2 (PAT3 มี.ค.53)

h
3
2
h h
3

29. เมื่อน้ามวลที่หนึ่งวางบนแพทรงลูกบาศก์ในบ่อน้้านิ่ง ท้าให้แพจมลงไป 4 cm เมื่อน้ามวลที่หนึ่งออกแล้ววางมวลที่


สองซึ่งหนักกว่ามวลที่หนึ่ง 4 kg บนแพ จะท้าให้แพจมลงไป 6 cm จงหาขนาดของมวลที่หนึ่งในหน่วย kg (PAT3
ต.ค.58)

14
30. ในหลอดแก้วที่มีพื้นที่หน้าตัด 9 ตารางเซนติเมตร สูง 30 เซนติเมตร บรรจุปรอท ที่มีความถ่วงจ้าเพาะเท่ากับ
13.6 สูง 15 เซนติเมตร และมีน้ามันที่มีความถ่วงจ้าเพาะ 0.85 สูง 10 เซนติเมตร ถ้าใส่แท่งอลูมิเนียมที่มีความ
ถ่วงจ้าเพาะ 3.4 พื้นที่หน้าตัด 1 ตารางเซนติเมตร และสูง 10 เซนติเมตร ลงไปในหลอดแก้ว (PAT3 ธ.ค.56)
ข้อใดคือผลที่สังเกตได้ถ้าแท่งอลูมิเนียมยังวางตัวตั้งตรงอยู่ในของเหลว
1. แท่งอลูมิเนียมจมอยู่ระหว่างชั้น โดยอยู่ในชั้นน้้ามัน 2 เซนติเมตร และในชั้นปรอท 8 เซนติเมตร
2. แท่งอลูมิเนียมจมอยู่ระหว่างชั้น โดยอยู่ในชั้นน้้ามัน 2.5 เซนติเมตร และในชั้นปรอท 7.5 เซนติเมตร
3. แท่งอลูมิเนียมจมอยู่ระหว่างชั้น โดยอยู่ในชั้นน้้ามัน 5 เซนติเมตร และในชั้นปรอท 5 เซนติเมตร
4. แท่งอลูมิเนียมจมอยู่ระหว่างชั้น โดยอยู่ในชั้นน้้ามัน 7.5 เซนติเมตร และในชั้นปรอท 2.5 เซนติเมตร
5. แท่งอลูมิเนียมจมอยู่ระหว่างชั้น โดยอยู่ในชั้นน้้ามัน 8 เซนติเมตร และในชั้นปรอท 2 เซนติเมตร

31. เครนยกก้อนคอนกรีตขนาด 0.5 ลูกบาศก์เมตร แล้วหย่อนลงไปไว้ในน้้าเพื่อเตรียมการก่อสร้างสะพาน จง


ค้านวณหาแรงตึงของเคเบิล (Tension) ที่รับน้้าหนักคอนกรีตไว้กับเครนนี้ เมื่อก้อนคอนกรีตจมอยู่ในน้้า ก้าหนดให้ความ
หนาแน่นของน้้า 1,000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และให้ความหนาแน่นคอนกรีต 2,000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร โดย
เคเบิลมีน้าหนักน้อยมาก (PAT3 ธ.ค.56)

1. 1 กิโลนิวตัน
2. 5 กิโลนิวตัน
3. 10 กิโลนิวตัน
4. 15 กิโลนิวตัน
5. 20 กิโลนิวตัน

15
32. วัตถุหนึ่ง ชั่งด้วยตาชั่งสปริงแบบแขวนในบรรยากาศปกติ จะหนัก 100 นิวตัน แต่เมื่อน้าไปจุ่มน้้าจะชั่งน้้าหนักได้
75 นิวตัน ความหนาแน่นสัมพัทธ์ของวัตถุนี้เท่ากับเท่าใด (PAT3 ต.ค.52)
1. 4.0
2. 4.5
3. 2.5
4. 1.25

33. วัตถุ B มวล 100 kg ปริมาตร 0.04 m3 ผูกอยู่กับเชือกและถูกหย่อนลงไปในน้้าจากท้ายเรือดังรูป ถ้าเรือเคลื่อนที่


ไปด้วยความเร็วคงที่ 15 m/s ท้าให้มุมของเชือกที่ท้ากับแนวระดับเท่ากับ 37 องศา จงหาว่าแรงต้านการเคลื่อนที่ของ
วัตถุในน้้าเท่ากับกี่นิวตัน (PAT3 มี.ค.59)
1. 600 N
2. 750 N A
3. 800 N
37
o

4. 900 N
B
5. 1000 N

16
ข้อสอบPAT3 ความหนืด
34. เม็ดพลาสติกกลม ซึ่งมีความหนาแน่น 0.8 กิโลกรัมต่อลิตร ถูกยึดติดด้วยกาวที่ก้นถังน้้า ถ้ากาวหลุด เม็ดพลาสติก
จะลอยขึ้นด้วยความเร่งเท่าไร ถ้าไม่คิดความเสียดทานจากการเคลื่อนที่ในน้้า (PAT3 เม.ย.57)
1. 1.0 เมตรต่อวินาที2
2. 2.0 เมตรต่อวินาที2
3. 2.5 เมตรต่อวินาที2
4. 5.0 เมตรต่อวินาที2
5. 8.0 เมตรต่อวินาที2

35. ลูกเหล็กทรงกลม รัศมี r ความหนาแน่นของเหล็กเท่ากับ iron จมและเคลื่อนที่ในแนวดิ่งไปในของเหลวที่มีความ


หนาแน่นน้อยกว่าเหล็ก 10 เท่า และมีความหนืด  จงหาค่าความเร็วปลายของลูกเหล็กนี้ (PAT3 ต.ค.52)
gr 2iron
1.
10 
2gr 2iron
2.
5
4gr 2iron
3.
5
2
gr iron
4.
5

17
36. ปล่อยลูกเหล็กทรงกลมลงในภาชนะที่บรรจุสารต่างๆ ดังรูป โดยที่ระดับความสูงของสารในภาชนะนั้นเท่ากัน ข้อใด
สรุปการใช้เวลาในการปล่อยให้ลูกเหล็กจมถึงก้นภาชนะได้ถูกต้อง (PAT3 ต.ค.55)

50 C 55 C 60 C 25 C 95 C

A B C D E
1. A>B>C>D>E
2. A=B=C>D=E
3. A<B<C<D<E
4. A=B=C=D=E
5. A>B>C>D=E

18
ข้อสอบPAT3 พลศาสตร์ของไหล
37. สมการของเบอร์นูลี อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรใดบ้าง (PAT3 มี.ค.59)
1. ความดัน ปริมาตร และความเร็ว
2. ความดัน ปริมาตร และความสูง
3. ความดัน อัตราการไหล และความเร็ว
4. ความดัน ความเร็ว และความสูง
5. ความสูง ความหนาแน่น และอัตราการไหล

38. หลักการของเบอร์นูลี (Bernoulli’s Principle) ใช้ได้กับสสารประเภทใด (PAT3 เม.ย.57)


1. ของเหลว
2. ของเหลว และของแข็ง
3. ของเหลว และก๊าซ
4. ของแข็ง และก๊าซ
5. ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ

39. ถังเก็บน้้ารูปทรงกระบอกรัศมี 10 เมตร มีอัตราการไหลออกของน้้าเพื่อน้าไปใช้งานที่ 4,000 ลิตรต่อนาที จงหา


อัตราการลดลงของความสูงของน้้าในถังในหน่วยเซนติเมตรต่อนาที (PAT3 ต.ค.54)

19
40. น้้าไหลด้วยอัตราการไหลเชิงมวล 6 ตัน/ชม ในท่อที่มีหน้าตัดเป็นสี่เหลี่ยมกว้างด้านละ 1 นิ้ว จงค้านวณหา
ความเร็วในการไหลของน้้าในหน่วย m/s โดยก้าหนดให้ 1 นิ้ว = 2.5 cm (PAT3 มี.ค.56)
1. 0.67
2. 1.67
3. 2.67
4. 3.67
5. 4.67

41. น้้าไหลในท่อประปาขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 100 มิลลิเมตร ที่อัตราไหล 50 ลิตรต่อวินาที แต่ก่อนที่น้าจะเข้าสู่ตัว


บ้าน มีการใช้น้ารดสนามหญ้านอกบ้านด้วยอัตรา 10 ลิตรต่อวินาที น้้าที่เหลือได้ไหลเข้าไปในตัวบ้าน ที่มีท่อประปา
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 50 มิลลิเมตร จงเปรียบเทียบความเร็วเฉลี่ยของน้้าที่ไหลในท่อนอกบ้านและในท่อภายในบ้าน
(PAT3 มี.ค.52)
1. ความเร็วเฉลี่ยในท่อนอกบ้านมากกว่าท่อในบ้าน 3.2 เท่า
2. ความเร็วเฉลี่ยในท่อในบ้านมากกว่าท่อนอกบ้าน 3.2 เท่า
3. ความเร็วเฉลี่ยในท่อนอกบ้านมากกว่าท่อในบ้าน 1.6 เท่า
4. ความเร็วเฉลี่ยในท่อในบ้านมากกว่าท่อนอกบ้าน 1.6 เท่า

20
42. น้้าไหลในรางเปิดที่มีภาคตัดขวางเป็นรูปสี่เหลี่ยมที่มีความกว้างคงที่ เมื่อผ่านสิ่งกีดขวางท้าให้ระดับน้้าสูงขึ้นจาก 20
cm เป็น 30 cm ถ้าความเร็วก่อนสิ่งกีดขวาง V1 เท่ากับ 6 m/s ความเร็ว V2 จะเท่ากับเท่าไร (PAT3 ต.ค.59)

1. 2 m/s
2. 3 m/s
V2
3. 4 m/s V1

30
20
4. 8 m/s
5. 9 m/s

43. กฎของทอร์ริเซลลี กล่าวถึงปรากฏการณ์ของไหลในข้อใด (PAT3 ก.ค.52)


1. พลังงานรวมในระหว่างการไหลของของไหลจะคงที่ถ้าไม่พิจารณาแรงเสียดทาน
2. ส้าหรับของเหลวที่หยุดนิ่ง การเพิ่มความดันให้กับของเหลวที่ต้าแหน่งใดๆ บนผิวก็ตาม ความดันที่เพิ่มขึ้นนั้นจะ
แพร่กระจายไปตลอดทุกส่วนของของเหลว
3. อัตราเร็วของของเหลวที่พุ่งออกจากรูด้านข้างถังจะเท่ากับอัตราเร็วของวัตถุที่ตกแบบเสรีจากระดับสูงที่เท่ากัน และ
ไม่ขึ้นกับชนิดของของเหลว
4. ของเหลวเมื่อท้าให้มีความเร็วสูงขึ้น ความดันในของเหลวนั้นจะลดลง

21
44. มีถังบรรจุของเหลวขนาดใหญ่ซึ่งไม่ทราบระดับความสูงของของเหลวในถัง ช่างคนหนึ่งจึงหาวิธีประมาณระดับความ
สูงของของเหลวโดย เปิดวาล์วที่ติดตั้งข้างถังระดับความสูง 1 เมตรจากพื้น และสังเกตระยะที่ของเหลวในถึงพุ่งออกไป
ซึ่งวัดระยะห่างได้ 6 เมตรจากผนังของถังในระดับพื้นดิน เขาจะบอกได้ว่าของเหลวในถังมีระดับความสูงจากพื้นกี่เมตร
(PAT3 ธ.ค.56)

1m

6m

45. ถังน้้าดังรูป ขณะเริ่มเปิดก๊อกน้้าจะมีการลดลงของระดับน้้าในถังเป็นอัตรากี่เซนติเมตรต่อวินาที ถ้าถังเป็น


ทรงกระบอกมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 40 เซนติเมตร และปลายก๊อกน้้ามีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4 เซนติเมตร (PAT3 เม.ย.
57) 40
1. 1.0 เซนติเมตร/วินาที
2. 2.24 เซนติเมตร/วินาที
3. 3.16 เซนติเมตร/วินาที
60

4. 3.46 เซนติเมตร/วินาที
5. 5.0 เซนติเมตร/วินาที
10

22
46. ท่อเหล็ก มีเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 5 เซนติเมตร ต่อด้วยข้อต่อลดขนาดมาเข้ากับท่อ PVC เส้นผ่านศูนย์กลาง
ภายใน 2.5 เซนติเมตร ถ้าใช้ท่อที่ต่อกันนี้วางอยู่ในแนวระดับส่งน้้าจากอ่างเก็บน้้า เมื่อวัดความเร็วและความดันของน้้า
ในท่อทั้งสอง ข้อใดถูกต้อง (ไม่คิดการสูญเสียความดันจากแรงเสียดทานที่ข้อต่อและในท่อ) (PAT3 ธ.ค.56)

Steel PVC

1. ความเร็วของน้้าในท่อ PVC เป็น 2 เท่าของในท่อเหล็ก


2. ความเร็วของน้้าในท่อ PVC เป็น 4 เท่าของในท่อเหล็ก
3. ความดันของน้้าในท่อเหล็กเท่ากับในท่อ PVC
4. ความดันของน้้าในท่อเหล็กเป็น 2 เท่าของในท่อ PVC
5. ความดันของน้้าในท่อเหล็กเป็น 4 เท่าของในท่อ PVC

47. น้้าไหลในท่อสายดับเพลิงด้วยความเร็ว 1 m/s ที่ความดัน 200,000 Pa ที่ปลายหัวฉีด ความดันลดลงเหลือเท่ากับ


ความดันบรรยากาศคือ 101,300 Pa ถ้าถือว่าระดับความสูงไม่เปลี่ยนแปลง จงหาความเร็วของน้้าที่ออกจากปลายหัวฉีด
(PAT3 ต.ค.58)
1. 8 m/s
2. 10 m/s
3. 12 m/s
4. 14 m/s
5. 16 m/s

23
48. น้้าวิ่งผ่านท่อที่มีการลดขนาดวางในแนวระดับตามรูป การไหลเป็นไปอย่างคงที่ ถ้าความดันของน้้าที่ทางเข้าค่า
เท่ากับ Pin และความเร็ว Vin อยากทราบความดันของน้้าที่หน้าตัด A - A จะมีค่าเท่าใด (PAT3 ต.ค.52)
1  625 
1. Pin    Vin 60
2  256 
1  625  A
2. Pin    Vin Vin , Pin
2  256  50 cm
1  396 
20 cm
3. Pin    Vin
2  256 
1  369  A
4. Pin    Vin
2  256  20 cm

49. ท่อที่มีขนาดของพื้นที่หน้าตัดคงที่ดังรูป และไม่มีการสูญเสียเนื่องจากแรงเสียดทาน ข้อใดแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง


จุด 1 , 2 และ 3 ได้อย่างถูกต้อง (PAT3 มี.ค.56)
1. P1 = P2 + gh
2. P2 = P3 + gh
3. P1 = P3 + 2gh 3
h
4. v1 = v2 = v3 2
5. ถูกทุกข้อ h
1

24
50. มีน้าไหลในท่อที่มีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่หน้าตัด และความสูง จากต้าแหน่ง 1 ไปยังต้าแหน่ง 2 ดังรูป ที่ต้าแหน่ง 1
น้้าในท่อมีความดันเท่ากับ 150 kPa และมีความเร็ว 5 m/s ทีต่ ้าแหน่ง 2 ซึ่งอยู่สูงขึ้นไป 2 m น้้าในท่อมีความเร็ว
เพิ่มขึ้นเป็น 10 m/s ความดันของน้้าที่ต้าแหน่ง 2 มีค่ากี่ kPa (PAT3 มี.ค.59)

P1 = 150 kPa v1 = 10 m/s


1 v1 = 5 m/s h2 = 2 m
h1 = 0 m P2 = ?

51. ถังน้้าขนาดใหญ่ซึ่งมีระดับน้้าจากก้นถังสูง h = 4 m มีรูเจาะที่ก้นถังซึ่งมีพื้นที่หน้าตัด A1 = 20 cm2 เมื่อปล่อย


ให้น้าตกลงมาเป็นระยะทางในแนวดิ่ง y = 12 m จากก้นถัง จงหาว่าพื้นที่หน้าตัดของล้าน้้า A2 เป็นกี่ cm2 (PAT3
ต.ค.58)

1. 4 cm2
2. 5 cm2
h
3. 10 cm2
4. 12 cm2
A1 y
5. 15 cm2

A2

25
52. จากรูปแสดงภาพตัดขวางของปีกเครื่องบินและเส้นการไหลของอากาศ บริเวณใดที่มีความดันต่้าที่สุด (PAT3 มี.ค.54)

1. A
2. B
3. C
4. D
5. ทุกจุดมีความดันเท่ากัน

53. ปีกเครื่องร่อนบินด้วยความเร็วปะทะค่าหนึ่ง ท้าให้อากาศไหลใต้ปีกด้วยความเร็ว 18 m/s และบนปีกด้วยความเร็ว


20 m/s ถ้าปีกเครื่องร่อนมีพื้นที่ผิว 18 m2 และสมมุติว่าไม่มีการสูญเสียพลังงานจากการปะทะของปีกกับอากาศแล้ว
ปีกนี้จะมีแรงยกเท่าใด ก้าหนดให้ความหนาแน่นอากาศในความสูงที่บินอยู่เป็น 1 kg/m3 (PAT3 ต.ค.59)
1. 36 N
2. 684 N 20 m/s
3. 1,368 N V
4. 2,916 N
5. 3,600 N
18 m/s

26

You might also like