You are on page 1of 35

Problem Base # 1

Study on Soil Material Suitability for


Subbase Course การศึกษาความเหมาะสม
ของดินสำหรับชัน
้ รองพื้นทาง

เอกสารประกอบการสอน 251334
ผศ. ดร. อรรถวิทย์ อุปโยคิน

ี งใหม่
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาล ัยเช ย
วัสดุการทาง (Highway Materials)
วัสดุการทาง หมายถึง วัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างโครงสร้าง
ถนน (Pavement Structure) ในชัน ้ ต่าง ๆ รวมถึง
วัสดุชนั ้ ฐานรากซึ่งรองรับโครงสร้างถนน วัสดุการทาง
ทำหน้าที่กระจายน้ำหนักจากล้อยานพาหนะสู่ชน ั้
ฐานรากดินเดิม
วัสดุของโครงสร้างถนน แบ่งออกตามประเภทโครงสร้าง
ได้ 2 ประเภท ดังนี ้
1. โครงสร้างถนนคอนกรีต (Concrete) ประกอบด้วย
ผิวจราจรคอนกรีต ชัน ้ พื้นทาง หรือชัน ้ รองพื้นทาง
วางอยู่บนชัน ้ ฐานรากดินเดิม (Subgrade)
2. โครงสร้างถนนยางแอสฟั ลท์ (Asphalt) ประกอบ
ด้วย ผิวจราจรแอสฟั ลท์ ชัน ้ พื้นทาง ชัน ้ รองพื้นทาง
วางอยู่บนชัน ้ Subgrade
2
วัสดุชน
ั ้ ทาง

Bituminous Concrete Pavement

Portland Cement Concrete Pavement


3
วัสดุชน
ั ้ ดินและการทดสอบดิน
วัสดุชน ั ้ ดิน (Subgrade) หมายถึงชัน ้ ดินฐานราก ซึ่งรอง
รรับชัน ้ รองพื้นทาง (Subbase) ชัน ้ พื้นทาง (Base) และ
ชัน
้ ผิวจราจร (Surface)
ชัน้ ดินเดิม Subgrade แบ่งออกได้เป็ น 2 ชนิด คือ
• Natural Subgrade ชัน ้ ดินส่วนล่าง ซึ่งเป็ นดินเดิม
ตามธรรมชาติโดยไม่มีการบดอัด
• Compacted Subgrade ชัน ้ ดินส่วนบนที่ได้รับการ
บดอัดให้มีความหนาแน่นสูง สามารถรับน้ำหนักได้ดี
ซึ่งอาจเป็ นดินเดิมที่ไม่เหมาะสมแล้วได้รับการ
ปรับปรุงให้ดีขน ึ้
คุณสมบัติชน ั ้ ดินที่จำเป็ นต่อการก่อสร้างถนน ได้แก่
ประเภทของดิน (Soil Classification) ความสามารถ
ในการบดอัดดิน (Compatibility) คุณสมบัติในการรับ
4
วัสดุชน
ั ้ ดินและการทดสอบดิน
การทดสอบหาการกระจายชองเม็ดดิน (Particle Size
• Analysis)
เป็ นการหาน้ำหนักของเม็ดดินขนาดต่างๆ
• แสดงออกมาในรูปร้อยละของการผ่านตะแกรง
(Percent of passing)
• การทดสอบนีช ้ ่วยประกอบการแบ่งประเภทของดิน และ
ระบุ ความเหมาะสมของลั
การทดสอบ Consistencyกษณะการกระจายเม้
เพื่อหาค่า AtterbergดดินLimit
• สำหรั บงานทาง Limit ประกอบด้วย Liquid limit
ค่า Atterberg
(L.L.), Plastic Limit (P.L.) และค่า Plasticity Index
(P.I.)
• ค่า Atterberg Limit บอกถึงคุณสมบัติเม็ดละเอียดที่มี
ผลต่อพฤติกรรมมวลรวมของดินในด้านการบวมตัว
(Swelling) และการยึดเม็ดดิน (Cohesion)
คุณสมบัติของมวลรวมดินนัน ้ จะขึน้ อยู่กับ คุณสมบัติ 5
วัสดุชน
ั ้ ดินและการทดสอบดิน
การทดสอบการบดอัดดิน (Compaction Test)
• เป็ นการทดสอบหาความสัมพันธ์ระหว่างค่าความชื้น
(Moisture content) และค่า ความแน่นแห้งของดิน
ทำโดยบดอัดดินในแบบมาตรฐาน ซึ่งอาจทำได้ 2 รูป
แบบ
o การบดอัดดิน 3 ชัน้ ๆ ละ 25 ครัง้ ด้วย Mold 4 in.
5.5 lbs
o การบดอัดดิน 5 ชัน ้ ๆ ละ 56 ครัง้ ด้วย Mold 6 in.
10 lbs
• การทดสอบนีเ้ พื่อบอกปริมาณน้ำที่ควรจะใช้ผสมสำหรับ
งานบดอัดในสนาม เพื่อให้ได้ค่าความหนาแน่นแห้ง
สูงสุด และบอกค่าความแน่นมาตรฐานอ้างอิงในงาน
สนาม
6
วัสดุชน
ั ้ ดินและการทดสอบดิน
การทดสอบ California Bearing Ratio CBR Test
• เป็ นการทดสอบหาความแข็งแรง หรือแรงเฉือนของ
ดิน ทำการทดสอบโดยกดหัวกด บนดินที่บดอัดในแบบ
มาตรฐาน
• ค่า CBR คืออัตราส่วนของแรงต้านดินต่อแรงต้าน
ของหินมาตรฐาน
• การทดสอบหาค่า CBR ทำได้ 2 แบบ คือ
• Soaked CBR ทำการกดตัวอย่างดินหลังจากแช่ทง ิ ้ ไว้
ในน้ำ
• Unsoaked CBR ทำการกดตัวอย่างดินโดยตรง

7
วัสดุชน
ั ้ ดินและการทดสอบดิน
การทดสอบ Plate Bearing Test
• เป็ นการทดสอบหาความแข็งแรงในภาคสนาม เพื่อ
หาค่าความสามารถรับน้ำหนัก ของดินคันทาง พื้นทาง
และผิวทาง โดยแสดงด้วยค่าโมดูลัสของการต้านแรง
ของดิน คันทาง (Modulus of Subgrade
Reaction) ทำการทดสอบโดยกดน้ำหนักลงบน แผ่น
เหล็กวงกลมเป็ นชัน
้ ๆ

8
Problem Base # 1
Study on Soil Material Suitability for
Subbase Course
การศึกษาความเหมาะสมของดินสำหรับชัน ้
รองพื้นทาง
จุดประสงค์ของการศึกษา Problem#1
การศึกษาความเหมาะสมของดินสำหรับชัน ้ รองพื้นทาง
• เพื่อทดสอบความเหมาะสมของตัวอย่างวัสดุลูกรัง
หรือมวลรวมดิน ว่ามีคุณสมบัติเหมาะสมในการใช้
เป็ นชัน
้ รองพื้นทางสำหรับงานก่อสร้างถนนผิวจราจร

10
คุณสมบัติของชัน
้ รองพื้นทาง Subbase
เป็ นวัสดุประกอบด้วยเม็ดแข็ง ทนทานและมีวัสดุเชื้อ
ประสานที่ดีผสมอยู่
ปราศจากก้อนดินเหนียว (Clay Lump) Shale รากไม้
หรือวัชพืชอื่น ๆ
ขนาดวัสดุใหญ่สุดไม่โตกว่า 5 เซนติเมตร
ค่าขีดเหลว (Liquid Limit) ไม่มากกว่า 35
ค่าดัชนีความเป็ นพลาสติก (Plasticity Index) ไม่
มากกว่า 11
ค่าจำนวนส่วนร้อยละของความสึกหรอ (Percentage
of wear) ไม่มากกว่า 60
มีค่า CBR เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 109 ไม่น้อยกว่า 25
% ที่ความหนาแน่นแห้ง 95% ของความหนาแน่นแห้ง
สูงสุดที่ได้จากจากการทดสอบการบดอัดสูงกว่า 11
คุณสมบัติของชัน
้ รองพื้นทาง Subbase (ต่อ)
มีมวลคละผ่านตะแกรง ดังตารางข้างล่างนี ้

12
การทดลองที่ต้องทำประกอบด้วย
วิธีการทดลองหาค่า Liquid Limit (LL.) ของดิน – กรม
ทางหลวง dht 103-15
วิธีการทดลองหาค่า Plastic Limit (PL) และ
Plasticity Index (PI) ของดิน – กรมทางหลวง dht
103-15
วิธีการทดลองหาค่า CBR ของดิน – กรมทางหลวง dht
109-17
วิธีการทดลอง Compaction Test แบบสูงกว่า
มาตรฐาน – กรมทางหลวง dht 108 – 17
วิธีการทดลอง Los Angeles Abrasion Test – กรม
ทางหลวง dht 202 - 15
วิธีการทดลองหาขนาดเม็ดวัสดุ – กรมทางหลวง dht
204 -16 13
1. การทดสอบหาค่า Liquid Limit
การเตรียมตัวอย่างดิน
• ตากหรืออบดินให้แห้งที่อุณหภูมิไม่เกิน 60 องศา
• คัดเลือกดินตัวอย่างที่ผ่านตะแกรงเบอร์ 4 แต่ค้างบน
ตะแกรงเบอร์ 40 เตรียมดินประมาณ 300 กรัม
ตรวจสอบเครื่องมือทดสอบ Liquid Limit
• ยึดสลักไม่สึกหรอ จนกระทะเอียง
• สกรูตัวยึดต้องแน่น
• ระยะตกของถ้วยกระทะต้องได้ประมาณ 10
มิลลิเมตร ถ้าไม่ถูกต้อง ต้องทำการปรับใหม่
• เวลาหมุนด้วยกระทะต้องดัง “แก๊ก”

14
1. การทดสอบหาค่า Liquid Limit
วิธีทดสอบ
• ผสมตัวอย่างดินให้ทั่วรูปกรวย แล้วแบ่งตัวอย่าง 4
ส่วนด้วยวิธี Quartering
• นำตัวอย่างผสมน้ำในถ้วยเคลือบหรือแผ่นกระจก
เติมน้ำ 15-20 ml เพิ่มน้ำทีละน้อยประมาณ 1-3 ml
ใช้เวลาผสม 5-10 นาที
• เอาตัวอย่างใส่กระเบื้องเคลือบ ใช้กระจกปิ ดด้านบน
ตัง้ ทิง้ ไว้ประมาณ 50 นาที
• นำตัวอย่างใส่ลงตรงกลางถ้วยกระทะ ใช้ spatula
กดและปาดดิน ให้มีช่องว่างตรงกลางหนาประมาณ
10 mm โดยปาดให้สะอาด การปาดต้องไม่เกิน 6
ครัง้
• หมุนเคาะถ้วยกระทะด้วยอัตรา 2 ครัง ้ ต่อวินาที ให้ได้ 15
1. การทดสอบหาค่า Liquid Limit
การรายงานผล
• เขียน flow curve หาความสัมพันธ์ระหว่าง
%water content และจำนวนการเคาะ
• หาค่า Liquid Limit (LL) ที่การเคาะ 25 ครัง

16
2. การทดสอบหาค่า Plastic Limit และ
Plasticity
วิธีทดสอบ Index
• นำตัวอย่างดินประมาณ 8 g จากการทดลองก่อน มา
ขยี ้ ขยำ ทำเป็ นรูปวงรี คลึงให้เป็ นเส้น โดยคลึง
ประมาณ 80-90 เที่ยวต่อนาที (คลึงไปและกลับนับ
เป็ น 1 เที่ยว) เส้นผ่าศูนย์กลางต้องเสมอกัน
• คลึงให้ได้เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 3.2 mm. และ
เส้นตัวอย่างแตกพอดี ซึ่งถ้าคลึงแล้วไม่แตกให้แบ่ง
ตัวอย่างออกเป็ น 6-8 ส่วน แล้วทำการคลึงใหม่จนมัน
มวลของน้ำ
แตก PL   100%
(กรัม) น
มวลของดิ
• ชั่ง นน. ตัวอย่างที่ได้ แล้วแห้
นำไปอบ
ง (กรัม) เพื่อหาค่า
%water content ซึ่งจะได้เป็ นค่า Plastic Limit
(PL)
PI  LL  PL
17
3. การทดสอบ Modified Compaction
ให้ใช้วิธี ก. โดยใช้ Mold ขนาด 4 นิว
้ คัดกรองดิน
เฉพาะที่ผ่านตะแกรงขนาด 19 mm.
การเตรียมตัวอย่าง
• ทำได้โดยนำดินผ่านตะแกรง 2 ขนาด ได้แก่ ตะแกรง
เบอร์ ¾ และตะแกรงเบอร์ 4 ซึ่งจะแบ่งดินได้ออก
เป็ น 3 กลุ่ม • แยกเอาดินส่วน 1 ทิง

1
แล้วแทนที่ดินตัวอย่างที่
ตะแกรง ¾ (19 mm)
เอาออก ด้วยดินขนาด
2
เดียวกับในส่วนที่ 2
ตะแกรง 4 (4.75 mm)
• คลุกดินตัวอย่างให้เข้ากัน
3
• ใช้แบบเหล็ก mold 4
นิว
้ ใช้มวล 3000 g
สำหรับการทดลองแต่ละ 20
3. การทดสอบ Modified Compaction
วิธีทดสอบ
• เติมน้ำประมาณ 4% เริ่มต้น จากนัน ้ จึงนำเข้าเครื่อง
ผสม
• แบ่งตัวอย่างใส่ในปลอก ให้ดินแต่ละชัน ้ เมื่อบดมี
ความสูงประมาณ 5 นิว ้
• ค้อนทุบ 25 ครัง้ ต่อชัน

• บดจำนวน 5 ชัน ้ โดยสูงกว่าแบบ 10 mm.
• ถอดปลอก –> เหล็กปาดแต่งหน้า
• ชั่งมวลดินและแบบ และนำตัวอย่างดินไปอบ
• คำนวณหาค่าความหนาแน่นเปี ยก และความหนา
แน่นแห้ง
• ทำตัวอย่างดินเพิ่มอีก 4 ตัวอย่าง โดยเพิ่ม % ของน้ำ
21
3. การทดสอบ Modified Compaction
การคำนวณ
• ค่า % water content
w= ปริมาณน้ำในดินเป็ นร้อยละ
M1  M 2 คิดเทียบกับมวลของดินแบบแห้ง
w 100%
M2 M1 = มวลของดินเปี ยก มีหน่วย
เป็ นกรัม
M2 = มวลของดินแห้ง มีหน่วย
• ค่าความหนาแน่นเปี ยก (Wet
เป็ นกรัdensity)

t = ความหนาแน่นเปี ยก มีหน่วย
A
t  เป็ นกรัมต่อมิลลิลิตร
V A= มวลของดินเปี ยกที่บดทับใน
แบบ มีหน่วยเป็ นกรัม
V= ปริมาตรของแบบ หรือ
ปริมาตรของดินเปี ยกที่บดทับใน
22
3. การทดสอบ Modified Compaction
การคำนวณ
• ค่าความหนาแน่นแห้ง (Dry density)

t d = ความหนาแน่นแห้ง มีหน่วย
d 
w เป็ นกรัมต่อมิลลิลิตร
1
100 t = ความหนาแน่นเปี ยก มีหน่วย
เป็ นกรัมต่อมิลลิลิตร
w= ปริมาณน้ำในดินเป็ นร้อยละ

23
3. การทดสอบ Modified Compaction
การคำนวณ
• เขียน curve
ความสัมพันธ์
ระหว่าง ความ
หนาแน่นแห้ง
และปริมาณ
น้ำในดิน เพื่อ
หาค่า
Optimal
Moisture
Content
(OMC)

24
4. การทดสอบ Los Angeles Abrasion
การเตรียมตัวอย่างวัสดุ
มวลรวม ที่ตากแห้ง
หรืออบแห้ง
• กรณีดินเหนียวให้
ล้างตัวอย่าง เอา
ส่วนที่ผ่านตะแกรง
เบอร์ 8 ออกทิง้
• นำตัวอย่างไปแยก
ตาม Grading ใน
ตาราง

25
4. การทดสอบ Los Angeles Abrasion
วิธีทดสอบ
• นำตัวอย่างไปหมุนในเครื่องทดสอบ 30-33 รอบต่อ
นาที โดยหมุนให้ครบรอบตามตารางที่ 1

26
4. การทดสอบ Los Angeles Abrasion
วิธีทดสอบ (ต่อ)
• ล้างส่วนที่ผ่านตะแกรงเบอร์ 12 ออก
• เอาส่วนที่ค้างตะแกรงเบอร์ 12 มาอบ แล้วชั่งน้ำหนัก
• คำนวณหาค่าความสึกหรอ ดังสมการ

M1  M 2
ความสึกหรอโดยใช้เครื่อง  100
Los Angeles M1

M1 = มวลตัวอย่างทัง้ หมดที่ใช้
ทดลอง
M2 = มวลที่ค้างบนตะแกรงเบอร์
12

27
5. การทดสอบ Sieve Analysis
เป็ นการหาขนาดเม็ด (Particle Size Distribution)
เพื่อดูสัดส่วน % ของมวลดินที่ผ่านตะแกรงขนาดต่างๆ
ตัง้ แต่ตะแกรงขนาดใหญ่สุด จนถึงขนาดเล็กมีขนาดช่อง
ผ่านตะแกรงเบอร์ 200 (0.075 mm)
โดยตัวอย่างที่เหมาะสมสำหรับชัน้ รองพื้นทาง ต้องมี
ขนาดคละขนาดใดขนาดหนึ่งในตารางด้านล่าง

29
5. การทดสอบ Sieve Analysis

30
6. การทดสอบ CBR
การทดลอง CBR แบบ Soak
วิธีการเตรียมตัวอย่างทดสอบ
• เมื่อทราบ optimum moisture content (OMC)
ที่ได้จากการทดลอง modified compaction test
คลุกดินที่ optimum moisture content
• ทำตัวอย่างจำนวน 3 ตัวอย่าง – modified
compaction test
• แต่ละตัวอย่างทำการบดทับด้วยค้อน 12, 25, และ
56 ครัง้
• ชั่งน้ำหนักเพื่อคำนวณหาความหนาแน่นเปี ยก ความ
หนาแน่นแห้ง และ %water content

31
6. การทดสอบ CBR
วิธีการเตรียมตัวอย่างทดสอบ (ต่อ)
• ใส่แผ่นถ่วงน้ำหนัก 2 อัน จากนัน ้ จึงนำตัวอย่างไปแช่
น้ำ
• ใส่ Dial Gauge เพื่อวัดการขยายตัวของตัวอย่าง
• บันทึกวัน และการขยายตัวของตัวอย่าง ทุกๆ วัน จน
กระทั่งไม่มีการขยายตัว
• ทดลอง Penetration Test โดยการให้น้ำหนักกด
ประมาณ 40 N แก่ตัวอย่างเริ่มต้น จากนัน ้ จึงเพิ่ม
แรงกด ด้วยอัตราเร็ว 0.05 นิว
้ /นาที พร้อมบันทึกค่า
penetration dial gauge ทุกๆ การจม 0.025 นิว ้

32
6. การทดสอบ CBR
การคำนวณ
X
• คำนวณหาค่า CBR ดัCBR
งนี ้   100
Y
X= ค่าแรงกดที่อ่านได้ต่อหน่วยพื้นที่ของท่อนกด
(สำหรับ Penetration ที่ 2.54 มิลลิเมตร หรือ
0.1 นิว
้ และที่เพิ่มขึน
้ อีกทุกๆ 2.54 มิลลิเมตร)
Y= ค่าหน่วยแรงมาตรฐาน (Standard Unit
Load) หน่วยกิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร (จาก
ตารางท่กำหนด)

33
รายงาน problem base1

ทำการทดสอบคุณสมบัติมวลรวมที่ได้ครบทุกการทดลอง
ที่เกี่ยวข้องกับการหาคุณสมบัติดินสำหรับชัน้ รองพื้นทาง
เขียนรายงานด้วยความสะอาด อ่านง่าย เรียบร้อย และ
สวยงาม
เนื้อหาของรายงาน ตามมาตรฐานของกรมทางหลวง
ประกอบด้วยตาราง รายการคำนวณ รูปภาพประกอบ
วิธีการทดลอง สรุปและวิจารณ์ผลการทดลอง
ตอบวัตถุประสงค์สำหรับการนำวัสดุดินตัวอย่างไปใช้
สำหรับชัน ้ รองพื้นทางว่าเหมาะสมหรือไม่ อย่างไร

35

You might also like