You are on page 1of 4

การก่อสร้างโครงสร้างเหล็ก บทที่ 3 หน้า 7

ความหนาคอประสิทธิผลต่ําสุด

3.2.2 การเชื่อมต่อโดยระบบน๊อต
ระบบการต่อโดย BOLT ทางงานก่อสร้างที่ใช้ส่วนใหญ่จะใช้กับงานที่
ไม่ต้องการเชื่อม งานแบบน็อกดาวน์ งานที่ ใช้เหล็กกําลังสู ง งานโครงการ

สภาวิศวกร 2556
บทที่ 3 หน้า การก่อสร้างโครงสร้างเหล็ก
8

ขนาดใหญ่ ที่ มี ค วามละเอี ย ดสู ง ๆ แรงดึ ง ต่ํ า สุ ด ในสลั ก เกลี ย วเมื่ อ ขั น แน่ น
(กก.)

3.3 การติดตั้ง
โครงสร้างเหล็กนั้นโครงสร้างจะต้องทํ าการตรวจสอบเพื่ อให้ไม่ให้มี
ผลกระทบในการติดตั้งโครงสร้างเหล็ก โดยมีรายการดังนี้
3.3.1 ก่อนที่จะทําการติดตั้งจะต้องศึกษาและตรวจสอบโดยมีรายการ
ดังนี้
3.3.1.1 ตรวจสอบหน่วยงานว่ามีความพร้อมที่จะทําการติดตั้ง
โครงสร้างเหล็กหรือไม่
3.3.1.2 ตรวจสอบว่าจุดรองรับต่างๆ มีความพร้อมในการตืดตั้ง
หรือไม่
3.3.1.3 บางชิ้ น ส่ ว นเมื่ อ นํ า มาประกอบที่ ห น่ ว ยงานเพื่ อ ให้ ไ ด้
รู ป ร่ า งตามที่ อ อกแบบก่ อ นยกติ ด ตั้ ง จะต้ อ งเตรี ย มที่
ประกอบให้ใกล้ที่ติดตั้งมากที่สุดเพื่อป้องกันความเสียหาย
และค่าใช้จ่ายของเครื่องจักรที่เพิ่มขึ้น

อนุกรรมการมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ
การก่อสร้างโครงสร้างเหล็ก บทที่ 3 หน้า 9

3.3.1.4 เรื่ อ ง SAEFTY เป็ น สาระสํ า คั ญ มากกั บ การติ ด ตั้ ง


โครงสร้างเหล็ก จะต้องมี MSM, JSA, RA และจะต้องทํ า
ตามขั้นตอนรวมถึงเตรียมเครื่องมือให้พร้อม การขึ้นที่สู ง
จะต้องมี SAFETY NET, LIFE LINE ฯลฯ
3.3.1.5 การติ ด ตั้ ง เมื่ อ เตรี ย มทุ ก อย่ า งพร้ อ มแล้ว ก็ เ ริ่ม ติ ด ตั้ ง
โครงสร้ า งเหล็ ก โดยเมื่ อ เชื่ อ มจุ ด รองรั บ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว
จะต้องทําการตรวจสอบอย่างละเอียด เพราะถ้าผิดพลาดจะ
ทําให้เกิดความเสียหายมากมายทั้งชีวิตและทรัพย์สิน
3.3.1.6 การติ ดตั้ ง โครงสร้า งเหล็ก เช่น โครงหลัง คา จะต้ อ งทํ า
การยึดตามรูปแบบที่ออกแบบไว้ โดยจะต้องมีโครงสร้างที่
เป็ น TEMPORARY ติ ด ตั้ ง ไว้ จ นกว่ า โครงสร้ า งจริ ง จะ
ติดตั้งแล้วเสร็จจึงปลดออก

3.4 การตรวจสอบโครงสร้างเหล็ก
โครงสร้างเหล็กนั้นโครงสร้างจะต้องทํ าการตรวจสอบเพื่ อให้ไม่ให้มี
ผลกระทบในการติดตั้งโครงสร้างเหล็ก โดยมีรายการดังนี้
1. ตรวจสอบลักษณะของวัสดุ เช่น ตรง ,สนิม, โก่ง, การโค้งงอ
2. ตรวจสอบขนาดความหนาและพื้นที่หน้าตัดของเหล็ก
3. ตรวจสอบค่าความคาดเคลื่อนของขนาดที่กําหนดให้
4. ตรวจสอบชนิดของเหล็ก โดยนําชิ้นตัวอย่างไปทดสอบ
5. ตรวจสอบหมุดย้ํา (RIVET) ทั้งรูปร่างและชนิดใช้
6. ตรวจสอบระยะห่างระหว่างหมุดย้ํา
7. ตรวจสอบสลักเกลียว BOLT รูปร่างและชนิดที่ใช้
8. ตรวจสอบแป้นเกลียว (NUT) และวงแหวน (WASHER)
9. ตรวจสอบเครื่องมือขันสลักและหมุดย้ํา
10. ตรวจสอบวิธีการขันสลักเกลียวที่รับแรงพิเศษ
11. ตรวจสอบการเจาะรูทั้งถาวรและชั่วคราว
12. ตรวจสอบตําแหน่ง,การจัดระยะ และความยาวของเหล็ก
13. ตรวจสอบประเภทของธูปเชื่อม
14. ตรวจสอบคุณสมบัติของช่างเชื่อม ควรมีการทดสอบก่อน
15. ตรวจสอบผิวที่เชื่อมการเชื่อมทับผิวเดิม
16. ตรวจสอบการเชื่อมแบบต่าง ๆ เช่นทาบโลหะ,ตรึงและแนวสั้น ๆ

สภาวิศวกร 2556
บทที่ 3 หน้า การก่อสร้างโครงสร้างเหล็ก
10

17. ตรวจสอบการเผื่อระยะ สําหรับการหดตัว การผิดรูปหรือการยึด


เหนี่ยวในการเชื่อม
18. ตรวจสอบการเชื่ อ มภายหลั ง ของปลายสุ ด ของรอยต่ อ ,ที่ ข อบ
ของมุมจุดเริ่มและจุดจบ
19. ตรวจสอบนั่งร้าน สําหรับการเชื่อม
20. ตรวจสอบกระแสไฟฟ้าและการลัดวงจรไฟฟ้าขณะเชื่อม (เครื่อง
ป้องกันไฟไหม้)
21. ตรวจสอบความหนาของรอยเชื่อม
22. ตรวจสอบการตัดเหล็ก
23. ตรวจสอบความสะอาดของผิวเหล็กก่อนเชื่อม
24. ตรวจสอบการประกอบ PLATE @ GUSSET- PLATE รูป
โครงสร้างต่างๆ ในโรงงานประกอบ
25. ตรวจสอบการขนย้ายและการขนส่ง
26. ตรวจสอบการประกอบและติดตั้งจริงในสถานที่ก่อสร้าง
27. ตรวจสอบการทาสีรองพื้นป้องกันสนิม
28. ตรวจสอบการป้องกันความเสียหาย อันเกิดจากสะเก็ดไฟเชื่อม
โ ด ย เ ฉ พ า ะ อ า จ ทํ า ใ ห้ เ กิ ด
ไฟไหม้ และสะเก็ดไฟถูก กระจกเสียหาย
29. ตรวจสอบระดั บ แนวราบ แนวดิ่ ง ตํ า แหน่ ง ระยะห่ า งของโครง
เหล็กต่างๆ ให้ตรงตามระบุในแบบ
30. ตรวจสอบระยะห่ า งของชิ้ น งานที่ จ ะเชื่ อ มติ ด กั น ให้ เ ป็ น ไปตาม
แบบโดยเฉพาะกรณีไม่มี GASSET PLATE
31. สายดินใช้เหล็กเสริมโครงสร้างมาต่อแทนสายดินเด็ดขาดให้ใช้
สายไฟ

3.5 เอกสารอ้างอิง
1. หนังสือการออกแบบเหล็กรูปพรรณ ของอาจารย์ วินิต ช่อวิเชียร
2. หนังสือการออกแบบอาคารเหล็กรูปพรรณ ของ วสท.
3. หนังสือกฎหมายอาคาร
4. มาตรฐานเหล็กรูปพรรณของ วสท.

อนุกรรมการมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ

You might also like