You are on page 1of 658

Foundation Engineering

วิศวกรรมฐานราก

รองศาสตราจารย ดร. สุขสันติ์ หอพิบูลสุข


สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุ สรุ นารี
การสํารวจชั้นดินและการทดสอบในสนาม
1 (SITES INVESTIGATION AND IN-SITU TESTING)
1.1 บทนํา

จากความรูในวิชาปฐพีกลศาสตร ทําใหไดทราบถึงขบวนการกําเนิดของดิน คุณสมบัติพื้นฐานและ


คุณสมบัติทางวิศวกรรมของดิน (กําลังตานทานแรงเฉือน การทรุดตัว และความซึมผานไดของน้ํา) กอนที่จะ
กลาวถึงการออกแบบในงานวิ ศวกรรมปฐพี วิศวกรจําเป นที่จะต องทราบลั กษณะชั้นดิ นที่ แทจริง และ
ผลทดสอบดินทั้งในหองปฏิบัติการและในสนามที่ความลึกตางๆ สําหรับการกอสรางโครงการใหญๆ ดังนั้น
การสํารวจชั้นดินอยางเหมาะสมเปนสิ่งที่จําเปนอยางมาก
1.1 บทนํา

จุดมุง หมายของการเจาะสํารวจชั้นดินมีดงั นี้


• เพื่อหาลักษณะชั้นดิน
• เพื่อเก็บตัวอยางดินคงสภาพสําหรับหาคุณสมบัติเชิงวิศวกรรม และตัวอยางดินแปร
สภาพสําหรับหาคุณสมบัติพนื้ ฐานในหองปฏิบตั ิการ
• เพื่อหาความลึกของชั้นดินแข็ง
• เพื่อทําการทดสอบในสนาม (In-situ tests) เชน การทดสอบการซึมผานไดของน้ํา
การทดสอบกําลังตานทานแรงเฉือนโดยใชใบพัด (Vane shear test) และการทดสอบ
ทะลุทะลวงมาตรฐาน (Standard penetration test) เปนตน
• เพื่อสังเกตสภาพการระบายน้าํ ของชั้นดิน
• เพื่อวิเคราะหปญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในสนาม โดยการสังเกตจากโครงสรางที่อยูใกลเคียง
1.2 แผนการเจาะและสํารวจชั้นดิน

1) การรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของกับโครงสราง ขั้นตอนนี้จะทําการรวมขอมูลที่จาํ เปน เชน


ชนิดของโครงสราง น้ําหนักจากเสาและกําแพง เปนตน
2) การรวบรวมขอมูลสภาพชั้นดินทีม่ ีอยู สามารถหาไดจากแผนที่สํารวจทางธรณี คูมือการ
ทดสอบดินของกรมทางหลวง และรายงานขอมูลดินสําหรับโครงการกอสรางที่อยู
ใกลเคียง เปนตน
3) การสํารวจพื้นทีท่ ี่จะทําการกอสราง เชน ชนิดของพืชผักในสนาม การเปดหนาดิน รอย
แตกบนกําแพงของอาคารใกลเคียง เปนตน
4) การสํารวจพื้นที่อยางละเอียด ขั้นตอนนีป้ ระกอบดวยการทําหลุมสํารวจหลายๆ หลุม
และการเก็บตัวอยางคงสภาพและแปรสภาพที่ระดับความลึกตางๆ เพื่อการจําแนกดวย
ตา และการทดสอบในหองปฏิบตั ิการ
1.2 แผนการเจาะและสํารวจชั้นดิน

ขอแนะนําสําหรับระยะหางระหวางหลุมเจาะ (Sower, 1979)


โครงการ ระยะหางระหวางหลุมเจาะ (เมตร) จํานวนหลุมเจาะอยางนอย
สภาพชั้นดินตามแนวราบ
สม่ําเสมอ ธรรมดา ไมแนนอน
อาคารหลายชั้น 50 30 15 4
อาคารชั้นเดียวหรือสองชัน้ 60 30 15 3
ตอมอสะพาน หอสูง 30 7 1-2 สําหรับแตละหนวย
ทางหลวง 300 150 30
บอยืม (สําหรับดินถมบดอัด) 300-150 150-60 30-15
1.2 แผนการเจาะและสํารวจชั้นดิน

ขอแนะนําสําหรับการกําหนดความลึกหลุมเจาะสําหรับงานฐานรากตื้น (Sower, 1979)


ประเภทของอาคาร ความลึกหลุมเจาะ (เมตร)

แคบและเบา 3 (จํานวนชั้น)0.7

กวางและหนัก 6 (จํานวนชั้น)0.7
1.2 แผนการเจาะและสํารวจชั้นดิน

การประมาณความลึกของหลุมสํารวจ
1.3 วิธีการเจาะหลุมสํารวจ

วิธีที่งายที่สุดคือการใชสวาน สามารถใชเจาะหลุม
สํารวจไดไมลึกมากนัก (ประมาณ 3 ถึง 5 เมตร) สวาน
มือเหมาะสําหรับงานสรางอาคารเล็กๆ และงานกอสราง
ถนน

ดินตัวอยางที่ไดจากการเจาะสํารวจโดยวิธีนี้เปน
ดินตัวอยางแปรสภาพ (Disturbed samples) ซึ่ง
สามารถใชในการหาคุณสมบัติพื้นฐาน

สวานมือ (a) สวาน Iwan (b) สวาน Slip


1.3 วิธีการเจาะหลุมสํารวจ

การเจาะสํารวจที่ระดับความลึกมาก วิธีที่นิยมใช
ทั่ ว ไ ป คื อ ก า ร ใ ช ส ว า น ต อ เ นื่ อ ง แ บ บ ขั้ น บั น ไ ด
(Continuous flight augers)

สวานประเภทนี้มีความยาวประมาณ 90 ถึง 150


เซนติเมตร ตอทอน ระหวางทําการเจาะ ท อนที่สอง
สามารถตอกับทอนที่หนึ่งได ทําใหเกิดความตอเนื่องใน
การเจาะ
สวานตอเนื่องแบบขั้นบันได
1.3 วิธีการเจาะหลุมสํารวจ

วิธีการเจาะแบบเปยก (Wash boring)


วิธีการที่ใชในการเจาะหลุมสํารวจโดยตอก
ปลอกกันดิน (Casing) ยาวประมาณ 2 ถึง 3
เมตร ลงไปในดิน

อุปกรณเจาะสํารวจประกอบดวย 1) หัวเจาะ
หัวเจาะกระแทก
กระแทก (Chopping bit) และ 2) กานเจาะ
(Drill rod) ซึ่งจะเปนทอกลวงและใชประกอบกับ
หั ว เจาะกระแทก ก า นเจาะยาวตั้ ง แต 0.5-3.0
เมตร และตอกันดวยขอตอเกลียว กานเจาะ
1.3 วิธีการเจาะหลุมสํารวจ

การเจาะแบบเปยก (Wash boring)


1.3 วิธีการเจาะหลุมสํารวจ

วิธีเจาะกระแทก (Percussion Drilling)


วิธีหนึ่งที่ใชเจาะหลุมทดสอบ โดยเฉพาะอยางยิ่งในดินแข็งหรือหิน วิธีนี้คลายกับการเจาะแบบเปยก
(Wash boring) เพียงแตวาหัวเจาะจะมีขนาดใหญและหนักกวามาก ในบางกรณีอาจไมจําเปนตองใช
ปลอกกันดิน
1.3 วิธีการเจาะหลุมสํารวจ

วิธี Rotary Drilling


ใชในการเจาะสํารวจสภาพหินและดิน อุปกรณที่ใชในการเจาะหลุม ประกอบดวย กานเจาะแบบกลวง
(Hollow drill rod) หลายๆ ทอนตอกัน โดยปลายลางติดกับหัวเจาะ (Bit) ซึ่งอาจจะเปนหัวเจาะตัด
(Cuting bit) หรือหัวเจาะเก็บตัวอยาง (Coring bit)

หัวตัด (Cutting bits) หัวเก็บตัวอยาง (Coring bits)


1.4 วิธีการเก็บตัวอยาง

ตัวอยางดินออกเปน 2 ชนิด
1. ตัวอยางดินแปรสภาพ (Disturbed samples) คือ ตัวอยางดินที่ถูกรบกวนเนื่องจากวิธีการเก็บ
ตัวอยางดินหรือการขนสง จนทําใหโครงสรางของเม็ดดินและปริมาณความชื้นเปลี่ยนไป ไดแก ตัวอยางดิน
ที่เก็บจากการเจาะโดยใชสวานมือ หรือกระบอกผาซีก (Split spoon) เปนตน
ตั ว อย า งดิ น ประเภทนี้ เ หมาะสํ า หรั บ ใช ใ นการทดสอบหาคุ ณ สมบั ติ พื้ น ฐาน (Basic/Physical
properties) ของดิน ไดแก การกระจายขนาดของเม็ดดิน หนวยน้ําหนัก ปริมาณความชื้น และพิกัดอัต
เตอรเบอรก เปนตน
1.4 วิธีการเก็บตัวอยาง

2. ตัวอยางดินคงสภาพ (Undisturbed sample) คือ ตัวอยางดินที่เก็บจากสนามโดยพยายามรักษา


องคประกอบและโครงสรางของดินใหเหมือนกับสภาพจริงในสนาม ไดแก ตัวอยางดินที่เก็บโดยใชกระบอก
เปลือกบาง (Thin-walled tube) หรือกระบอกลูกสูบ (Piston sampler) เปนตน
ดินตัวอยางชนิดนี้จะใชทดสอบคุณสมบัติทางวิศวกรรมของดิน อันไดแก การทดสอบการอัดตัวคาย
น้ํา การทดสอบแรงอัดสามแกน และการทดสอบการซึมผานไดของน้ํา เปนตน
1.4 วิธีการเก็บตัวอยาง

1.4.1 การเก็บตัวอยางโดยกระบอกผาซีกมาตรฐาน (Standard Spilt Spoon)


1.4 วิธีการเก็บตัวอยาง

1.4.2 การเก็บตัวอยางโดยกระบอกเปลือกบาง (Thin Wall Tube)


1.4 วิธีการเก็บตัวอยาง

1.4.3 การเก็บตัวอยางโดยกระบอกลูกสูบ (Piston Sampler)


1.5 การรบกวนดินตัวอยาง

อัตราสวนพื้นที่หนาตัด (Area ratio, Ar) และอัตราสวนชองวางภายใน (Inside clearance ratio, Cr)

D02 − Di2
Ar (%) = 2
×100
Di

Di − De
Cr (%) = ×100
Di

ตัวอยางดินคงสภาพ (Undisturbed sample) Ar ≤ 10 % และ Cr ≤ 1%


1.5 การรบกวนดินตัวอยาง

อัตราสวนการเก็บตัวอยางและประสิทธิภาพการเก็บตัวอยาง
Lr (%) = La ×100
Li Lr (%) ประสิทธิภาพ
< 25 แยมาก

Lr คือ อัตราสวนการเก็บตัวอยาง (Recovery ratio) 26-50 แย

La คือ ความยาวของตัวอยางดินที่เก็บไดจริง 51-75 พอใช

76-90 ดี
Li คือ ความยาวของตัวอยางดินทีค่ วรเก็บได
>90 ดีเยี่ยม
1.6 การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน
(Standard Penetration Test)

ชนิดของตุมน้าํ หนัก
1.6 การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน
(Standard Penetration Test)

การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐานดวย Donut hammer


1.6 การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน
(Standard Penetration Test)

Seed (1985) จึงไดเสนอเกณฑหลักในการทดสอบไวดังนี้


1. ใชวิธีการเจาะเปยก (Wash boring) เพื่อเจาะหลุมสํารวจใหมีขนาด 200 ถึง 250 มม. (4-5 นิ้ว)
2. ใชระบบตุมน้ําหนักที่มีประสิทธิภาพในการใหพลังงานเทากับ 60 เปอรเซ็นต
3. ปลอยตุมน้ําหนักกระทบแทนรับตุมน้ําหนักดวยอัตราเร็ว 30 ถึง 40 ครั้งตอนาที
1.6 การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน
(Standard Penetration Test)

Skempton (1986) ไดเสนอคาตัวเลขทะลุทะลวงมาตรฐานที่ประสิทธิผล 60 เปอรเซ็นต (N60) เพื่อใชใน


การปรับแกผลทดสอบในสนาม ดังนี้

EmCBCR N
N60 =
0.60

Em คือ ประสิทธิภาพของตุม น้าํ หนัก (Hammer efficient)


CB คือ คาปรับแกขนาดของหลุมเจาะ
CR คือ คาปรับแกความยาวของกานเจาะ (Drill rod)
1.6 การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน
(Standard Penetration Test)
ประสิทธิภาพของคอน SPT (Clayton, 1990)
ประเทศ ชนิดของตุมน้ําหนัก กลไกการปลอยตุมน้ําหนัก ประสิทธิภาพ (Em)
อารเจนตินา Donut เชือกคลองผานรอก 0.45
บราซิล Pin weight ตกอยางรวดเร็ว 0.72
จีน อัตโนมัติ ตกอิสระ
Donut ตกอิสระ 0.55
Donut เชือกคลองผานรอก 0.50
กัมพูชา Donut เชือกคลองผานรอก 0.50
ญี่ปุน Donut ระบบนกสับ (Trigger) 0.78-0.85
Donut คลองผานรอก 2 รอบ 0.65-0.67
+ การปลอยตกแบบพิเศษ
สหราชอาณาจักร อัตโนมัติ ตกอยางรวดเร็ว 0.73
สหรัฐอเมริกา Safety คลองผานรอก 2 รอบ 0.55-0.60
Donut คลองผานรอก 2 รอบ 0.45
1.6 การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน
(Standard Penetration Test)
คาปรับแก
คาปรับแก ความเปลี่ยนแปลงของอุปกรณ คา
ขนาดของหลุมเจาะ (CB) 6.5-115 มม. (2.5-4.5 นิ้ว) 1.00
150 มม. (6 นิ้ว) 1.05

200 มม. (8 นิ้ว) 1.15

ความยาวของกานเจาะ (CR) 3-4 ม. (10-13 ฟุต) 0.75


4-6 ม. (13-20 ฟุต) 0.85

6-10 ม. (20-30 ฟุต) 0.95

>10 ม. (> 30 ฟุต) 1.00


1.6 การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน
(Standard Penetration Test)
สําหรับดินเหนียว

Undrained shear strength, Su (ton/m2)

ity
stic
pla
h igh
of
ys
Cla

ความสัมพันธระหวาง N60 และกําลังตานทานแรงเฉือนในสภาวะไมระบายน้ํา (U.S. Navy, 1972)


1.6 การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน
(Standard Penetration Test)
ความสัมพันธระหวาง N60 และกําลังตานทานแรงเฉือนในสภาวะไมระบายน้ําของดินเหนียว
(Terzaghi and Peck, 1967)
ตัวเลขการทะลุทะลวงมาตรฐาน ชนิดของดิน กําลังตานทานแรงเฉือน, Su
, N60 (ตันตอตารางเมตร)
0-2 ออนมาก 0-1.2

2-5 ออน 1.2-2.5

5-10 แข็งปานกลาง 2.5-5.0

10-20 แข็ง 5.0-10.0

20-30 แข็งมาก 10.0-20.0

>30 แข็งมากที่สดุ >20.0


1.6 การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน
(Standard Penetration Test)

Horpibulsuk et al. (2008) ทําการคํานวณกลับ (Back calculation) ผลทดสอบกําลังรับน้ําหนัก


บรรทุกของเสาเข็มขนาดเล็ก (Micro-pile) ในชั้นดินเหนียวปนดินตะกอนแข็งมากถึงแข็งมากที่สุดใน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (SUT silty clay) และสรุปวากําลังตานทานแรงเฉือนยังคงมีคาเพิ่มขึ้น
ตามคา N60 แมวา N60 จะมีคามากกวา 30 ก็ตาม และไดเสนอความสัมพันธระหวางกําลังตานทานแรง
เฉือนและ N60 ดังนี้

N60
Su = เมื่อ 29 < N60 < 68
1.5
1.6 การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน
(Standard Penetration Test)
สําหรับทราย
ตัวเลขทะลุทะลวงมาตรฐาน มีคาแปรผันตามกําลังตานทานแรงเฉือนในสภาวะระบายน้ําของดิน ขึ้นอยูกับ
น้ําหนักกดทับประสิทธิผล (σ v′ ) (τ =σ ′ tanφ ′)
f

อิทธิพลของน้ําหนักกดทับประสิทธิผลตอคาการทะลุทะลวงมาตรฐาน
1.6 การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน
(Standard Penetration Test)
สําหรับทราย
ตัวเลขทะลุทะลวงมาตรฐานปรับแก แสดงไดดังนี้
N ′ = CN N60

CN = 100
σ v′

N′ คือ คาตัวเลขทะลุทะลวงมาตรฐานทีป่ รับแกแลว


CN คือ ตัวคูณปรับแกตัวเลขทะลุทะลวงมาตรฐาน
σ v′ คือ ความเคนประสิทธิผลในแนวดิง่ มีหนวยเปนกิโลปาสคาล
1.6 การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน
(Standard Penetration Test)
Correction factor
0 1 2 3 4
0
Bazaraa (1967)

100

Effective overburden pressure (kPa)


T omlinson (1969)

200

300

Liao and Whitman (1986)

400

500

อิทธิพลของน้ําหนักกดทับประสิทธิผลตอคาการทะลุทะลวงมาตรฐาน
1.6 การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน
(Standard Penetration Test)
Internal friction angle, φ' (Degree)
28 30 32 34 36 38 40 42 44
0

10
Coreected standard penetration number, N'
20

30

40

50

60

70
Very loose

Loose Medium dense Dense Very dense

ความสัมพันธระหวางตัวเลขทะลุทะลวงมาตรฐานปรับแกและมุมเสียดทานภายในประสิทธิผล
ของดินเม็ดหยาบ (Peck et al., 1974)
1.6 การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน
(Standard Penetration Test)
ความสัมพันธระหวาง N′ หนวยน้ําหนัก และความหนาแนนสัมพัทธของดินเม็ดหยาบ
(Peck et al., 1974)
N′ คําบรรยาย หนวยน้ําหนัก (กน.ตอลบ.ม.) ความหนาแนนสัมพัทธ

0-5 หลวมมาก 11-13 0-15

6-10 หลวม 14-16 16-35

11-30 ปานกลาง 14-19 36-65

31-50 แนน 20-21 66-85

>50 แนนมาก >21 >86


1.7 การทดสอบกําลังตานทานแรงเฉือนดวยใบพัด
(Vane Shear Test)

Torque
Undisturbed

Remoulded

0 25 50 75

Rotation (Degree)

(a) เครื่องมือทดสอบกําลังตานทานแรงเฉือนโดยใชใบพัด (b) ผลทดสอบในสนาม


(c) การคํานวณกําลังตานทานแรงเฉือน
1.7 การทดสอบกําลังตานทานแรงเฉือนดวยใบพัด
(Vane Shear Test)

การคํานวณกําลังตานทานแรงเฉือนแบบไมระบายน้ําของดิน คาแรงบิด (T) จะมีคาเทากับผลรวมของ


โมเมนตตา นทานแรงเฉือนตามผิวของดินทรงกระบอก (Ms) และโมเมนตตา นทานทีผ่ ิวบนและผิวลาง
ของใบพัด (Me)
⎡ ⎤
⎢π 2 ⎜
⎞ ⎛ ⎛ ⎞
T = M s + 2M e = π dh S ⎟ + 2 ⎢ d ⎜ β × ⎟⎟⎥⎥ Sh


d⎞

⎟ ⎜
v⎜
d
⎝ 2 ⎟⎠ ⎢ 4 ⎜⎝ 2 ⎟⎠⎥
⎠ ⎜
⎝ ⎣ ⎦

Sv , Sh คือ กําลังตานทานแรงเฉือนของดินในแนวดิง่ และแนวนอน ตามลําดับ


β คือ คาคงที่ ขึ้นอยูกับการกระจายของกําลังตานทานแรงเฉือนที่ผิวบนและลาง
ของใบพัด β = 1/2, 3/5, และ 2/3 สําหรับการกระจายแบบสามเหลี่ยม
พาราโบลา และสี่เหลี่ยม ตามลําดับ
1.7 การทดสอบกําลังตานทานแรงเฉือนดวยใบพัด
(Vane Shear Test)
Undrained shear strength (kPa) Sensitivity
0 20 40 60 80 100 1 2 3 4 5
0 0

2 2

4 4

6 6

8 8
Depth (m)

10 10

12 12

14 14

16 16

18 Remolded Undisturbed 18

20 20

กําลังตานทานแรงเฉือนและคาความไวตัวของดินเหนียวอําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
(Horpibulsuk et al., 2007)
1.7 การทดสอบกําลังตานทานแรงเฉือนดวยใบพัด
(Vane Shear Test)
1.2
Bjerrum (1974) ไดเสนอวิธีการปรับแกคากําลัง
ตานทานแรงเฉือน ซึ่งแปรผันตามชนิดของดิน 1.0

(ดัชนีสภาพพลาสติก) μ = 1.7 - 0.54 log(PI)


0.8

μ
Su (cor.vane) = μ Su(vane shear) 0.6

0.4
0 20 40 60 80 100

μ คือตัวคูณปรับแก = 1.7 – 0.54 log(PI) Plasticity Index, PI

ความสัมพันธระหวางคาปรับแกกําลังที่ไดจากการทดสอบ
กําลังตานทานแรงเฉือนดวยใบพัด และดัชนีสภาพ
พลาสติก
1.8 การทดสอบทะลุทะลวงดวยกรวย
(Cone Penetration Test)

เครื่องมือการทดสอบการทะลุทะลวงแบบใชกรวย ขั้นตอนการทะลุทะลวง
1.8 การทดสอบทะลุทะลวงดวยกรวย
(Cone Penetration Test)
2 2
fsc (kg/cm ) qc (kg/cm ) Rf (%)
0 2 4 6 8 0 50 100 150 200 0 4 8 12 16 20 24
0 0 0

4 4 4

8 8 8

12 12 12
Depth (m)

Depth (m)

Depth (m)
16 16 16

20 20 20

24 24 24

28 28 28

ผลทดสอบของการทดสอบแบบทะลุทะลวงดวยกรวยสําหรับชั้นดินกรุงเทพ
1.8 การทดสอบทะลุทะลวงดวยกรวย
(Cone Penetration Test)
การทดสอบแบบนี้ไมสามารถเก็บดินตัวอยางขึ้นมาได แตการจําแนกดินสามารถกระทําไดโดยอาศัย
ความสัมพันธเชิงประสบการณ (Empirical relationship) ระหวางความตานทานทีป่ ลายกรวย (Cone
end resistance, qc) และอัตราสวนความเสียดทาน (Friction ratio, Rf) อัตราสวนความเสียดทานหา
ไดดงั สมการตอไปนี้
R f = fqsc ×100%
c

f sc คือ ความเสียดทานระหวางดินกับปลอกหุม (Cone side friction)


ทราย จะมีคา Rf นอยกวา 1 เปอรเซ็นต
ดินเหนียว จะใหคา Rf สูงกวา 1 เปอรเซ็นต
ดินเหนียวทีม่ ีสารอินทรียอยูมาก (Peat) คา Rf มีคา มากกวา 5 เปอรเซ็นต
1.8 การทดสอบทะลุทะลวงดวยกรวย
(Cone Penetration Test)

การจําแนกชนิดของดินโดยอาศัยผลทดสอบการทดสอบทะลุทะลวงดวยกรวย
(Robertson and Campanella, 1983)
1.8 การทดสอบทะลุทะลวงดวยกรวย
(Cone Penetration Test)

Robertson and Campanella (1983) ไดเสนอความสัมพันธสําหรับทรายที่ไมมพี ันธะเชื่อมประสาน


และอยูในสภาพอัดตัวปกติ สําหรับทรายที่อัดตัวมากกวาปกติ มุมเสียดทานภายในประสิทธิผล (Effective
internal friction angle) หาโดยการลบมุมเสียดทานภายในประสิทธิผลออกดวย 1o - 2o ความสัมพันธ
ดังกลาวสามารถแสดงไดในรูปของสมการดังนี้

⎛ ⎞
φ ′ = 35°+11.5log qc ⎟⎟

⎜ เมื่อ 25°< φ ′ < 50°
30σ v′ 0 ⎟

⎝ ⎠
1.8 การทดสอบทะลุทะลวงดวยกรวย
(Cone Penetration Test)
Cone end resistance (kg/cm 2)
0 100 200 300 400 500
0

50
φ' = 48o

100

Effective vertical stress (kPa) 46o


150

200
44o

250

300

350 42o
o
32o 34 36o 38o 40o
30o
400

ความสัมพันธระหวางมุมเสียดทานประสิทธิผลและความตานทานทีป่ ลายโคน
(Robertson and Campanella, 1983)
1.8 การทดสอบทะลุทะลวงดวยกรวย
(Cone Penetration Test)
สําหรับดินเหนียว จากทฤษฎีกําลังรับแรงแบกทาน (Bearing capacity’s theory) จะได
qc −σ v0
Su =
Nk

กําลังตานทานแรงเฉือนที่สภาวะไมระบายน้ําหาไดดังนี้

qc = Nk Su +σ v0

σ v0 คือ ความดันกดทับ (Overburden pressure) ทีต่ ําแหนงซึ่งวัดคาความตานทานทีป่ ลายกรวย

Nk คือ ตัวแปรของกรวย (Cone factor) ซึ่งมีคา ประมาณ 5 ถึง 75 ขึ้นอยูกับดัชนีสภาพพลาสติก


คาทีน่ ิยมใชกันจะอยูระหวาง 15 ถึง 20 (Lunne and Eide, 1976)
1.8 การทดสอบทะลุทะลวงดวยกรวย
(Cone Penetration Test)

Rashwan et al. (2004) ไดวิเคราะหการวิบัติของดินใตกรวยปลายแหลมโดยอาศัยทฤษฎีกําลังรับแรง


แบกทาน และสรุปวา Nk มีคาแปรผันตามความลึกและความขรุขระของปลายกรวย และมีคาอยูระหวาง
9.3 ถึง 14.5

Budhu (2000) แสดงความสัมพันธระหวางคา Nk และดัชนีสภาพพลาสติกดังนี้

Nk =19 − PI −10 เมื่อ PI >10


5
1.8 การทดสอบทะลุทะลวงดวยกรวย
(Cone Penetration Test)

Trofimekov (1974) เสนอความสัมพันธระหวางโมดูลัส (E) และความตานทานที่ปลายกรวย (qc) สําหรับ


ทรายและดินเหนียวดังนี้

E = 3qc สําหรับทราย
E = 7qc สําหรับดินเหนียว
1.9 การทดสอบดวยวิธี Kunzelstab Penetration

อุปกรณทดสอบ Kunzelstab penetration


1.9 การทดสอบดวยวิธี Kunzelstab Penetration

ผลทดสอบ Kunzelstab Penetration ของชั้นดินบริเวณอาคารสุรนิเวศ 9


มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
1.9 การทดสอบดวยวิธี Kunzelstab Penetration
ตัวเลขทะลุทะลวงมาตรฐาน และกําลังรับแรงแบกทานยอมให หาไดจากความสัมพันธ ดังนี้

N ′ = 0.539 ⎛⎜ N KPT + 0.954 ⎞⎟


⎝ ⎠

qa (ksc) = 0.64⎛⎜ NKPT − 3.57 ⎞⎟ สําหรับทราย


⎝ ⎠

qa (ksc) = 0.64 ⎛⎜ N KPT + 0.954 ⎞⎟ สําหรับดินเหนียว


⎝ ⎠

N KPT คือ จํานวนตอกดวยวิธี Kunzelstab penetration


qa คือ กําลังรับแรงแบกทานยอมให
1.10 Borehole Pressuremeter Test

Pressuremeter เปนเครื่องมือที่ถูกพัฒนาขึ้น
โดย Menard ในป 1965 เพื่อทดสอบหาโมดูลัส
ของความเคน-ความเครียด
ในการทดสอบ จะทําการอัดความดันเพื่อทําให
Pressure cell ขยายตัวในหลุมเจาะ แลวทํา
การวัดปริมาตรที่เพิ่มขึ้น
ทฤษฎีที่ใชในการคํานวณคือ Expansion of an
Infinitely Thick Cylinder

Pressuremeter test
1.10 Borehole Pressuremeter Test

โซน I คือ สวนที่ดนิ ถูกผลักดวยความดันเพื่อใหกลับคืนสู


สภาพเริ่มตน (สภาพที่ยังไมมกี ารเจาะหลุมสํารวจ) โซนนี้
เรียกวา Reloading zone
โซน II เรียกวา Pseudo-elastic zone ซึ่งความสัมพันธ
ระหวางปริมาตรและความดันคอนขางเปนเสนตรง
โซน III คือ Plastic zone

การเปลี่ยนแปลงปริมาตรของ Pressure cell กับความดัน


1.10 Borehole Pressuremeter Test

สําหรับ Pseudo-elastic zone

E = 2 ⎛⎜1+ν ⎞⎟V0 Δp
⎝ ⎠ ΔV

E คือ โมดูลัสยืดหยุน
ν คือ อัตราสวนโพซอง (Poisson’s ratio)
V0 คือ ปริมาตรของ cell ทีค่ วามดัน p0 ซึ่งคือความดันเริ่มตนของโซน II
Δp = 1
ΔV slope of straight line of zone II
1.10 Borehole Pressuremeter Test

Menard (1965) แนะนําใหแทนคาν ในสมการ E = 2 ⎛⎜⎝1+ν ⎞⎟⎠V0 ΔΔVp ดวย 0.33 จะได

E = 2.66V0 ΔP
ΔV

จากทฤษฎียืดหยุน (Elastic theory) ความสัมพันธระหวางโมดูลัสยืดหยุน (Elastic modulus, E)


และโมดูลัสเฉือนสามารถแสดงไดดังนี้

E = 2⎛⎜1+ν ⎞⎟ G
⎝ ⎠

G = V0 Δp
ΔV
1.10 Borehole Pressuremeter Test

นอกจากนี้ Pressuremeter test ยังสามารถใชคํานวณหาสัมประสิทธิ์ความดันที่สภาวะอยูนิ่ง (At-rest


earth pressure coefficient, K0) ไดดังนี้

p
K0 = σ 0
v′ 0

p0 คือ ความดันดินดานขาง (Lateral earth pressure) ที่เกิดขึ้นในสนาม


σ v′ 0 คือ ความเคนกดทับในแนวดิง่ ประสิทธิผล ซึ่งคํานวณไดจากผลคูณของหนวยน้ําหนักจมน้ํา
(Submerged unit weight) และความลึก ณ จุดทีพ่ ิจารณา
1.11 รายงานการเจาะสํารวจชั้นดิน

หัวขอที่จําเปนตองมีในรายงานการเจาะสํารวจไดแก
1. บทนํา ไดแก บทสรุปอยางคราวๆ ของโครงการ ขั้นตอนการสํารวจ ตําแหนงและชื่อของโครงการ
2. ลักษณะของตําแหนงโครงการ ไดแก คําบรรยายลักษณะทั่วไปของบริเวณที่เจาะสํารวจ และแผนที่
แสดงตําแหนงของโครงการ พื้นที่ใกลเคียง และตําแหนงของหลุมเจาะ
3. สภาพชั้นดิน ไดแก ลักษณะของชั้นดินอยางละเอียด ซึ่งแสดงผลทดสอบในหองปฏิบัติการและใน
สนาม ระดับน้ําใตดิน และสภาพการระบายน้ํา
4. ขอเสนอแนะ ไดแก คําแนะนําที่จําเปนและถูกตองตามหลักวิชาการสําหรับการออกแบบและกอสราง
5. เอกสารอางอิง
6. ภาคผนวก ควรประกอบดวยขอมูลที่สําคัญที่ไดจากการเจาะสํารวจ อันไดแก Boring log
ผลทดสอบในหองปฏิบัติการ และผลทดสอบในสนาม เปนตน
1.11 รายงานการเจาะสํารวจชั้นดิน

Boring log เปนรูปแบบของเอกสารที่แสดงเชิง


กราฟของขอมูลรายละเอียดชั้นดิน และตอง
ประกอบดวย ชื่อของบริษทั ที่เจาะสํารวจ ชื่อโครงการ
สถานที่เจาะสํารวจ วันทีท่ าํ การเจาะสํารวจและวันทีแ่ ลว
เสร็จ ระดับน้าํ ใตดิน สภาพชั้นดิน และผลทดสอบใน
สนาม
1.12 การสํารวจโดยวิธีธรณีฟสิกส (Geophysical Method)

การสํารวจจะไมมีการเจาะหลุมสํารวจเพื่อเก็บตัวอยางดินขึ้นมาทําการทดสอบในหองปฏิบัติ นอกจากนี้
ยังใชเวลาและคาใชจายต่ํา ขอมูลที่ไดสามารถครอบคลุมบริเวณกวาง อยางไรก็ตาม การเจาะหลุมสํารวจ
เพื่อหาคุณสมบัติพื้นฐานและคุณสมบัติทางวิศวกรรมของดินฐานรากก็ยังคงตองดําเนินการควบคูเพื่อใหได
ผลทดสอบที่ถูกตองและนาเชื่อถือ

ในที่นี้จะขอกลาวถึงการสํารวจธรณีฟสิกส 2 วิธีคือ
1. การสํารวจโดยอาศัยคลื่นการสั่นสะเทือน (Seismic Refraction Method)
2. การสํารวจโดยอาศัยความตานทานทางไฟฟา (Electrical Resistivity Method)
1.12 การสํารวจโดยวิธีธรณีฟสิกส (Geophysical Method)

การสํารวจโดยอาศัยคลื่นการสั่นสะเทือน (Seismic Refraction Method)

ลักษณะผลทดสอบการสํารวจชั้นดินโดยอาศัยคลื่นการสั่นสะเทือน
1.12 การสํารวจโดยวิธีธรณีฟสิกส (Geophysical Method)

การสํารวจโดยอาศัยคลื่นการสั่นสะเทือน (Seismic Refraction Method)


ความเร็วของคลื่นผานชั้นดินคํานวณไดจากสวนกลับของ
ความชันของเสนตรงที่ 1 ดังสมการ

L −L
v1 = t2 − t 1
2 1

L1 และ L2 คือ ระยะทางจากจุดกําเนิดถึงตัวรับ


สัญญาณที่ 1 และ 2 ตามลําดับ
t1 และ t2 คือ เวลาของคลื่นลูกแรกถึงตัวรับ ผลทดสอบการสํารวจชั้นดินโดยอาศัย
สัญญาณที่ 1 และ 2 ตามลําดับ คลื่นการสั่นสะเทือน
1.12 การสํารวจโดยวิธีธรณีฟสิกส (Geophysical Method)

การสํารวจโดยอาศัยคลื่นการสั่นสะเทือน (Seismic Refraction Method)

สําหรับชั้นดินหลายชั้น ซึ่งความหนาของชั้นดินชั้นบนมีความสม่ําเสมอ เราสามารถประมาณความหนาของดิน


ชั้นบนไดจาก

v −v
H1 = L v2 + v1
2 2 1

H1 คือ ความหนาของดินชั้นแรก
L คือ ความยาวจากกราฟที่เสนความลาดสองเสนตัดกัน
1.12 การสํารวจโดยวิธีธรณีฟสิกส (Geophysical Method)

การสํารวจโดยอาศัยความตานทานทางไฟฟา (Electrical Resistivity Method)


การสํารวจเพื่อหาลักษณะของชั้นดินโดยวิธีนี้สามารถหาไดทั้งในแนวราบและแนวลึก การหาลักษณะชั้น
ดินในแนวราบ (Electrical profiling) ทําโดยจัดวางตัว Electrode ทั้ง 4 ตัวตามแนวที่ตองการสํารวจ โดย
ระยะหางระหวาง Electrode จะเทากัน ระยะหางของ Electrode ที่นอยที่สุดไมควรเกินครึ่งหนึ่งของความ
หนาของดินชั้นแรกและไมควรเกิน 1 เมตร และระยะหางที่มากที่สุดควรมีคาประมาณ 5 ถึง 10 เทา ของความ
ลึกที่ตองการสํารวจ

การจัดเรียงอุปกรณความตานทานไฟฟา
แบบ Wenner method
1.12 การสํารวจโดยวิธีธรณีฟสิกส (Geophysical Method)

การสํารวจโดยอาศัยความตานทานทางไฟฟา (Electrical Resistivity Method)

ผลทดสอบการเปลี่ยนแปลงชั้นดินจากการสํารวจโดยอาศัยความตานทานทางไฟฟา
1.12 การสํารวจโดยวิธีธรณีฟสิกส (Geophysical Method)

คาความตานทานของดินและหินตาง ๆ (Sowers, G.B., and Sowers, G.F., 1970)


Material Resistivity (ohm-centimeters)
Saturated organic clay or silt 500-2,000
Saturated inorganic clay or silt 1,000-5,000
Hard partially saturated clays and silts; saturated sands and gravels 5,000-15,000
Shales, dry clays and silts 10,000-50,000
Sandstone, dry sands and gravels 20,000-100,000
Sound crystalline rocks 100,000-1,000,000
ตัวอยางที่ 1.1
จากผลการทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน ทีค่ วามลึก 15 เมตร ในชั้นดินทรายทีม่ ีหนวยน้ําหนัก 18.0 กิโลนิว
ตันตอลูกบาศกเมตร ไดคา N60 เทากับ 35 ระดับน้าํ ใตดนิ อยูต่ํากวาผิวดิน 1.0 เมตร จงหาคาตัวเลขทะลุ
ทะลวงมาตรฐานปรับแก

วิธีทํา จากความสัมพันธ CN = 100


σ v′

ความเคนประสิทธิผลมีคา เทากับ σ vo
′ = ⎜18.0×1⎟ + ⎜8.2×14 ⎟ =132.8 กิโลปาสคาล
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
⎝ ⎠ ⎝ ⎠

ดังนั้น CN = 100 = 0.87


132.8
เพราะฉะนั้น N ′ = 35× 0.87 = 30
ตัวอยางที่ 1.2
จากผลการทดสอบกําลังตานทานแรงเฉือนดวยใบพัด (Vane shear test) ในชั้นดินเหนียว ที่ระดับความ
ลึกหนึ่ง ไดคาแรงบิดสูงสุดเทากับ 250 กิโลกรัม-เซนติเมตร ใบพัดที่ใชในการทดสอบมีขนาด 55 x 110
มิลลิเมตร จงคํานวณหากําลังตานทานแรงเฉือนของดิน เมื่อดินเหนียวมีคาดัชนีสภาพพลาสติกเทากับ 65
เปอรเซ็นต
วิธีทํา Su(Vaneshear) = T
⎡ 2 3⎤
π⎢
⎢d h d ⎥
+ ⎥
⎢⎣ 2 6 ⎥⎦
Su(Vaneshear) = 250×10 = 4.1 ตันตอตารางเมตร
⎡ ⎤
π ⎢⎢ 5.5 ×11 + 5.5 ⎥⎥
2 3
⎢⎣ 2 6 ⎥⎦

μ =1.7 − 0.54log ⎛⎜ PI ⎞⎟ =1.7 − 0.54log ⎛⎜ 65⎞⎟ = 0.72


⎝ ⎠ ⎝ ⎠

ดังนั้น Su(cor.vane) = 0.72× 4.1= 3.0 ตันตอตารางเมตร


ตัวอยางที่ 1.3
จาก Boring log ดังแสดงในรูป จงแสดงชั้นดินเพื่อการออกแบบ
ตัวอยางที่ 1.3

วิธีทํา
หนวยน้ําหนักในชั้นดินเหนียวออนและดินเหนียวแข็ง
ปานกลางคํานวณไดจากคาเฉลี่ยตลอดความลึก ดังนี้

γ softclay = 1.65 +1.59 +1.58 +1.57 +1.52 +1.53 =1.57 ตันตอลูกบาศกเมตร


6

γ mediumclay = 1.61+1.59 +1.58 =1.59 ตันตอลูกบาศกเมตร


3
ตัวอยางที่ 1.3

กําลังตานทานแรงเฉือนในชั้นดินเหนียวออนและดินเหนียวแข็งปานกลางคํานวณไดจากทั้ง
ผลทดสอบแรงอัดแกนเดียวและผลทดสอบดวยใบพัด เนื่องจากโจทยไมไดกําหนดดัชนีสภาพพลาสติก จึง
สมมติใหดัชนีสภาพพลาสติกมีคาคงที่ตลอดความลึกประมาณเทากับ 70 เปอรเซ็นต

ชั้นดินเหนียวออน
Su(UCtest ) = 1.87 +1.61+1.99 +1.55 + 2.14 + 2.38 =1.92 ตันตอตารางเมตร
6

Su(vaneshear) = 3.98 + 3.39 + 2.89 + 5.01+ 4.84 + 3.81+ 4.34 = 4.04 ตันตอตารางเมตร
7
⎡ ⎤
Su(cor.vane) = ⎢⎢1.7 − 0.54log ⎛⎜ 70⎞⎟⎥⎥ × 4.04 = 2.84 ตันตอตารางเมตร
⎣ ⎝ ⎠⎦
ตัวอยางที่ 1.3

ชั้นดินเหนียวแข็งปานกลาง

Su(UCtest ) = 4.41+ 3.06 + 4.61 = 4.03 ตันตอตารางเมตร


3

Su(vaneshear) = 5.32 + 6.63 + 7.11 = 6.35 ตันตอตารางเมตร


3
⎡ ⎤
Su(cor.vane) = ⎢⎢1.7 − 0.54log ⎛⎜ 70⎞⎟⎥⎥ × 6.35 = 4.47 ตันตอตารางเมตร
⎣ ⎝ ⎠⎦

จะเห็นไดวากําลังตานทานแรงเฉือนที่ไดจากการทดสอบดวยใบพัดใหคาสูงกวาคาที่ไดจากการ
ทดสอบแรงอัดแกนเดียว เนื่องจากดินเหนียวออนถึงแข็งปานกลางไดรับการกระทบกระเทือนจากการเจาะ
สํารวจและการขนสงดิน จึงทําใหกําลังตานทานแรงเฉือนมีคานอยกวาคาจริงในสนาม
ตัวอยางที่ 1.4

จงวาดชั้นดินพรอมทั้งแสดงพารามิเตอรที่จําเปน
สําหรับการออกแบบเสาเข็มตอก

รูปแสดง Boring log สําหรับงานกอสราง


อาคารหอพักแหงหนึ่งในจังหวัดนครราชสีมา
ตัวอยางที่ 1.4

วิธีทํา

เนื่องจากชั้นดินดังกลาวเปนชั้นทราย ตองมีการ
ปรับแกคาตัวเลขทะลุทะลวงมาตรฐานเนื่องจาก
อิทธิพลของความเคนในแนวดิ่งประสิทธิผล

ระดับน้ําใตดินอยูที่ระดับความลึก 1.20 เมตร


จากผิวดิน

สมมติใหหนวยน้ําหนักของดินมีคาคงที่โดยเปน
คาเฉลี่ยของหนวยน้ําหนักซึ่งเทากับ 1.80 ตัน
ตอลูกบาศกเมตร
ตัวอยางที่ 1.4

Depth (m) σ′v (kPa) N60 CN N′


1.9 (1.20×18.0) + (0.70×8.0) = 27.2 3 100
= 1.92 1.92×3 = 6
27.2
3.2 27.2 + (1.3×8.0) = 37.6 11 100
= 1.63 1.63×11 = 18
37.6
4.9 37.6 + (1.7×8.0) = 51.2 25 100
= 1.40 1.40×25 = 35
51.2
6.2 51.2 + (1.3×8.0) = 61.6 100 100
= 1.27 1.27×100 = 127
61.6
7.9 61.6 + (1.7×8.0) = 75.2 105 100
= 1.15 1.15×105 = 121
75.2
9.3 75.2 + (1.4×8.0) = 86.4 108 100
= 1.07 1.07×108 = 116
86.4
ตัวอยางที่ 1.4

จากการปรับแกตัวเลขทะลุทะลวงมาตรฐาน สามารถแบงชั้นดินออกเปนสามชั้น

ความลึก 0.0-3.0 เมตร - ทรายหลวม


N′ = 6

ความลึก 3.0-5.5 เมตร - ทรายแนนปานกลาง


N′ = (18+35)/2 = 22

ความลึก 5.5-9.5 เมตร - ทรายแนนมาก


N′ = (127+121+116)/3 = 121
Foundation Engineering
วิศวกรรมฐานราก

รองศาสตราจารย ดร. สุขสันติ์ หอพิบูลสุข


สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุ สรุ นารี
ฐานรากตื้น : ทฤษฎีและการออกแบบ
2 (SHALLOW FOUNDATION : THEORY AND DESIGN)
2.1 บทนํา

ฐานราก คือ สวนลางสุดของโครงสราง ซึ่ง


มีหนาที่ถายน้ําหนักทั้งหมดจากโครงสรางลงสู
พื้ น ดิ น การออกแบบฐานรากที่ ดี คื อ การ
ออกแบบใหความเคนที่ถายลงสูดินมีคาไมเกิน
ความสามารถรับน้ําหนักบรรทุก (Overstress)
จนก อใหเกิดการทรุด ตัวมากเกิ นไป และการ
วิบัติของดินเนื่องจากแรงเฉือน
2.2 กําลังรับแรงแบกทานประลัยสําหรับฐานรากตื้น

พิจารณาฐานแถบ (Strip footing) ที่มีความกวาง B วางอยูบนชั้นดินทรายแนน เมื่อมีน้ําหนัก


กระทําบนฐานรากเทากับ q ตอพื้นที่ 1 หนวย จะเกิดการทรุดตัวของฐานราก ขณะที่ q เพิ่มขึ้น ฐานรากก็
จะทรุดตัวเพิ่มขึ้นดวย จนกระทั่งเกิดการวิบัติ (Bearing capacity failure) เมื่อ q = qu จะกอใหเกิด
การทรุดตัวอยางมากของฐานราก ดินดานเดียวหรือทั้งสองดานของฐานรากจะเกิดการบวมตัว และแนวการ
ลื่นไถล (Slip surface) จะขยายตัวไปจนถึงผิวดิน ความสัมพันธระหวางน้ําหนักและการทรุดตัวจะมี
ลักษณะเหมือน Curve I ในรูป b เรียกวา General shear failure
2.2 กําลังรับแรงแบกทานประลัยสําหรับฐานรากตื้น

ถาฐานรากมีความกวางและระยะฝงมากขึ้น และตั้งอยูในดินที่อัดตัว (Compressible soil) ได


เชน ทรายหลวมหรือแนนปานกลาง ความสัมพันธระหวางน้ําหนักกับการทรุดตัวจะเปนแบบ Curve II ใน
รูป b หลังจาก q = q′u ความสัมพันธระหวางน้ําหนักและการทรุดตัวจะมีความชันและความเปนเสนตรง
มากขึ้น ลักษณะการวิบัติของดินแบบนี้เรียกวา Local shear failure
2.2 กําลังรับแรงแบกทานประลัยสําหรับฐานรากตื้น

กําลังแบกทานประลัยของฐานรากตื้น
2.2 กําลังรับแรงแบกทานประลัยสําหรับฐานรากตื้น

Vesic (1973) ไดศึกษาลักษณะการวิบัติทั้งสามแบบจากผลทดสอบการรับน้ําหนักของฐานราก


วงกลมที่ตั้งบนชั้นทราย พบวา ลักษณะการวิบัติของฐานรากตื้นขึ้นอยูกับความหนาแนนสัมพัทธ (Relative
density) ฐานรากลึกจะมีลักษณะการวิบัติเปนแบบ Punching shear ฐานรากตื้นที่ตั้งอยูบนชั้นหิน
และทรายแนนจะมีลักษณะการวิบัติเปนแบบ General shear ฐานรากตื้นที่ตั้งอยูบนชั้นทรายหลวมถึง
แนนปานกลาง (30% < Dr < 67%) มีโอกาสที่จะวิบัติแบบ Local shear และฐานรากตื้นที่ตั้งอยูบนชั้น
ทรายหลวม (Dr < 30%) มีแนวโนมที่จะวิบัติแบบ Punching shear
2.2 กําลังรับแรงแบกทานประลัยสําหรับฐานรากตื้น

ลักษณะการวิบตั ิของฐานรากวงกลมในชั้นทราย Chattahoochee (Vesic, 1973)


2.3 สมการกําลังรับแรงแบกทานของเทอรซากิ

กลไกการวิบัติของดินทีเ่ สนอโดย Terzaghi สําหรับการหากําลังรับแรงแบกทานของดินที่เกิดการ


วิบตั แิ บบ General shear failure ทีร่ ะยะฝง (Df) ลิ่ม ABJ (โซน I) คือโซนยืดหยุน ทั้ง AJ และ BJ
ทํามุม φ กับแนวนอน โซน II (AJE และ BJD) คือโซนแรงเฉือน และ โซน III คือโซนตานรับของแรน
กิน (Rankine passive) เสนการวิบัติ JD และ JE เปนสวนโคงทีเ่ ปนฟงกชันของล็อคการิทึม และเสน
DF และ EG เปนเสนตรง AE, BD, EG, และ DF ทํามุม 45 – φ / 2 องศากับแนวนอน

φ φ φ φ
45 − 45 − 45 − 45 −
2 2 2 2
2.3 สมการกําลังรับแรงแบกทานของเทอรซากิ

( )
C = c AJ =
cb
cos φ
( )
C = c BJ =
cb
cos φ

พิจารณาแผนภาพอิสระของลิ่ม ABJ ใตฐานรากยาว 1 หนวย จะไดสมการสมดุลดังนี้


qu ⎛⎜ 2b ⎞⎟ ⎛⎜1⎞⎟ = −W + 2C sinφ + 2P P
⎝ ⎠⎝ ⎠

เมื่อ b = B/2, W คือน้ําหนักของลิ่ม ABJ = γb2tanφ และ C คือแรงเหนี่ยวนํา (Cohesion) ที่กระทํา


ตลอดแนวบนแตละผิวหนาของ AJ และ BJ ซึ่งเทากับหนวยแรงเหนี่ยวนํา (c) คูณความยาวของแตละ
ผิวหนา = cb / (cosφ) ดังนั้น
2bqu = 2PP + 2bc tanφ − γ b2 tanφ
2.3 สมการกําลังรับแรงแบกทานของเทอรซากิ

แสดงการกระจายของความดันตานทานจากแตละสวนประกอบ
บนลิ่ม BJ จะได

PP = γ (b tan φ ) Kγ + c (b tan φ ) Kc + q (b tan φ ) K q


1 2
2

เมื่อ Kγ , Kc และ Kq คือสัมประสิทธิ์ความดันของดิน ซึ่งเปน


ฟงกชันของมุมเสียดทานภายในของดิน
2.3 สมการกําลังรับแรงแบกทานของเทอรซากิ

จากการรวมสมการ 2 สมการเขาดวยกัน จะได


2
2bqu = 2PP + 2bc tanφ − γ b2 tanφ + 1
PP = γ ⎜ b tanφ ⎟ Kγ + c ⎛⎜ b tanφ ⎞⎟ Kc + q ⎛⎜ b tanφ ⎞⎟ Kq
2 ⎝
⎛ ⎞
⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠

qu = cNc + qNq + 1 γ BNγ สมการกําลังรับแรงแบกทานของ Terzaghi


2

โดยที่ ⎛ ⎞
270−φ π tanφ ⎜


3tan 45°+
2⎜ φ + 33° ⎞
⎟ ⎟

e 180 ⎜ 2

Nγ = 1 tanφ
⎜ ⎜ ⎟ ⎟
Nc = Nq −1 cotφ




Nq = ⎜ ⎝ ⎠ −1 ⎟
⎝ ⎠ 2cos2 ⎛⎜ 45°+φ /2 ⎞⎟ 2 ⎜

cos2 φ ⎟

⎝ ⎠
⎜ ⎟
⎜ ⎟
⎝ ⎠
เมื่อ φ คือ มุมเสียดทานภายในของดินซึ่งมีหนวยเปนองศา
2.3 สมการกําลังรับแรงแบกทานของเทอรซากิ

50
Nc

Nq
Internal friction angle, φ ( o) 40

30

20 Nc
For φ = 0:
Nc = 5.7
Nq Nq = 1
10 Nγ = 0

0
1 5 10 50 100 500

Value of Nc , Nq , Nγ

ตัวแปรกําลังรับแรงแบกทานสําหรับการวิบตั แิ บบ General shear failure


2.3 สมการกําลังรับแรงแบกทานของเทอรซากิ

สมการ qu = cNc + qNq + 1 γ BNγ สรางมาจากพารามิเตอรกําลังรวม ดังนั้นจึงเปนสมการที่


2
ใชในการหาคากําลังรับแรงแบกทานในสภาวะไมระบายน้ํา (Undrained condition) ในกรณีที่ตองการ
คํานวณกําลังรับแรงแบกทานในสภาวะระบายน้ํา (Drained condtion) พารามิเตอรกําลังที่ใชจะเปน
พารามิเตอรกําลังประสิทธิผล สมการกําลังรับแบกทานประลัยของฐานรากแถบในสภาวะระบายน้ํา คํานวณได
ดังนี้

qu = c′Nc + q′Nq + 1 γ ′BNγ


2
2.3 สมการกําลังรับแรงแบกทานของเทอรซากิ

สําหรับฐานรากแบบสี่เหลี่ยมจัตุรัสและวงกลม Terzaghi แนะนําสมการกําลังรับแรงแบกทานประลัย


ดังนี้
qu =1.3cNc + qNq + 0.4γ BNγ สําหรับฐานรากสี่เหลี่ยมจัตุรัส

qu =1.3cNc + qNq + 0.3γ BNγ สําหรับฐานรากวงกลม


⎛ ⎞ ⎛ ⎞
⎜ B ⎟ ⎜ B
qu = 1+ 0.3 ⎟ cNc + qNq + ⎜ 0.5 − 0.1 ⎟⎟ γ BNγ
⎜ L⎠ L⎠ สําหรับฐานรากสี่เหลี่ยมผืนผา
⎝ ⎝

เมื่อ B คือความกวางและเสนผานศูนยกลางของฐานรากสี่เหลี่ยมจัตุรัสและวงกลม ตามลําดับ


2.3 สมการกําลังรับแรงแบกทานของเทอรซากิ

ในกรณีการวิบัติของดินแบบ Local shear failure และ Punching shear failure Terzaghi


เสนอใหลดคาของหนวยแรงเหนี่ยวนํา (Cohesion) ที่ใชในสมการกําลังรับแรงแบกทาน และลดคามุมเสียด
ทานภายในที่ใชในการหาคาตัวแปรกําลังรับแรงแบกทาน คาหนวยแรงเหนี่ยวนําและมุมเสียดทานสําหรับการ
วิบัติแบบ Local shear failure และ Punching shear failure (cL, φL) คือ

cL = 2 c
3

⎛ ⎞
φL = tan −1 ⎜ 2 tanφ ⎟
⎜⎜

3 ⎟⎟

2.4 สมการทั่วไปสําหรับกําลังรับแรงแบกทาน

สมการกําลังรับแรงแบกทานของ Terzaghi สรางขึ้นจากสมมติฐานที่วา AJ และ BJ ของลิ่ม ABJ


ทํามุม φ กับแนวนอน
Meyerhof (1963), Hensen (1970) และ DeBeer and Vesic (1958) ไดทาํ การทดสอบกําลัง
รับน้ําหนักบรรทุกของฐานราก พบวาดาน AJ และ BJ ของลิ่ม ABJ ทํามุมประมาณ 45 +φ /2 องศากับ
แนวนอน กลไกการวิบตั แิ บบนี้แสดงใหเห็นในรูปดานลาง

B
F

q = γ Df qu Df
A
G α I
α B
III III Soil
II Pp II D
(γ , c, φ )
E J

For Meyerhof ,Hansen : α = 45 + φ / 2


Terzaghi and Hansen Meyerhof
Terzaghi : α = φ
2.4 สมการทั่วไปสําหรับกําลังรับแรงแบกทาน

ตัวแปรกําลังรับแรงแบกทาน
ตัวแปรกําลังรับแรงแบกทาน (Bearing capacity factor)
⎛ φ⎞
Nq = eπ tan φ tan 2 ⎜ 45° + ⎟ φ = 0° ใช Nq = 1.0
⎝ 2⎠
Meyerhof (1963) Nc = ( Nq − 1) cot φ φ = 0° ใช Nc = 5.14
Nγ = ( Nq − 1) tan (1.4φ ) φ = 0° ใช Nγ = 0.0
Nq เหมือนกับ Meyerhof
Hansen (1970)
Nc เหมือนกับ Meyerhof
Nγ = 1.5 ( Nq − 1) tan φ φ = 0° ใช Nγ = 0.0
Nq เหมือนกับ Meyerhof
Nc เหมือนกับ Meyerhof
Vesic (1973 ;1975) Nγ = 2 ( Nq + 1) tan φ φ = 0° ใช Nγ = 0.0
และใช Nγ = −2sin θ เมื่อ θ > 0
โดยที่ θ คือ มุมเอียงของน้ําหนักบรรทุกจากแนวดิ่ง
2.4 สมการทั่วไปสําหรับกําลังรับแรงแบกทาน

ในทางปฏิบัติ สิ่งที่สําคัญที่สุดในการออกแบบไมใชการเลือกใชตัวแปรกําลังรับแรงแบกทานที่ไดจาก
สมการของ Terzaghi, Meyerhof, Hansen หรือ Vesic แตเปนการเลือกพารามิเตอรกําลัง
(Strength parameters) ที่ถูกตองและเหมาะสม เนื่องจากมุมเสียดทาน (Friction angle) ที่แตกตาง
เพียงเล็กนอย ใหคาตัวแปรกําลังรับแรงแบกทานที่แตกตางกันอยางมาก
2.4 สมการทั่วไปสําหรับกําลังรับแรงแบกทาน

สมการ qu = cNc + qNq + 12 γ BNγ ใชไดกับฐานรากแถบทีร่ ับน้ําหนักบรรทุกในแนวดิง่ เทานั้น


เพื่อทําใหสมการนี้สมบูรณมากยิ่งขึ้น ไดมีนักวิจัยหลายทานสรางตัวคูณปรับแกอิทธิพลของรูปรางฐานราก
ความลึก และลักษณะการกระทําของน้ําหนัก ดังนี้

1) ตัวคูณปรับแกความลึก (Depth factor) ใชพิจารณาความตานทานทีเ่ พิ่มขึ้นตลอดแนวการ


วิบตั ิของดินเนื่องจากอิทธิพลของระยะฝง
2) ตัวคูณปรับแกรูปราง (Shape factor) ใชพิจารณารูปรางและขนาดของฐานรากที่ไมใชฐาน
แถบ (Strip footing)
3) ตัวคูณปรับแกความลาดเอียง (Inclination factor) เพื่อคํานวณกําลังรับแรงแบกทานของ
ฐานรากซึ่งมีแรงกระทําในแนวเอียง
2.4 สมการทั่วไปสําหรับกําลังรับแรงแบกทาน

สมการกําลังรับแรงแบกทานของดินสําหรับการวิบตั แิ บบ General Shear Failure สามารถเขียน


ใหมไดดงั นี้

qu = λccNc + λq qNq + 1 λγ γ BNγ


2

λc คือตัวคูณปรับแกสําหรับพจนของหนวยแรงเหนี่ยวนํา (Cohesion, c)
λq คือตัวคูณปรับแกสําหรับพจนของความเคนกดทับ (Overburden pressure, q)
λγ คือตัวคูณปรับแกสําหรับพจนของหนวยน้ําหนักดิน (Unit weight, g)
2.4 สมการทั่วไปสําหรับกําลังรับแรงแบกทาน

ตัวคูณปรับแกสําหรับสมการกําลังรับแรงแบกทาน (Meyerhof, 1953; 1963)


λc = λcs ⋅ λci ⋅ λcd
λc λγ λq

λcs λγs λqs


M
eb = b
λγ = λγ s ⋅ λγ i ⋅ λγ d
Q

φ = 0° 1 + 0.2 K p
B′ el =
Ml
Q
λq = λqs ⋅ λqi ⋅ λqd
L′
B′ B′
φ > 10° 1 + 0.1K p 1 + 0.1K p K p = tan 2 ( 45°+ φ / 2)
L′ L′
0° < φ ≤ 10° Linear Interpolation Between φ = 0° and φ = 10°

λci λγi λqi


⎡ θ ⎤ ⎡ θ ⎤
φ = 0° ⎢1 − 90° ⎥ ⎢1 − 90° ⎥
⎣ ⎦ ⎣ ⎦ θ
2 2 2
⎡ θ ⎤ ⎡ θ ⎤ θ ≤φ ⎡ θ ⎤
φ > 10° ⎢⎣1 − 90° ⎥⎦ ⎢1 − φ ⎥ ⎢⎣1 − 90° ⎥⎦
⎣ ⎦
θ >φ

λcd λγd λqd


Df
φ = 0° 1 + 0.2 K p
B Df Df
φ > 10° 1 + 0.1 K p 1 + 0.1 K p
B B
0° < φ ≤ 10° Linear Interpolation Between φ = 0° and φ = 10°
2.4 สมการทั่วไปสําหรับกําลังรับแรงแบกทาน

ตัวคูณปรับแกสําหรับสมการกําลังรับแรงแบกทาน (Hansen, 1970)


λc λγ λq λc = λcs ⋅ λci ⋅ λcd ⋅ λcβ ⋅ λcδ
λcs λγs λqs
λγ = λγ s ⋅ λγ i ⋅ λγ d ⋅ λγβ ⋅ λγδ
B′
φ =0 0.2
L′
N q B′ B′ B′ λq = λqs ⋅ λqi ⋅ λqd ⋅ λqβ ⋅ λqδ
φ >0 1+ 1 − 0 .4 1+ tan φ
N c L′ L′ L′
λci λγi λqi K p = tan 2 ( 45°+ φ / 2)
1/ 2 M
eb = b
⎡ T ⎤ ⎡ 0.7T ⎤
5
Q
φ =0 1 − ⎢1 − δ = 0 ⎢1 −
⎣ A ′ca ⎥⎦ ⎥ M
el = l k = Df / B เมื่อ Df / B ≤1
⎣ Q + A′ca cot φ ⎦
5
⎡ 0.5T ⎤ Q
2 ⎢1 − ⎥
⎣ Q + A′ca cot φ ⎦
⎡ (0.7-δ / 450°)H ⎤
เมื่อ D f / B > 1
5

φ >0 λqi −
1 − λqi
δ > 0 ⎢1 − ⎥
k = tan −1( D f / B)
Nq − 1 ⎣ V + A′ca cot φ ⎦
B′ คือความกวางประสิทธิผล
λcd λγd λqd

φ =0 0.4k เทากับ B − 2eb


φ >0 1 + 2 tan φ (1 − sin φ ) k
2
1+ 0.4k

β+
λcβ λγβ λqβ
β
φ =0 1−
147.3° δ+

1 − λqβ (1 − 0.5 tan β )5 (1 − 0.5 tan β )5


φ >0 λqβ −
147.3° β + δ ≤ 90°
β <φ
λcδ λγδ λqδ
δ
φ =0 1−
147°
e −0 .047δ tan φ e −0 .035δ tan φ
1 − λqδ
φ >0 λqδ −
147.3°
2.4 สมการทั่วไปสําหรับกําลังรับแรงแบกทาน

ตัวคูณปรับแกสําหรับสมการกําลังรับแรงแบกทาน (Vesic, 1973; 1975)


ตัวคูณปรับแก λc λγ λq Diagram λc = λcs ⋅ λci ⋅ λcd ⋅ λcβ ⋅ λcδ
λcs λγs λqs
λγ = λγ s ⋅ λγ i ⋅ λγ d ⋅ λγβ ⋅ λγδ
B′
ปรับแกรูปรางของฐานราก φ =0 0.2 1.0 1.0
L′
N q B′ B′ B′ λq = λqs ⋅ λqi ⋅ λqd ⋅ λqβ ⋅ λqδ
φ >0 1+ 1 − 0 .4 1+ tan φ
N c L′ L′ L′
λci λγi λqi K p = tan 2 ( 45°+ φ / 2)
Mb
mH eb =
φ =0 1− Q
Q
A′ca N c
⎡ ⎤
m +1 m
M
el = l Mb Ml
k = Df / B เมื่อ Df / B ≤1
ปรับแกน้ําหนักบรรทุกเอียง 2 T ⎡ T ⎤ Q

⎢1 − ⎥ > 0 ⎢1 − ⎥ el
⎣ Q + A′ca cot φ ⎦ ⎣ Q + A′ca cot φ ⎦
φ >0 λqi −
1 − λqi eb
L k = tan −1( D f / B) เมื่อ Df / B >1
Nq − 1 B

λcd λγd λqd m = 2+ B/ L เมื่อ T // B


1+ L / B
φ =0 1+ 0.4k 1.0 1.0
ปรับแกความลึกของฐานราก
m = 2+ L/ B เมื่อ T // L
φ >0 1+ 0.4k 1.0 1 + 2 tan φ (1 − sin φ ) k
2 1+ B / L
Q
λcβ λγβ λqβ β+
Df
β T
φ =0 1−
ปรับแกความเอียงของดิน 147.3° δ+

เหนือฐานราก (1 − tan β )2 (1 − tan β )2 B


1 − λqβ
φ >0 λqβ −
147.3° β + δ ≤ 90°
β <φ
λcδ λγδ λqδ
φ =0 δ
1−
ปรับแกความเอียงของ 147°
ฐานราก (1 − 0.017δ tan φ )2 (1 − 0.017δ tan φ )2
1 − λqδ
φ >0 λqδ −
147.3°
2.5 ผลกระทบของระดับน้ําใตดินตอกําลังรับแรงแบกทาน

กรณีที่ 1 เมื่อระดับน้ําใตดนิ อยูที่ความลึก D เหนือทองฐานราก


คาของ q′ ในพจนที่สองคํานวณไดดังนี้
⎛ ⎞
q′ = γ ⎜⎜ D f − D ⎟⎟ + γ ′D
⎝ ⎠

กรณีที่ 2 เมื่อระดับน้ําอยูที่ทองฐานรากพอดี ขนาดของ q′ จะ


เทากับ γDf แตหนวยน้ําหนักจมน้าํ ในพจนที่สามจะแทนดวย γ′

กรณีที่ 3 เมื่อระดับน้ําใตดนิ อยูที่ระดับความลึก D จากทองฐาน


ราก คา q′ จะเทากับ γDf และคาของหนวยน้ําหนักจมน้ําใน
พจนที่สามจะแทนดวย γav โดยที่
1 ⎡ ⎞⎤
γ av = γ D + γ ′⎜ B − D ⎟⎥


สําหรับ D ≤ B
B ⎢⎣ ⎝ ⎠ ⎥⎦

γ av = γ สําหรับ D > B
2.6 ฐานรากตื้นที่รับแรงเยื้องศูนยหรือโมเมนต

การออกแบบฐานรากรับแรงเยื้องศูนยหรือโมเมนต ตองพิจารณาถึงความเหมาะสมของขนาดฐานราก
และกําลังรับแรงแบกทานประลัยของดิน

สําหรับฐานรากสี่เหลี่ยม ระยะเยื้องศูนย
สามารถคํานวณจาก
e= M
P
เมื่อ e คือระยะเยื้องศูนย
M คือโมเมนตที่กระทําตอฐานราก
P คือน้ําหนักบรรทุกบนฐานราก
ฐานรากรับแรงเยื้องศูนย
2.6 ฐานรากตื้นที่รับแรงเยื้องศูนยหรือโมเมนต

ความเคนเนื่องจากโมเมนต (Δσ) สามารถคํานวณไดจาก

Δσ = MC
I

C คือระยะจากแกนสะเทิน (Neutral axis) ถึงริมของฐานราก


I คือโมเมนตความเฉื่อย (Moment of inertia)

Δσ = 6Pe
AB

A คือพื้นที่หนาตัดของฐานราก

ความเคนที่เกิดขึ้นใตฐานราก
2.6 ฐานรากตื้นที่รับแรงเยื้องศูนยหรือโมเมนต

ความเคนรวมที่เกิดขึ้นใตฐานรากซึ่งเปนผลรวมของความเคนเนื่องจากน้ําหนักบรรทุกและโมเมนต
จะกอใหเกิดความเคนทีแ่ ตกตางกันที่รมิ ของฐานราก โดยที่
⎛ ⎞
P P 6e
qmin = − Δσ = ⎜1− ⎟⎟

A A ⎜⎝ B ⎟⎠

⎛ ⎞
P P 6e
qmax = + Δσ = ⎜1+ ⎟⎟

A A ⎜⎝ B ⎟⎠

เมื่อ qmin และ qmax คือความเคนต่ําสุดและสูงสุดที่กระทําตอดินใตฐานราก ตามลําดับ

จะเห็นไดวา qmin = 0 เมื่อ P ⎛⎜1− 6e ⎞⎟ = 0 นั้นคือสภาวะที่


A ⎜⎜⎝ B ⎟⎟⎠

e= B
6
2.6 ฐานรากตื้นที่รับแรงเยื้องศูนยหรือโมเมนต

ในการออกแบบ ตองกําหนดขนาดของฐานราก (B × L) ใหมีระยะเยื้องศูนยอยูภายในพื้นที่เคอรน


(Kern area) กลาวคือ การกระจายความเคนใตฐานรากที่สภาวะนีม้ ีลักษณะดังแสดงในรูป

qmin = 0
qmin
qmax q max qmax

a) e < B / 6 b) e = B / 6 c) e > B / 6

ลักษณะการกระจายของความเคนเมื่อระยะเยื้องศูนยมีคา ตางๆ
2.6 ฐานรากตื้นที่รับแรงเยื้องศูนยหรือโมเมนต

สําหรับฐานรากสี่เหลี่ยมรับโมเมนตในสองทิศทาง ตําแหนงของระยะเยื้องศูนยตองอยูในพื้นที่เคอรน
(Kern area) เพื่อใหทุกผิวสัมผัสใตฐานรากรับความเคนอัด โดยที่ ระยะเยื้องศูนยจะอยูในพื้นที่เคอรน
(Kern area) ก็ตอเมื่อ 6e 6e b+ l ≤1
B L
Kern Area เมื่อ eb และ el คือ ระยะเยื้องศูนยตามแนวความกวาง
B/3 B
และความยาว ตามลําดับ

ระยะเยื้องศูนยอยูในพื้นที่เคอรน (Kern area)


L/3 ความเคนที่เกิดขึ้นทีม่ มุ ทัง้ สี่ของฐานราก (q′) มีคา
L เทากับ
6e 6e
พื้นที่เคอรน (Kern Area) ของฐานรากรับโมเมนตสองแกน q′ = P (1± b ± b )
A B L
2.7 กําลังรับแรงแบกทานประลัยของฐานรากรับแรงเยื้องศูนย

Meyerhof (1953) เสนอวิธีการคํานวณกําลังรับแรงแบกทานที่เรียกวาหลักการความกวาง


ประสิทธิผล (Concept of effective width) ซึ่งเปนวิธีการลดขนาดความกวางและความยาวของฐาน
รากเดิม เพื่อใหไดพื้นที่หนาตัดใหมซึ่งน้ําหนักบรรทุกกระทําที่จุดกึ่งกลางพอดี หลังจากนั้น เราก็สามารถใช
สมการกําลังรับแรงแบกทานสําหรับฐานรากรับแรงตรงศูนยไดตามปกติ
2.7 กําลังรับแรงแบกทานประลัยของฐานรากรับแรงเยื้องศูนย

วิธีการหาพื้นที่หนาตัดใหม ที่มคี วามกวางประสิทธิผล


เทากับ B′ และความยาวประสิทธิผลเทากับ L′
คํานวณไดดังนี้
B′ = B − 2eb

L′ = L − 2el

น้ําหนักรับแรงแบกทานประลัยของฐานรากภายใตนา้ํ หนักเยื้องศูนย
2.7 กําลังรับแรงแบกทานประลัยของฐานรากรับแรงเยื้องศูนย

พื้นทีป่ ระสิทธิผลมีคา เทากับผลคูณของความกวางประสิทธิผลและความยาวประสิทธิผล สมการกําลัง


รับแรงแบกทานของฐานรากรับแรงเยื้องศูนยคาํ นวณไดดังสมการตอไปนี้

qu = cλcsλcd Nc + qλqsλqd Nq + 1 γλγ sλγ d B′Nγ


2

น้ําหนักแบกทานประลัยคํานวณไดดงั นี้
Qu = qu ⎛⎜ B′L′⎞⎟
⎝ ⎠
2.8 กําลังรับแรงแบกทานประลัยของดินหลายชั้น

การคํานวณกําลังรับแรงแบกทานประลัยในหัวขอนี้จะแบงออกเปนสามสวน

1) ฐานรากบนทรายแนนที่วางตัวอยูเหนือชั้นทรายหลวม
2) ฐานรากบนทรายที่อยูเหนือชั้นดินเหนียวออน
3) ฐานรากใตดินเหนียวสองชั้น
2.8 กําลังรับแรงแบกทานประลัยของดินหลายชั้น

2.8.1 ฐานรากบนชั้นทรายแนนที่อยูเหนือชั้นทรายหลวม
เมื่อ ทรายชั้นบนมีความหนามาก ดังแสดงในรูปดานขวามือ ระนาบการวิบัติจะเกิดขึ้นภายในชั้นทราย
แนน
2.8 กําลังรับแรงแบกทานประลัยของดินหลายชั้น

2.8.1 ฐานรากบนชั้นทรายแนนที่อยูเหนือชั้นทรายหลวม

กําลังรับแรงแบกทานประลัยคํานวณไดดังนี้

qu = qu(t ) = γ1D f Nq(1) + 1 γ1BNγ (1) สําหรับฐานรากแถบ


2

qu = qu (t ) = γ1D f Nq(1) + 0.3γ1Nγ (1) สําหรับฐานรากสี่เหลี่ยมจัตุรัส

⎡ ⎛ ⎞ ⎤
qu = qu(t ) = γ1D f Nq(1) + ⎢1− 0.4 ⎜⎜ B ⎟⎟⎥⎥ γ1BNγ (1) สําหรับฐานรากสี่เหลี่ยมผืนผา
1 ⎢
2⎢ L
⎝ ⎠⎥
⎣ ⎦

เมื่อ γ1 คือหนวยน้ําหนักของดินชั้นบน Nq(1) และ Nγ(1) คือตัวแปรกําลังรับแรงแบกทานของดินชั้นบน


2.8 กําลังรับแรงแบกทานประลัยของดินหลายชั้น

2.8.1 ฐานรากบนชั้นทรายแนนที่อยูเหนือชั้นทรายหลวม
เมื่อ ชั้นทรายชั้นบนมีความหนาไมมากนัก (H < B) การวิบัติอาจเปนแบบการทะลุ (Punching) ใน
ชั้นทรายชั้นบน และเกิดการวิบัติแบบ General shear ในชั้นทรายชั้นลางที่ออนกวา ดังแสดงในรูปทาง
ซายมือ
2.8 กําลังรับแรงแบกทานประลัยของดินหลายชั้น

2.8.1 ฐานรากบนชั้นทรายแนนที่อยูเหนือชั้นทรายหลวม
กําลังรับแรงแบกทานประลัยคํานวณไดดังนี้

2D f ⎞⎟ tanφ ′
2 ⎜⎜
qu = qu(b) + γ1H 1+ ⎟ Ks 1 −γ H ≤ q
⎜H ⎟ ⎟ B 1 u(t ) สําหรับฐานรากแถบ

⎝ ⎠


2D f ⎞⎟ ⎛⎜ Ks tanφ ′ ⎞⎟
2 ⎜⎜
qu = qu(b) + 2γ1H 1+ ⎟⎜ 1 ⎟ λ′ − γ H ≤ q สํ า หรั บ ฐานรากสี่ เ หลี่ ย มจั ตุ รั ส
H ⎟⎟ ⎜ B ⎟ s 1


u(t )
และวงกลม
⎝ ⎠⎝ ⎠

⎛ ⎞⎛

B ⎞ 2D f Ks tanφ1′ ⎞⎟
qu = qu(b) + 1+ γ1H 1+ 2 ⎜⎜ ⎟⎜
λ − γ H ≤ qu(t ) สําหรับฐานรากสี่เหลี่ยมผืนผา
B ⎟⎟ s′ 1
⎜ ⎟ ⎟⎜


L ⎟

H ⎜

⎟⎜
⎟⎝
⎝ ⎠ ⎠

เมื่อ Ks คือสัมประสิทธิ์การเฉือนทะลุ (Punching shear coefficient) λ′s คือตัวแปรรูปราง


และ qu(b) คือกําลังรับแรงแบกทานของดินชั้นลาง
2.8 กําลังรับแรงแบกทานประลัยของดินหลายชั้น

2.8.1 ฐานรากบนชั้นทรายแนนที่อยูเหนือชั้นทรายหลวม
40

φ' = 50 o
35

30 ตัวแปรรูปรางสามารถแทนดวย 1.0
Punching shear coefficient, Ks

25
สัมประสิทธิ์การเฉือนทะลุเปนฟงกชันของ γ1, γ2,
45 o Nγ(1) และ Nγ(2) ดังแสดงในรูป
20

15
42 o
เมื่อ γ2 คือหนวยน้ําหนักของดินชั้นลาง
40 o

10 37 o
และ Nγ(2) คือตัวแปรกําลังรับแรงแบกทานของดิน
35 o
30 o
ชั้นลาง
5
20 o

0
0 0.2 0.4 0.6 0.8 1

[γ2 Nγ(2) ] / [γ1 Nγ(1) ]

⎛ ⎞ ⎛
ความสัมพันธระหวาง Ks กับ ⎜ γ 2 Nγ (2) ⎟ / ⎜ γ1Nγ (1) ⎞⎟ (Das, 2004)
⎝ ⎠ ⎝ ⎠
2.8 กําลังรับแรงแบกทานประลัยของดินหลายชั้น

2.8.1 ฐานรากบนชั้นทรายแนนที่อยูเหนือชั้นทรายหลวม
กําลังรับแรงแบกทานของดินชั้นลาง (qu(b)) หาไดจาก

qu(b) = γ1( D f + H ) Nq(2) + 1 γ 2 BNγ (2) สําหรับฐานรากแถบ


2

qu (b) = γ1( D f + H ) Nq(2) + 0.3γ 2 BNγ (2)


สํ า หรั บ ฐานรากสี่เ หลี่ ย มจั ตุ รั ส
และวงกลม
⎡ ⎛ ⎞ ⎤
qu(b) = γ1(D f + H ) Nq(2) + ⎢1− 0.4 ⎜⎜ B ⎟⎟⎥⎥ γ 2 BNγ (2) สําหรับฐานรากสี่เหลี่ยมผืนผา
1 ⎢
2⎢ L
⎝ ⎠⎥
⎣ ⎦
2.8 กําลังรับแรงแบกทานประลัยของดินหลายชั้น

2.8.2 ฐานรากบนชั้นทรายที่อยูเหนือชั้นดินเหนียวออน
เมื่อ ชั้นทรายมีความหนาไมมากนัก แนวการวิบัติอาจขยายไปถึงชั้นดินเหนียวออนได ดังแสดงในรูป
ทางซายมือ
2.8 กําลังรับแรงแบกทานประลัยของดินหลายชั้น

2.8.2 ฐานรากบนชั้นทรายที่อยูเหนือชั้นดินเหนียวออน
จากการศึกษาของ Meyerhof and Hensen (1978) สําหรับชั้นทรายที่มีความหนานอยกวาความ
กวางของฐานราก กําลังรับแรงแบกทานประลัยสามารถคํานวณไดดังนี้

D f ⎞⎟ tanφ ′
2 ⎜⎜
qu = Su Nc + γ H 1+ 2 ⎟ Ks +γ Df สําหรับฐานรากแถบ
H ⎟⎟


B
⎝ ⎠

⎞ ⎛
2 D
Ks tanφ ′ + γ D f สําหรับฐานรากสี่เหลี่ยมผืนผา
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
B B
qu = 1+ 0.2 Su Nc + 1+ γ H 1+
⎜ ⎟ ⎜ ⎟ 2 ⎜⎜
f ⎟⎟


L ⎟

L ⎜

H ⎟⎟




B
⎝ ⎠

เมื่อ φ′ คือ มุมเสียดทานภายในของทราย γ คือ หนวยน้ําหนักของทราย


และ Ks คือสัมประสิทธิ์การเฉือนทะลุ
2.8 กําลังรับแรงแบกทานประลัยของดินหลายชั้น

2.8.2 ฐานรากบนชั้นทรายที่อยูเหนือชั้นดินเหนียวออน
40

(Su Nc)/(0.5γBNγ) =
30 (5.14S u )/(0.5γBNγ) = 1

20
Ks

0.4

10
0.2

0
20 30 40 50

φ' (Degrees)

การเปลี่ยนแปลงของ Ks กับ φ′ (Meyerhof and Hensen, 1978)


2.8 กําลังรับแรงแบกทานประลัยของดินหลายชั้น

2.8.2 ฐานรากบนชั้นทรายที่อยูเหนือชั้นดินเหนียวออน
เมื่อ ชั้นทรายมีความหนามาก (มากกวาความกวางของฐานราก) แนวการวิบัติจะเกิดเพียงแคในชั้น
ทราย ดังแสดงในรูปดานขวามือ
2.8 กําลังรับแรงแบกทานประลัยของดินหลายชั้น

2.8.2 ฐานรากบนชั้นทรายที่อยูเหนือชั้นดินเหนียวออน
สําหรับกรณีที่ชั้นทรายมีความหนามากกวาความกวางของฐานราก และการวิบัติเกิดในชั้นทราย
กําลังรับแรงแบกทานคํานวณไดดังนี้
qu = γ D f Nq + 1 γ BNγ สําหรับฐานรากแถบ
2

⎛ ⎞
1 B
qu = γ D f Nq + ⎜1− 0.4 ⎟⎟γ BNγ

2⎝ L⎠ สําหรับฐานรากสี่เหลี่ยมผืนผา
2.8 กําลังรับแรงแบกทานประลัยของดินหลายชั้น

2.8.3 ฐานรากบนชั้นดินเหนียวสองชั้น
พิจารณารูปดานซายมือ สําหรับฐานรากบนชั้นดินที่มีกําลังตานทานแรงเฉือนชั้นบนสูงกวาชั้นลาง
(Su1/Su2 > 1.0) และ H/B มีคานอย จนเกิดการวิบัติดวยแรงเฉือนในดินเหนียวทั้งสองชั้น

B
Qu

1 1
Stronger Stronger
1= 0 Df 1=0
clay clay
Su1 Su1
Thinner
top layer H

H
Thicker
top layer
Weaker clay Weaker clay
2
2
2=0
2=0
Su2
Su2
2.8 กําลังรับแรงแบกทานประลัยของดินหลายชั้น

2.8.3 ฐานรากบนชั้นดินเหนียวสองชั้น
สมการคํานวณกําลังรับแรงแบกทานประลัยในกรณี สําหรับฐานรากบนชั้นดินที่มีกําลังตานทานแรง
เฉือนชั้นบนสูงกวาชั้นลาง (Su1/Su2 > 1.0) และ H/B มีคานอย

⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ 2c H ⎞ ⎛ ⎞
B B B
qu = 1+ 0.2 ⎟ Su 2 Nc + ⎜1+ ⎟ ⎜ ⎟ + γ 1D f ≤ ⎜1+ 0.2 ⎟ Su1Nc + γ1D f
⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ a ⎟ ⎜ ⎟


L⎠ ⎝
L ⎠ ⎜⎝ B ⎟⎠ ⎝
L⎠

เมื่อ ca คือหนวยแรงยึดเกาะ (Adhesion) ระหวางดินชั้นบนและชั้นลาง


2.8 กําลังรับแรงแบกทานประลัยของดินหลายชั้น

2.8.3 ฐานรากบนชั้นดินเหนียวสองชั้น

ความสัมพันธระหวาง ca/Su1 และ Su1/Su2 (Das, 2004)


2.8 กําลังรับแรงแบกทานประลัยของดินหลายชั้น

2.8.3 ฐานรากบนชั้นดินเหนียวสองชั้น
พิจารณารูปดานขวามือ กรณีที่ดินเหนียวชั้นบนมีคากําลังตานทานแรงเฉือนนอยกวาดินเหนียวชั้นลาง
(Su1/Su2 < 1) และ H/B มีคามากจนเกิดแนววิบัติดวยแรงเฉือนในชั้นบนเทานั้น

B
Qu

1 1
Stronger Stronger
1= 0 Df 1=0
clay clay
Su1 Su1
Thinner
top layer H

H
Thicker
top layer
Weaker clay Weaker clay
2
2
2=0
2=0
Su2
Su2
2.8 กําลังรับแรงแบกทานประลัยของดินหลายชั้น

2.8.3 ฐานรากบนชั้นดินเหนียวสองชั้น
สมการคํานวณกําลังรับแรงแบกทานประลัยในกรณี สําหรับฐานรากบนชั้นดินที่มีกําลังตานทานแรง
เฉือนนอยกวาดินเหนียวชั้นลาง (Su1/Su2 < 1) และ H/B มีคามาก

2
⎛ ⎞
qu = qt + ⎛⎜ qb − q 1− H
⎞⎜
t ⎟⎠ ⎜
⎟ ≥ qt
⎝ B⎝

⎛ ⎞
เมื่อ qt = 5.14 ⎜⎜1+ 0.2 B ⎟⎟ Su1 + γ1D f

L⎠
⎛ ⎞
qb = 5.14 ⎜⎜1+ 0.2 B ⎟⎟ Su 2 + γ 2 D f

L⎠
2.9 อัตราสวนปลอดภัย (Factor of Safety)

การหากําลังรับแรงแบกทานยอมใหสําหรับฐานรากรับน้ําหนักตรงศูนย (eb = el = 0) สามารถคํานวณ


ไดสามวิธี ไดแก
1) กําลังรับแบกแบกทานยอมใหทั้งหมด (Gross allowable bearing capacity)
2) กําลังรับแรงแบกทานยอมใหสุทธิ (Net allowable bearing capacity)
3) กําลังรับแบกทานยอมใหโดยใชพารามิเตอรกําลังยอมให
2.9 อัตราสวนปลอดภัย (Factor of Safety)
กําลังรับแบกแบกทานยอมใหทั้งหมด (Gross allowable bearing capacity)

qall = qu
FS


⎢W ⎛ ⎞
+WF +WS ⎤⎥
D+ L
qall = qu ≥
⎜ ⎟
⎢ ⎜⎜ ⎟⎟ ⎥
⎢ ⎝ ⎠

FS ⎢

A ⎥

⎢⎣ ⎥⎦

A คือ พื้นที่หนาตัดของฐานราก
2.9 อัตราสวนปลอดภัย (Factor of Safety)
กําลังรับแรงแบกทานยอมใหสุทธิ (Net allowable bearing capacity) คือ น้ําหนักบรรทุกประลัย
ตอ 1 หนวยพื้นที่ของฐานราก โดยไมคํานึงถึงหนวยน้ําหนักในแนวดิง่ ที่ระดับฐานรากซึ่งเทากับ q = γDf
กําลังรับแรงแบกทานประลัยสุทธิ
qu(net ) = qu − q

กําลังรับแรงแบกทานยอมใหสุทธิ
qu(net ) q − q
qall (net ) = = u
FS FS
WS +WF
สมมติวา หนวยน้ําหนักของดินและฐานรากมีคาใกลเคียงกันหรือเทากัน q = γ D f ≈
A

qu(net ) ⎡⎢W(D+ L) ⎤⎥
qall (net ) = ≥⎢ ⎥
FS ⎢ A ⎥
⎢⎣ ⎥⎦
2.9 อัตราสวนปลอดภัย (Factor of Safety)
กําลังรับแบกทานยอมใหโดยใชพารามิเตอรกําลังยอมให วิธีการนี้กระทําโดยคํานวณคาหนวยแรง
เหนี่ยวนํายอมให (cd) และมุมเสียดทานภายในยอมให (φd) และนําคาเหลานี้มาแทนคาในสมการกําลังรับ
แรงแบกทาน
คาหนวยแรงเหนี่ยวนํายอมให และมุมเสียดทานภายในยอมใหคาํ นวณไดดังนี้

cd = c
FS

φd = tan −1( tanφ )


FS
2.9 อัตราสวนปลอดภัย (Factor of Safety)
ดิ น เป น วั ส ดุ มี ค า โมดู ลั ส ต่ํ า ซึ่ ง สามารถรั บ น้ํ า หนั ก ประลั ย ได ก็ ต อ เมื่ อ เกิ ด การทรุ ด ตั ว อย า งมาก
(ประมาณ 10 – 20 เทาของความกวางฐานราก) ดังนั้น เพื่อปองกันการทรุดตัวที่อาจเกิดอยางมากเนื่องจาก
น้ําหนักบรรทุก

สํ า หรั บ การคํ า นวณ กํ า ลั ง รั บ แรงแบกทานยอมให ทั้ ง หมดและกํ า ลั ง รั บ แรงแบกทานยอมให สุ ท ธิ


อัตราสวนปลอดภัยควรมีคาประมาณ 3 - 4

สําหรับการคํานวณ กําลังรับแรงแบกทานยอมใหโดยใชพารามิเตอรกําลังยอมให อัตราสวนปลอดภัย


ควรมีคาประมาณ 2 - 3
2.9 อัตราสวนปลอดภัย (Factor of Safety)
อัตราสวนปลอดภัยที่เสนอโดย U.S. Army (1992)
ลักษณะของโครงสราง อัตราสวนปลอดภัย
กําแพงกันดิน 3.0
งานดินขุด 3.0
งานสะพาน 4.0
ถนนทางหลวง 3.5
อาคารไซโล 2.5
โกดัง คลังสินคา 2.5
อาคารสํานักงาน 3.0
อาคารสารธารณะ 3.5
งานฐานรากตื้น 3.0
งานฐานรากแพ 3.0
งานฐานรากลึกที่มีผลทดสอบน้ําหนักบรรทุกเสาเข็ม 2.0
งานฐานรากลึกที่มีผลทดสอบการสะทอนของคลื่น 2.5
งานฐานรากลึกที่มีผลทดสอบน้ําหนักบรรทุกโดยวิธีพลศาสตร 3.0
2.9 อัตราสวนปลอดภัย (Factor of Safety)
สําหรับฐานรากรับแรงเยื้องศูนย (eb ≠ 0 หรือ/และ el ≠ 0) อัตราสวนปลอดภัยจะคํานวณแตกตาง
จากกรณีฐานรากรับน้ําหนักตรงศูนย

อัตราสวนปลอดภัยตองคํานวณจากอัตราสวนของน้ําหนักบรรทุกประลัยตอน้ําหนักบรรทุกจริง (P)
ดังนี้

FS = Qu
P
2.9 อัตราสวนปลอดภัย (Factor of Safety)
ปจจัยที่สําคัญอีกตัวที่ตองคํานึงในการออกแบบคือการทรุดตัวของฐานราก ผูออกแบบตองนําคาการ
ทรุดตัวยอมให (δa) มาเปรียบเทียบกับการทรุดตัวทั้งหมดที่ไดอาจเกิดขึ้นเนื่องจากน้ําหนักบรรทุกคงที่และ
น้ําหนักบรรทุกจรบนโครงสราง (δ )
โดยที่ δ ≤ δa เสมอ เพื่อปองกันการทรุดตัวที่แตกตางกัน (Differential settlement) ของฐาน
รากแตละฐาน
การทรุดตัวที่ยอมให (Cudoto, 2001)
ลักษณะของโครงสราง การทรุดตัวที่ยอมให
(นิ้ว) (มิลลิเมตร)

อาคารสํานักงาน 0.5 - 2.0 (1.0 เปนคาที่นิยมใช) 12 - 50 (25 เปนคาที่นิยมใช)


อาคารโรงงานขนาดใหญ 1.0 - 3.0 25 - 75
สะพาน 2.0 50
2.9 อัตราสวนปลอดภัย (Factor of Safety)
Coduto (2001) ไดสรุปปจจัยหลักที่กอใหเกิดการทรุดตัวที่แตกตางกันของฐานราก
1) ความแปรปรวนของชั้นดิน ฐานรากอาคารบางฐานอาจตั้งอยูบนชั้นดินเดิมที่แข็ง บาง
ฐานอาจตั้งบนชั้นดินถมที่หลวมและไมไดรับการบดอัดที่เหมาะสม อาคารนี้อาจเกิดการ
ทรุดตัวที่แตกตางกันอยางมากเนื่องจากพฤติกรรมการอัดตัวที่แตกตางกันของดิน
2) ความแปรปรวนของน้ําหนักบรรทุกจากโครงสราง ฐานรากที่มีขนาดแตกตางกันมักถูก
ออกแบบใหรับน้ําหนักบรรทุกที่แตกตางกัน
3) การออกแบบโดยควบคุมเพียงแตกําลังรับแรงแบกทาน การออกแบบฐานรากบางครั้ง
อาจมีการควบคุมเพียงแตกําลังรับแรงแบกทาน โดยปราศจากการพิจารณาการทรุดตัว
4) การกอสรางที่ไมเหมาะสม ขนาดของฐานรากที่กอสรางจริงอาจมีความแตกตางจากขนาด
ฐานรากที่ออกแบบ จึงกอใหเกิดการทรุดตัวที่แตกตางกัน
2.9 อัตราสวนปลอดภัย (Factor of Safety)

Bjerrum (1963) ไดเปรียบเทียบการทรุดตัวทั้งหมดและการทรุดตัวที่แตกตางกันของฐานรากแผบน


ชั้นดินเหนียวและชั้นทราย รูปทั้งสองนี้สามารถชวยในการประมาณการทรุดตัวที่แตกตางกัน เมื่อทราบคา
การทรุดตัวทั้งหมด (Total settlement) จากการคํานวณ

โดยที่ คาการทรุดตัวที่แตกตางกันตองมีคาไมเกินกวาคายอมให

คาการทรุดตัวที่แตกตางกันยอมให (Skempton and MacDonald, 1956)


ลักษณะของอาคาร คาการทรุดตัวแตกตางกันยอมให
(หนวยตามความยาว)
งานสถาปตยกรรม เชน ผนัง L/300
โครงสรางหลัก เชน คาน เสา L/150
2.9 อัตราสวนปลอดภัย (Factor of Safety)

การทรุดตัวทั้งหมดและการทรุดตัวที่แตกตางกันของฐานรากบนดินเหนียว (Bjerrum, 1963)


2.9 อัตราสวนปลอดภัย (Factor of Safety)
(in.)
0 1 2 3 4
100 4

80
3

60

2 (in.)

40

20 1

0 0
0 20 40 60 80 100 120

Maximum settlement, (mm)

การทรุดตัวทั้งหมดและการทรุดตัวที่แตกตางกันของฐานรากบนทราย (Bjerrum, 1963)


2.9 อัตราสวนปลอดภัย (Factor of Safety)
สุขสันติ์และคณะ (2546ข) ไดสรุปวาอาคารที่เกิดความเสียหายเนื่องจากการทรุดตัวที่แตกตางกันของ
ฐานรากจะมีลักษณะความเสียหายของผนัง พื้น และคาน ดังนี้

ลักษณะการแตกราวของผนังที่เกิดจากการทรุดตัวทีแ่ ตกตางกันของฐานราก
(สุขสันติ์และคณะ 2546)
2.9 อัตราสวนปลอดภัย (Factor of Safety)

ลักษณะการแตกราวของพื้นตามแนวคานที่เกิดจากการทรุดตัวทีแ่ ตกตางกันของฐานราก
(สุขสันติ์และคณะ 2546)
2.9 อัตราสวนปลอดภัย (Factor of Safety)

รอยแตกราวระหวางจุดตอคาน-เสาที่เกิดจากการทรุดตัวทีแ่ ตกตางกันของฐานราก
(สุขสันติ์และคณะ 2546)
2.10 การประมาณกําลังรับแรงแบกทานจาก
สมการเชิงประสบการณ (Empirical Equations)
2.10.1 การประมาณกําลังรับแรงแบกทานจากผลทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน
ก) วิธีของ Meyerhof (1956) สามารถประมาณคากําลังรับแรงแบกทานยอมใหสุทธิสําหรับชั้น
ทรายที่ทําใหเกิดการทรุดตัวของฐานรากไมเกิน 2.5 เซนติเมตร ตามสมการดังนี้

qa(net ) =11.98N ′ สําหรับ B ≤1.22 เมตร


2
qa(net ) = 7.99 N ′ 3.28B +1
⎡ ⎤
⎢ ⎥ สําหรับ B >1.22 เมตร


3.28B ⎥

qa(net ) คือ กําลังรับแรงแบกยอมใหสุทธิที่ทําใหเกิดการทรุดตัวไมเกิน 2.5 ซม. (กิโลปาสคาล)

N′ คือ ตัวเลขทะลุทะลวงมาตรฐานปรับแก
B คือ ความกวางหรือเสนผานศูนยกลางของฐานราก (เมตร)
2.10 การประมาณกําลังรับแรงแบกทานจาก
สมการเชิงประสบการณ (Empirical Equations)
ข) วิธีของ Peck et al. (1974) สามารถหากําลังรับแรงแบกทานยอมให โดยที่คา qall(25mm)
ก็คือคากําลังรับแรงแบกทานยอมใหที่เกิดการทรุดตัวเทากับ 25 มิลลิเมตร (ฟงกชั่นของคา N* และขนาด
ของฐานราก)

ความสัมพันธของคา qall(25mm) กับตัวเลขการทะลุทะลวงมาตรฐาน (N*) และอัตราสวน Df / B


2.10 การประมาณกําลังรับแรงแบกทานจาก
สมการเชิงประสบการณ (Empirical Equations)
คา N* ประมาณไดจากสมการดังตอไปนี้

N * = CN Cw N60

CN คือ ตัวคูณปรับแกตัวเลขทะลุทะลวงมาตรฐานเนื่องจากความเคนประสิทธิผลในแนวดิง่
มีคา เทากับ 100
σ v′ เมื่อ σ v′ มีหนวยเปนกิโลปาสคาล
Cw คือ ตัวคูณปรับแกระดับน้าํ ใตดนิ มีคา เทากับ 0.5 + 0.5 Dw
Df + B
Dw คือ ระดับน้ําใตดนิ วัดจากทองฐานราก
Df คือ ระดับทองฐานรากวัดจากผิวดิน
B คือ ความกวางฐานราก
2.10 การประมาณกําลังรับแรงแบกทานจาก
สมการเชิงประสบการณ (Empirical Equations)
2.10.2 การประมาณกําลังรับแรงแบกทานจากผลทดสอบทะลุทะลวงดวยกรวย
วิธีของ Schmertmann (1978) สามารถประมาณคากําลังรับแรงแบกทานประลัยสําหรับฐาน
รากตื้นที่มีอัตราสวน D f / B ≤1.5 ไดดังสมการตอไปนี้
สําหรับดินทราย 1.5
qu = 28 − 0.0052 300 − q



c ⎟⎠ สําหรับฐานรากแถบ

1.5
qu = 48 − 0.0090 300 − q



c ⎟⎠
สําหรับฐานรากสี่เหลี่ยม

สําหรับดินเหนียว
qu = 2 + 0.28qc สําหรับฐานรากแถบ
qu = 5 + 0.34qc สําหรับฐานรากสี่เหลี่ยม
2.10 การประมาณกําลังรับแรงแบกทานจาก
สมการเชิงประสบการณ (Empirical Equations)
2.10.3 การประมาณกําลังรับแรงแบกทานจากผลทดสอบกําลังตานทานแรงเฉือนดวยใบพัด
Canadian Geotechnical Society (1985) ไดเสนอสมการประมาณกําลังรับแรงแบกทาน
ประลัยไวดังนี้

⎢ D f ⎤⎥ ⎡ B ⎤
qu = 5μ S ⎢1+ 0.2 ⎥ ⎢1+ 0.2 ⎥⎥ +σ v0

u (vane) ⎢ B ⎥⎣ L⎦
⎢⎣ ⎥⎦

μ คือ ตัวคูณปรับแกผลทดสอบกําลังตานทานแรงเฉือนดวยใบพัด มีคา เทากับ 1.7 − 0.54log(PI )


Su(vane) คือ กําลังตานทานแรงเฉือนของดินตามแนวใบพัด
Df คือ ระดับทองฐานรากวัดจากผิวดิน
B คือ ความกวางฐานราก
L คือ ความยาวของฐานราก
σ v0 คือ ความเคนกดทับรวมที่ระดับฐานราก
2.11 การประมาณการทรุดตัวของฐานรากบนชัน
้ ดินทราย
จากสมการเชิงประสบการณ

การทรุดตัวในทรายปกติมักมีคานอยและเกิดอยางรวดเร็วเมื่อเพิ่มน้ําหนักเพียงเล็กนอย วิธีการ
คํานวณตองอาศัยขอมูลจากการทดสอบในสนาม ไดแก การทะลุทะลวงมาตรฐาน (SPT) และการทะลุ
ทะลวงดวยกรวย (CPT) สาเหตุที่การคํานวณคาการทรุดตัวจากการทดสอบในสนามไดรับความนิยมนั้นก็
เพราะการเก็บตัวอยางคงสภาพของทรายมาทดสอบในหองปฏิบัติการมีความยุงยากมาก

วิธีการคํานวณการทรุดตัวในทรายมีทั้งจากสมการประสบการณ (Empirical) และจากสมการกึ่ง


ประสบการณ (Semi-empirical) U.S. Army Corps of Engineers (1992) แนะนําวาควรคํานวณ
เปรียบเทียบกันอยางนอย 3 วิธี จากวิธีตางๆ
2.11 การประมาณการทรุดตัวของฐานรากบนชัน
้ ดินทราย
จากสมการเชิงประสบการณ
2.11.1 วิธีของ Alpan (1964)
วิธีนี้อาศัยผลทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐานและขอมูลการทรุดตัวที่ไดจากการทดสอบการรับน้ําหนักของ
แผนเหล็ก (Plate load test) การทรุดตัวของฐานรากที่มีความกวาง B คํานวณไดดังนี้
2
⎡ ⎤
Si = 2.433m′ 6.562B α0qnet
⎢ ⎥
1+ 3.281B




(เมตร)

m′ คือ ตัวคูณปรับแกรูปรางมีคา เทากับ (L / B)0.39


L คือ ความยาวของฐานราก (เมตร)
B คือ ความกวางของฐานราก (เมตร)
α0 คือ คาคงที่ซึ่งสัมพันธกับคา N ′
qnet คือ ความเคนสุทธิที่ระดับทองฐานราก (กิโลปาสคาล)
2.11 การประมาณการทรุดตัวของฐานรากบนชัน
้ ดินทราย
จากสมการเชิงประสบการณ

ตัวแปร α0 สําหรับวิธี Alpan (1964)


2.11 การประมาณการทรุดตัวของฐานรากบนชัน
้ ดินทราย
จากสมการเชิงประสบการณ
2.11.2 วิธีของ Schultze and Sherif (1973)
วิธีนี้ใชประมาณคาการทรุดตัวจากผลทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน คาการทรุดตัวสามารถประมาณได
ตามสมการดังนี้
fqnet B
Si = ⎛ ⎞
0.87 ⎜1+ 0.4 D ⎟
(ฟุต)
N(′ave)⎜

B ⎟⎠

f คือ ตัวคูณตามทฤษฎียืดหยุน
H คือ ความลึกจากระดับทองฐานรากลงไปถึงระดับดินแข็งดานลาง (ฟุต)
D f คือ ระดับทองฐานรากวัดจากผิวดิน (ฟุต)
N(′ave) คือ ตัวเลขทะลุทะลวงมาตรฐานปรับแกเฉลี่ยในชวงความหนา H (ความหนาของชั้นดินอัดตัวได)
แตมคี า เกินกวาสองเทาของความกวางฐานราก
qnet คือ ความเคนสุทธิที่ระดับทองฐานราก (ตันตอฟุต)
2.11 การประมาณการทรุดตัวของฐานรากบนชัน
้ ดินทราย
จากสมการเชิงประสบการณ

Df
H

ตัวคูณตามทฤษฎียืดหยุน (Schultze and Sherif, 1973)


2.11 การประมาณการทรุดตัวของฐานรากบนชัน
้ ดินทราย
จากสมการเชิงประสบการณ
2.11.3 วิธี Modified Terzaghi and Peck
การทรุดตัวสามารถประมาณไดโดยอาศัยสมการดังตอไปนี้

qnet
Si = (ฟุต)
18qall (25mm)

qnet คือ ความเคนสุทธิที่ระดับทองฐานราก


2.11 การประมาณการทรุดตัวของฐานรากบนชัน
้ ดินทราย
จากสมการเชิงประสบการณ
2.11.4 วิธีของ Schmertmann and Hartman (1978)

วิธีนี้เปนวิธีกึ่งประสบการณ (Semi empirical) ซึ่งประมาณสัมประสิทธิ์ความเครียดจากผลทดสอบ


ในสนาม สมมติฐานในการวิเคราะหคือน้ําหนักที่กระทําเปนแบบสม่ําเสมอ (Uniform load) ทําใหเกิดการ
กระจายความเครี ย ดในแนวดิ่ ง เป น ไปตามทฤษฎี ยื ด หยุ น การคํ า นวณทํ า ได โ ดยการประมาณการ
เปลี่ยนแปลงคาโมดูลัสยืดหยุนตามความลึก ซึ่งไดจากผลทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐานหรือทะลุทะลวงดวย
กรวย
2.11 การประมาณการทรุดตัวของฐานรากบนชัน
้ ดินทราย
จากสมการเชิงประสบการณ
การทรุดตัวทั้งหมดคํานวณไดจากผลรวมของการทรุดตัวแบบยืดหยุนของแตละชั้นดินยอยๆ ดังนี้
z2
Si = C1C2 ⎛⎜ qnet ⎞⎟ ∑ I z Δz
0 Es
⎝ ⎠

Iz คือ สัมประสิทธิ์ความเครียด ซึ่งขึ้นอยูกับความลึกของฐานราก


⎡ ⎤
C1 คือ ตัวคูณปรับแกสําหรับความลึกของฐานราก ซึ่งมีคาเทากับ 1− 0.5⎢⎢q / ⎛⎜⎝ qnet ⎞⎟⎠⎥⎥
⎣ ⎦
C2 คือ ตัวคูณปรับแกสําหรับความลา (Creep) ของดิน ซึ่งมีคา เทากับ 1+ 0.2log(t /0.1)
t คือ ระยะเวลา (ป)
Es คือ โมดูลัสยืดหยุนของดินในแตละชวงความลึก ซึ่งมีคา เทากับ 2.5qc และ 3.5qc
สําหรับฐานรากสี่เหลี่ยมจัตุรัสและฐานรากแถบ ตามลําดับ
Δz คือ ความหนาของชั้นดินแตละชั้น
qnet คือ ความเคนสุทธิที่ระดับทองฐานราก
2.11 การประมาณการทรุดตัวของฐานรากบนชัน
้ ดินทราย
จากสมการเชิงประสบการณ

สําหรับฐานรากสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือฐาน
รากวงกลม (L/B=1)

I z = 0.1 ที่ความลึก z =0

qnet z = z1 = 0.5B
I z = 0.5 + 0.1 ที่ความลึก
σ vp

Iz = 0 ที่ความลึก z = z2 = 2 B

การคํานวณการทรุดตัวแบบยืดหยุนในดินทรายโดยใชสัมประสิทธิ์ความเครียด
2.11 การประมาณการทรุดตัวของฐานรากบนชัน
้ ดินทราย
จากสมการเชิงประสบการณ

สําหรับฐานรากแถบที่มีคา (L/B>10)

I z = 0.2 ที่ความลึก z =0

qnet z = z1 = B
I z = 0.5 + 0.1 ที่ความลึก
σ vp

Iz = 0 ที่ความลึก z = z2 = 4 B

การคํานวณการทรุดตัวแบบยืดหยุนในดินทรายโดยใชสัมประสิทธิ์ความเครียด
2.11 การประมาณการทรุดตัวของฐานรากบนชัน
้ ดินทราย
จากสมการเชิงประสบการณ
2.11.5 การประมาณการทรุดตัวจากผลทดสอบแผนเหล็ก (Plate Bearing Test)

การติดตั้งอุปกรณทดสอบแผนเหล็ก
2.11 การประมาณการทรุดตัวของฐานรากบนชัน
้ ดินทราย
จากสมการเชิงประสบการณ

การตอกหยั่งเพื่อตรวจสอบความแข็งแรงของดินฐานราก
2.11 การประมาณการทรุดตัวของฐานรากบนชัน
้ ดินทราย
จากสมการเชิงประสบการณ
2
Soil pressure (ton/m )

00 10 20 30 40 50 60 70 80
2
qu(net) = 51 ton/m

10
Settlement (mm)

15

20

25

30

ผลทดสอบกําลังรับน้ําหนักบรรทุกของดินโดยวิธี Plate bearing ที่ระดับความลึก 4 เมตร


โครงการกอสรางอาคารเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชินี โรงพยาบาลคายสุรนารี
2.11 การประมาณการทรุดตัวของฐานรากบนชัน
้ ดินทราย
จากสมการเชิงประสบการณ
Terzaghi and Peck (1948) เสนอความสัมพันธระหวางการทรุดตัวของฐานรากที่มีความกวาง B (เมตร)
และการทรุดตัวของแผนเหล็กทดสอบสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 0.3 เมตร ที่ความเคนกดทับเทากัน ดังนี้

δ footing ⎛ 2B ⎞2
= ⎜⎜ ⎟
δ plate ⎜⎝ B + 0.3 ⎟⎟⎠

จากสมการขางตนจะเห็นไดวา อัตราสวนระหวางการทรุดตัวของฐานรากและการทรุดตัวของแผนเหล็ก
ทดสอบมีคาไมเกิน 4.0
2.11 การประมาณการทรุดตัวของฐานรากบนชัน
้ ดินทราย
จากสมการเชิงประสบการณ

Bjrrum and Eggestad (1963) กลาววา


อัตราสวนดังกลาวอาจมีคามากกวา 4.0 โดยมี
คาแปรผันตามความหนาแนนและความคละ
ของดิน โดยที่ ดินเม็ดหยาบที่มีความคละดีจะ
มี ค าอั ต ราส ว นการทรุ ด ตั วต่ํ า ขณะที่ ดิ น เม็ ด
ละเอียดที่มีความคละสม่ําเสมอจะมีคาอัตราสวน
การทรุดตัวสูง

ความสัมพันธระหวางอัตราสวนการทรุดตัวและอัตราสวนขนาดฐานราก
ตัวอยางที่ 2.1
จงใชตัวแปรกําลังรับแรงแบกทานของ Terzaghi หากําลังรับแรงแบกทานยอมใหทั้งหมด (Gross
allowable load, qall) ของฐานรากแถบดังแสดงในรูป โดยใชอัตราสวนปลอดภัยเทากับ 4.0

วิธีทํา จากสมการกําลังรับแรงแรงแบกทานของ Terzaghi


qu = cNc + qNq + 1 γ BNγ
2

สําหรับ φ = 28o จะได Nc = 32 Nq =18 Nγ =16


⎛ ⎞ 50






1
qu = 15×32 + 19× 0.6×18 + ×19× 0.7×16 ⎟⎟
⎛ ⎞

⎜ Nc

⎝ ⎠ ⎝ 2 ⎠ ⎜


⎠ 40
Nq

In te rn a l friction a n g le , φ ( o )

qu = 791.6 กิโลปาสคาล 30

qall = 791.6 =197.9 กิโลปาสคาล 20


4 Nc
For φ = 0:
Nc = 5.7
Nq Nq = 1
10 Nγ = 0

0
1 5 10 50 100 500

Value of Nc , Nq , Nγ
ตัวอยางที่ 2.2
จงคํานวณหากําลังรับแรงแบกทานของฐานรากแถบดังรูป ในสภาวะทีร่ ับน้ําหนักบรรทุกทันที (Short term)
และในสภาวะที่เกิดการระบายออกของน้ําอยางสมบูรณ (Long term) โดยใชสมการของ Terzaghi เมื่อ
กําลังตานทานแรงเฉือนในสภาวะไมระบายน้ําที่ไดจากผลทดสอบแรงอัดแกนเดียวมีคา เทากับ 70 กิโล
ปาสคาล และพารามิเตอรกําลังตานทานแรงเฉือนที่ไดจากผลทดสอบแรงอัดสามแกนมีคา ดังนี้ c′ = 10 กิโล
ปาสคาล และ φ′ = 25°
ตัวอยางที่ 2.2

วิธีทํา ที่สภาวะการรับน้ําหนักบรรทุกทันที (Short term)


สําหรับ φ = 0o จะได Nc = 5.7 Nq =1.0 Nγ = 0.0
qu = cNc + q

qu = ⎛⎜ 70×5.7 ⎞⎟ + ⎛⎜ 20×1.0 ⎞⎟ = 419 กิโลปาสคาล


⎝ ⎠ ⎝ ⎠
ตัวอยางที่ 2.2
ที่สภาวะระบายน้ําเต็มที่ (Long term)
270−φ π tanφ 270°−25°π tan25°
Nq = e 180 = e 180° = 7.34 =12.67
2cos2 ⎛⎜ 45°+φ /2 ⎟ ⎞
2cos2 ⎛⎜ 45°+ 25° /2 ⎞⎟ 0.58
⎝ ⎠ ⎝ ⎠

Nc = ⎛⎜ Nq −1⎞⎟ cotφ = ⎛⎜12.67 −1⎞⎟ cot25°= 25.02


⎝ ⎠ ⎝ ⎠
⎛ ⎞ ⎛ ⎞



3tan 45°+
2⎜ φ + 33° ⎞
⎟ ⎟
⎟ 3tan 45°+ 25°+ 33°



2⎜

⎟ ⎟

⎜ ⎟
⎜ 2 ⎟
⎠ −1 = 1 tan25°

2 ⎟
Nγ = 1 tanφ
⎜ ⎟ ⎜ ⎜ ⎟ ⎟
⎜ ⎝ ⎟ ⎜ ⎝ ⎠−1 =10.12

2 ⎜
⎜ cos2φ ⎟

2 cos 25°


2 ⎟

⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎜⎜ ⎟⎟ ⎜ ⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠
⎡ ⎤
qu = ⎡⎢10× 25.02⎤⎥ + ⎢⎢⎛⎜10.2×1.0⎞⎟ ×12.67⎥⎥ + ⎢⎢ 1 ×10.2×1.5×10.12⎥⎥
⎡ ⎤

⎣ ⎦ ⎣⎝ ⎠ ⎦ ⎣⎢ 2 ⎦⎥

qu = 250.20 +129.23 + 77.42 = 456.85 กิโลปาสคาล


ตัวอยางที่ 2.3
จงหาน้าํ หนักบรรทุกปลอดภัยของฐานรากวงกลมดังแสดงในรูป โดยวิธีของ Vesic และใชอัตราสวน
ปลอดภัยเทากับ 3.0

วิธีทํา qu = c′λcsλcd Nc + q′λqsλqd Nq + 12 λγ sλγ dγ ′BNγ


ตัวอยางที่ 2.3
ตัวแปรกําลังรับแรงแบกทาน (Bearing capacity factor) มีคา ดังตอไปนี้
= eπ tanφ tan 2 ⎜ 45°+ φ ⎟
⎛ ⎞
= eπ tan32° tan2 ⎜ 45°+ 32° ⎟ = 23.18
⎛ ⎞
Nq ⎜


2 ⎟⎟⎠ ⎜


2 ⎟

Nc = ⎛⎜ Nq −1⎞⎟ cotφ = ⎛⎜ 23.18 −1⎞⎟ cot32°= 35.49


⎝ ⎠ ⎝ ⎠

Nγ = 2⎛⎜ Nq +1⎞⎟ tanφ = 2⎛⎜ 23.18 +1⎞⎟ tan32°= 30.22


⎝ ⎠ ⎝ ⎠
ตัวอยางที่ 2.3
ตัวคูณปรับแกรูปราง และตัวคูณปรับแกความลึก
Nq B
λcs =1+ =1+ 23.18 =1.65
Nc L 35.49

λqs =1+ B tanφ =1+ 0.62 =1.62


L

λγ s =1− 0.4 B = 0.6


L
⎛ ⎞
2⎜ D ⎟
λqd =1+ 2tanφ ⎛⎜1− sinφ ⎞⎟ ⎜ f ⎟ =1+ ⎛⎜ 2 ⎞⎛⎟⎜ 0.62 ⎞⎛⎟⎜ 0.22 ⎞⎛⎟⎜1⎞⎟ =1.273
⎝ ⎠ ⎜

B ⎟

⎝ ⎠⎝ ⎠⎝ ⎠⎝ ⎠
⎝ ⎠

λγ d =1
⎛ ⎞
λcd =1+ 0.4k =1+ 0.4×1.22
⎜ ⎟ =1.40

1.22 ⎟⎟⎠


ตัวอยางที่ 2.3
เนื่องจากระดับน้าํ ใตดินอยูเหนือระดับฐานราก ดังนั้น

q′ = 0.61⎛⎜18.08⎞⎟ + 0.61⎛⎜ 21.07 − 9.81⎞⎟ =11.029 + 6.869


⎝ ⎠ ⎝ ⎠

q′ =17.898 กิโลปาสคาล

กําลังรับแรงแบกทานประลัยเทากับ

qu = ⎛⎜17.898⎞⎛⎟⎜1.62 ⎞⎛⎟⎜1.273⎞⎛⎟⎜ 23.18⎞⎟ + 1 ⎛⎜ 0.6 ⎞⎛⎟⎜1⎞⎛⎟⎜ 21.07 − 9.81⎞⎛⎟⎜1.22 ⎞⎛⎟⎜ 30.22 ⎞⎟


⎝ ⎠⎝ ⎠⎝ ⎠⎝ ⎠ 2⎝ ⎠⎝ ⎠⎝ ⎠⎝ ⎠⎝ ⎠

qu = 980.12 กิโลปาสคาล
ตัวอยางที่ 2.3
กําลังรับแรงแบกทานยอมใหเทากับ

qall = qu = 980.12
3 3
qall = 326.71 กิโลปาสคาล

น้ําหนักบรรทุกยอมใหเทากับ
2
Qall = qall π B2 = 326.71⎜⎜ π ⎟⎟ ⎛⎜1.22 ⎞⎟
⎛ ⎞

4 ⎝ 4 ⎠⎝ ⎠

Qall = 381.9 กิโลนิวตัน


ตัวอยางที่ 2.4
ฐานรากสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 4.20 เมตร ตั้งอยูในชั้นทรายที่ระดับความลึก 2 เมตร จากผิวดิน คุณสมบัติของ
ทรายเปนดังนี้คือ C′ = 0,φ ′ = 32o และ γ sat = 20 กิโลนิวตันตอลูกบาศกเมตร จงคํานวณกําลังรับแรง
แบกทานประลัย โดยวิธีของ Vesic ในกรณีที่
ก) ระดับน้าํ ใตดินอยูที่ระดับทองฐานราก
ข) ระดับน้าํ ใตดินอยูที่ระดับผิวดิน
ค) ระดับน้าํ ใตดินอยูที่ผิวดินและเกิดการไหลขึ้น (Upward seepage) ดวยคาความลาด
เชิงชลศาสตร (Hydraulics gradient, i) เทากับ 0.4
ง) ระดับน้าํ ใตดินอยูลึกจากทองฐานรากเกินกวาความกวางของฐานราก
ตัวอยางที่ 2.4
วิธีทํา เนื่องจากฐานรากตัง้ อยูบนชั้นทราย เพราะฉะนั้นกําลังรับแรงแบกทานประลัยตองคํานวณในรูปของ
ความเคนประสิทธิผล ดังนั้น
qu = λqsλqd q′Nq + 1 λγ sλγ d γ ′BNγ
2

สําหรับ φ′ = 32o จะได Nc = 35.5 Nq = 23.2 Nγ = 30.2

ตัวคูณปรับแกรูปราง และตัวคูณปรับแกความลึก ดังนี้


λqs =1+ tan32°=1.625
λγ s = 0.6
2⎛
λqd =1+ 2tan32° 1− sin32°


⎞ ⎜
⎟ ⎜
2 ⎞⎟ =1.131
⎝ ⎠ ⎜

4.2 ⎟⎟⎠
λγ d =1
ตัวอยางที่ 2.4
วิธีทํา ก) ระดับน้ําใตดนิ อยูที่ระดับทองฐานราก
q′ = 20× 2 = 40 กิโลปาสคาล
⎛ ⎞

1
qu = 1.625×1.131× 40× 23.2 + × 0.6×1× (20 − 9.81)× 4.2× 30.2 ⎟⎟
⎛ ⎞



⎝ 2 ⎠ ⎜


qu =1705.5 + 387.7 = 2093.2 กิโลปาสคาล

ข) ระดับน้ําใตดนิ อยูที่ระดับผิวดิน
qu = λqsλqd (γ sat − γ w)D f Nq + 1 λγ sλγ d (γ sat − γ w)BNγ
2
⎛ ⎞
⎛ ⎞ ⎜1
qu = ⎜1.625×1.131× (20 − 9.81)× 2× 23.2⎟ + ⎜ × 0.6×1× (20 − 9.81)× 4.2× 30.2 ⎟⎟
⎝ ⎠ ⎜2 ⎟
⎝ ⎠

qu = 869.0 + 387.7 =1256.7 กิโลปาสคาล


ตัวอยางที่ 2.4
วิธีทํา ค) ระดับน้ําใตดนิ อยูที่ผิวดินและเกิดการไหลขึ้นดวยคาความลาดเชิงชลศาสตรเทากับ 0.4
qu = λqsλqd (γ sat − γ w − iγ w)D f Nq + 1 λγ sλγ d (γ sat − γ w − iγ w)BNγ
2
qu = ⎛⎜1.625×1.131× (20 − 9.81− 0.4× 9.81)× 2× 23.2 ⎞⎟
⎝ ⎠
⎛ ⎞
+ 1 × 0.6×1× (20 − 9.81− 0.4× 9.81)× 4.2× 30.2 ⎟⎟


2



qu = 534.3 + 238.4 = 772.7 กิโลปาสคาล


ง) ระดับน้าํ ใตดินอยูลึกจากทองฐานรากเกินกวาความกวางของฐานราก
qu = λqsλqd qNq + 1 λγ sλγ d γ BNγ
2
qu = ⎛⎜1.625×1.131× (20× 2)× 23.2⎞⎟ + 1 × 0.6×1× 20× 4.2× 30.2
⎝ ⎠ 2

qu =1705.5 + 761.0 = 2466.5 กิโลปาสคาล


ตัวอยางที่ 2.5
จงออกแบบความกวางของฐานรากแถบ (Strip footing) ซึ่งตัง้ อยูบนทรายมีคณ ุ สมบัตดิ งั นี้
C′ = 0,φ ′ = 38o และ γ sat = 20.4 กิโลนิวตันตอลูกบาศกเมตร ที่ความลึก 0.9 เมตรจากผิวดิน รับน้ําหนัก
บรรทุก 650 กิโลนิวตันตอเมตร โดยใชทฤษฏีของ Terzaghi กําหนดใหระดับน้าํ อยูที่ระดับผิวดินและ
อัตราสวนปลอดภัยเทากับ 3
วิธีทํา สําหรับ φ′ = 38o จะได Nq = 48.9 Nγ = 67.4
qu(net ) = c′Nc + q′( Nq −1) + 1 γ ′BNγ
กําลังรับแรงแบกทานประลัยสุทธิมีคา เทากับ 2

qu(net ) = ⎢⎢⎛⎜ 20.4 − 9.81⎞⎟ × 0.9× ⎛⎜ 48.9 −1⎞⎟⎥⎥ + 1 × (20.4 − 9.81)× B × 67.4 = 456.54 + 356.88B
⎡ ⎤

⎣⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎦ 2

qu(net ) = Q(FS )
B

(456.54 + 356.88B) = 650×3


B
356.88B2 + 456.54B −1950 = 0
∴ B =1.78 เมตร ดังนั้น เลือกฐานรากขนาด 1.80 เมตร
ตัวอยางที่ 2.6
ฐานรากแถบ (Strip footing) กวาง 1.50 เมตร รับน้ําหนักบรรทุก 40 กิโลกรัมตอเมตร และโมเมนต 8
กิโลกรัม-เมตรตอเมตร จงตรวจสอบวาแรงลัพธบนฐานรากอยูภายในพื้นที่เคอรน (Kern area) หรือไม
พรอมทั้งหาคา qmax และ qmin

วิธีทํา ระยะเยื้องศูนยเทากับ e = M = 8 = 0.20 เมตร < B = 1.50 = 0.25 เมตร


P 40 6 6
ดังนั้น แรงลัพธอยูภายในพื้นที่เคอรน
ความเคนสูงสุดและต่าํ สุดที่กระทําใตฐานรากเทากับ

qmax = P ⎜⎜1+ 6e ⎟⎟ = 40 ⎜⎜1+ 6× 0.20 ⎟⎟ = 48


⎛ ⎞ ⎛ ⎞
กิโลกรัมตอตารางเมตรตอเมตร
A ⎜⎝ B ⎟⎠ 1.50 ⎜⎝ 1.50 ⎟⎠

P ⎛
6e
qmin = ⎜1− ⎟ =


⎟ 40 ⎛
⎜1− 6 × 0.20 ⎞
⎟ = 5.33 กิโลกรัมตอตารางเมตรตอเมตร
A ⎜⎝ B ⎟⎠ 1.50 ⎜⎝

1.50 ⎟⎟⎠
ตัวอยางที่ 2.7
ฐานรากสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 1.5 เมตร x 0.75 เมตร ดังแสดงในรูป จงหาขนาดของน้ําหนักสุทธิที่กระทํา
เยื้องศูนยทมี่ ากที่สดุ ทีท่ ําใหดินเกิดการวิบตั ิพอดี
ตัวอยางที่ 2.7
วิธีทํา ความกวางประสิทธิผล (B′ ) = 0.75 – 2(0.05) = 0.65 เมตร
ความยาวประสิทธิผล (L′ ) = 1.5 – 2(0.12) = 1.26 เมตร
qu(net ) = qλqsλqd ⎛⎜ Nq −1⎞⎟ + 1 λγ sλγ d γ B′Nγ
⎝ ⎠ 2

โดยอาศัยวิธีของ Vesic จะไดตัวแปรกําลังรับแบกทาน สําหรับ φ ′ = 30o ดังนี้

= eπ tan30° tan 2 ⎜ 45 + 30° ⎟ =18.4


⎛ ⎞
Nq ⎜ ⎟


2 ⎟

Nγ = 2 ⎛⎜18.4 +1⎞⎟ tan30°= 22.4


⎝ ⎠
ตัวอยางที่ 2.7
ตัวคูณปรับแกรูปราง และตัวคูณปรับแกความลึกมีคาดังนี้

⎞ ⎛ ⎞
B′
λqs =1+ ⎟ tanφ =1+ ⎜

⎟ ⎜ 0.65 ⎟ ⎛ 0.58 ⎞ =1.30
⎟⎜ ⎟
L′ ⎟⎠
⎜⎜

⎜ 1.26 ⎟ ⎝
⎝ ⎠

⎛⎞ ⎛ ⎞
B′
λγ s =1− 0.4 ⎟ =1− 0.4⎜
⎜⎟ ⎜ 0.65 ⎟ = 0.79
L′ ⎟⎠
⎜⎜
⎝ ⎝

⎜ 1.26 ⎟

⎛ ⎞
2⎜ D 2⎛
λqd =1+ 2tanφ 1− sinφ ′



⎟ ⎜
f ⎟
⎟ ⎞⎛
=1+ 2tan 30° 1− sin30°

⎜ ⎟⎜
⎞ ⎜
⎟ ⎜
0.6 ⎞⎟ =1.23
⎝ ⎠ ⎜

B ⎟

⎝ ⎠⎝ ⎠ ⎜

0.75 ⎟⎠⎟
⎝ ⎠

λγ d =1
ตัวอยางที่ 2.7

ดังนั้น qu(net ) = ⎛⎜ 0.6×18⎞⎛⎟⎜1.30 ⎞⎛⎟⎜1.23⎞⎛⎟⎜18.4 −1⎞⎟ + 1 ⎛⎜ 0.79⎞⎛⎟⎜1⎞⎛⎟⎜18⎞⎛⎟⎜ 0.65⎞⎛⎟⎜ 22.4⎞⎟


⎝ ⎠⎝ ⎠⎝ ⎠⎝ ⎠ 2⎝ ⎠⎝ ⎠⎝ ⎠⎝ ⎠⎝ ⎠

qu(net ) = 300.5 +103.5 = 404.0 กิโลปาสคาล

น้ําหนักแบกทานประลัยสุทธิเทากับ
Qu(net ) = qu(net ) ⎛⎜ B′L′⎞⎟ = ⎛⎜ 404.0 ⎞⎛⎟⎜ 0.65×1.26 ⎞⎟ = 330.9 กิโลปาสคาล
⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ ⎠
ตัวอยางที่ 2.8
จงหาอัตราสวนปลอดภัยตานทานการวิบัตขิ องดินใตฐานราก ดังแสดงในรูปโดยวิธีของ Meyerhof
เมื่อ P = 1000 กิโลนิวตัน
H = 400 กิโลนิวตัน
M = 500 กิโลนิวตัน-เมตร
ตัวอยางที่ 2.8
วิธีทํา ความกวางประสิทธิผล (B′ ) = 3 - (2 × 0.5) = 2 เมตร
ความยาวประสิทธิผล ( L′ ) = 3 เมตร
แนวของแรงลัพธคือ
⎛ ⎞
θ = tan−1 ⎜ H ⎟ กระทําตอแนวดิง่
⎜⎜

V ⎟⎟


θ = tan−1 ⎜ 400 ⎞⎟ = 22°
⎜ ⎟
⎜1000 ⎟
⎝ ⎠

สําหรับ φ′ = 35° จะไดตัวแปรกําลังรับแรงแบกทานของ Meyerhof ดังนี้


= eπ tan35° tan2 ⎜ 45°+ 35° ⎟ = 33.29
⎛ ⎞
Nq ⎜ ⎟


2 ⎟

Nγ = ⎛⎜ 33.29 −1⎞⎟ tan ⎛⎜1.4× 35° ⎞⎟ = 37.14


⎝ ⎠ ⎝ ⎠
ตัวอยางที่ 2.8
ตัวคูณปรับแกรูปราง ความลึก และความลาดเอียงมีคา ดังนี้
⎡ ⎤
B′ ⎢

λqs =1+ 0.1K p =1+ ⎢0.1× tan ⎜ 45°+
2 ⎜ 35 ° ⎞
⎟ × 2 ⎥ =1.25

L′ ⎢ ⎜

2 ⎟
⎟ 3⎥

⎢⎣ ⎥⎦
⎡ ⎤
λγ s =1+ 0.1K p B′ =1+ 0.1× tan 45°+ 35° × 2 =1.25
⎛ ⎞
⎢ 2⎜ ⎟ ⎥
⎢ ⎥
L′ ⎢



2 ⎟


3 ⎥
⎣⎢ ⎦⎥

Df ⎡


35 ° ⎞
1


λqd =1+ 0.1 K p =1+ ⎢0.1× tan ⎜ 45°+
⎜ ⎟ × ⎥ =1.06
B ⎢ ⎜

2 ⎟
⎟ 3⎥
⎠ ⎣⎢ ⎦⎥
⎡ ⎤

λγ d =1+ 0.1× tan 45°+

35 ° ⎞


⎟ × 1 ⎥ =1.06


⎢ 2 ⎟⎟⎠ 3⎥ ⎜

⎣⎢ ⎦⎥
2 2

λqi = 1−
⎜ θ ° ⎞


= ⎜1−
⎜ 22 ° ⎞
⎟ = 0.57



90° ⎟⎠
⎟ ⎟


90° ⎟⎠
2 2
λγ i = 1− θ ° = 1− 22° = 0.14
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
⎜ ⎟ ⎜ ⎟



φ° ⎟


35° ⎜





ตัวอยางที่ 2.8
กําลังรับแรงแบกทานประลัยสุทธิมีคา เทากับ
qu(net ) = (20×1)(1.25)(1.06)(0.57)(33.29 −1) + 1 (1.25)(1.06)(0.14)(20)(2)(37.14)
2

qu(net ) = 487.74 +137.79 = 625.53 กิโลปาสคาล

น้ําหนักบรรทุกประลัยสุทธิเทากับ
Qu(net ) = qu(net ) ⎛⎜ B′L′⎞⎟ = 625.53⎛⎜ 2× 3⎞⎟ = 3753.18 กิโลนิวตัน
⎝ ⎠ ⎝ ⎠

อัตราสวนปลอดภัยมีคาเทากับ
Qu(net ) 3753.18
FS = = = 3.75
P 1000
ตัวอยางที่ 2.9
จงออกแบบขนาดของฐานรากตื้นทีต่ ั้งบนชั้นดินดังรูป ใหมีอัตราสวนปลอดภัยไมนอยกวา 3.0 โดยใชทฤษฎี
ของ Meyerhof
P = 1000 kN

M = 300 kN-m

= 17.0 kN/m3 0.5 m


d
1.0 m

Sand
4.0 m
sat = 19.0 kN/m3
’ = 35o

Clay
1.0 m
sat = 19.5 kN/m3, Su = 15 kPa
ตัวอยางที่ 2.9
วิธีทํา สมมุติขนาดฐานรากเทากับ 2.2 x 2.2 เมตร
e = M = 300 = 0.3 เมตร < 2.2 = 0.37 OK. ดังนั้น
P 1000 6
B′ = 2.2 − ⎛⎜ 2× 0.3⎞⎟ =1.6 เมตร
⎝ ⎠

L′ = L = 2.2
เมตร
จากทฤษฎีของ Meryerhof
qu(net ) = cNcλcsλcd + q ⎛⎜ Nq −1⎞⎟ λqsλqd + 0.5γ B′Nγ λγ sλγ d
⎝ ⎠

ตัวแปรกําลังรับแรงแบกทานมีคาดังนี้
= eπ tanφ tan 2 ⎜ 45 + φ ⎟ = eπ tan35° tan2 ⎜ 45°+ 35° ⎟ = 33.3
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
Nq ⎜


2 ⎟⎟⎠ ⎜


2 ⎟

Nγ = ⎛⎜ N −1⎞⎟ tan ⎛⎜1.4φ ⎞⎟ = ⎛⎜ 33.3 −1⎞⎟ tan ⎛⎜1.4× 35° ⎞⎟ = 37.16


⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠
ตัวอยางที่ 2.9
ตัวคูณปรับแกมีคา ดังนี้
= tan 2 ⎜ 45 + φ ⎟ = 3.69
⎛ ⎞
Kp ⎜


2 ⎟⎟⎠
⎡ ⎤
B′ 1.4
λqs =1+ 0.1K p =1+ ⎢0.1×3.69× ⎥⎥ =1.26

L ⎣⎢
2.2 ⎦⎥
⎡ ⎤
λqd =1+ 0.1 K p D =1+ ⎢⎢0.1 3.69 × 1 ⎥⎥ =1.12
B′ ⎢⎣ 1.6 ⎥⎦

λγ s = λqs =1.26

λγ d = λγ q =1.12
ตัวอยางที่ 2.9
กําลังแรงแบกทานประลัยสุทธิของดินมีคา เทากับ
⎡⎛ ⎤
qu(net ) = 0 + 17.0× 0.5 + 9.2× 0.5 × 33.3 −1 ×1.26×1.12
⎢⎜
⎢⎝





⎟ ⎥

⎣ ⎠ ⎝ ⎠ ⎦

+ ⎡⎢0.5×9.2×1.6×37.16×1.26×1.12⎤⎥
⎣ ⎦

qu(net ) = 597.12 + 385.96 = 983.08 กิโลปาสคาล


Qu(net ) = 983.08×1.6× 2.2 = 3460.44 กิโลนิวตัน

อัตราสวนปลอดภัยมีคาเทากับ
FS = 3460.44 = 3.46 > 3.0
1000.00

ดังนั้น เลือกใชฐานรากขนาด 2.2 x 2.2 เมตร


ตัวอยางที่ 2.10
จงออกแบบขนาดของฐานรากตื้นทีต่ ั้งบนชั้นดินดังรูป ใหมีอัตราสวนปลอดภัยไมนอยกวา 3.0 โดยใชทฤษฎี
ของ Meyerhof
ตัวอยางที่ 2.10
วิธีทํา สมมุติขนาดฐานรากเทากับ 2.2 x 2.2 เมตร

จากทฤษฎีของ Meryerhof
qu(net ) = cNcλcsλcd λci + q ⎛⎜ Nq −1⎞⎟ λqsλqd λqi + 0.5γ BNγ λγ sλγ d λγ i
⎝ ⎠

ตัวแปรกําลังรับแรงแบกทานมีคาดังนี้
= eπ tanφ tan 2 ⎜ 45 + φ ⎟ = eπ tan35° tan2 ⎜ 45°+ 35° ⎟ = 33.3
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
Nq ⎜


2 ⎟⎟⎠ ⎜


2 ⎟

Nγ = ⎛⎜ N −1⎞⎟ tan ⎛⎜1.4φ ⎞⎟ = ⎛⎜ 33.3 −1⎞⎟ tan ⎛⎜1.4× 35° ⎞⎟ = 37.16


⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠
ตัวอยางที่ 2.10
ตัวคูณปรับแกมีคา ดังนี้
= tan 2 ⎜ 45 + φ ⎟ = 3.69
⎛ ⎞
Kp ⎜


2 ⎟⎟⎠
λqs =1+ 0.1K p B =1+ 0.1×3.69× 3.5 =1.37
L 3.5
Df
λqd =1+ 0.1 K p =1+ 0.1 3.69 × 1 =1.05
B 3.5
2 2
λqi = 1− θ = 1− 30° = 0.44
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
⎜ ⎟ ⎜ ⎟



90° 90°








λγ s = λqs =1.37

λγ d = λγ q =1.05
2 2
λγ i = 1− θ = 1− 30° = 0.02
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
⎜ ⎟ ⎜ ⎟



φ ⎟


35° ⎜





ตัวอยางที่ 2.10
กําลังรับแรงแบกทานประลัยสุทธิของดินมีคาเทากับ
⎡ ⎤
qu(net ) = 0 + ⎢⎢⎛⎜17.0× 0.5 + 9.2× 0.5⎞⎟ × ⎛⎜ 33.3 −1⎞⎟ ×1.37×1.05× 0.44⎥⎥
⎣⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎦

+ ⎡⎢0.5×9.2×3.5× 37.16×1.37×1.05× 0.02⎤⎥


⎣ ⎦

qu(net ) = 267.81+17.21= 285.02 กิโลปาสคาล

Qu(net ) = 285.02×3.5× 3.5 = 3491.57 กิโลนิวตัน

อัตราสวนปลอดภัยมีคาเทากับ
FS = 3491.57 = 3.49 > 3.0
1000.00

เพราะฉะนั้น เลือกใชฐานรากขนาด 3.5 x 3.5 เมตร


ตัวอยางที่ 2.11
จงใชวิธีของ Hensen ในการหาอัตราสวนปลอดภัยของฐานรากที่ออกแบบ

วิธีทํา
ตัวแปรกําลังรับแรงแบกทานมีคาดังนี้

= eπ tanφ tan2 ⎜ 45°+ φ ⎟


⎛ ⎞
Nq ⎜


2 ⎟⎟⎠

= eπ tan35° tan2 ⎜ 45°+ 35° ⎟ = 33.3


⎛ ⎞
⎜ ⎟


2 ⎟

Nγ =1.5⎛⎜ Nq −1⎞⎟ tan ⎛⎜φ ⎞⎟


⎝ ⎠ ⎝ ⎠

= 2⎛⎜ 33.3 −1⎞⎟ tan35°= 45.2


⎝ ⎠
ตัวอยางที่ 2.11
ตัวคูณปรับแกมีคา ดังนี้
Df 1
k= = = 0.286
B 3.5
λqs =1+ B′ tanφ =1+ 3.5 tan35°=1.70
L′ 3.5
2 2
λqd =1+ 2tanφ 1− sinφ k =1+ 2tan35° 1− sin35° 0.286 =1.597








⎝ ⎠ ⎝ ⎠ 5
5 ⎛ ⎞
⎛ ⎞ ⎜ ⎟
λqi = 1− 0.5T 0.5×1000sin30°
⎜ ⎟
⎟ = 1− = 0.182
⎜ ⎟
⎜ ⎟



Q + Aca cotφ ⎟⎠ 1000cos30°+ ⎜ 3.5×3.5⎟⎜ 0 ⎟ cot35°
⎜ ⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎟
⎜⎜ ⎟⎟
⎝ ⎝ ⎠⎝ ⎠ ⎠
⎛ ⎞
λγ s =1− 0.4 B′ =1− ⎜⎜ 0.4× 3.5 ⎟⎟ = 0.60
L′ ⎜

3.5 ⎟⎠
λγ d =1
5
5 ⎛ ⎞
⎛ ⎞ ⎜ ⎟
λγ i = 1− 0.7T 0.7×1000sin30°
⎜ ⎟
⎟ = 1− = 0.075
⎜ ⎟
⎜ ⎟



Q + ACa cotφ ⎟⎠ 1000cos30°+ ⎜ 3.5×3.5⎟⎜ 0 ⎟ cot35°
⎛ ⎜ ⎞⎛ ⎞ ⎟
⎜⎜ ⎟⎟
⎝ ⎝ ⎠⎝ ⎠ ⎠
ตัวอยางที่ 2.11
กําลังรับแรงแบกทานประลัยสุทธิของดินมีคาเทากับ
⎡ ⎤
qu(net ) = 0 + ⎢⎢⎛⎜17.0× 0.5 + 9.2× 0.5⎞⎟ × ⎛⎜ 33.3 −1⎞⎟ ×1.70×1.597× 0.182⎥⎥
⎣⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎦

+ ⎡⎢0.5×9.2×3.5× 45.2× 0.60×1.0× 0.075⎤⎥


⎣ ⎦

qu(net ) = 209.07 + 32.74 = 241.82 กิโลปาสคาล

Qult = 241.82× 3.5× 3.5 = 2962.26 กิโลนิวตัน

อัตราสวนปลอดภัยมีคาเทากับ
FS = 2962.26 = 2.96
1000.00
ตัวอยางที่ 2.12
จงใชทฤษฎีของ Vesic คํานวณหาอัตราสวนปลอดภัยของของฐานรากตื้นทีต่ ั้งบนชั้นดิน
ซึ่งมีขนาด 2.5 x 2.5 เมตร
ตัวอยางที่ 2.12
วิธีทํา จากทฤษฎี Vesic
qu(net ) = cNcλcsλcd λciλcδ + q ⎛⎜ Nq −1⎞⎟ λqsλqd λqiλqδ + 0.5γ BNγ λγ sλγ d λγ iλγδ
⎝ ⎠

ตัวแปรกําลังรับแรงแบกทานมีคาดังนี้
= eπ tanφ tan 2 ⎜ 45°+ φ ⎟ = eπ tan35° tan 2 ⎜ 45°+ 35° ⎟ = 33.3
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
Nq ⎜


2 ⎟⎟⎠ ⎜


2 ⎟

Nγ = 2⎛⎜ Nq +1⎞⎟ tan ⎛⎜φ ⎞⎟ = 2⎛⎜ 33.3 +1⎞⎟ tan35°= 48.03


⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠
ตัวอยางที่ 2.12
ตัวคูณปรับแกมีคา ดังนี้
D f 0.32
k= = = 0.13
B 2.5

λqs =1+ B′ tanφ =1+ 2.5 tan35°=1.70


L′ 2.5
2 ⎡ 2 ⎤
⎢ ⎥
λqd =1+ 2tanφ 1− sinφ k =1+ 2tan35° 1− sin35° × 0.13 =1.03



⎟ ⎢



⎟ ⎥
⎝ ⎠ ⎢ ⎝ ⎠ ⎥
⎢⎣ ⎥⎦
⎛ ⎞
B′ 3.5
λγ s =1− 0.4 =1− ⎜ 0.4× ⎟⎟ = 0.60

L′ ⎜

3.5 ⎟⎠
2 2
⎡ ⎞⎤
λqδ = 1− 0.017δ tanφ = 1− 0.017 × 20°× tan35°



⎟ ⎢


⎜ ⎟⎥ = 0.58
⎝ ⎠ ⎣ ⎝ ⎠ ⎥⎦

λγ d =1

λγδ = λqδ = 0.58


ตัวอยางที่ 2.12
กําลังรับแรงแบกทานประลัยสุทธิของดินมีคาเทากับ
⎡ ⎤
qu(net ) = 0 + ⎢⎢⎛⎜17.0× 0.32 ⎞⎟ × ⎛⎜ 33.3 −1⎞⎟ ×1.70×1.03× 0.58⎥⎥
⎣⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎦
⎡ ⎤
1
+ ×17.0× 2.5× 48.03× 0.60× 0.58×1.00⎥⎥

2

⎢⎣ ⎥⎦
qu(net ) =178.45 + 355.18 = 533.63 กิโลปาสคาล

Qu(net ) = 533.63× 2.5× 2.5 = 3335.20 กิโลนิวตัน

อัตราสวนปลอดภัยมีคาเทากับ

FS = 3335.20 =1.85
1800.00
ตัวอยางที่ 2.13
ฐานรากแผขนาดกวาง 1 เมตร ยาว 1.5 เมตร ตั้งอยูที่ความลึก 1 เมตร ในดินทราย ซึ่งมีความหนา 2.4
เมตร มีหนวยน้ําหนัก 18.4 กิโลปาสคาล มุมเสียดทานภายใน 40 องศา ใตดินทรายเปนชั้นดินเหนียวที่มี
กําลังตานทานแรงเฉือนในสภาวะไมระบายน้ํา (Undrained shear strength) เทากับ 19.15 กิโล
ปาสคาล จงคํานวณหากําลังรับแรงแบกทานประลัยของฐานรากนี้
วิธีทํา ตัวแปรกําลังรับแรงแบกทานของ Meyerhof มีคา ดังนี้
= eπ tanφ tan 2 ⎜ 45°+ φ ⎟ = eπ tan40° tan 2 ⎜ 45°+ 40° ⎟ = 64.18
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
Nq ⎜


2 ⎟⎟⎠ ⎜


2 ⎟

Nγ = ⎛⎜ Nq −1⎞⎟ tan1.4φ = ⎛⎜ 64.18 −1⎞⎟ tan ⎛⎜1.4× 40°⎞⎟ = 93.67


⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠

คา Ks สามารถคํานวณไดดังนี้
Su Nc = 19.15×5.14 = 0.11 และ φ′ = 40 องศา
0.5γ BNγ 0.5×18.4×1×93.67

จะได Ks = 2.5
ตัวอยางที่ 2.13
กําลังรับแรงแบกทานประลัยเนื่องจากการวิบตั ิในชั้นทรายมีคา เทากับ
⎛ ⎞
1 B
qu = γ D f Nq + ⎜1− 0.4 ⎟⎟γ BNγ

2 ⎜⎝ L ⎟⎠
⎛ ⎞

1 ⎜ ⎞

1
qu = 18.4× 64.18 + ⎜1− 0.4× ⎟⎟ ×18.4×1.0×93.67 =1812.9

กิโลปาสคาล
⎝ 2 ⎜⎝ ⎠ 1.5 ⎟⎠

กําลังรับแรงแบกทานประลัยเนื่องจากการวิบตั ทิ ั้งในชั้นทรายและดินเหนียวมีคา เทากับ


⎤ ⎡
2 D
qu = 1+ 0.2 B Su Nc + 1+ B γ H 2 1+ f ⎥⎥ Ks tanφ + γ D f
⎡ ⎤ ⎛ ⎞ ⎥ ⎢
⎢ ⎥ ⎜ ⎟ ⎢

⎢⎣ L ⎥
⎥⎦ L ⎜⎜

⎟⎟

H ⎥ B ⎢

⎣ ⎦
⎡⎛ ⎤ ⎡ ⎤
⎢⎜
⎢⎜
1 ⎞
⎟ ⎥ ⎢⎜

1.0 ⎞ ⎛
qu = 1+ 0.2× ⎟19.15× 5.14⎥ + ⎢⎜1+ ⎟ ×18.4×1.4 ⎜1+
⎟ 2 ⎜ 2 ×1.0 ⎟ 2.5× tan40° ⎥



⎢⎜ 1.5 ⎟⎠ ⎥ ⎢⎜ 1.5 ⎟ ⎜ 1.4 ⎟ 1.0 ⎥
⎢⎣⎝ ⎝ ⎠ ⎦⎥ ⎣⎢ ⎝ ⎠ ⎦⎥

+ ⎡⎢18.4×1.0⎤⎥
⎣ ⎦

qu =111.56 + 306.22 +18.4 = 436.18 กิโลปาสคาล


ตัวอยางที่ 2.14
ฐานรากขนาด 1.5 x 1.0 เมตร ตั้งอยูทคี่ วามลึก 1 เมตร จากผิวดิน ชั้นดินฐานรากประกอบดวยชั้นดิน
เหนียวสองชั้น ชั้นแรกหนา 2.0 เมตร มีหนวยน้ําหนักเทากับ 16.8 กิโลปาสคาล และกําลังตานทานแรง
เฉือนในสภาวะไมระบายน้ํา (Undrained shear strength) เทากับ 125 กิโลปาสคาล ใตดินเหนียวชั้น
แรกเปนดินเหนียวออนที่มีหนวยน้ําหนัก 16.3 กิโลปาสคาล และกําลังตานทานแรงเฉือนสภาวะไมระบายน้ํา
(Undrained shear strength) เทากับ 52 กิโลปาสคาล จงหาน้ําหนักบรรทุกยอมใหของฐานราก
กําหนดใหอัตราสวนปลอดภัย เทากับ 4
Su1 125
วิธีทํา อัตราสวนกําลังตานทานแรงเฉือนเทากับ = = 2.40 >1.0
Su 2 52
⎞⎛ ⎞
⎜ 2ca H ⎟
⎡ ⎤ ⎛
B B
qu = 1+ 0.2 ⎥ Su 2 Nc + ⎜1+ ⎟ ⎜ ⎟ + γ1D f
⎢ ⎥ ⎜ ⎟
ดังนั้น กําลังรับแรงแบกทานคํานวณไดจาก ⎢ L ⎦⎥ ⎜ L ⎟⎜ B ⎟
⎣⎢ ⎝ ⎠⎝ ⎠

Su 2 ca = 0.92
สําหรับ = 0.42 จะได
Su1 Su1

ดังนั้น ca = 115 กิโลปาสคาล


ตัวอยางที่ 2.14


1 ⎤ ⎛
1
qu = 1+ 0.2 ⎥ 52×5.14 + ⎜1+ ⎟⎜
⎢ ⎥ ⎜
⎞⎛
⎟⎜ 2 ×115×1⎞
⎟ + ⎛16.8×1 ⎞
⎟ ⎜ ⎟

⎢⎣ 1.5⎥⎦ ⎜

1.5 ⎟⎜
⎠⎝
1 ⎠
⎟ ⎝ ⎠

qu = 703.05 กิโลปาสคาล
⎡ ⎤
1
qu = 1+ 0.2 ⎥⎥125×5.14 + ⎛⎜16.8×1⎞⎟

และ ⎢
1.5⎦⎥ ⎝ ⎠
⎣⎢

qu = 744.96 กิโลปาสคาล
ดังนั้น กําลังรับแรงแบกทานประลัยมีคาเทากับ 703.05 กิโลปาสคาล และกําลังรับแรงแบกทาน
ยอมใหมีคาเทากับ
qall = 703.05 =175.76 กิโลปาสคาล
4.0
น้ําหนักบรรทุกยอมใหมีคา เทากับ
Qall =175.76×1.0×1.5 = 263.64 กิโลนิวตัน
ตัวอยางที่ 2.15

จงคํานวณการทรุดตัวของฐานรากสี่เหลี่ยม
จัตุรัสที่รับน้ําหนักบรรทุก ดังแสดงในรูป
ในชวงเวลา 5 ป
โดยวิธีของ Schmertmann
ตัวอยางที่ 2.15

วิธีทํา qnet =182 − ⎛⎜ 2×16 ⎞⎟ =150 กิโลปาสคาล


⎝ ⎠

I zp = 0.5 + 0.1 150 = 0.67 จากการ Interpolation จะได


16×3.3

I z = 0.1+ ⎛⎜ z / B ⎞⎛⎟⎜ 2I zp − 0.2 ⎞⎟ สําหรับ z อยูระหวาง 0 ถึง B/2


⎝ ⎠⎝ ⎠

I z = 0.667 I zp ⎛⎜ 2 − z / B ⎞⎟ สําหรับ z อยูระหวาง B/2 ถึง 2B


⎝ ⎠
ตัวอยางที่ 2.15

ชั้นดิน Δz (มม.) z (มม.) qc (กิโลนิวตัน) Es (= 2.5qc) Iz I z Δz


Es

A 1000 500 2500 6250 0.32 0.0512


B 300 1150 3500 8750 0.60 0.0206
C 1700 2150 3500 8750 0.52 0.1010
D 500 3250 7000 17500 0.33 0.0094
E 1000 4000 3000 7500 0.21 0.0280
F 700 4850 8500 21250 0.06 0.0020
Sum 0.2122
ตัวอยางที่ 2.15
ตัวคูณปรับแกมีคา ดังนี้
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
C1 =1− 0.5⎜⎜ qq ⎟⎟ =1− 0.5⎜⎜ 32 ⎟⎟ = 0.89
⎜ net ⎟ ⎜150 ⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠

⎛ ⎞
C2 =1+ 0.2log ⎜⎜ t ⎟⎟ =1+ 0.2log ⎜⎜ 5 ⎟⎟ =1.34
⎛ ⎞

⎝ 0.1⎠ ⎜ 0.1⎟
⎝ ⎠

การทรุดตัวในเวลา 5 ป มีคา เทากับ


Si = C1C2qnet ∑ I z Δz
Es

Si = 0.89×1.34×150× 0.2122 = 37.96 มิลลิเมตร


ตัวอยางที่ 2.16
จากผลทดสอบแผนเหล็กบริเวณอําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา ดังแสดงในตาราง การเพิ่มน้าํ หนักใน
แตละชวงจะกระทําหลังจากทิ้งน้าํ หนักกอนหนา 15 นาที จงประมาณการทรุดตัวของฐานรากสี่เหลี่ยมจัตุรัส
ขนาด 1.0 x 1.0 เมตร ซึ่งตั้งอยูบนชั้นทรายแนนปานกลาง (Medium dense sand) หนามาก และรับ
น้ําหนักบรรทุก 10 ตัน โดยใชความสัมพันธที่เสนอโดย Bjerrum and Eggestad (1963)
Load Elapsed time Settlement (mm)
Load increment Force Soil pressure Time (min) Dial. 1 Dial. 2 Average
No.
(kg) (ton/m2)
15:00 0 0.330 0.508 0.419
15:01 1 0.330 0.508 0.419
15:02 2 0.330 0.508 0.419
1 400 5.71 15:04 4 0.356 0.533 0.445
15:08 8 0.356 0.533 0.445
15:15 15 0.356 0.533 0.445
15:15 0 1.270 1.524 1.397
15:16 1 1.270 1.524 1.397
15:17 2 1.270 1.524 1.397
2 800 11.43 15:19 4 1.295 1.549 1.422
15:23 8 1.295 1.549 1.422
15:30 15 1.295 1.549 1.422
ตัวอยางที่ 2.16
Load Elapsed time Settlement (mm)
Load increment Force Soil pressure Time (min) Dial. 1 Dial. 2 Average
No.
(kg) (ton/m2)

15:30 0 2.210 2.489 2.350

15:31 1 2.210 2.489 2.350

15:32 2 2.210 2.489 2.350

3 1,200 17.14 15:34 4 2.235 2.515 2.375

15:38 8 2.235 2.515 2.375

15:45 15 2.261 2.565 2.413

15:45 0 3.734 4.242 3.988

15:46 1 3.734 4.242 3.988

15:47 2 3.734 4.242 3.988

4 1,600 22.86 15:49 4 3.759 4.267 4.013

15:53 8 3.759 4.267 4.013

16:00 15 3.785 4.293 4.039

16:00 0 5.283 5.613 5.448

16:01 1 5.309 5.639 5.474

16:02 2 5.309 5.664 5.486

5 2,000 28.57 16:04 4 5.334 5.664 5.499

16:08 8 5.334 5.664 5.499

16:15 15 5.359 5.690 5.525


ตัวอยางที่ 2.16

Load Elapsed time Settlement (mm)


Load increment Force Soil pressure Time (min) Dial. 1 Dial. 2 Average
No.
(kg) (ton/m2)
16:15 0 5.131 5.461 5.296
16:16 1 5.131 5.461 5.296
16:17 2 5.131 5.461 5.296
6 1,000 14.29 16:19 4 5.080 5.436 5.258

(Rebound) 16:23 8 5.080 5.436 5.258


16:30 15 5.055 5.410 5.232
16:30 0 4.674 4.801 4.737
16:31 1 4.648 4.750 4.699
16:32 2 4.623 4.724 4.674
7 0 0.00 16:34 4 4.623 4.724 4.674

(Rebound) 16:38 8 4.597 4.699 4.648


16:45 15 4.597 4.699 4.648
ตัวอยางที่ 2.16
วิธีทํา จากตาราง ทําการวาดกราฟความสัมพันธระหวางความดันดิน (Soil pressure) และการทรุดตัวของ
แผนเหล็ก การทรุดตัวที่นาํ มาวาดกราฟเปนคาการทรุดตัวที่ 15 นาที
ความดันดินที่กระทําบนฐานรากขนาด 1.0 x 1.0 เมตร เทากับ
σ = 10 =10 ตันตอตารางเมตร
1×1
2
Soil pressure (ton/m )

00 5 10 15 20 25 30 35

2
Settlement (mm)

8
ตัวอยางที่ 2.16
2
Soil pressure (ton/m )

00 5 10 15 20 25 30 35

Settlement (mm)
3

จากรูป การทรุดตัวทีค่ วามเคนเทากับ 10 ตันตอตารางเมตร ของแผนเหล็กทดสอบมีคา เทากับ 1.3


มิลลิเมตร
อัตราสวนการทรุดตัว ที่ B = 1.0 = 3.33 สําหรับทรายแนนปานกลาง มีคาเทากับ 2.2
b 0.3
ดังนั้น การทรุดตัวของฐานรากขนาด 1.0 × 1.0 เมตร มีคา เทากับ 2.2×1.3 = 2.86 มิลลิเมตร
ตัวอยางที่ 2.17
ผลการทดสอบแผนเหล็ก (Plate bearing test) ในฤดูแลง (ดินอยูในสภาพแหง) ของแผนเหล็กรูป
สี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 305 มิลลิเมตร ที่ระดับทองฐานรากแสดงดังตอไปนี้

น้ําหนักบรรทุก (กน.) 5 10 15 20 30 40 50

ระยะทรุด (มม.) 1.79 3.82 5.50 7.88 19.10 52.50 152.4

จงออกแบบขนาดของฐานรากสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่รับน้าํ หนักบรรทุกขนาด 980 กิโลนิวตัน ในฤดูฝน (ระดับน้าํ ใต


ดินอยูเหนือฐานราก) โดยเกิดการทรุดตัวไมเกิน 25 มิลลิเมตร กําหนดใหใชสมการของ Terzaghi and
Peck และพิจารณาวาในกรณีที่การทรุดตัวเทากัน หนวยแรงแบกทานในฤดูฝนเปนครึ่งหนึ่งของหนวยแรง
แบกทานในฤดูแลง และในกรณีที่หนวยแรงแบกทานเทากัน การทรุดตัวในฤดูฝนเปนสองเทาของระยะทรุด
ในฤดูแลง
ตัวอยางที่ 2.17
วิธีทํา สมมติดินใตฐานรากมีคุณสมบัติสม่าํ เสมอตลอดชวงความลึก 2 เทาของความกวางฐานราก ผลการ
ทดสอบแผนเหล็กในฤดูแลงแปลความเปนผลการทดสอบในฤดูฝนไดดังนี้
ก) ที่การทรุดตัวของแผนฐานเทากัน หนวยแรงแบกทานในฤดูฝนเปนครึ่งหนึ่งของหนวยแรงแบก
ทานในฤดูแลง ความสัมพันธระหวางความเคนกดทับและการทรุดตัวแสดงไดดังนี้

น้ําหนักบรรทุก (กน.) 2.5 5 7.5 10 15 20 25

ความเคนกดทับ (กป.) 26.87 53.75 80.62 107.50 161.25 214.99 268.74

ระยะทรุด (มม.) 1.79 3.82 5.50 7.88 19.10 52.50 152.4

การทรุดตัวของฐานรากสามารถคํานวณไดโดยอาศัยสมการดังนี้
2
⎛ ⎞
Δ footing = Δ ⎜ 2B ⎟
plate ⎜⎜

B + 0.3 ⎟


ตัวอยางที่ 2.17
สมมติขนาดฐานรากเทากับ 3.0 x 3.0 เมตร ความเคนกดทับเทากับ 980 =108.89 กิโลปาสคาล
32
จากการเทียบบัญญัตไิ ตรยางค จะไดการทรุดตัวของแผนเหล็กทดสอบและฐานรากมี
คาเทากับ
19.10 − 7.88⎞⎟


Δ plate = 7.88 + ⎛ ⎝ ⎠ ⎛108.89 −107.50 ⎞ = 8.17
⎜ ⎟ มิลลิเมตร
⎜161.25 −107.50 ⎟
⎞⎝ ⎠
⎝ ⎠
2
Δ footing = 8.17

⎜ 2 × 3.0 ⎞
⎟ = 27.0 มิลลิเมตร (มากกวา 25 มิลลิเมตร)



3.0 + 0.3 ⎟⎟⎠
ดังนั้นเพิม่ ขนาดของฐานรากเปน 3.1 x 3.1 เมตร ความเคนกดทับเทากับ 980 =101.98 กิโลปาสคาล
3.12
จะไดการทรุดตัวของแผนเหล็กทดสอบและฐานรากมีคาเทากับ

⎜ 7.88 − 5.50 ⎞⎟
Δ plate = 5.50 + ⎛ ⎝ ⎠ ⎛101.98 − 80.62 ⎞ = 7.39
⎜ ⎟ มิลลิเมตร
⎜107.50 − 80.62 ⎞⎝


⎝ ⎠
2
Δ footing = 7.39

⎜ 2 × 3.1 ⎞
⎟ = 24.57 มิลลิเมตร (มากกวา 25 มิลลิเมตร)



3.1+ 0.3 ⎟⎟⎠
ดังนั้น เลือกขนาดฐานรากเทากับ 3.1 x 3.1 เมตร
ตัวอยางที่ 2.17
ข) ที่หนวยแรงแบกทานของแผนฐานเทากัน การทรุดตัวในฤดูฝนเปนสองเทาของการทรุดตัวในฤดู
แลง ความสัมพันธระหวางความเคนกดทับและการทรุดตัวแสดงไดดังนี้

น้ําหนักบรรทุก (กน.) 5 10 15 20 30 40 50

ความเคนกดทับ (กป.) 53.75 107.50 161.25 214.99 322.49 429.99 537.49

ระยะทรุด (มม.) 3.58 7.64 11.00 15.76 38.20 105 304.8


ตัวอยางที่ 2.17

สมมติขนาดฐานรากเทากับ 3.1 x 3.1 เมตร ความเคนกดทับเทากับ 980 =101.98 กิโลปาสคาล จะได


3.12
การทรุดตัวของแผนเหล็กทดสอบและฐานรากมีคา เทากับ

⎜ 7.64 − 3.58⎞⎟
Δ plate = 3.58 + ⎛ ⎝ ⎠ ⎛101.98 − 53.75 ⎞ = 7.22
⎜ ⎟ มิลลิเมตร
⎜107.50 − 53.75 ⎟
⎞⎝ ⎠
⎝ ⎠
2
Δ footing = 7.22 2× 3.1 = 24.01
⎛ ⎞
⎜ ⎟ มิลลิเมตร (มากกวา 25 มิลลิเมตร)
3.1+ 0.3





ดังนั้น เลือกขนาดฐานรากเทากับ 3.1 x 3.1 เมตร


Foundation Engineering
วิศวกรรมฐานราก

รองศาสตราจารย ดร. สุขสันติ์ หอพิบูลสุข


สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุ สรุ นารี
ฐานรากลึก : ทฤษฎีและการออกแบบ
3 (DEEP FOUNDATION : THEORY AND DESIGN)
3.1 บทนํา

ฐานรากลึก คือ ฐานรากที่ใชเสาเข็มทําหนาที่ถายน้ําหนักหรือแรงสูชั้นดินในลักษณะแรงเสียดทานรอบ


เสาเข็ม (Skin friction) และแรงแบกทานที่ปลายเสาเข็ม (End bearing) สามารถแบงประเภทของ
เสาเข็มออกเปน 2 ประเภท ตามลักษณะการรับน้ําหนัก

1) เสาเข็มเสียดทานหรือเสาเข็มลอย (Friction/Floating pile) คือเสาเข็มที่รับน้าํ หนัก


บรรทุกโดยแรงเสียดทานรอบเสาเข็มเปนสวนใหญ
2) เสาเข็มดาล (End bearing pile) คือเสาเข็มที่มแี รงตานทีป่ ลายเสาเข็มสูงมากเมื่อ
เปรียบเทียบกับแรงเสียดทานรอบเสาเข็ม
3.1 บทนํา

ลักษณะงานทีต่ องใชฐานรากลึก
3.2 ประเภทของเสาเข็ม

เสาเข็มอาจจําแนกตามชนิดของวัสดุ วิธีการผลิต หรือวิธีการกอสรางไดดังนี้

ก) จําแนกตามชนิดของวัสดุ ไดแก เสาเข็มไม เสาเข็มคอนกรีต เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก


เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กและลวดอัดแรง เสาเข็มเหล็กรูปพรรณ และเสาเข็มประกอบ
เชน เหล็กรูปพรรณชนิดทอกลมที่เติม (Filled) ดวยคอนกรีต หรือเสาเข็มคอนกรีตทีม่ ี
แกนเหล็กรูปพรรณ เปนตน

ข) จําแนกตามวิธีการผลิต ไดแก เสาเข็มหลอในที่ (Cast-in-situ piles) และเสาเข็ม


สําเร็จรูป (Precast or Prefabricated piles) ซึ่งอาจเปนเสาเข็มคอนกรีตเสริม
เหล็ก หรือเสาเข็มคอนกรีตอัดแรง
3.2 ประเภทของเสาเข็ม

เสาเข็มอาจจําแนกตามชนิดของวัสดุ วิธีการผลิต หรือวิธีการกอสรางไดดังนี้

ค) จําแนกตามวิธีการกอสราง ไดแก เสาเข็มเจาะ (Bored piles) เสาเข็มตอก (Driven


piles) เสาเข็มเจาะเสียบ (Pre-auger piles) และเสาเข็มเหล็กชนิดหลายทอนตอ
ติดตัง้ โดยการกดหรือสั่นสะเทือน (Vibrating or Ramming) เปนตน

ง) จําแนกตามการเคลื่อนตัวของดินในระหวางการติดตั้งเสาเข็ม ไดแก เสาเข็มเคลื่อนตัว


มาก (Very large displacement pile) (เสาเข็มตอกปลายปด) เสาเข็มเคลื่อนตัว
นอย (Small displacement pile) (เสาเข็มตอกปลายเปดและเสาเข็มตอกรูปตัว H)
และเสาเข็มไมมีการเคลื่อนตัว (No displacement pile) (เสาเข็มเจาะ)
3.2 ประเภทของเสาเข็ม

Uncased pile Step-Tamper pile Base pile

เสาเข็มคอนกรีตหลอในที่
3.3 เสาเข็มตอก

เสาเข็มตอกสวนใหญจะเปนเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก (Reinforced concrete pile) หรือ


คอนกรีตอัดแรง (Pre-stressed pile) การติดตั้งกระทําโดยใชตุมน้ําหนัก เสาเข็มตอกเปนเสาเข็มที่ไดรับ
ความนิยมมาก เนื่องจากการติดตั้งกระทําไดอยางงายดายและมีราคาต่ํา

Steel pile Hollow square Steel box

Circular (bored pile) Hexagonal Solid square

Wide flange,I or H I Hollow circula

รูปหนาตัดของเสาเข็มชนิดตางๆ
3.3 เสาเข็มตอก

ขอดีของเสาเข็มตอก
• ตรวจสอบคุณภาพของโครงสรางในเสาเข็มไดกอนตอกเสาเข็ม
• การตอกเสาเข็มจะทําใหความหนาแนนของดินเม็ดหยาบเพิ่มขึ้น สงผลใหความสามารถในการ
รับน้ําหนักบรรทุกเพิ่มขึ้น
• ระดับน้าํ ใตดินไมมผี ลกระทบตอการติดตั้ง (ตอก) เสาเข็ม

ขอเสียของเสาเข็มตอก
• ทําใหเกิดความสั่นสะเทือนในขณะตอกเสาเข็ม และเปนผลทําใหเกิดการยกตัวสูงขึ้นของผิว
ดินใกลเคียง ซึ่งอาจเปนอันตรายตอโครงสรางในบริเวณนั้นได
• ทําใหเสาเข็มเกิดความเสียหาย ถาตอกเสาเข็มแรงเกินไป
3.3 เสาเข็มตอก

3.3.1 ระบบของตุมน้ําหนักที่ใชตอกเสาเข็ม

Drop Hammer เปนชนิดที่ไดรับความนิยมตอเนื่องมาเปน Ram

ระยะเวลานานจนถึงปจจุบัน ประกอบดวยตุมน้ําหนัก (ขนาดตั้งแต 2.5


Hammer cushion
- 12 ตัน) โยงยึดกับเครื่องกวานดวยสลิงและรอก การตอกทําไดโดยใช
Pile cap
เครื่องกวานดึงตุมน้ําหนักใหยกตัวสูงขึ้นตามระยะที่ตองการ แลวปลอย
Pile cushion
ใหตกกระแทกเสาเข็มอยางอิสระ (Free drop) ตุมน้ําหนักประเภทนี้ Pile
ใชตอกเสาเข็มไดทุกประเภท มีคาใชจายต่ํา แตมีประสิทธิผลในการสง
ถายพลังงานไปยังเสาเข็มคอนขางต่ํา (เกิดการสูญเสียพลังงานมาก)
Drop Hammer
3.3 เสาเข็มตอก

3.3.1 ระบบของตุมน้ําหนักที่ใชตอกเสาเข็ม
Exhaust

Single-Acting Hammer เปนปนจั่นที่ใชไอน้ํา (Steam) Cylinder


Intake
แรงอัดอากาศ (Air pressure) หรือแรงดันไฮดรอลิค (Hydraulic
Ram
pressure) ยกตุมน้ําหนักขึ้นสูงตามตองการ แลวปลอยใหตก
กระแทกเสาเข็มอยางอิสระ ปนจั่นประเภทนี้มีตุมน้ําหนักขนาดตั้งแต Hammer cushion
Pile cap
2.5 - 20 ตัน และใชตอกเสาเข็มไดทุกประเภท มีประสิทธิผลสูง
Pile cushion
Pile

Single-Acting Hammer
3.3 เสาเข็มตอก

3.3.1 ระบบของตุมน้ําหนักที่ใชตอกเสาเข็ม

Double-Acting Hammer เปนปนจั่นที่ใชไอน้ํา แรงอัด


อากาศ หรื อ แรงดั น ไฮดรอลิ ค ในการยกตุ ม น้ํ า หนั ก ขึ้ น และเร ง
ความเร็วในการตกกระแทก ปนจั่นชนิดนี้จึงมีประสิทธิภาพสูงมาก
และมีขนาดเล็กกวา Single-Acting Hammer
3.3 เสาเข็มตอก

3.3.1 ระบบของตุมน้ําหนักที่ใชตอกเสาเข็ม

Diesel Hammer ทํางานโดยการอัดฉีดน้ํามันเขาไปในหอง


เผาไหมในขณะที่ตุมน้ําหนักกําลังตกกระแทกเสาเข็ม ทําใหเกิดการจุด
ระเบิดสวนผสมระหวางอากาศและน้ํามัน ดันใหตุมน้ําหนักเคลื่อนที่ Ram

กลับขึ้นไปยังตําแหนงเดิม ปนจั่นประเภทนี้ไมเหมาะสมกับการตอก
Anvil
เสาเข็มในชั้นดินออนที่หนามาก เนื่องจากการจุดระเบิดเกิดไดอยางไม Pile cushion
Pile cap
เต็มที่ (เสาเข็มเคลื่อนตัวมาก) ปนจั่น Diesel Hammer ที่มีใชใน
Hammer cushion
ประเทศไทย (ขนาด 1.8 - 4.5 ตัน) จึงไมเหมาะที่จะใชในการตอก Pile

เสาเข็มขนาดใหญ
Diesel Hammer
3.4 เสาเข็มเจาะแหง

เสาเข็มเจาะแหง มีความแตกตางจากเสาเข็มตอกตรงที่เสาเข็มประเภทนี้เปนเสาเข็มที่หลอในที่ เสาเข็ม


เจาะแหงเหมาะสําหรับชั้นดินที่มีระดับน้ําใตดินต่ํามาก และเปนดินเชื่อมแนน (Cohesive soils) ที่มีกําลัง
ตานทานแรงเฉือนสูงปานกลาง เชน ดินเหนียว หรือดินเหนียวปนทราย ความเชื่อมแนนจะปองกันไมให
หลุมเจาะพังทลาย

เสาเข็มประเภทนี้เหมาะสําหรับดินในแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ซึ่งมีความแข็ง
มากและไมสามารถทําการตอกเสาเข็มใหไดความลึกตามตองการ และสามารถประยุกตใชกับดินเหนียวออน
ในแถบกรุงเทพมหานครและปริมณฑลได แตตองระวังมิใหทําการเจาะหลุมเจาะจนถึงชั้นทราย อันจะเปน
สาเหตุใหเกิดการพังทลายของหลุมเจาะ เนื่องจากปรากฏการณทรายเดือด (Boiling)
3.4 เสาเข็มเจาะแหง

ขั้นตอนการทําเสาเข็มเจาะแหงสามารถสรุปอยางคราวๆ ไดดังนี้
1) ติดตั้งปลอกเหล็กความยาวประมาณ 1 - 2 เมตร เพื่อปองกันการพังทลายของปากหลุมเจาะ (ดิน
บริเวณปากหลุมจะมีความเคนประสิทธิผลต่ํา สงผลใหกําลังตานทานแรงเฉือนมีคาคอนขางต่ํา)

Casing
3.4 เสาเข็มเจาะแหง

2) เจาะหลุมเจาะผานปลอกเหล็กโดยใชหัวเจาะ (Drill rig) จนถึงความลึกที่ตองการ หัวเจาะจะมี


ลักษณะเปนเกลียว ในขณะเจาะดินจะติดขึ้นมาตามเกลียว ดังนั้นจึงตองยกหัวเจาะขึ้นเมื่อดินติดเต็มเกลียว
เพื่อสะบัดดินออก และทําการเจาะตอ
3.4 เสาเข็มเจาะแหง

3) ใสเหล็กแกน โดยพื้นที่หนาตัดรวมของเหล็กแกนตองมีคาไมนอยกวา 0.5 เปอรเซ็นต ของหนาตัด


เสาเข็ม (ตามมาตรฐาน วสท.)
3.4 เสาเข็มเจาะแหง

4) เทคอนกรีตลงในหลุมเจาะโดยใชทอ Drop chute


3.4 เสาเข็มเจาะแหง

5) ขุดเปดหนาดินจนถึงระดับฐานรากโดยประมาณ

การขุดเปดหนาดิน
3.4 เสาเข็มเจาะแหง

6) เททรายปรับระดับและคอนกรีตหยาบหนาประมาณ 5-10 เซนติเมตร เมื่อคอนกรีตหยาบแข็งตัว


ประมาณ 2-3 วัน ทําการทุบหัวเสาเข็ม และทําความสะอาด
3.4 เสาเข็มเจาะแหง

7) ตรวจสอบความสมบูรณของเสาเข็มทุกตนดวยวิธีการวัดคลื่น (Seismic test)


3.4 เสาเข็มเจาะแหง

8) ประกอบแบบเหล็กและใสเหล็กเสริม เพื่อเตรียมเทคอนกรีต
3.4 เสาเข็มเจาะแหง

9) ใสเหล็กเสริมเสาตอมอ และเทคอนกรีต ฐานรากที่หลอแลวเสร็จและพรอมประกอบเสาตอมอ

ฐานรากเสาเข็มพรอมเหล็กเสาตอมอ
3.4 เสาเข็มเจาะแหง

ขอดีของเสาเข็มเจาะแหง

• ขั้นตอนการทํางานไมกอใหเกิดมลพิษทางเสียงและการสั่นสะเทือนแกอาคารและบานเรือนที่อยู
ใกลบริเวณกอสราง
• วิศวกรสามารถสังเกตเห็นลักษณะชั้นดินและการเปลี่ยนแปลงของชั้นดินขณะที่เจาะหลุม
• ผูรับจางสามารถเปลี่ยนขนาดและความยาวของเสาเข็มเจาะใหสอดคลองกับสภาพดินในบาง
พื้นทีท่ ี่มคี วามแตกตางจากขอมูลที่ไดจากหลุมสํารวจ
• ฐานรากเสาเข็มสามารถเจาะทะลุชั้นกรวดขนาดใหญหรือแมแตหินได
3.4 เสาเข็มเจาะแหง

ขอเสียของเสาเข็มเจาะแหง
• การกอสรางและควบคุมงานที่ไมดีจะทําใหไดเสาเข็มที่มคี ุณภาพต่าํ และสงผลใหเสาเข็มไม
สามารถรับน้าํ หนักบรรทุกไดตามที่ออกแบบ
• เสาเข็มเจาะจะมีความเสียดทานระหวางดินและเสาเข็มนอยกวาเสาเข็มตอก เนื่องจากการตอก
เสาเข็มจะทําใหดินเคลื่อนตัวออกดานขาง สงผลใหแรงดันดินดานขางเพิ่มขึ้น ในขณะที่ การ
ทําเสาเข็มเจาะจําเปนตองขุดดินออก ทําใหแรงดันดินดานขางมีคา เทาเดิมหรือนอยลง
• แรงตานทานทีป่ ลายเสาเข็มของเสาเข็มเจาะจะมีคา นอยกวาเสาเข็มตอก เนื่องจากการตอก
เสาเข็มทําใหดินทีป่ ลายเข็มแนนขึ้น
3.5 การทําเสาเข็มเจาะในชัน
้ ดิน
ที่เกิดการพังทลายของหลุมเจาะ
การทําเสาเข็มเจาะที่มีความยาวเสาเข็มมากมีความจําเปนอยางมากสําหรับอาคารสูง เนื่องจากเปนการ
ประหยัดอยางมากเมื่อเปรียบเทียบกับการใชเสาเข็มหลายตน ตัวอยางเชน อาคารสูงหลายอาคารในแถบ
กรุงเทพมหานครใชเสาเข็มเจาะที่มีความยาวมากถึง 40-60 เมตร ซึ่งมีการเจาะผานชั้นดินเหนียวกรุงเทพ
และทะลุชั้นทรายชั้นที่ 1 ลงไปติดตั้งในชั้นดินเหนียวแข็งหรือในชั้นทรายชั้นที่ 2

การทําเสาเข็มเจาะแหงความยาวมากจึงไมเหมาะสมสําหรับชั้นดินเหนียวในแถบกรุงเทพมหานคร
เพราะอาจทําใหเกิดการพังทลายของหลุมเจาะ (Caving) ในชั้นทรายกอนและขณะเทคอนกรีต นอกจากนี้
ชั้นดินเหนียวออนอาจเกิดการปูดบวมขณะเทหรือหลังเทคอนกรีต
3.5 การทําเสาเข็มเจาะในชัน
้ ดิน
ที่เกิดการพังทลายของหลุมเจาะ

ลักษณะการเสียรูปของเสาเข็มในชั้นทราย
3.5 การทําเสาเข็มเจาะในชัน
้ ดิน
ที่เกิดการพังทลายของหลุมเจาะ

วิธีการแกปญหาการเสียรูปของเสาเข็มสามารถกระทําไดสองแบบ คือ

1) การใชปลอกเหล็ก

2) การเจาะเปยกโดยการใชของเหลวสําหรับการเจาะ (Drilling fluid) เชน สารละลาย


เบนโทไนตหรือสารละลายโพลีเมอร
3.5 การทําเสาเข็มเจาะในชัน
้ ดิน
ที่เกิดการพังทลายของหลุมเจาะ
วิธีการใชปลอกเหล็ก
1) เจาะหลุมจนถึงชั้นดินที่มีปญหา (ดินเหนียวออนหรือทรายสะอาด)
2) กดปลอกเหล็กลงในหลุมเจาะจนทะลุชั้นดินที่มีปญหา การกดปลอกเหล็กอาจใชระบบ
สั่นสะเทือน เสนผานศูนยกลางของปลอกเหล็กโดยทั่วไปจะประมาณ 50-150 เซนติเมตร
3.5 การทําเสาเข็มเจาะในชัน
้ ดิน
ที่เกิดการพังทลายของหลุมเจาะ
3) ใชหัวเจาะที่มีขนาดเล็กกวาปลอกเหล็ก เจาะหลุมผานปลอกเหล็กจนถึงระดับความลึกที่
ตองการ
4) ใสเหล็กเสริมและเทคอนกรีต พรอมทั้งยกปลอกเหล็กขึ้น ขั้นตอนนี้ตองใชความระมัดระวัง
อยางมาก เนื่องจากการยกปลอกเหล็กขึ้นเร็วเกินไปอาจทําใหดินแทรกในเสาเข็มเจาะ

Vibratory
Driver

Water Table

Caving Soil

Cohesive Soil
3.5 การทําเสาเข็มเจาะในชัน
้ ดิน
ที่เกิดการพังทลายของหลุมเจาะ
วิธีการเจาะเปยก (Slurry method)
1) ขุดหลุมเจาะประมาณ 3 เมตร
2) เติมสวนสารละลายระหวางน้ําและเบนโทไนต/สารละลายโพลีเมอรเพื่อใชเปนของเหลว
สําหรับเจาะ (Drilling slurry) ของเหลวนี้จะชวยปองกันการพังของหลุมเจาะ
3) ใชหัวเจาะเจาะทะลุชั้นดินจนไดความลึกที่ตองการ ในขณะเจาะตองใสของเหลวสําหรับเจาะ
เพิ่มอยูเสมอ

Cohesive Soil Soil


Slurry

Caving Soil
3.5 การทําเสาเข็มเจาะในชัน
้ ดิน
ที่เกิดการพังทลายของหลุมเจาะ
วิธีการเจาะเปยก (Slurry method)
4) ใสเหล็กเสริมลงในหลุมเจาะ
5) เทคอนกรีตลงในหลุมเจาะผานทอ Tremie โดยที่ปลายทออยูที่กนหลุม คอนกรีตจะดัน
ของเหลวสําหรับเจาะขึ้นมาที่ปากหลุมเจาะ

Cohesive Soil

Cohesive Soil Sump Caving Soil

Caving Soil
3.6 เสาเข็มกด

เสาเข็มกด เปนเสาเข็มที่ติดตั้งโดยการใชแมแรง (Hydraulic jack) กดเสาเข็มใหจมลงในดิน


เสาเข็มที่ใชอาจเปนเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กหรือทอเหล็กตอเปนทอนๆ ละประมาณ 1.0 เมตร เสนผาน
ศูนยกลางตั้งแต 10-20 เซนติเมตร เสาเข็มประเภทนี้นิยมใชสําหรับเสริมกําลังรับน้ําหนักบรรทุกของฐานราก
เดิม
3.6 เสาเข็มกด

ขั้นตอนการติดตั้งเสาเข็มกดในฐานราก สามารถสรุปอยางคราวๆ ไดดังนี้


1) ขุดหลุมจนถึงระดับฐานราก
3.6 เสาเข็มกด

2) เจาะรูที่ฐานรากเดิมดวยหัวเจาะเพชร ใหมีขนาดใหญกวาขนาดเสนผานศูนยกลางของเสาเข็มที่ใช
ในการเสริมฐานราก ประมาณ 5-10 เซนติเมตร เสาเข็มเหล็กตองมีความหนามากพอที่จะปองกันการกัด
กรอน (Corrosion) เพื่อใหมีอายุการใชงานนานเทาที่ตองการ
3.6 เสาเข็มกด

3) กดเสาเข็มลงในรูดวยแมแรง (Hydraulic jack) โดยใชคานคอดินเปนคานรับแรง (Reaction


beam)

Reaction beam

Reaction
column

Hydraulic
jack

Steel
pile
3.6 เสาเข็มกด

4) เทมอรตาลงในเสาเข็มเหล็ก เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของเสาเข็ม กะเทาะคอนกรีตหุมเสาตอมอจน


ถึงเหล็กเสริมและนําเหล็กรูปตัวซีมาเชื่อมตอเขากับเหล็กแกน เพื่อเพิ่มแรงยึดเกาะระหวางเสาตอมอกับฐาน
รากใหม เจาะรูที่เสาตอมอและรอยเหล็กเสริมผาน และทําการเชื่อมเหล็กเสริมใหเปนตะแกรงใหมีระยะหาง
เพียงพอที่จะตานทานโมเมนตดัด
3.6 เสาเข็มกด

5) ประกอบไมแบบและเทคอนกรีต
3.6 เสาเข็มกด

6) ปรับยกเสาตอมอบางตนที่เกิดการทรุดตัวมากเกินไป โดยการติดตั้งค้ํายันบนฐานรากใหมกับคาน
และตัดเสาตอมอโดยใชสวาน
3.6 เสาเข็มกด

7) หลังจากตัดเสาตอมอแลว ประกบแผนเหล็กเรียบเขาที่ผิวบนและผิวลางของตอมอ และติดตั้งแม


แรง
3.6 เสาเข็มกด

8) ทําการยกปรับระดับเสาตอมอพรอมกันทุกตน โดยการยกปรับระดับเปนขั้นๆ ทุกครั้งที่มีการปรับ


ระดับ ตองขันตัวค้ํายัน (Shoring) ตามเสมอ
9) หลังจากไดระดับความสูงตามตองการแลว นําแมแรงออก และใสเหล็กตัว I เขาที่กึ่งกลางของเสา
ตอมอ และหลอเสาตอมอใหกลับสูสภาพเดิม

Shoring
I-Beam

Shoring

Existing pier
3.7 การถายน้ําหนักของเสาเข็มเดี่ยว

เสาเข็มเดี่ยวถายน้ําหนักจากโครงสร างสูดินโดยผาน
ความเสียดทานระหวางเสาเข็มและดิน (Skin friction) และ ΔL1

แรงแบกทานที่ปลายเข็ม (End bearing) ความเสียดทาน ΔL 2

ระหวางเสาเข็มและดิน คือผลรวมของแรงเสียดทานอันเกิด
จากแรงยึดเกาะ (Adhesion) ระหวางเสาเข็มและดินตลอด ΔL 3

ความยาวเสาเข็ม สวนแรงแบกทานที่ปลายเข็ม คือกําลังรับ


แรงแบกทานของดินที่ปลายเข็ม ΔL 4
3.7 การถายน้ําหนักของเสาเข็มเดี่ยว

วิธีการประมาณความสามารถในการรับน้ําหนักของเสาเข็มเดี่ยว สามารถแบงไดสามวิธี ดังนี้

1) การวิเคราะหแบบสถิตยศาสตร โดยอาศัยผลทดสอบคุณสมบัติของดินในหองปฏิบตั ิการ


หรือในสนาม
2) การวิเคราะหแบบพลศาสตร ซึ่งคํานวณกําลังรับน้ําหนักจากการตอกเสาเข็ม หรือจาก
การสงผานของคลื่น
3) การทดสอบความสามารถในการรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็มในสนาม (Pile load
test)
3.7 การถายน้ําหนักของเสาเข็มเดี่ยว

การออกแบบเสาเข็ม มีหลักการที่ตองพิจารณาดังนี้
1) วัสดุที่ใชทาํ เสาเข็มตองมีความแข็งแรงพอสําหรับตานน้าํ หนักบรรทุก
2) เมื่อเสาเข็มรับน้าํ หนักบรรทุก ดินรอบขางและใตเสาเข็มตองไมเกิดการวิบตั ิเนื่องจาก
แรงเฉือน (Shear failure)
3) การทรุดตัวของเสาเข็มตองไมเกินคาการทรุดตัวยอมให
3.8 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตร

เสาเข็มในชั้นดินเหนียวสวนมากจะเปนเสาเข็มเสียดทาน ซึ่งรับน้ําหนักบรรทุกโดยแรงเสียดทานรอบ
เสาเข็มเปนสวนใหญ เพื่อความสะดวกในการออกแบบ (ไมตองพิจารณาความดันน้ําสวนเกินที่เกิดขึ้นขณะ
รับน้ําหนักบรรทุก) ซึ่งมักจะคํานวณน้ําหนักบรรทุกประลัยจากกําลังตานทานแรงเฉือนรวม (Total shear
strength analysis) แมวาการคํานวณโดยใชกําลังตานทานแรงเฉือนประสิทธิผลจะใหความละเอียด
ถูกตองมากกวา
3.8 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตร
พิจารณาเสาเข็มมีความแข็งแรงสูงมาก และไมเกิดการวิบัติของเสาเข็มขณะรับน้ําหนัก น้ําหนัก
บรรทุกประลัย (Failure load, Qf) ของเสาเข็มคํานวณไดจากผลรวมของแรงตานเนื่องจากแรงเสียดทาน
ระหวางเสาเข็มและดินเหนียว (Qs) และแรงตานทานที่ปลายเข็ม (Qb)
Q f = Qs + Qb

Pf +W p = cs As + ( Nc Ab Su + qAb )

เมื่อ Pf คือน้ําหนักบรรทุกประลัยสุทธิ Wp คือน้ําหนักของเสาเข็ม As คือพื้นที่รอบรูปของเสาเข็ม


Ab คือพื้นที่หนาตัดปลายเสาเข็ม Su คือกําลังตานทานแรงเฉือนที่ปลายเสาเข็ม cs คือหนวยแรง
ยึดเกาะเฉลี่ยระหวางผิวเสาเข็มและดิน Nc คือแฟคเตอรกําลังรับแรงแบกทาน และ q คือน้ําหนัก
กดทับ (Overburden pressure)
3.8 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตร
เนื่องจากน้ําหนักของเสาเข็ม (Wp) มีคาใกลเคียงกับ qAb ดังนั้น น้ําหนักบรรทุกประลัยสุทธิ (Pf) มี
คาเทากับ
Pf = Ps + Pb

โดยที่ Ps = Q f = cs As = α Su

Pb = Nc Su Ab

เมื่อ α คือแฟคเตอรยึดเกาะ (Adhesion factor) คา Pb คํานวณไดโดยการแทนคา Nc ดวย 9.0


สําหรับเสาเข็มที่มีอัตราสวนความยาวตอเสนผานศูนยกลางมากกวา 5.0 คา Nc ของเสาเข็มที่มีอัตราสวน
ความยาวตอเสนผานศูนยกลางนอยกวา 5.0
3.8 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตร
คา Nc ของเสาเข็มที่มีอัตราสวนความยาวตอเสนผานศูนยกลางนอยกวา 5.0
10

9
Bearing capacity factor, Nc

5
0 1 2 3 4 5

Ratio of pile length to pile diameter

ความสัมพันธระหวาง Nc กับอัตราสวนความยาวตอขนาดของเสาเข็ม (Skempton, 1951)


3.8 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตร
แฟคเตอรยึดเกาะสําหรับเสาเข็มตอกและเสาเข็มเจาะ
การตอกเสาเข็มลงในชั้นดินเหนียวกอใหเกิดความดันน้ําสวนเกิน นํามาซึ่งการเปลี่ยนแปลงของกําลัง
ตานทานแรงเฉือน และทําใหดินในสนามกลายสภาพเปนสภาพปนใหม (Remolded state) และเกิดการ
บวมตัวของผิวดิน ปรากฏการณนี้มีผลอยางมากตอแรงยึดเกาะระหวางเสาเข็มและดิน

คาแฟคเตอรยึดเกาะของดินเหนียวออนจึงมีคาสูง และอาจมีคามากกวา 1.0 สําหรับดินเหนียวออน


มาก ในทางตรงกันขาม คาแฟคเตอรยึดเกาะจะมีคานอยลงตามกําลังตานทานแรงเฉือนหรืออัตราสวนการอัด
ตัวมากกวาปกติ (Overconsolidation ratio) ของดิน
3.8 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตร

ความสัมพันธระหวาง Su กับ α (Horpibulsuk and Kampala, 2007)


3.8 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตร

คา α ที่ไดจากการทดสอบกําลังเสาเข็ม (Visic, 1977)


3.8 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตร
คาแฟคเตอรยึดเกาะมีคาแปรผันอยางมากกับชนิดของดิน ความสัมพันธที่เสนอโดย American
Petroleum Institute (API) มีความสอดคลองกับผลทดสอบที่เสนอโดยนักวิจัยอื่นๆ มาก ความสัมพันธ
ดังกลาวแสดงไดดังนี้

α =1.0 สําหรับ Su < 25 kPa (500 lb/ft2)

α =1− 0.5 S −

⎜ 25kPa ⎞

u

50kPa ⎟⎟⎠

สําหรับ 25 kPa (500 lb/ft2) < Su < 75 kPa (15 lb/ft2)

α = 0.5 สําหรับ Su > 75 kPa (1500 lb/ft2)


3.8 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตร
การตอกเสาเข็มลงในชั้นดินเหนียวแข็งถึงแข็งมาก (Stiff to very stiff clay) กอใหเกิดชองวางที่
สวนบนเสาเข็มโดยรอบ และมีผลกระทบอยางมากตอความสามารถในการรับน้ําหนักของเสาเข็ม โดยเฉพาะ
อยางยิ่งสําหรับเสาเข็มมีความยาวนอยกวา 20 เทาของเสนผานศูนยกลาง ผูออกแบบอาจใชคาแฟคเตอรแรง
ยึดเกาะเทากับ 0.4 สําหรับเสาเข็มที่มีความยาวระหวาง 8 ถึง 20 เทาของเสนผานศูนยกลาง และใชสมการ
ดานลาง สําหรับเสาเข็มที่มีความยาวมากกวา 20 เทาของเสนผานศูนยกลาง

α =1.0 สําหรับ Su < 25 kPa (500 lb/ft2)

α =1− 0.5 S ⎛
⎜− 25kPa ⎞

u

50kPa ⎟⎟⎠

สําหรับ 25 kPa (500 lb/ft2) < Su < 75 kPa (15 lb/ft2)

α = 0.5 สําหรับ Su > 75 kPa (1500 lb/ft2)


3.8 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ดินเหนียวโดยวิธีสถิตยศาสตร
สําหรับเสาเข็มเจาะ Skempton (1966) แนะนําใหใชคา α = 0.45 และเสนอสมการคํานวณน้ําหนัก
บรรทุกประลัยไวดังนี้

Ps = 0.45Su As

Pb = 9wAb Su

เมื่อ w คือตัวคูณปรับลดกําลัง ซึ่งมีคาเทากับ 0.8 และ 0.75 สําหรับเสาเข็มที่มีขนาดเล็กกวาและใหญกวา


1.0 เมตร ตามลําดับ
3.9 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ทรายโดยวิธีสถิตยศาสตร
น้ําหนักประลัยสุทธิของเสาเข็มในชั้นทรายคํานวณไดเชนเดียวกับวิธีการคํานวณของเสาเข็มในชั้นดิน
เหนียว เมื่อพิจารณาวาน้ําหนักของเสาเข็ม (Wp) มีคาประมาณ 0.5γBNγ จะได

Pf = Ps + Pb

โดยที่ Ps = As f s = As Kσ vs′ tanδ


Pb = Abqb = Abσ vb
′ Nq

เมื่อ σ′vb คือความเคนประสิทธิผลในแนวดิ่งที่ปลายเสาเข็ม σ′vs คือความเคนประสิทธิผลในแนวดิ่งเฉลี่ย


ตลอดความยาวเสาเข็ม K คือสัมประสิทธิ์ความดันดินดานขาง δ′ คือมุมเสียดทานระหวางเสาเข็มและ
ทราย และ Nq คือแฟคเตอรกําลังรับแรงแบกทาน
3.9 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ทรายโดยวิธีสถิตยศาสตร

มุมเสียดทานระหวางเสาเข็มและทราย (Stas and Kulhawy, 1984)


ผิวสัมผัส δ′ / φ′
ทราย/คอนกรีตผิวหยาบ 1.0
ทราย/คอนกรีตผิวเรียบ 0.8 - 1.0
ทราย/เหล็กผิวหยาบ 0.7 - 0.9
ทราย/เหล็กผิวเรียบ 0.5 - 0.7
ทราย/ไม 0.8 - 0.9
3.9 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ทรายโดยวิธีสถิตยศาสตร

สัมประสิทธิ์ความดันดินดานขาง (Stas and Kulhawy, 1984)

ชนิดของเสาเข็มและวิธีการติดตั้ง K/K0
เสาเข็มฉีดน้ํา (Jetted pile) 0.5 - 0.67
เสาเข็มหลอในที่ (Cast-in-situ) 0.67 - 1.0
เสาเข็มตอกชนิดเคลื่อนตัวนอย 0.75 - 1.25
เสาเข็มตอกชนิดเคลื่อนตัวมาก 1-2
3.9 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ทรายโดยวิธีสถิตยศาสตร

Berezantzev et al. (1961) สมมติวาลิ่มการวิบัติที่


ปลายเสาเข็มมีปลายแหลมทํามุม 90 องศา (ลิ่มการวิบัติ
ทํามุมเอียง 45 องศา กับแนวนอน) และสมมติวาที่จุด
วิบัติ ความเคนกดทับสุทธิที่ปลายเสาเข็ม (qT) มีคา
เทากับผลรวมของน้ําหนักดิน (W) และความเสียดทาน
เนื่องจากแรงดันดินดานขาง (T)

ลักษณะการวิบตั ิของเสาเข็มโดยทฤษฎีของ Berezantzev et al. (1961)


3.9 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ทรายโดยวิธีสถิตยศาสตร

1000

500
Poulos (2001) กลาววา อัตราสวนระหวาง
ความยาวต อ เส น ผ า นศู น ย ก ลางของเสาเข็ ม มี
100
Nq

อิทธิพลตอความสัมพันธดังกลาวนอยมาก จึงได
50
ปรับปรุงและสรางความสัมพันธระหวางแฟคเตอร
กําลังรับแรงแบกทาน (Nq) และมุมเสียดทาน
10 ภายใน
25 30 35 40 45

Internal friction angle (Degree)

การเปลี่ยนแปลงของ Nq กับมุมเสียดทานภายใน (ดัดแปลงจาก Berezantzev et al., 1961)


3.9 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ทรายโดยวิธีสถิตยศาสตร

Meyerhof (1959) แสดงใหเห็นวาความกวางของ


โซนที่แนนขึ้นเนื่องจากการตอกเสาเข็ม (Zone of
volume change, b) มีคาประมาณ 6 ถึง 8 เทา
ของเสนผานศูนยกลางเสาเข็ม และความกวางของ
โซนการวิบัติ (Failure zone, a) มีคาประมาณ 4
เทาของเสนผานศูนยกลางเสาเข็ม

โซนการวิบตั ิและการเปลี่ยนแปลงปริมาตรเนื่องจากการตอกเสาเข็ม (Meyerhof, 1959)


3.9 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ทรายโดยวิธีสถิตยศาสตร

Kishida (1963) สมมติวาการเปลี่ยนแปลงมุม


เสียดทานภายในของทรายมีคาลดลงเปนเสนตรง
ตามระยะห า งของเสาเข็ ม และมี ค า คงที่ เ มื่ อ
ระยะห า งมี ค า เท า กั บ 3.5 เท า ของเส น ผ า น
ศูนยกลาง

การเปลี่ยนแปลงมุมเสียดทานภายในของทราย เนื่องจากการตอกเสาเข็ม (Kishida, 1963)


3.9 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ทรายโดยวิธีสถิตยศาสตร
Kishida and Meyerhof (1965) เสนอความสัมพันธระหวางมุมเสียดทานภายในหลังตอกเสาเข็ม
กับมุมเสียดทานภายในของทรายกอนตอกเสาเข็มดังนี้

φ0′ + 40°
φ1′ =
2

เมื่อ φ′1 คือมุมเสียดทานภายในหลังตอกเสาเข็ม และ φ′0 คือมุมเสียดทานภายในกอนตอกเสาเข็ม

มุม 40 องศา ในสมการ บงบอกวาการตอกเสาเข็มในทรายที่มีมุมเสียดทานภายในเทากับ 40 องศา จะไม


กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงปริมาตร
3.9 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ทรายโดยวิธีสถิตยศาสตร

Poulos (2001) แนะนําวา ผูออกแบบสามารถใชรูปดาน


1000

500

ซายมือ ประมาณคา Nq ไดทั้งกับเสาเข็มตอกและเสาเข็ม


เจาะ แตตองมีการปรับแกคาของมุมเสียดทานภายในกอน
100
Nq

50
โดยที่มุมเสียดทานภายในปรับแกหาไดจาก

สําหรับเสาเข็มตอก มีคาเทากับ φ1′ = φ0′ + 40° องศา


2
10

สําหรับเสาเข็มเจาะ มีคาเทากับ (φ′0 – 3°) องศา


25 30 35 40 45

Internal friction angle (Degree)


3.9 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ทรายโดยวิธีสถิตยศาสตร

API (1984) ไดแนะนําคาขอบเขตของความเคนที่ปลายเข็ม (qbl) และผิว (fsl ) สําหรับการออกแบบ


เสาเข็มในชั้นทราย คา qb ตองมีคาไมเกิน qbl และ fs ตองมีคาไมเกิน fsl

ขอบเขตของคาความเคนที่ผิวและปลายเสาเข็มในชั้นทราย (API 1984)


ชนิดของดิน fsl (ตันตอตร.ม.) qbl (ตันตอตร.ม.)
ทรายหลวมถึงหลวมมาก และดินตะกอนหลวม 4.8 190
ดินตะกอนแนน ทรายหลวม ทราย/ดินตะกอนแนนปานกลาง 6.7 290
ดินตะกอนแนน ทรายแนนปานกลาง ทราย/ดินตะกอนแนน 8.0 480
ทรายแนน ทราย/ดินตะกอนแนนมาก 9.6 960
กรวดแนน ทรายแนนมาก 11.5 1200
3.10 พื้นที่หนาตัดและพื้นที่รอบรูปของเสาเข็ม

เสาเข็มหนาตัดปด (Closed-section pile) คือ เสาเข็มซึ่งผิวสัมผัสระหวางดินและเสาเข็มเกิดขึ้น


ตามแนวเสนรอบรูปของเสาเข็มไดอยางสมบูรณ เสาเข็มประเภทนี้ไดแกเสาเข็มทุกชนิด ยกเวนเสาเข็มรูปตัว
H (H pile) และเสาเข็มกลวง (Open-end pipe pile) การคํานวณพื้นที่หนาตัดปลายเสาเข็มและพื้นที่
รอบรูปเสาเข็มของเสาเข็มหนาตัดปดกระทําไดอยางงายดาย

เสาเข็มหนาตัดเปด (Open-section pile) คือ เสาเข็มที่มีผิวสัมผัสระหวางดินและเสาไมคอยดี


เสาเข็มประเภทนี้ไดแก เสาเข็มกลวง และเสาเข็มรูปตัว H พื้นที่สัมผัสที่ไมดีนี้กอใหเกิดความยุงยากในการ
คํานวณพื้นที่หนาตัดปลายเสาเข็มและพื้นที่รอบรูปเสาเข็ม
3.10 พื้นที่หนาตัดและพื้นที่รอบรูปของเสาเข็ม

Paikowsky and Whitman (1990) ; Miller and Lutenegger (1997) พบวา ปจจัยที่มี
อิทธิพลตอการเกิดหัวจุกดินมีดวยกันหลายประการ ไดแก ชนิดของดิน ความเคนในสนาม เสนผาน
ศูนยกลางและความยาวของเสาเข็ม วิธีการตอกเสาเข็ม อัตราการตอก และอื่นๆ

Paikowsky and Whitman (1990) กลาววา หัวจุกดินจะเกิดก็เมื่ออัตราสวนระหวางความยาว


เสาเข็มตอเสนผานศูนยกลางเสาเข็มมากกวา 10 ถึง 20 และ 25 ถึง 35 สําหรับดินเหนียวและทราย
ตามลําดับ
3.10 พื้นที่หนาตัดและพื้นที่รอบรูปของเสาเข็ม

สําหรับเสาเข็มรูปตัว H ชองวางระหวางปกของ
เสาเข็มรูปตัว H มีนอยกวาชองวางภายใน
เสาเข็ ม มาก ดั ง นั้ น ระยะจมเพี ย งเล็ ก น อ ยก็
ก อ ให เ กิ ด หั ว จุ ก ดิ น ดั ง นั้ น ในการวิ เ คราะห
คํานวณ Ab และ As โดยสมมติวาหัวจุกดินเกิด
ไดอยางสมบูรณ

การเกิดหัวจุกดินในเสาเข็มหนาตัดเปด
3.11 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัย
จากผลทดสอบในสนาม
3.11.1 การทดสอบการทะลุทะลวงดวยกรวย
วิธีการนี้ใชไดกับเฉพาะเสาเข็มในชั้นทราย แรงแบกทานประลัยที่ปลายเสาเข็มมีคาประมาณ

Pb = Abqc

เมื่อ qc คือกําลังตานทานที่ปลายกรวยเฉลี่ยตลอดความลึกจาก 4B เหนือปลายเสาเข็มถึง 1B ต่ํา


กวาปลายเสาเข็ม (B คือความกวางของเสาเข็ม) จากการศึกษาพบวา ถาใชอัตราสวนปลอดภัยเทากับ 2.5 ใน
การออกแบบ การทรุดตัวภายใตสภาวะการใชงานจะมีคาไมเกิน 12 มิลลิเมตร
3.11 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัย
จากผลทดสอบในสนาม
3.11.1 การทดสอบการทะลุทะลวงดวยกรวย
แรงเสียดทานรอบเสาเข็มสามารถคํานวณไดโดยใชทฤษฎีสถิตยศาสตร หรือจากผลทดสอบในสนาม
ดังจะแสดงตอไปนี้
สําหรับเสาเข็มเคลื่อนตัวมาก แรงเสียดทานประลัยรอบเสาเข็มสามารถคํานวณไดดังนี้
qc(av)
fs = kN/m2
200

สําหรับเสาเข็มเคลื่อนตัวนอย เชน เสาเข็มรูปตัว H แรงเสียดทานประลัยคํานวณไดดังนี้


qc(av)
fs = kN/m2
400
3.11 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัย
จากผลทดสอบในสนาม
3.11.2 การทดสอบการทะลุทะลวงมาตรฐาน
Meyerhof (1956) ไดเสนอความสัมพันธระหวางแรงเสียดทานประลัยรอบเสาเข็ม (fs) และกําลัง
ตานทานที่ปลายเข็ม (qb) กับคา SPT ซึ่งสามารถใชไดกับทั้งเสาเข็มในชั้นดินเหนียวและทราย ตอมา
Decourt (1982 และ 1995) ไดพัฒนาความสัมพันธดังกลาวในรูปของสมการดังตอไปนี้
f s = α (2.8N60 +10) kN/m2

qb = Kb ( N60 )b kN/m2

เมื่อ N60 คือคาตัวเลขทะลุทะลวงมาตรฐานในสนาม α เทากับ 1 สําหรับเสาเข็มเคลื่อนตัวในดินทุกชนิด และ


สําหรับเสาเข็มไมเคลื่อนตัวในดินเหนียว และเทากับ 0.5 - 0.6 สําหรับเสาเข็มไมเคลื่อนตัวในดินเม็ดหยาบ
( N60)b คือคาเฉลี่ยของตัวเลขทะลุทะลวงมาตรฐานที่บริเวณปลายเข็ม และ Kb คือแฟคเตอรปลายเข็ม
3.11 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัย
จากผลทดสอบในสนาม
3.11.2 การทดสอบการทะลุทะลวงมาตรฐาน

แฟคเตอรปลายเข็ม (Decourt, 1995)


ชนิดของดิน เสาเข็มเคลื่อนตัว เสาเข็มไมเคลื่อนตัว
ทราย 325 165
ดินตะกอนปนทราย 205 115
ดินตะกอนปนดินเหนียว 165 100
ดินเหนียว 100 80
3.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม

สัญลักษณที่ใชในสมการตอกเสาเข็มมีดังตอไปนี้
Wh คือน้ําหนักของตุมน้ําหนัก
Wp คือน้ําหนักของเสาเข็ม
Y คือระยะยกของตุมน้ําหนัก
R คือกําลังตานทานการตอก ซึ่งมีคาเทากับน้ําหนักบรรทุกประลัย
s คือระยะจมของเสาเข็มตอการตอกหนึ่งครั้ง
A คือพื้นที่หนาตัดของเสาเข็ม
L คือความยาวของเสาเข็ม
E คือโมดูลัสยืดหยุนของเสาเข็ม
3.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม

สูตรที่ 1
สมมติฐาน
ก) ตุมน้ําหนักและเสาเข็มเปนวัสดุที่รับพลังงานเนื่องจากการกระแทก (Impinging particle)
ข) ตุมน้ําหนักสงผานพลังงานทั้งหมดไปกับการตกกระแทก
ค) เมื่อมีการกระแทกเกิดขึ้น กําลังตานทาน R ที่กระทําตอเสาเข็มเกิดขึ้นทันที และมีคาคงที่ตลอดการเคลื่อน
ตัวของเสาเข็ม
พลังงานที่เกิดจากการกระแทกมีคาเทากับ WhY และพลังงานตานการเคลื่อนตัวมีคาเทากับ Rs ดังนั้น

WhY = Rs
3.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม

สูตรที่ 2
สมมติฐาน
ก) ตุมน้ําหนักและเสาเข็มเปนวัสดุที่รับพลังงานเนื่องจากการกระแทก (Impinging particle)
ข) ตุมน้ําหนักสงผานพลังงานทั้งหมดไปกับการตกกระแทก
ค) ทันทีที่มีการกระแทกของตุมน้ําหนัก กําลังตานทานมีคาเพิ่มขึ้นจนกระทั่งถึงคา R โดยมีพฤติกรรมเปน
แบบยืดหยุน หลังจากนั้น เสาเข็มจะเคลื่อนตัวตอไปดวยกําลังตานทานที่คงที่ จนกระทั่งไดระยะจมคาหนึ่ง
เสาเข็มก็จะเกิดการเคลื่อนตัวกลับ (Rebound) และกําลังตานทานจะมีคาลดลงจนกระทั่งเปนศูนย
3.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม

พลังงานทั้งหมดที่ใชในการกระแทก = OABD
A B
= OABC + BDC
R

WhY = R(s + c /2)

s c
เมื่อ c คือการเคลื่อนตัวแบบยืดหยุนของเสาเข็ม
E C D
O
Displacement

สําหรับ Drop Hammer: WhY = R(s +1.0)


ไดอะแกรมกําลังตานทานและการเคลื่อนตัวของเสาเข็ม
สําหรับ Single Acting-Hammer: WhY = R(s + 0.1)
3.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม

สูตรที่ 3
สมมติฐาน
สมมติฐานเชนเดียวกับสมมติฐานของสูตรที่ 2
ถาแรงกระแทกมีคานอยกวาความตานทานของดิน ตุมน้ําหนักจะกระเดงกลับ และจะไมเกิดการเคลื่อนตัวของ
เสาเข็ม เสาเข็มจะเริ่มเคลื่อนตัวเมื่อตุมน้ําหนักสงถายน้ําหนักเทากับพื้นที่ OAE ถาพลังงานที่พอดีทําให
เสาเข็มเริ่มเคลื่อนตัวเกิดจากการยกตุมน้ําหนักสูง Y0 พลังงานเนื่องจากตุมน้ําหนักมีคาเทากับ WhY0 แต
เนื่องจาก OAE = CBD = Rc/2 ดังนั้น WhY0 = Rc/2 และจากสมการที่ WhY = R(s + c /2) จะได
WhY = Rs +WhY0

เมื่อ Y0 เปนคาที่ประมาณไดจากการบันทึกผลการตอกเสาเข็ม โดยการสรางความสัมพันธระหวางระยะยกตุม


น้ําหนัก (Y) และระยะจมของเสาเข็ม (s)
3.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม

คา Y0 หาไดจากจุดตัดแกน y

Height of fall of hammer ( H)

H0

Set (s)

ความสัมพันธระหวางระยะตกกระทบและระยะจม เพื่อใชหา Y0
3.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม
Morrison (1868) พบวา คากําลังตานทานของดินสามารถหาไดจากคาระยะจมสองคา (s1 และ s2) ซึ่งเปน
คาที่ไดจากระยะตกกระทบเทากับ Y1 และ Y2 ตามลําดับ

WhY1 = Rs1 + Rc /2

WhY2 = Rs2 + Rc /2

ดังนั้น

Wh (Y1 −Y2 ) = R(s1 − s2 )


3.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม

สูตรที่ 4
สมมติฐาน
ก) ตุมน้ําหนักและเสาเข็มเปนวัสดุที่รับพลังงานเนื่องจากการกระแทก (Impinging particle) ซึ่งมี
สัมประสิทธิ์การพักฟน (Coefficient of restitution) เทากับ er

ข) สมการพลังงานแสดงดังนี้
WhY = Rs +U

เมื่อ U คือพลังงานที่สูญเสียเนื่องจากการตอกเสาเข็ม
3.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม

ค) พลังงานที่สูญเสียเนื่องจากการตอกเสาเข็มเกิดเนื่องจากการกระแทกเพียงอยางเดียว

ตามกฎของนิวตัน พลังงานที่สูญเสียเนื่องจากกระแทกของวัสดุสองชนิด ซึ่งมีมวล M และ m มีความเร็ว V


(1− er 2 )Mm(V − v)2
และ v คือ 2(M + m)
โดยการแทนคา M = Wh/g, m = Wp/g, V = (2gY)0.5 และ
(1− er 2 )W pWhY
v=0 จะได U = และเมื่อแทนคานี้ลงในสมการWhY = Rs +U จะได
(Wh +W p )

WhY (Wh + er 2W p )
= Rs
(Wh +W p )

Wh2Y
ถาสมมติให er = 0 จะได = Rs สมการของ Dutch หรือสมการของ Eytewein
(Wh +W p )
3.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม

สูตรที่ 5
สมมติฐาน
ก) พลังงานที่สูญเสียเนื่องจากการตอกเสาเข็มคํานวณไดจาก WY = Rs + U

ข) ขณะที่ตอกเสาเข็ม จะเกิดการสูญเสียพลังงานเนื่องจากการอัดตัวแบบยืดหยุนในเสาเข็ม ราวกับวามีแรง


R มากระทํา
การอัดตัวแบบยืดหยุนของเสาเข็มหาไดจาก RL/AE และพลังงานยืดหยุนมีคาเทากับ R2L/2AE ดังนั้น U
= R2L/2AE และ
R 2L
WhY = Rs + สมการของ Weibach (1850)
2 AE
3.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม

สูตรที่ 6
สมมติฐาน
ก) พลังงานที่กระแทกเสาเข็ม มีคาเทากับ kWhY โดยที่ k คือประสิทธิภาพของชุดตอกเสาเข็ม ซึ่งมีคา
นอยกวา 1.0 เนื่องจากการสูญเสียอันเกิดจากความฝดและการสูญเสียอื่นๆ ขณะตอกเสาเข็ม
ข) พลังงานที่สูญเสียเกิดเนื่องจากการอัดตัวของเสาเข็ม คํานวณไดเชนเดียวกับในสูตรที่ 5
ค) พลังงานที่สูญเสียเกิดเนื่องจากการกระแทกของวัสดุสองชนิด คํานวณไดเชนเดียวกับในสูตรที่ 4
ดังนั้น สมการพลังงานคือ
kWhY 2
= R L + Rs สมการของ Janbu (1953 )
(1.5 + 0.3W p /Wh ) 2 AE
3.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม

สามารถเขียนในรูปแบบอยางงายไดดังนี้
WhY
R=
Ku s

W
เมื่อ Cd = 0.75 + 0.15 p
Wh
⎡ ⎤
Ku = Cd 1+ 1+ λ
⎢ ⎥
⎢ ⎥
⎢ Cd ⎥
⎣⎢ ⎦⎥

WhYL
λ=
AEs2
3.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม

สูตรที่ 7
สมมติฐาน
ก) พลังงานที่กระแทกเสาเข็มมีคาเทากับ kWhY
ข) พลังงานที่สูญเสียเนื่องจากการอัดตัวแบบยืดหยุนของเสาเข็มมีคาเทากับ (2kWhYL/AE)0.5
ดังนั้น สมการพลังงานคือ
0.5
⎛ ⎞
2kWhYL
kWhY = Rs + R ⎜


⎟ สมการของ Danish
2 ⎜⎜ AE ⎟⎟
⎝ ⎠
3.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม

สูตรที่ 8
พลังงานที่สูญเสียถูกสมมติวาเกิดจาก
ก) ระบบของตุมน้ําหนัก
ข) การกระแทก
ค) การอัดตัวแบบยืดหยุนของเสาเข็ม (cp)
ง) การอัดตัวของหมอนรองหัวเสาเข็ม (cc)
จ) การอัดตัวของดิน (cq)
ถา L′, A′, และ E′ คือความยาว พื้นที่ และโมดูลัสเทียบเทาของหมอนรองหัวเสาเข็ม ตามลําดับ สมการ
พลังงานสามารถแสดงไดดังนี้
kWhY = Rs + kWhYW p (1− e 2) 2 2 Rc
+ R L + R L′ + q
(Wh +W p ) 2 AE 2 A′E′ 2
3.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม

kWhY = Rs + kWhYW p (1− e ) + R L + R L′ + q


2 2 2 Rc
(Wh +W p ) 2 AE 2 A′E′ 2

เมื่อแทนคา RL = c
AE p
และ ARLE′ = cc ลงในสมการดานบน จะได
′ ′

k (Wh + e2W p )WhY ⎡


1 ⎤
= R ⎢ s + (c p + cc + cq )⎥⎥

(Wh +W p ) ⎣
2 ⎦

สมการนี้เรียกวา สมการของ Hiley


3.12 การประมาณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
ในชัน
้ ทรายดวยสมการตอกเสาเข็ม

รูปแบบของสมการ Hiley ที่พบบอย คือ


WhYη
R= ⎡ ⎤
⎢ s + ⎛⎜ cc + c p + cq ⎞⎟ / 2⎥
⎢ ⎝ ⎠ ⎥
⎣ ⎦

เมื่อ η = k (Wh + er2W p )/(Wh +W p )

c p = 0.72RL
A
1.8RL2
cc = โดยที่ L2 คือความหนาของกระสอบรองหัวเสาเข็ม (เมตร)
A
cq = 3.60 R
A
โดยที่ R, L และ A มีหนวยเปนตัน เมตร และตารางเซนติเมตร ตามลําดับ
3.13 น้ําหนักบรรทุกยอมใหของเสาเข็มเดี่ยว

Whitaker and Cooke (1966) ศึกษาอิทธิพลของรูปรางเสาเข็มตอพฤติกรรมการรับน้ําหนัก โดย


ติดตั้งมาตรวัดแรง (Load cell) ที่ผิวและปลายเสาเข็ม

ผลทดสอบแสดงใหเห็นวาเมื่อมีน้ําหนักบรรทุกกระทําบนเสาเข็ม แรงเสียดทานรอบเสาเข็มจะเกิดขึ้น
อยางรวดเร็วและมีความสัมพันธเชิงเสนตรงกับการเคลื่อนตัว แรงเสียดทานนี้เกิดขึ้นอยางเต็มที่ เมื่อเกิดการ
เคลื่อนตัวของเสาเข็มเพียงแค 0.5 เปอรเซ็นต ของเสนผานศูนยกลางเสาเข็ม ตอจากนั้น แรงเสียดทานนี้
อาจมีคาคงที่หรือลดลง ตามการเคลื่อนตัวของเสาเข็ม ในขณะที่ แรงแบกทานที่ปลายเข็มจะเกิดขึ้นอยาง
เต็มที่ เมื่อเกิดการทรุดตัวประมาณ 10 - 20 เปอรเซ็นต ของเสนผานศูนยกลางที่ปลายเข็ม
3.13 น้ําหนักบรรทุกยอมใหของเสาเข็มเดี่ยว

Total
Total

Base
Shaft
Load

Load
Shaft
Base

Settlement Settlement

(a) เสาเข็มแรงเสียดทาน (b) เสาเข็มดาล


ความสัมพันธระหวางน้าํ หนักและการทรุดตัวของเสาเข็มเจาะ
3.13 น้ําหนักบรรทุกยอมใหของเสาเข็มเดี่ยว

น้ําหนักบรรทุกยอมให สามารถคํานวณไดดังนี้
P
Pa ≤ Ps + b
FSs FSb

เมื่อ FSs คืออัตราสวนปลอดภัยสําหรับแรงเสียดทาน ควรมีคาอยูระหวาง 1.2 ถึง 1.5


FSb คืออัตราสวนปลอดภัยสําหรับแรงแบกทานที่ปลายเข็ม ควรมีคาไมนอยกวา 3.0

ผูออกแบบตองคํานึงถึงอัตราสวนปลอดภัยโดยรวมของเสาเข็มดวย น้ําหนักบรรทุกยอมใหควรมีคาเทากับ
Ps + Pb
Pa ≤
FS

เมื่อ FS คืออัตราสวนปลอดภัยรวม ควรมีคาอยูระหวาง 2.0 ถึง 2.5


3.14 แรงฉุดลงของเสาเข็ม (Negative Skin Friction : NF)

แรงฉุดลงของเสาเข็ม คือแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นระหวางมวลดินกับเสาเข็ม อันเปนผลจากการที่ดิน


บริเวณรอบเสาเข็มเกิดการเคลื่อนตัวมากกวาการทรุดตัวของเสาเข็ม สภาพที่ทําใหเกิดแรงฉุดลง คือปลาย
เสาเข็มวางตัวในชั้นที่มีการทรุดตัวนอยและมีชั้นดินอัดตัวสูง (Highly compressive soil) เชน ดิน
เหนียวออน วางตัวอยูดานบน แรงฉุดลงจะเกิดในชั้นดินเหนียวออน ตั้งแตหัวเสาเข็มจนถึงจุดสะเทิน
(Neutral point) ซึ่งเปนจุดที่การเคลื่อนตัวของมวลดินกับเสาเข็มประมาณเทากัน
3.14 แรงฉุดลงของเสาเข็ม (Negative Skin Friction : NF)

การเกิดแรงฉุดลงเนื่องจากการถมดิน
3.14 แรงฉุดลงของเสาเข็ม (Negative Skin Friction : NF)
3.14.1 สาเหตุของการเกิดแรงฉุดลง (Cause of Negative Skin Friction)
ในชั้นดินกรุงเทพ
1) ผลของการอัดตัวคายน้ําปฐมภูมิอันเนื่องจากความเคนที่กระทําบนผิวดิน เชน การถมดิน ฉุด
ใหเสาเข็มจมลง ในกรณีนี้ จุดสะเทิน (Neutral point) จะอยูบริเวณเสนขอบเขตระหวาง
ดินเหนียวออนกับดินเหนียวแข็งปานกลาง
2) การสูบน้ําบาดาลทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงความเคนประสิทธิผลในแนวดิ่ง เนื่องจากการ
ลดลงของความดันน้ํา (Pore pressure)
3) ผลจากการตอกเสาเข็ม เนื่องจากการตอกเสาเข็มเปนการรบกวนดินรอบขาง และทําใหเกิด
ความดันน้ําสวนเกิน (Excess Pore Pressure) ซึ่งมีผลทําใหดินเกิดการทรุดตัวดวย
น้ําหนักของดินเอง กรณีเชนนี้ มักเกิดกับดินที่มีคาความไวตัว (Sensitivity) สูง
3.14 แรงฉุดลงของเสาเข็ม (Negative Skin Friction : NF)
3.14.2 การวิเคราะหแรงฉุดลง (Negative Skin Friction Analysis)
แรงฉุดลงเปนปญหาที่เกิดในระยะยาว (Long–term) จากการวิเคราะหดวยวิธีความเคน
ประสิทธิผล แรงฉุดลง (Negative skin friction) (Burland, 1973)

NF = βσ v′ (av) ρΔL

เมื่อ β คือตัวคูณประกอบ
σ′v(av) คือความเคนประสิทธิผลเฉลี่ย เนื่องจากน้ําหนักชั้นดิน (Overburden) และดินถม (Fill)
ρ คือเสนรอบรูปเสาเข็ม (Perimeter of pile)
ΔL คือความหนาของชั้นดินเหนียวออนที่เกิดแรงฉุดลง
3.14 แรงฉุดลงของเสาเข็ม (Negative Skin Friction : NF)
3.14.2 การวิเคราะหแรงฉุดลง (Negative Skin Friction Analysis)

ความสัมพันธของคา β ชนิดของดิน (Burland, 1973)


ชนิดของดิน β
ดินเหนียวปนดินตะกอน 0.25
ดินเหนียวที่มีความเปนพลาสติกต่ํา 0.20
ดินเหนียวที่มีความเปนพลาสติกปานกลาง 0.15
ดินเหนียวที่มีความเปนพลาสติกสูง 0.10
3.15 วิธีทดสอบกําลังรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็ม

สําหรับโครงการที่ใชเสาเข็มจํานวนมาก การทดสอบเสาเข็มเพื่อตรวจสอบพฤติกรรมการรับน้ําหนัก
ของเสาเข็ม จําเปนตองมีขอกําหนดในเรื่องของจํานวนเสาเข็มที่ตองถูกทดสอบเพื่อใหเปนตัวแทนของเสาเข็ม
ทั้งหมดในโครงการไดอยางเหมาะสม ซึ่งจะตองไมมากหรือนอยจนเกินความจําเปน เสาเข็มที่จะใชทดสอบ
ควรเปนเสาเข็มที่ติดตั้งขึ้นเฉพาะ (ไมใชเสาเข็มในฐานรากของอาคาร)

National Building Code (1991) เสนอวา ควรทําการทดสอบเสาเข็มหนึ่งตน ตอจํานวน


เสาเข็ม 250 ตน ในกลุมเสาเข็มขนาดและกําลังรับน้ําหนักบรรทุกยอมใหเทากัน
3.15 วิธีทดสอบกําลังรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็ม

การติดตั้งอุปกรณทดสอบกําลังรับน้าํ หนักบรรทุกของเสาเข็มเดี่ยว
3.15 วิธีทดสอบกําลังรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็ม

การติดตั้งอุปกรณทดสอบกําลังรับน้าํ หนักบรรทุกของเสาเข็มเดี่ยว
3.15 วิธีทดสอบกําลังรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็ม

การทดสอบกําลังน้าํ หนักบรรทุกของเสาเข็มดินซีเมนต

การวางน้าํ หนักบรรทุกบนโครงเหล็ก
3.15 วิธีทดสอบกําลังรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็ม

การทดสอบกําลังน้าํ หนักบรรทุกของเสาเข็มดินซีเมนต

การติดตั้งแมแรงไฮดรอลิคบนหัวเสาเข็มทดสอบ
3.15 วิธีทดสอบกําลังรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็ม

Engel (1988) เสนอจํานวนเสาเข็มที่ควรทดสอบตามผลรวมของความยาวของเสาเข็มทั้งโครงการ

ขอแนะนําในการกําหนดจํานวนเสาเข็มทีค่ วรทดสอบ
ผลรวมของความยาวเสาเข็มทุกตนในโครงการ (เมตร) จํานวนเสาเข็มที่ควรทดสอบ (ตน)
0 – 1,800 0
1,800 – 3,000 1
3,000 – 6,000 2
6,000 – 9,000 3
9,000 – 12,000 4
3.15 วิธีทดสอบกําลังรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็ม

การทดสอบกําลังรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็มในสนามควรกระทําหลังจากเสร็จสิ้นการติดตัง้ เสาเข็ม
เปนเวลาไมนอยกวา 30 ถึง 90 วัน เพื่อใหดินรอบขางซึ่งถูกรบกวนขณะติดตั้งเสาเข็มสิ้นสุดการอัดตัวคาย
น้ํา มาตรฐาน ASTM D-1143 ไดเสนอวิธีการทดสอบเสาเข็มไว 7 วิธี ดังนี้
1) Standard Loading Procedure หรือ Slow Maintained Load Test ทําการทดสอบ
โดยการเพิ่มน้ําหนักทีละขั้นๆ ละ 25 เปอรเซ็นต ของน้ําหนักบรรทุกยอมให จนกระทั่งถึงน้ําหนัก
บรรทุกที่ 200 เปอรเซ็นต ของน้ําหนักบรรทุกยอมให ซึ่งหมายความวาอัตราสวนปลอดภัยของ
เสาเข็มมีคาไมนอยกวา 2.0
2) Cyclic Load Test ทําการทดสอบเชนเดียวกับวิธี Standard Loading Procedure
เพียงแตมีการถอนและขึ้นน้ําหนักใหมที่น้ําหนักบรรทุกเทากับ 50, 100 และ 150 เปอรเซ็นต
ของน้ําหนักบรรทุกยอมให
3.15 วิธีทดสอบกําลังรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็ม

3) Loading in Excess of Standard Test Load ภายหลังจากการทดสอบตามวิธี


Standard Loading Procedure เสร็จเรียบรอยแลว หากเสาเข็มยังไมวิบัติ เสาเข็มจะถูก
เพิ่มน้ําหนักเปนขั้นๆ ละ 25 เปอรเซ็นตของน้ําหนักบรรทุกยอมให จนกระทั่งเสาเข็มเกิดการวิบัติ
4) Constant Time Interval Loading ทําการทดสอบเชนเดียวกับวิธี Standard Loading
Procedure แตทิ้งเวลาแตละชวงการทดสอบไว 1 ชั่วโมง เทาๆ กัน ตลอดทั้งขั้นตอนการเพิ่ม
และถอนน้ําหนักบรรทุกทดสอบ
5) Constant Rate of Penetration Method ทําการทดสอบโดยเพิ่มน้ําหนักบรรทุกดวยอัตรา
การเคลื่อนตัวของเสาเข็มคงที่ ประมาณ 0.25 ถึง 0.5 มิลลิเมตรตอนาที จนกระทั่งเสาเข็มเกิด
การวิบัติ
3.15 วิธีทดสอบกําลังรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็ม

6) Quick Load Test เปนการทดสอบที่ใชเวลาสั้น ทําการทดสอบโดยการเพิ่มน้ําหนักบรรทุก


อยางรวดเร็ว จนกระทั่งเสาเข็มวิบัติ โดยปกติจะใชเวลาประมาณ 4 ถึง 6 ชั่วโมง
7) Constant Settlement Increment Loading Method เปนการทดสอบที่เพิ่มน้ําหนัก
บรรทุ ก เป น ขั้ น ๆ โดยแต ล ะขั้ น จะเกิ ด การทรุ ด ตั ว เท า กั น (ในแต ล ะครั้ ง น้ํ า หนั ก บรรทุ ก ไม
จําเปนตองเทากัน) โดยกําหนดชวงการทรุดตัวประมาณ 1 เปอรเซ็นต ของเสนผานศูนยกลาง
เสาเข็ม

แมวา จะมีวธิ ีการทดสอบหลายวิธี แตวิธีทนี่ ิยมที่สุด ไดแก Standard Loading Procedure,


Cyclic Load Test และ Quick Load Test
3.15 วิธีทดสอบกําลังรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็ม

การทดสอบกําลังรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็ม
การบรรทุกน้ําหนัก ขอพิจารณา
ก) Standard Loading Procedure - คงน้ําหนักแตละชวงจนอัตราการทรุดตัวไมเกินกวา
1) ใหน้ําหนักถึง 200% ของน้ําหนักบรรทุกยอมให 0.25 มม./ชม. แตไมนานเกิน 2 ชั่วโมง
สําหรับเสาเข็มเดี่ยว และ 150% สําหรับเข็มกลุม - เมื่อถึงชวงน้ําหนักสูงสุดแลวหากยังไมมีการวิบัติ ให
2) เพิ่มน้ําหนักบรรทุกอีกชวงละ 25 % ของน้ําหนัก คงน้ําหนักไว 12 ชั่วโมง แลวจึงถอนน้ําหนักได ถา
บรรทุกยอมให การทรุดตัวในชั่วโมงสุดทายไมเกินกวา 0.25 มม. หาก
3) ในการถอนน้ําหนักบรรทุกออก ใหลดเปนชวงๆ เกินกวาใหคงน้ําหนักไว 24 ชั่วโมง
ชวงละ 25% ของน้ําหนักบรรทุกยอมให และทิ้งเวลา - หากเสาเข็มวิบัติโดยการจมแลวไมสามารถเพิ่ม
ระหวางชวง 1 ชั่วโมง น้ําหนักบรรทุกได ใหพยายามคงน้ําหนักไวจนกระทั่ง
การทรุดตัวเกิน15% ของเสนผานศูนยกลางเสาเข็ม
3.15 วิธีทดสอบกําลังรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็ม

การทดสอบกําลังรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็ม
การบรรทุกน้ําหนัก ขอพิจารณา
ข) Cyclic Loading
1) ใหน้ําหนักแตละขั้นตามวิธีในขอ ก.
2) เฉพาะชวง 50 , 100 และ 150% ของน้ําหนัก
บรรทุกยอมใหในการทดสอบเสาเข็มเดี่ยว หรือ 50
และ 100% สําหรับเสาเข็มกลุม ใหคงน้ําหนักไว 1 - การถอนน้ําหนักในชวงบรรทุกสุดทายใหดําเนินการ
ชั่วโมง แลวถอนน้ําหนักลงตามชวงที่ขึ้นน้ําหนัก เชนเดียวกับวิธีในขอ ก)
โดยใหทิ้งเวลาระหวางชวง 20 นาที
3) การขึ้นน้ําหนักในวงรอบถัดไปในสวนที่น้ําหนัก
ซ้ําเดิม ใหขึ้นน้ําหนักชวงละ 50 % ของน้ําหนัก
บรรทุกยอมให โดยคงน้ําหนักระหวางชวงไว 20
นาที
3.15 วิธีทดสอบกําลังรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็ม

การทดสอบกําลังรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็ม
การบรรทุกน้ําหนัก ขอพิจารณา
ค) Quick Load Test - เวลาในการขึ้นน้ําหนักในแตละชวงอาจเปลี่ยนแปลง
1) ใหน้ําหนักชวงละ 10 ถึง 15% ของน้ําหนักบรรทุก ไดโดยมีการตกลงเห็นชอบระหวางผูเกี่ยวของ
ยอมให โดยเวลาในการขึ้นน้ําหนักของแตละชวง - การถอนน้ําหนักควรดําเนินการเปนชวงๆ ไมนอย
ประมาณ 2.5 นาที กวา 4 ชวงเทาๆ กัน โดยเวนระยะเวลาระหวางชวง
2) หากทําการทดสอบจนถึงจุดวิบัติ ขณะเมื่อเสาเข็ม ประมาณ 5 นาที เพื่อใหสามารถบันทึกกราฟ
จมลงโดยไมสามารถเพิ่มน้ําหนักได ใหหยุดการ ความสัมพันธของน้ําหนักและการคืนตัวในการถอน
บรรทุกน้ําหนักแลวรอ 5 นาทีจึงถอนน้ําหนักได น้ําหนักได
3.16 การแปลผลทดสอบการรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็ม

ผลทดสอบแสดงในรู ป นี้ ถู ก นํ า มาใช ใ นการหา


น้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็ม ดวยวิธีที่แตกตางกันหกวิธี
เสาเข็ ม ที่ ใช เ ปน เสาเข็ ม คอนกรีต อั ด แรงที่ มี ข นาดเส นผ า น
ศู น ย ก ลาง 30.5 เซนติ เ มตร ยาว 19.0 เมตร เสาเข็ ม ถู ก
ทดสอบหลังจากการตอกหกสัปดาห เพื่อใหเกิดการอัดตัวคาย
น้ําของดินรอบขางเสาเข็มอยางสมบูรณ เสาเข็มเริ่มเกิดการ
เคลื่อนตัวอยางมากที่น้ําหนักบรรทุก 200 ตัน

ผลทดสอบการรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็ม
3.16 การแปลผลทดสอบการรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็ม

น้ําหนักบรรทุกประลัยมีนิยามวาเปนน้ําหนัก
ซึ่งทําใหการทรุดตัวในเสาเข็มเกิดจากผลรวมของการ
อัดตัวแบบยืดหยุน ซึ่งมีคาเทากับผลรวมของ 0.15
X = 0.15 +
D
120
นิ้ว (4 มิลลิเมตร) และ D/120 เมื่อ D คือเสนผาน
D = 12 INCHES
X = 0.25 INCHES
AE
ศูนยกลางเสาเข็ม ซึ่งมีหนวยเปนนิ้ว
P= Δ
L
E = 4.3 - 106 PSI

การหาน้ําหนักบรรทุกประลัยโดยวิธีของ Davission (1972)


3.16 การแปลผลทดสอบการรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็ม

วิธีการนี้สมมติวากราฟความสัมพันธระหวางน้ําหนัก
บรรทุ ก และการทรุ ด มี รู ป ร า งเป น แบบไฮเปอร โ บลิ ค
(Hyperbolic shape) ความสัมพันธระหวางน้ําหนักบรรทุก
และการทรุดตัวสามารถเขียนในรูปของสมการดังนี้
P= Δ
c1Δ + c2

P= 1
c
c1 + 2
Δ

เมื่อ P คือน้ําหนักบรรทุก Δ คือการทรุดตัว


c1 และ c2 คือคาคงที่
การหาน้ําหนักบรรทุกประลัยโดยวิธีของ Chin
3.16 การแปลผลทดสอบการรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็ม

300
EXAMPLE 1
DE BEER'S METHOD
200 186
150

100
วิธีการหาน้ําหนักบรรทุกประลัย
โดยวิธีของ De Beer ซึ่งเปนคาที่จุดตัด
50
ของสวนของเสนตรงสองเสน อันเกิดจาก
40 ความสัมพันธระหวาง log P และ log Δ
30
0.05 0.10 0.15 0.20 0.30 0.40 0.50 1.00 1.50 2.00
MOVEMENT (INCHES)

Construction of De Beer's yield limit

การหาน้ําหนักบรรทุกประลัยโดยวิธีของ De Beer
3.16 การแปลผลทดสอบการรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็ม

วิธีที่เสนอโดย Brinch Hansen (1963) ซึ่ง


กลาววาน้ําหนักบรรทุกประลัยคือน้ําหนักบรรทุกที่เกิดการ
ทรุดตัวเปนสองเทาของการทรุดตัวที่น้ําหนักบรรทุก 90
เปอรเซ็นต ของน้ําหนักบรรทุกประลัย การคํานวณกระทํา
ไดโดยการลองผิดลองถูก (Trial and error)

การหาน้ําหนักบรรทุกประลัยโดยวิธีมาตรฐาน 90% ของ Brinch Hansen


3.16 การแปลผลทดสอบการรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็ม

วิธีมาตรฐาน 80 เปอรเซ็นต ของ Brinch Hansen ซึ่งเปนความสัมพันธระหวาง และ Δ น้ําหนักบรรทุก


ประลัย (Pu) และการทรุดตัวที่น้ําหนักบรรทุกประลัย (Δu) สามารถคํานวณไดจากสมการดังตอไปนี้

Pu = 1
2 C1C2
Δ Δ
= C1Δ + C2
P P

Δ C2
P=
C1Δ + C 2 Δu =
C1

การหาน้ําหนักบรรทุกประลัยโดยวิธีมาตรฐาน 80% ของ Brinch Hansen


3.16 การแปลผลทดสอบการรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็ม

วิ ธีก ารหาน้ํ าหนั ก บรรทุ ก ประลั ย ตามวิ ธี ข อง


Mazurkiewicz (1972) ซึ่งกระทําโดยการ
แบ ง คาการทรุ ด ตั ว ของเสาเข็ม (แกน X) ให
เทากัน และหาน้ําหนักบรรทุกที่แตละการทรุด
ตัว

การหาน้ําหนักบรรทุกประลัยโดยวิธี Mazurkiewicz (1972)


3.16 การแปลผลทดสอบการรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็ม

วิธีการหาน้ําหนักบรรทุกประลัยโดยวิธีของ Fuller
and Hoy (1970) น้ําหนักบรรทุกประลัยคือน้ําหนักซึ่ง
ความชันของกราฟน้ําหนักบรรทุกและการทรุดตัว มีคา
เทากับ 0.05 นิ้วตอตัน (0.14 มิลลิเมตรตอกิโลนิวตัน)

วิธีของ Butler and Hoy (1977) ซึ่งปรับปรุงวิธี


ของ Fuller and Hoy (1970) วิธีการนี้นิยามน้ําหนัก
บรรทุกประลัยวาเปนจุดตัดของเสนตรงที่มีความชัน 0.05
นิ้ ว ต อ ตั น กั บ เส น สั ม ผั ส ของเส น ตรงส ว นแรกของ
ความสัมพันธระหวางน้ําหนักบรรทุกและการทรุดตัว

การหาน้ําหนักบรรทุกประลัยโดยวิธี Fuller and Hoy และ Butler and Hoy


3.16 การแปลผลทดสอบการรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็ม

การหาน้ํ า หนั ก บรรทุ ก ประลั ย โดยวิ ธี ข อง Vander




u ⎠

Veen (1953) ซึ่งกระทําโดยการเลือกน้ําหนักบรรทุก


Assumed P
P

ประลัย (Assumed Pu) และพล็อตความสัมพันธ


ln ⎜1 −

ระหวาง ln (1 – P/Assumed Pu) และการทรุดตัว

การหาน้ําหนักบรรทุกประลัยโดยวิธีของ Vander Veen


3.17 เสาเข็มกลุมที่รับน้ําหนักบรรทุกในแนวดิง

ในทางปฏิบัติ ฐานรากลึกจะเปนกลุมของเสาเข็มที่มีแทนหัวเสาเข็ม (Pile cap) เปนตัวกระจาย


น้ําหนักจากโครงสราง เราสามารถแบงฐานรากลึกออกเปน 2 ประเภท ตามตําแหนงของแทนหัวเสาเข็ม

ฐานรากที่มีแทนหัวเสาเข็มอยูบนพื้นดิน เรียกวาฐานรากเสาเข็ม (Piled foundation)

ฐานรากที่มีแทนหัวเสาเข็มลอยอยูเหนือระดับพื้นดิน เรียกวาฐานรากเสาเข็มลอยอิสระ (Free


standing group of pile)
3.17 เสาเข็มกลุมที่รับน้ําหนักบรรทุกในแนวดิง

น้ําหนักบรรทุกประลัยของฐานรากเสาเข็ม
ไมจําเปนตองเทากับผลรวมของน้ําหนักบรรทุก
ประลัยของเสาเข็มแตละตนเสมอไป เนื่องจาก
กระเปาะความเค น ของเสาเข็ ม หนึ่ ง ต น และ
เสาเข็มกลุมมีความแตกตางกัน

กระเปาะความเคนของเสาเข็มตนเดียวและเสาเข็มกลุม
3.17 เสาเข็มกลุมที่รับน้ําหนักบรรทุกในแนวดิง

อัตราสวนระหวางน้ําหนักบรรทุกประลัยเฉลี่ยของเสาเข็มในฐานรากตอน้ําหนักบรรทุกประลัยของ
เสาเข็มเดี่ยว เรียกวาประสิทธิภาพ (Efficiency, η)

Pf ( group)
η=
n× Pf

เมื่อ n คือ จํานวนเสาเข็มในฐานราก

Pf(group) คือ น้ําหนักบรรทุกประลัยของฐานรากเสาเข็ม


3.17 เสาเข็มกลุมที่รับน้ําหนักบรรทุกในแนวดิง

3.17.1 เสาเข็มกลุมในชั้นดินเหนียว
เมื่อฐานรากเสาเข็มรับน้ําหนักบรรทุกตรงศูนย มักจะสมมติวาเสาเข็มแตละตนรับน้ําหนักบรรทุก
เทากันและเกิดการทรุดตัวในปริมาณเดียวกัน แตผลทดสอบแบบจําลองฐานรากเสาเข็มลอยอิสระ (Free
standing group of pile) ของ Whitaker (1976) แสดงใหเห็นวา น้ําหนักบรรทุกที่กระทําตอเสาเข็ม
แตละตนมีความแตกตางกัน Whitaker แสดงใหเห็นถึงอิทธิพลของระยะหางระหวางเสาเข็มตอน้ําหนัก
บรรทุกบนเสาเข็มแตละตน
3.17 เสาเข็มกลุมที่รับน้ําหนักบรรทุกในแนวดิง

3.17.1 เสาเข็มกลุมในชั้นดินเหนียว

กระเปาะความเคนของเสาเข็มตนเดียวและเสาเข็มกลุม
3.17 เสาเข็มกลุมที่รับน้ําหนักบรรทุกในแนวดิง

3.17.1 เสาเข็มกลุมในชั้นดินเหนียว

จะเห็นไดวาน้ําหนักบรรทุกบนเสาเข็มแปรผัน
ตามระยะหางจากกึ่งกลางของกลุมเสาเข็ม เสาเข็ม
ตนที่อยูไกลจากกึ่งกลางเสาเข็มกลุมมากที่สุด จะรับ
น้ําหนักบรรทุกมากที่สุด

การกระจายน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็มแตละตน
ในเสาเข็มกลุมทีม่ ี S = 2D
3.17 เสาเข็มกลุมที่รับน้ําหนักบรรทุกในแนวดิง

3.17.1 เสาเข็มกลุมในชั้นดินเหนียว

Whitaker (1976) กลาววาการวิบัติของฐานรากกลุม


เสาเข็มลอยอิสระเกิดขึ้นในสองลักษณะ ตามการจัดเรียง
ระยะหางของเสาเข็ม ไดแก การวิบัติแบบบล็อค (Block
failure) และการวิบัติของเสาเข็มแตละตน (Individual
failure of piles) ระยะหางของเสาเข็มที่เปนตัว
แบ ง แยกลั ก ษณะการวิ บั ติ เรี ย กว า ระยะห า งวิ ก ฤติ
(Critical spacing)

การวิบัตแิ บบบล็อค
3.17 เสาเข็มกลุมที่รับน้ําหนักบรรทุกในแนวดิง

3.17.1 เสาเข็มกลุมในชั้นดินเหนียว
การวิบัติแบบบล็อคในชั้นดินเหนียว แรงที่ตานการวิบัติจะเกิดจากกําลังตานทานแรงเฉือนรอบ
บล็อค และเกิดจากกําลังรับแรงแบกทานที่ฐานของบล็อค ในกรณีของเสาเข็มกลุมรูปสี่เหลี่ยม น้ําหนัก
บรรทุกประลัยของฐานรากเสาเข็มที่เกิดการวิบัติแบบบล็อคสามารถประมาณไดดังนี้
Pf ( group−block ) = Nc Sub Bg Lg + 2Su H g (Bg + Lg ) < nPf

เมื่อ Nc คือตัวแปรกําลังรับแรงแบกทาน
Sub คือกําลังตานทานแรงเฉือนปลายเสาเข็มกลุม
Bg คือดานกวางของพื้นที่หนาตัดรอบกลุมเสาเข็ม
Lg คือความยาวของพื้นที่หนาตัดรอบกลุมเสาเข็ม
Hg คือความลึกของกลุมเสาเข็ม
Su คือกําลังตานทานแรงเฉือนเฉลี่ยตลอดความลึก 0 ถึง H
3.17 เสาเข็มกลุมที่รับน้ําหนักบรรทุกในแนวดิง

3.17.1 เสาเข็มกลุมในชั้นดินเหนียว

สําหรับ เสาเข็ ม กลุ ม ที่ มี ร ะยะหางระหวาง


เสาเข็มเกินกวาระยะหางวิกฤติ การวิบัติจะเปน
แบบการวิบัติของเสาเข็มแตละตน

ความสัมพันธระหวางประสิทธิภาพและอัตราสวน
ระยะหางของฐานรากเสาเข็มลอยอิสระ
(Whitaker, 1976)
3.17 เสาเข็มกลุมที่รับน้ําหนักบรรทุกในแนวดิง

3.17.1 เสาเข็มกลุมในชั้นดินเหนียว

คาประสิทธิภาพที่ไดคาํ นวณและที่ไดจากผลทดสอบ (Whitaker, 1976)


3.17 เสาเข็มกลุมที่รับน้ําหนักบรรทุกในแนวดิง

3.17.2 เสาเข็มกลุมในชั้นทราย
การตอกเสาเข็มในชั้นทรายทําใหความหนาแนนของทรายรอบเสาเข็มและปลายเสาเข็มเพิ่มขึ้น
ดังนั้น เสาเข็มกลุมที่ตอกในชั้นทรายมักมีคาน้ําหนักบรรทุกประลัยของกลุมเสาเข็มมากกวาผลรวมของ
น้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว แตอยางไรก็ตาม ในการออกแบบ อาจสมมติใหประสิทธิภาพ (η) มี
คาเทากับหนึ่ง สําหรับเสาเข็มตอก และมีคาประมาณ 0.6 ถึง 1.0 สําหรับเสาเข็มเจาะ
3.18 เสาเข็มกลุมที่รับน้ําหนักบรรทุกในแนวดิง
่ และแนวนอน

+x −x

เสาเข็มกลุมที่รับน้าํ หนักบรรทุกทั้งในแนวดิ่งและแนวนอน
3.18 เสาเข็มกลุมที่รับน้ําหนักบรรทุกในแนวดิง
่ และแนวนอน
ในกรณีของฐานรากเสาเข็ม (Piled foundation) ซึ่งบรรทุกน้ําหนักเอียง R น้ําหนักบรรทุกบน
เสาเข็มแตละตนสามารถคํานวณไดจาก
Ve y
P = Vn ± Vex x2 ± y 2
∑ ⎛⎜⎝ x ⎞⎟⎠ ∑ ⎛⎜⎝ y ⎞⎟⎠
เมื่อ V คือแรงกระทําในแนวดิ่งทั้งหมดบนฐานราก
n คือจํานวนเสาเข็ม
ex และ ey คือระยะเยื้องศูนยตามแนวแกน x และแกน y ตามลําดับ
x และ y คือระยะที่วัดจากแกนสะเทินของกลุมเสาเข็มถึงจุดกึ่งกลางเสาเข็มตนที่พิจารณา
ตามแกน x และ y ตามลําดับ
x
และ y คือระยะที่วัดจากแกนสะเทินของกลุมเสาเข็มจนถึงจุดกึ่งกลางเสาเข็มทุกตน ตาม
แนวแกน x และ y ตามลําดับ
3.18 เสาเข็มกลุมที่รับน้ําหนักบรรทุกในแนวดิง
่ และแนวนอน
3.18.1 น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มในชั้นดินเหนียว
จากผลทดสอบความตานทานในแนวนอนของเสาเข็มพบวา ความตานทานในแนวนอนที่จุดวิบัติ
ของเสาเข็มในชั้นดินเหนียวจะมีคาเพิ่มขึ้นจาก 2Su ที่ผิวดิน (Su คือกําลังตานทานแรงเฉือนในสภาวะไม
ระบายน้ํา) จนถึง 8 ถึง 12 เทาของ Su ที่ระดับความลึกประมาณ 3 เทาของเสนผานศูนยกลางเสาเข็ม (3D)
จากผิวดิน เพื่อความงายตอการคํานวณ

Broms (1994a) เสนอวิธีการกระจายความดันดินดานขาง โดยพิจารณาความดันดินดานขางที่


ระยะจากผิวดินถึง 1.5 เทาของเสนผานศูนยกลางใหเทากับศูนย การกระจายความดันดินดานขางที่ความลึก
ต่ํากวา 1.5D จะแปรผันตามลักษณะการยึดรั้งหัวเสาเข็มและความยาวเสาเข็ม
3.18.1 น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มในชั้นดินเหนียว

1) เสาเข็มที่ปราศจากการยึดรัง้ ที่หัวเสาเข็ม (Free-Head Piles)

สําหรับทั้งเสาเข็มสั้นและเสาเข็มยาว เสาเข็ม
สั้นคือเสาเข็มซึ่งการวิบัติเกิดเนื่องจากการวิบัติของดิน
ดานขาง (เสาเข็มมีความแข็งแรงสูง) ขณะที่ เสาเข็มยาว
คือ เสาเข็มซึ่งการวิบัติเกิดเนื่องจากวัสดุที่ใชทําเสาเข็มมี
ความตานทานโมเมนตดัดไมเพียงพอ

กลไกการวิบตั ิของเสาเข็มทีป่ ราศจากการยึดรั้งในดินเหนียว (a) เสาเข็มสั้น (b) เสาเข็มยาว (Broms, 1964a)


3.18.1 น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มในชั้นดินเหนียว

1) เสาเข็มที่ปราศจากการยึดรัง้ ที่หัวเสาเข็ม (Free-Head Piles)


น้ําหนักบรรทุกประลัย (Ultimate lateral load, Hu) สามารถประมาณไดโดยใชหลักสมดุล
โดยพิจารณาความยาวประสิทธิผลของเสาเข็มเทากับ L – 1.5D และระยะเยื้องศูนยประสิทธิผลเทากับ e +
1.5D จากหลักสมดุล สามารถคํานวณหาตําแหนงที่จะเกิดโมเมนตมากที่สุด ซึ่งเปนตําแหนงซึ่งหนวยแรง
เฉือนมีคาเปนศูนย
f = Hu
9Su D

เมื่อพิจารณาผลรวมของโมเมนตรอบจุดซึ่งเกิดโมเมนตดัดสูงสุด จะได

M max = Hu ⎛⎜ e +1.5D + 0.5 f ⎞⎟


⎝ ⎠

M max = 2.25Dg 2Su


3.18.1 น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มในชั้นดินเหนียว

1) เสาเข็มที่ปราศจากการยึดรัง้ ที่หัวเสาเข็ม (Free-Head Piles)

รูปแสดงผลคําตอบของเสาเข็มสั้น ในพจนของตัว
แปรไรมิติ ซึ่งจะใชไดในกรณีที่โมเมนตครากของหนาตัด
(Yield moment, Myield) มีคาสูงกวาโมเมนตดัดสูงสุดที่
เกิดขึ้นในเสาเข็ม (Mmax)

น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มสั้นในชั้นดินเหนียว (Broms, 1964a)


3.18.1 น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มในชั้นดินเหนียว

1) เสาเข็มที่ปราศจากการยึดรัง้ ที่หัวเสาเข็ม (Free-Head Piles)


100

60 Restrained

40
Free headed

20
e/D = 0
1
สําหรับเสาเข็มยาว Hu สามารถหาไดโดย
2

การแทนค า Mmax เท า กั บ Myield ผลคํ า ตอบ


10 4
8
6 16
Hu
4 e แสดงดังรูป ในพจนของตัวแปรไรมิติ
2

1
3 4 6 10 20 40 60 100 300 600

Yield moment, Myield/SuD3

น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มยาวในชั้นดินเหนียว (Broms, 1964a)


3.18.1 น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มในชั้นดินเหนียว

2) เสาเข็มที่มีการยึดรัง้ ที่หัวเสาเข็ม (Fixed-Head Piles)


ลักษณะการวิบัติ การกระจายแรงดันดิน และโมเมนตดัด ของเสาเข็มที่มีการยึดรั้งที่หัวเสาเข็ม
ลักษณะการวิบัติจะแปรผันตามโมเมนตครากของหนาตัด จากการสมมติวาโมเมนตดัดสูงสุดในเสาเข็มเกิดขึ้น
บริเวณหัวเสาเข็ม น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอน และโมเมนตดัดสูงสุด
(Mmax) Hu
Hu
Myield Myield

Mmax 1.5D

1.5D f

9SuD
9SuD
(a) Deflection Soil Reaction Bending Moment (c) Deflection Soil Reaction Bending Moment

กลไกการวิบตั ิของเสาเข็มทีม่ กี ารยึดรั้งที่หัวเสาในชั้นดินเหนียว


(a) เสาเข็มสั้น (b) เสาเข็มยาวปานกลาง (c) เสาเข็มยาว (Broms, 1964b)
3.18.1 น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มในชั้นดินเหนียว

2) เสาเข็มที่มีการยึดรัง้ ที่หัวเสาเข็ม (Fixed-Head Piles)


สําหรับเสาเข็มสั้นสามารถคํานวณไดดังนี้
Hu = 9Su D ⎛⎜ L −1.5D ⎞⎟
⎝ ⎠

M max = Hu ⎛⎜ 0.5L + 0.75D ⎞⎟


⎝ ⎠

สําหรับเสาเข็มยาวปานกลาง (จุดครากเกิดที่หัวเสาเข็ม)
M yield = 2.25Su Dg 2 − 9Su Df ⎛⎜1.5D + 0.5 f ⎞⎟
⎝ ⎠

สําหรับเสาเข็มยาว
2M yield
Hu = ⎛ ⎞
⎜1.5D + 0.5 f ⎟
⎝ ⎠
3.18 เสาเข็มกลุมที่รับน้ําหนักบรรทุกในแนวดิง
่ และแนวนอน
3.18.2 น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มในชั้นทราย
Broms (1964b) ไดสรางสมมติฐานในการคํานวณน้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอน ดังนี้
1) ไมพิจารณาอิทธิพลของความดันดินที่สภาวะ Active ดานหลังของเสาเข็ม
2) การกระจายความดันดินดานขางที่สภาวะ Passive ดานหนาเสาเข็มมีคาเปนสามเทา
ของความดันดินตามทฤษฎีของ Rankine
3) รูปตัดของเสาเข็มไมมีผลตอการกระจายความตานทานในแนวนอนประลัย
4) น้ําหนักบรรทุกประลัยจะเกิดเมื่อเสาเข็มเคลื่อนตัวในแนวนอนอยางมาก
3.18 เสาเข็มกลุมที่รับน้ําหนักบรรทุกในแนวดิง
่ และแนวนอน
3.18.2 น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มในชั้นทราย
Broms (1964b) รายงานวาอัตราสวนของผลคํานวณตอผลทดสอบจริงมีคาประมาณสองในสาม
ซึ่งหมายความวาผลการคํานวณโดยเฉลี่ยมีคาต่ํากวาคาจริง และการออกแบบโดยวิธีนี้มีความปลอดภัย
(Conservative)

Broms เสนอใหคํานวณการกระจายความดันในแนวนอนที่สภาวะวิบัติเทากับ
σ h′ = 3σ v′ K p

tan 2 ⎜ 45°+ φ ′ ⎟
⎛ ⎞
เมื่อ σ′v คือความเคนประสิทธิผลในแนวดิ่ง และ Kp มีคาเทากับ ⎜
⎜ 2 ⎟⎟⎠

3.18.2 น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มในชั้นทราย

1) เสาเข็มที่ปราศจากการยึดรัง้ ที่หัวเสาเข็ม (Free-Head Piles)

(a) เสาเข็มสั้น

(b) เสาเข็มยาว

กลไกการวิบตั ิของเสาเข็มทีป่ ราศจากการยึดรั้งที่หวั เสาในชั้นทราย (Broms, 1964b)


3.18.2 น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มในชั้นทราย

1) เสาเข็มที่ปราศจากการยึดรัง้ ที่หัวเสาเข็ม (Free-Head Piles)

สํ า หรั บ เสาเข็ ม สั้ น น้ํ า หนั ก บรรทุ ก ประลั ย ใน


แนวนอนสามารถคํานวณไดดังนี้

0.5γ ′DL3K p
Hu =
e+ L

น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มสั้นในชั้นทราย (Broms, 1964b)


3.18.2 น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มในชั้นทราย

1) เสาเข็มที่ปราศจากการยึดรัง้ ที่หัวเสาเข็ม (Free-Head Piles)


สําหรับเสาเข็มยาว น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนมีคาเทากับ
Hu = 3 γ ′DK p f 2
2

⎛ ⎞
f = 0.82 Hu ⎟⎟

DK pγ ′ ⎟


⎝ ⎠

โมเมนตดัดสูงสุดที่เกิดขึ้นในเสาเข็มมีคาเทากับ


2
M max = H e + f ⎟⎟

u ⎜⎜
3 ⎟⎠⎝
3.18.2 น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มในชั้นทราย

1) เสาเข็มที่ปราศจากการยึดรัง้ ที่หัวเสาเข็ม (Free-Head Piles)


1000

500

Ultimate lateral resistance, Hu/(Kpγd )


Hu
3 e

Free-headed
100 L
Fixed-headed
50

10

e/D = 0 1 2 4 8 16 32

1
10-1 100 101 102 103 104
4
Yield moment,
Yield moment, Myield d 4)
yield/(KppγD

น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มยาวในชั้นทราย (Broms, 1964b)


3.18.2 น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มในชั้นทราย

2) เสาเข็มที่มีการยึดรัง้ ที่หัวเสาเข็ม (Fixed-Head Piles)

(Myield)
Hu

Myield

F
3γDLKp Mmax
(b) Deflection Soil Reaction Bending Moment

กลไกการวิบตั ิของเสาเข็มทีม่ กี ารยึดรั้งที่หัวเสาในชั้นทราย


(a) เสาเข็มสั้น (b) เสาเข็มยาวปานกลาง (c) เสาเข็มยาว (Broms, 1964b)
3.18.2 น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มในชั้นทราย

2) เสาเข็มที่มีการยึดรัง้ ที่หัวเสาเข็ม (Fixed-Head Piles)


สําหรับเสาเข็มสั้น

น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนคํานวณโดยอาศัยสมการสมดุลในแนวนอน
Hu =1.5γ ′L2dK p

โมเมนตดัดสูงสุดในเสาเข็มที่ผิวดินสามารถคํานวณไดจาก

M max = 2 Hu L
3
3.18.2 น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มในชั้นทราย

2) เสาเข็มที่มีการยึดรัง้ ที่หัวเสาเข็ม (Fixed-Head Piles)


สําหรับเสาเข็มยาวปานกลาง

ถา Mmax ที่ผิวดินมีคาเกินกวา Myield จากหลักการสมดุลในแนวนอน จะได


⎛ ⎞
3
F = γ ′DL K p ⎟⎟ − Hu
2 ⎜
2 ⎜⎜


จากสมดุลการหมุนรอบหัวเสาเข็ม สามารถคํานวณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มยาวปาน
กลางได ดังนี้ (Myield)
Hu


⎜⎜ 0.5γ ′DL3K p ⎞⎟⎟ − M yield Myield

Hu = ⎝ ⎠
L f

F
3γDLKp Mmax
(b) Deflection Soil Reaction Bending Moment
3.18.2 น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มในชั้นทราย

2) เสาเข็มที่มีการยึดรัง้ ที่หัวเสาเข็ม (Fixed-Head Piles)


สําหรับเสาเข็มยาว

น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนคํานวณไดจาก

2M yield
Hu = ⎛ ⎞
⎜ 2
e + f ⎟⎟
⎜⎜

3 ⎟⎠
3.18.2 น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มในชั้นทราย

2) เสาเข็มที่มีการยึดรัง้ ที่หัวเสาเข็ม (Fixed-Head Piles)

เสาเข็มที่ปราศจากการยึดรั้งที่หวั เสาเข็มในชั้นดินเหนียว
ลักษณะของเสาเข็ม สมการ
เสาเข็มสั้น (L < Lc) ( )
Hu = 18Su D ⎡ e2 + 1.5De + eL + 0.5L2 + 1.125D2 − ( e + 0.75D + 0.5L ) ⎤
⎣ ⎦
0.5
9 ⎡ M yield ⎤
Lc = 1.5D + +⎢ ⎥
Su D ⎣ 2.25Su D ⎦

เสาเข็มยาว (L > Lc) ⎡⎛ 2M yield ⎞


0.5

Hu = 9Su D ⎜ ( e + 1.5D ) +
2
⎢ ⎟ − e − 1.5D⎥
⎢⎝ 9 S D ⎠ ⎥
⎣ u

3.18.2 น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มในชั้นทราย

2) เสาเข็มที่มีการยึดรัง้ ที่หัวเสาเข็ม (Fixed-Head Piles)


เสาเข็มที่ปราศจากการยึดรั้งที่หวั เสาเข็มในชั้นทราย
ลักษณะของเสาเข็ม สมการ
เสาเข็มสั้น (L < Lc) Hu =
γ ′DK p L3
2 (e + L )
2 H ul 2 ( H ul e )
L3c − Lc − =0
γ ′DK p γ ′DK p
เสาเข็มยาว (L > Lc) H ul =
M yield
2
e+ f
3
⎛ H ul ⎞
f = 0.82 ⎜ ⎟
⎜ 1.5 DK p γ ′ ⎟
⎝ ⎠
3.18.2 น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มในชั้นทราย

2) เสาเข็มที่มีการยึดรัง้ ที่หัวเสาเข็ม (Fixed-Head Piles)

เสาเข็มที่มกี ารยึดรั้งที่หัวเสาเข็มในชั้นดินเหนียว
ลักษณะของเสาเข็ม สมการ
เสาเข็มสั้น (L < Lcs) H u = 9 Su D ( L − 1.5 D )
⎡ M yield 9 ⎤
Lcs = 2 ⎢ + D2 ⎥
⎣ 18Su D 16 ⎦
เสาเข็มยาวปานกลาง ⎡ M yield L2 9 2 ⎤
H u = 18Su D ⎢ + + D ⎥
0.5

− ( 0.75 D + 0.5 L )
9 2 8 ⎦
(L ≤ L≤ L )
cs cl
⎣ u S D
0.5 0.5
⎡ 4 M yield ⎤ ⎡ M yield ⎤
Lcl = ⎢ 2.25 D 2 + ⎥ +⎢ ⎥
⎣ 9 9 Su D ⎦ ⎣ 2.25Su D ⎦
เสาเข็มยาว (L > Lcl) ⎡⎛ 4 ⎞
0.5

H u = 9 Su D ⎢⎜ 2.25 D 2 + M yield ⎟ − 1.5 D ⎥
⎢⎣⎝ 9 ⎠ ⎥⎦
3.18.2 น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มในชั้นทราย

2) เสาเข็มที่มีการยึดรัง้ ที่หัวเสาเข็ม (Fixed-Head Piles)


เสาเข็มที่มกี ารยึดรั้งที่หัวเสาเข็มในชั้นทราย
ลักษณะของเสาเข็ม สมการ
เสาเข็มสั้น (L < Lcs) H u = 1.5γ ′DK p L2
1/ 3
⎡ M yield ⎤
Lcs = ⎢ ⎥
⎣⎢ γ ′ DK ⎥
p ⎦

เสาเข็มยาวปานกลาง Hu =
M yield
+ 0.5γ ′DK p
L
(L ≤ L≤ L )
cs cl H ul M yield
L3cl − Lcl + =0
0.5γ ′DK p 0.5γ ′DK p

เสาเข็มยาว (L > Lcl) H ul =


2 M yield
2
e+ f
3
⎛ H ul ⎞
f = 0.82 ⎜ ⎟
⎜ 1.5 DK p γ ′ ⎟
⎝ ⎠
3.18.2 น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มในชั้นทราย

สําหรับเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก การวิบัติของ
เสาเข็มแบงออกเปนสามประเภท ดังนี้
1) การวิบัติแบบแรงดึงเปนหลัก (Tension failure)
2) การวิบัติแบบแรงอัดเปนหลัก (Compression failure)
3) และการวิบัติแบบพอดี (Balanced failure)
3.18.2 น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มในชั้นทราย

Interaction diagram ของเสาเข็มวงกลม ทีม่ ี D’/D = 0.90


3.18.2 น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มในชั้นทราย

1.6
1.5

1.4
1.3
1.2
D’
1.1 D

1.0

pm
=
0.9

1.
0.

25
0
8

0.
0.8 0.
6
0. 0.
0.7 4 9
0. 0.
2 7
0.6 0 0.
5
0.
0.5 3
0.
1
0.4

0.3
0.2

0.1
0
0 0.05 0.10 0.15 0.20 0.25 0.30 0.35
Mu
D3f’c

Interaction diagram ของเสาเข็มวงกลม ที่มี D’/D = 0.80


3.18.2 น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มในชั้นทราย

Interaction diagram ของเสาเข็มวงกลม ที่มี D’/D = 0.70


3.18.2 น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มในชั้นทราย

0 .0 5
e/ D =

0
0 .1

5
0.1

0
0.2
pm
D2f’c
0
0.3
Pu

=1

25
0.
0.8

.0
0.6
0.4

0.9
0.2

0.7
0.5
0

0.3
0.1

Interaction diagram ของเสาเข็มวงกลม ที่มี D’/D = 0.60


3.19 การทรุดตัวของฐานรากลึก

ความเคนที่กระจายใตฐานรากลึกจะกอใหเ กิดการทรุด ตั ว ซึ่ งสามารถประมาณไดจากสมการ


ดังตอไปนี้
St = Si + Sc + Ss

เมื่อ St คือ การทรุดตัวทั้งหมด (Total settlement)


Si คือ การทรุดตัวทันที (Immediate settlement)
Sc คือ การทรุดตัวเนื่องจากการอัดตัวคายน้ําปฐมภูมิ (Consolidation settlement)
Ss คือ การทรุดตัวเนื่องจากการอัดตัวคายน้ําทุติยภูมิ (Secondary settlement)
3.19 การทรุดตัวของฐานรากลึก

การทรุดตัวทันที (Immediate settlement) จะเกิดขึ้นขณะกอสรางและระหวางการกอสราง จึง


ไมมีผลมากนักตอโครงสรางในระยะยาว สวนการทรุดตัวเนื่องจากการอัดตัวคายน้ําทุติยภูมิ (Secondary
settlement) ที่เกิดขึ้นมีผลนอยมาก เมื่อเทียบกับการทรุดตัวเนื่องจากอัดตัวคายน้ําปฐมภูมิในชั้นดิน
(Consolidation settlement) ดังนั้น การทรุดตัวที่มีผลตอโครงสรางมากที่สุดคือการทรุดตัวเนื่องจาก
อัดตัวคายน้ําปฐมภูมิในชั้นดิน
3.19 การทรุดตัวของฐานรากลึก

Terzaghi ไดเสนอวิธีการประมาณการทรุดตัวของฐานรากเสาเข็ม โดยการสมมติตําแหนงฐานราก


เสมือน ซี่งจะขึ้นอยูกับชนิดของดิน ฐานรากเสมือนอยูที่ระยะ 2/3 ของความยาวเสาเข็มจากผิวดิน สําหรับ
กลุมเสาเข็มที่อยูในชั้นดินออน สวนกลุมเสาเข็มที่ทะลุผานชั้นดินออนและจมอยูในชั้นดินเหนียวแข็งปาน
กลาง ฐานรากเสมือนจะอยูต่ํากวาจุดตอระหวางชั้นดินออนและดินแข็งเทากับ 2/3 ของความยาวเสาเข็มสวน
ที่จมอยูในชั้นดินเแข็ง สวนกลุมเสาเข็มที่ทะลุผานชั้นดินออน และปลายเสาเข็มตั้งอยูในชั้นหินหรือดินแข็ง
มาก (Hard soil) ฐานรากเสมือนอยูบนชั้นหินหรือดินแข็งมาก
3.19 การทรุดตัวของฐานรากลึก

การกระจายความเคนแบบตางๆ เพื่อหาการทรุดตัวของเสาเข็มกลุม
3.19 การทรุดตัวของฐานรากลึก

ความเคนในแนวดิ่งที่กระทําบนฐานรากเสมือนมีคาเทากับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็มทั้งหมดหาร
ดวยพื้นที่รอบรูปของกลุมเสาเข็ม กลาวคือ

q= V
Bg × Lg

เมื่อ q คือ ความเคนที่กระทําบนฐานรากเสมือน


Bg คือ ความกวางของพื้นที่หนาตัดรอบกลุมเสาเข็ม
Lg คือ ความยาวของพื้นที่หนาตัดรอบกลุมเสาเข็ม
V คือ น้ําหนักที่กระทําลงบนฐานราก
3.19 การทรุดตัวของฐานรากลึก

ความเคน q ที่กระทําตอชั้นดินในแนวดิ่งจะกระจายสูชั้นดินที่อยูลึกลงไปเปนรูปปรามิดโดยทํามุม
30° กับแนวดิ่ง ทําใหพื้นที่ที่ความลึก z มีขนาดเทากับ (Bg + z)(Lg + z) ดังนั้น ความเคนที่ระดับความลึก
ใดๆ ใตฐานรากเสมือนสามารถประมาณไดจาก

Δσ v = V
(Bg + z)(Lg + z)

เมื่อ Δσv คือความเคนที่กระทําตอชั้นดินที่ความลึก z วัดจากระดับฐานรากเสมือน


3.19 การทรุดตัวของฐานรากลึก

สําหรับดินเหนียวอัดตัวปกติ
C H

⎢σ ′ +Δ σ ⎤

Sc = c log ⎢ v0σ v
1+ e0 ⎢ ′v0 ⎥⎥
⎣ ⎦

สําหรับดินเหนียวอัดตัวมากกวาปกติ
C H

σ ′ +Δ σ ⎤
เมื่อ σ v′ 0 + Δσ v ≤ σ ′p ⎢
Sc = s log ⎢ v0σ
1+ e0
v
′v0 ⎥⎥


⎣ ⎦

C H σ ′ C H

σ ′ + Δ σ ⎤
เมื่อ σ v′ 0 + Δσ v > σ ′p 1+ e0
p
′v0 1+ e0

Sc = s log σ + c log ⎢ v0σ
′p ⎥⎥
v ⎥

⎣ ⎦

เมื่อ H คือความหนาของชั้นดิน Cc คือความชันของกราฟ e – logσ′v ในชวงหลังความเคนคราก (σ′p)


และเรียกวาดัชนีการอัดตัว (Compression index) และ Cs คือความชันของกราฟ e - logσ′v ในชวง
กอนความเคนคราก และเรียกวาดัชนีการพองตัว (Swell index) Δσv คือความเคนที่เพิ่มขึ้น ซึ่งขึ้นอยู
กับลักษณะของน้ําหนักบรรทุก
3.19 การทรุดตัวของฐานรากลึก

สําหรับเสาเข็มกลุมในชั้นทราย การทรุดตัวของฐานรากเสาเข็มจะมีคามากกวาการทรุดตัวของ
เสาเข็มเดี่ยวประมาณ 2 ถึง 10 เทา การทรุดตัวของฐานรากลึก (St) สามารถประมาณไดจากผลทดสอบ
เสาเข็มเดี่ยวโดยอาศัยสมการที่เสนอโดย US. Department of Navy (1982) ดังนี้

Bg
St = S0
B

เมื่อ S0 คือ คาทรุดตัวของเสาเข็มเดี่ยว


Bg คือ ความกวางของกลุมเสาเข็ม
B คือ ความกวางหรือเสนผานศูนยกลางของเสาเข็มเดี่ยว
ตัวอยางที่ 3.1
จงประมาณน้ําหนักบรรทุกปลอดภัยของเสาเข็มตอก หนาตัด 0.40 x 0.40 ยาว 14 เมตร ในชั้นดินดัง
แสดงในรูป เมื่อระดับน้าํ อยูที่ผิวดิน และใชแฟคเตอรแรงยึดเกาะของ API
ตัวอยางที่ 3.1
วิธีทํา การคํานวณแรงเสียดทานประลัยในชั้นดินเหนียวออน
- แฟคเตอรยึดเกาะ
α =1.0 เมื่อ Su < 2.5 ตันตอตารางเมตร
- แรงเสียดทานประลัยระหวางเสาเข็มและดิน
Ps =α Su As

Ps = (1)(2)(0.4× 4× 3.5) =11.2 ตัน


ตัวอยางที่ 3.1
การคํานวณแรงเสียดทานประลัยในชั้นทราย

- ความเคนประสิทธิผลในแนวดิ่ง
ความลึก 3.5 เมตร: σ v′ 0 = (1.6 −1)×3.5 = 2.1 ตันตอตารางเมตร
ความลึก 5.5 เมตร: σ v′ 0 = 2.1+ (1.9 −1)× 2 = 3.9 ตันตอตารางเมตร
- สัมประสิทธิ์ความดันดินดานขาง
K0 =1− sinφ ′ =1− sin30°
K0 = 0.5
ตัวอยางที่ 3.1
- หนวยแรงเสียดทานประลัยระหวางเสาเข็มและดิน
f s = Kσ vs
′ tan δ ′

f s = (0.5×1)

2.1
⎜+ 3.9 ⎞
⎟ tan(0.8× 30°)



2 ⎟⎟⎠
f s = 0.67 ตันตอตารางเมตร < fsl (6.7 ตันตอตารางเมตร)

- แรงเสียดทานประลัยระหวางเสาเข็มและดิน
Ps = As f s

Ps = (0.4× 4× 2)(0.67)

Ps = 2.1 ตัน
ตัวอยางที่ 3.1
การคํานวณแรงเสียดทานประลัยในชั้นดินเหนียวแข็ง
- แฟคเตอรยึดเกาะ
α = 0.5 เมื่อ Su > 7.5 ตันตอตารางเมตร
- แรงเสียดทานประลัยระหวางเสาเข็มและดิน
Ps =α Su As

Ps = (0.5)(9)(0.4× 4× 5.5)

Ps = 39.6 ตัน
ตัวอยางที่ 3.1
การคํานวณแรงเสียดทานประลัยในชั้นทรายแนน

- ความเคนประสิทธิผลในแนวดิ่ง
ความลึก 11 เมตร: σ v′ 0 = 3.9 + ⎡⎢(1.9 −1)×5.5⎤⎥ = 8.8 ตันตอตารางเมตร
⎣ ⎦

ความลึก 14 เมตร: σ v′ 0 = 8.8 + ⎡⎢⎣(2.1−1)×3⎤⎥⎦ =12.1 ตันตอตารางเมตร


- สัมประสิทธิ์ความดันดินดานขาง
K0 =1− sinφ ′ =1− sin41°

K0 = 0.34
ตัวอยางที่ 3.1
- หนวยแรงเสียดทานประลัยระหวางเสาเข็มและดิน
f s = Kσ vs
′ tan δ ′

f s = (0.34×1) 8.8 +

⎜12.1 ⎞
⎟ tan(0.8× 41)
⎜ ⎟
2



f s = 2.3 ตันตอตารางเมตร < fsl (9.6 ตันตอตารางเมตร)

- แรงเสียดทานประลัยระหวางเสาเข็มและดิน
Ps = As f s

Ps = (0.4× 4× 3)(2.3)

Ps =11.1 ตัน
ตัวอยางที่ 3.1
การคํานวณแรงแบกทานประลัยในชั้นทรายแนน
- ความเคนประสิทธิผลที่ปลายเสาเข็ม
σ vb
′ =12.1 ตันตอตารางเมตร

- หนวยแรงแบกทานประลัยที่ปลายเสาเข็ม
qb = σ vb

φ0′ + 40° ⎞⎟
′ Nq เมื่อ φ′ = ⎜
⎜ ⎟ = 40.5 จะได Nq = 200

⎜ 2 ⎟

⎝ ⎠

qb =12.1× 200 = 2420 ตันตอตารางเมตร > qbl (960 ตันตอตารางเมตร)


ดังนั้นเลือกใช qb = 960 ตันตอตารางเมตร
- แรงแบกทานประลัยที่ปลายเสาเข็ม
Pb = Abσ vb

Pb = (0.4× 0.4)(960) =153.6 ตัน
ตัวอยางที่ 3.1
การคํานวณแรงแบกทานประลัยในชั้นทรายแนน
∑ Ps =11.2 + 2.1+ 39.6 +11.1= 64 ตัน
Pf = ∑ (Ps ) + Pb = 64 +153.6 = 217.6 ตัน

การคํานวณน้ําหนักบรรทุกปลอดภัย
- ใช FS = 2.5
Pall = 217.6 = 87.0
2.5
- ใช FSs = 1.5 และ FSb = 3.0
Pall = 64 + 153.6 = 93.9
1.5 3
เพราะฉะนั้น น้ําหนักบรรทุกปลอดภัยมีคาเทากับ 87 ตัน
ตัวอยางที่ 3.2
จงออกแบบเสาเข็มคอนกรีตอัดแรงสําหรับโครงสรางทาเรือที่ตอ งรับทั้งแรงกดและแรงดึง โดยทีแ่ รงกดมาก
ที่สุดมีคาเทากับ 400 กิโลนิวตัน และแรงดึงมากที่สุดมีคา 250 กิโลนิวตัน ดินฐานรากเปนดินเหนียวที่มี
กําลังตานทานแรงเฉือนเฉลี่ยเทากับ 100 กิโลปาสคาล
วิธีทํา เลือกเสาเข็มสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 40 x 40 เซนติเมตร
แรงแบกทานประลัยทีป่ ลายเข็มมีคา เทากับ
Pb = 9Su Ab = 9×100× 0.42 =144 กิโลนิวตัน
แรงเสียดทานประลัยมีคา เทากับ
Ps = α Su As = 0.5×100× 4× 0.4× L = 80L กิโลนิวตัน
ตัวอยางที่ 3.2
ความยาวเสาเข็มทีต่ อ งการสําหรับรับแรงกด
400 = 80L+144
2.5
L = 6.60 เมตร

หรือ 400 = 80L + 144


1.5 3
L =10.7 เมตร
ดังนั้น ความยาวเสาเข็มที่ตองการสําหรับรับแรงกดเทากับ 10.7 เมตร
ความยาวเสาเข็มทีต่ อ งการสําหรับรับแรงดึงเทากับ
250 = 80L
2.5
L = 7.81 เมตร
ดังนั้น เสาเข็มทีต่ องการควรมีความยาวไมนอยกวา 10.7 เมตร
ตัวอยางที่ 3.3

จงใชสมการตอกเสาเข็มของ Hiley และ Janbu ในการหาระยะจมสุดทาย เพื่อใหไดน้ําหนักบรรทุกยอมให


เทากับ 20 ตัน โดยมีอัตราสวนปลอดภัยเทากับ 4.0 กําหนดให ตุมตอกมีน้ําหนัก 4.5 ตัน ยกสูง 60
เซนติเมตร เสาเข็มมีความยาว 21 เมตร และหนัก 3.4 ตัน พื้นที่หนาตัดของเสาเข็มเทากับ 676 ตาราง
เซนติเมตร (ขนาด 26 x 26 เซนติเมตร) และกระสอบรองหัวเสาเข็มมีความหนาเทากับ 10 เซนติเมตร
กําหนดให กําลังอัดประลัยของคอนกรีตเทากับ 350 กิโลกรัมตอตารางเซนติเมตร ประสิทธิภาพของ
เครื่องมือเทากับ 80 เปอรเซ็นต และ er เทากับ 0.25
ตัวอยางที่ 3.3

วิธีทํา ก) สมการของ Hiley


⎛ ⎞ ⎛ ⎞
k ⎜⎜Wh +W per 2 ⎟⎟ 0.80× ⎜⎜ 4.5 + 3.4× 0.252 ⎟⎟
η= ⎝ ⎠= ⎝ ⎠ = 0.48
Wh +W p 4.5 + 3.4

c p = 0.72× 20× 4× 21 =1.79 เซนติเมตร


676

cc = 1.8× 20× 4× 0.10 = 0.02 เซนติเมตร


676
cq = 3.6× 20× 4 = 0.43 เซนติเมตร
676

แทนคา 20× 4 = 0.48× 4.5× 60


⎜1.79 + 0.02 + 0.43⎟
⎛ ⎞

s+ ⎝ ⎠
2
s = 0.50 เซนติเมตร
ตัวอยางที่ 3.3

ข) สมการของ Janbu
E = 2.3231.5 × 4270 350 = 282836.67 กิโลกรัมตอตารางเซนติเมตร
E = 282.8 ตันตอตารางเซนติเมตร
⎛ ⎞
Cd = 0.75 + ⎜⎜ 0.15× 3.4 ⎟⎟ = 0.86


4.5 ⎟⎠
20× 4 = 4.5× 60
⎡ ⎤
0.86 ⎢1+ 1+
⎢ 4.5 × 60 × 2100 ⎥
⎥s


676× 282.8× s × 0.86 ⎥⎦
2

s = 0.84 เซนติเมตร
ดังนั้น ระยะจม 10 ครั้งสุดทายของการตอกเสาเข็มเทากับ 5.0 และ 8.4 เซนติเมตร
สําหรับวิธีของ Hiley และ Janbu ตามลําดับ
ตัวอยางที่ 3.4
จงประมาณน้ําหนักบรรทุกปลอดภัยของฐานรากเสาเข็ม ดังแสดงในรูป
1.2 m

1.5 m
Soft clay
1.2 m sat
= 1.6 ton/m3
4.0 m Su = 1.7 ton/m2

Stiff clay
0.4 m-diameter-spun pile 5.5 m
sat
= 1.8 ton/m3
Su = 7 ton/m2

Very stiff clay


4.0 m 3
sat = 2.0 ton/m
Su = 15 ton/m 2
ตัวอยางที่ 3.4

วิธีทํา เนื่องจากเสาเข็ม Spun (เสาเข็มหนาตัดเปด) ถูกตอกลงในชั้นดินเหนียวเกินกวา 20 เทาของเสน


ผานศูนยกลาง ดังนั้น ในการคํานวณสามารถพิจารณาพื้นทีผ่ ิวและพื้นทีป่ ลายเสาเข็มเสมือนเปน
เสาเข็มหนาตัดปด เสาเข็มนี้ตอกลงในชั้นดินเหนียวสามชั้นทีม่ ีกําลังตานทานแรงเฉือนตางกัน
ดังนั้น แฟคเตอรยึดเกาะจึงมีคา แตกตางกัน และสามารถคํานวณไดจากวิธีของ API ดังนี้
αSoft clay =1.0

αStiff clay =1− 0.5⎜⎜ 70 − 25 ⎟⎟ = 0.55


⎛ ⎞



50 ⎟

αVery stiff clay = 0.5


ตัวอยางที่ 3.4
การคํานวณน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
- แรงเสียดทานประลัยระหวางเสาเข็มและดิน
Ps = ( As f s )Soft clay + ( As f s )Stiff clay + ( As f s )Very stiff clay

Ps = (π × 0.4× 4)(1×1.7) + (π × 0.4× 5.5)(0.55× 7) + (π × 0.4× 4)(0.5×15)

Ps = 8.5 + 26.6 + 37.7 = 72.8 ตัน


- แรงแบกทานประลัยที่ปลายเข็ม
Pb = 9Su Ab

Pb = (9)(15)⎜⎜ π × 0.42 ⎟⎟ =17.0


⎛ ⎞
ตัน
⎝4 ⎠

- น้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มเดี่ยว
Pf = 72.8 +17.0
Pf = 89.8 ตัน
ตัวอยางที่ 3.4
การคํานวณน้ําหนักบรรทุกปลอดภัยของเสาเข็มเดี่ยว
- ใช FS = 2.5
Pall = 89.8 = 35.9 ตัน
2.5

- ใช FSs = 1.5 และ FSb = 3.0


Pall = 72.8 + 17.0 = 54.2 ตัน
1.5 3.0
เพราะฉะนั้น น้ําหนักบรรทุกปลอดภัยของเสาเข็มเดี่ยวเทากับ 35.9 ตัน
ตัวอยางที่ 3.4
การคํานวณน้ําหนักปลอดภัยของเสาเข็มกลุม
- น้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มกลุมเนื่องจากการวิบัตแิ บบบล็อค
n
Pf ( group−block ) = Nc Su Bg Lg + 2(Bg + Lg )∑ Su,i ΔHi
i=1
Pf ( group−block ) = (9)(15)(1.6)(1.6) + 2(1.6 +1.6) ⎡⎢(1.7 × 4) + (7 × 5.5) + (15× 4)⎤⎥
⎣ ⎦

Pf ( group−block ) = 345.6 + 673.9 =1019.5 ตัน


- น้ําหนักบรรทุกปลอดภัยของเสาเข็มกลุมเนื่องจากการวิบัตแิ บบบล็อค
Pall ( group−block ) = 1019.5 = 407.8 ตัน
2.5
- น้ําหนักบรรทุกปลอดภัยของเสาเข็มกลุมเนื่องจากการวิบัตขิ องเสาแตละตน
Pall ( group−individual ) = Pa × n
Pall ( group−individual ) = 35.9× 4 =143.6 ตัน
เพราะฉะนั้น น้ําหนักบรรทุกปลอดภัยของฐานรากเทากับ 143.6 ตัน
ตัวอยางที่ 3.5
จงประมาณคาการทรุดตัวเนื่องจากการอัดตัวคายน้าํ ของฐานรากเสาเข็ม ดังแสดงในรูป กําหนดให ที่ A =
0.5 และ H/B = 6.0/1.6 = 3.75 จะได μc = 0.64 (จากวิชาปฐพีกลศาสตร)
ตัวอยางที่ 3.5
วิธีทํา เนื่องจากชวงปลายของเสาเข็มตั้งอยูในชั้นดินเหนียวแข็ง (Stiff clay) และทรายแนนปานกลาง
(Medium dense sand) ดังนั้น L มีคา เทากับ 5 เมตร และตําแหนงของฐานรากเสมือน
⎛σ
(L′) = (1.5 + 8 + 2 × 5/3) = 12.8 เมตร จากผิวดิน Cs H ′ ⎞⎟
⎜ vf
Sc(1−D) = log ⎜ σ ⎟
1+ e0 ⎜
⎜ v′ 0 ⎟⎟
⎝ ⎠

z (เมตร) Δσv (ตันตอตร.ม.) σ′v0 (ตันตอตร.ม.) σ′p (ตัน σ′vf(ตัน Sc(1-D)


ตอตร.ม.) ตอตร.ม.) (มม.)
4.7 50/(1.6 + 4.7)2 = 1.26 (1.5×1.5) + (0.5×8) + (0.8×3) + 38.25 22.51 0.43
(0.9×4) + (0.9×1) = 21.25
6.7 0.72 21.25 + (0.9×2) = 23.05 41.49 23.77 0.23
8.7 0.47 23.05 + (0.9×2) = 24.85 44.73 25.32 0.14
0.80

การทรุดตัวเนื่องจากอัดตัวคายน้ําในสามทิศทางเทากับ μc Sc(1−D) = 0.64× 0.80 = 0.51


มิลลิเมตร
ตัวอยางที่ 3.6
จากแผนผังของกลุมเสาเข็ม ดังแสดงในรูป จงคํานวณหาน้ําหนักบรรทุกบนเสาเข็มตนที่ 1, 6, 8 และ 9 เมื่อ
มีนา้ํ หนักขนาด 250 ตัน กระทําที่จดุ A เสาเข็มแตละตนมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 40 เซนติเมตร และถา
จากการสํารวจชั้นดินใตฐานรากได Boring log ดังแสดงในรูป จงคํานวณหาความลึกของเสาเข็มทีน่ อย
ที่สุดสําหรับฐานรากเสาเข็ม เมื่อเสาเข็มทีใ่ ชเปนเสาเข็มตอกประเภทคอนกรีตอัดแรง

1 2 3

1.20 m
4 5 6
x (+)
0.45 m

0.35 m 1.20 m
7 8 9

1.20 m 1.20 m

y (+)
ตัวอยางที่ 3.6
วิธีทํา เนื่องจากชวงปลายของเสาเข็มตั้งอยูในชั้นดินเหนียวแข็ง (Stiff clay) และทรายแนนปานกลาง
(Medium dense sand) ดังนั้น L มีคา เทากับ 5 เมตร และตําแหนงของฐานรากเสมือน
(L′) = (1.5 + 8 + 2 × 5/3) = 12.8 เมตร จากผิวดิน
Ve y
P = Vn ± y 2 ± Vex x2
∑ ⎛⎜⎝ y ⎞⎟⎠ ∑ ⎛⎜⎝ x ⎞⎟⎠
2 2

⎛ ⎞⎛ ⎞

⎜ x = 6 1.2 = 8.64

⎟ ⎜⎜ ⎟⎟ ⎜⎜ ⎟⎟ ตารางเมตร
⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ ⎠

2 2
∑ y = 6 1.2 = 8.64
⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎛ ⎞




⎜ ⎟⎜ ⎟ ตารางเมตร
⎝ ⎠⎝ ⎠

Vey = 250× 0.45 =112.5 ตัน-เมตร


Vex = 250× 0.35 = 87.5 ตัน-เมตร
ตัวอยางที่ 3.6
น้ําหนักบรรทุกบนเสาเข็มตนที่ 1
112.5× ⎛⎜ −1.2 ⎞⎟ 87.5× ⎛⎜ −1.2 ⎞⎟
P1 = 250 + ⎝ ⎠+ ⎝ ⎠ =0 ตัน
9 8.64 8.64
น้ําหนักบรรทุกบนเสาเข็มตนที่ 6
87.5⎛⎜ +1.2 ⎞⎟ 112.5⎛⎜ 0 ⎞⎟
P6 = 250 + ⎝ ⎠+ ⎝ ⎠ = 39.9 ตัน
9 8.64 8.64
น้ําหนักบรรทุกบนเสาเข็มตนที่ 8
87.5⎛⎜ 0 ⎞⎟ 112.5⎛⎜ +1.2 ⎞⎟
P8 = 250 + ⎝ ⎠+ ⎝ ⎠ = 43.4 ตัน
9 8.64 8.64
น้ําหนักบรรทุกบนเสาเข็มตนที่ 9
87.5⎛⎜ +1.2 ⎞⎟ 112.5⎛⎜ +1.2 ⎞⎟
P9 = 250 + ⎝ ⎠+ ⎝ ⎠ = 55.6 ตัน
9 8.64 8.64
ตัวอยางที่ 3.6

เนื่องจากน้ําหนักบรรทุกบนเสาเข็มตนที่ 9 มีคาสูงที่สุด ดังนั้น ในการออกแบบตองใชน้ําหนัก


นี้เปนตัวกําหนดความยาวของเสาเข็ม จากรูป จะเห็นวาระยะหางระหวางกลุมเสาเข็มมีคาเทากับ 3
เทาของเสนผานศูนยกลางเสาเข็ม อีกทั้งเสาเข็มยังตั้งอยูในชั้นทราย ดังนั้น สามารถใชคา
ประสิทธิภาพเทากับ 1.0
การออกแบบเริ่มตนโดยการสมมติความยาวเสาเข็ม และตรวจสอบน้ําหนักบรรทุกยอมให
(ตองมีคา มากกวาหรือเทากับ 55.6 ตัน) ในที่นี้ จะสมมติใหความยาวของเสาเข็มอยูที่ระดับความ
ลึก 7 เมตร เพื่อใหไดระยะฝงของเสาเข็มในชั้นทรายแนนเกินกวาสามเทาของเสนผานศูนยกลาง
และสมมติวาระดับฐานรากอยูที่ความลึก 1.5 เมตร จากผิวดิน ดังนั้น
ตัวอยางที่ 3.6
ที่ระดับความลึก 1.5-3.0 เมตร
Ps = 1 ⎛⎜1.96 + 2.73⎞⎟ × ⎛⎜1− sin28.2°⎞⎟ × ⎛⎜ tan28.2°⎞⎟× ⎛⎜π × 0.40×1.50⎞⎟ =1.2 ตัน
2⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠

ที่ระดับความลึก 3.0-5.5 เมตร


Ps = 1 ⎛⎜ 2.73 + 4.70 ⎞⎟ × ⎛⎜1− sin32.5°⎞⎟ × ⎛⎜ tan32.5°⎞⎟ × ⎛⎜π × 0.40× 2.50⎞⎟ = 3.4 ตัน
2⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠

ที่ระดับความลึก 5.5-7.0 เมตร


Ps = 1 ⎛⎜ 4.70 + 7.47 ⎞⎟ × ⎛⎜1− sin44°⎞⎟ × ⎛⎜ tan44°⎞⎟ × ⎛⎜π × 0.40× 2.50⎞⎟ = 5.6 ตัน
2⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠

ที่ระดับความลึก 7.0 เมตร (ปลายเสาเข็ม)


φ1′ = 44°+ 40° = 42°
2
σ v′ Nq = 7.47×300 = 2241 ตันตอตารางเมตร > qbl (= 1200 ตันตอตารางเมตร)
Pb =1200× π × 0.42 =150.8 ตัน
4
ตัวอยางที่ 3.6

น้ําหนักบรรทุกประลัย
Pf =1.2 + 3.4 + 5.6 +150.8 =161.0 ตัน
น้ําหนักบรรทุกยอมใหเทากับ
Pall =

1.2
⎜ + 3.4 + 5.6 ⎞
⎟ + 150.8 = 57.1 ตัน
⎜ ⎟


1.5 ⎟

3.0

Pall = 161.0 = 64.4


2.5

เนื่องจากน้ําหนักบรรทุกยอมใหมีคา เทากับ 57.1 ตัน ซึ่งมากกวาน้ําหนักบรรทุกบนหัวเสาเข็ม


ดังนั้น จึงเลือกเสาเข็มขนาดเสนผานศูนยกลาง 40 เซนติเมตร ยาว 7 เมตร
ตัวอยางที่ 3.7
จงคํานวณหาน้าํ หนักบรรทุกในแนวนอนประลัยของเสาเข็มเจาะในชั้นดินเหนียวซึ่งมีกําลังตานทานเฉลี่ย
เทากับ 40 กิโลปาสคาล เสาเข็มมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 80 เซนติเมตร และยาว 9 เมตร หนาตัดเสาเข็ม
และการจัดวางเหล็กเสริมแสดงดังในรูป เสาเข็มนี้เปนเสาเข็มที่ปราศจากการยึดรั้งที่หัวเสาเข็ม (Free head
pile) และปราศจากน้ําหนักบรรทุกในแนวดิง่ กําลังอัดประลัยของคอนกรีตที่อายุบม 28 วัน (f’c) มีคาเทากับ
280 กิโลกรัมตอตารางเซนติเมตร และกําลังครากของเหล็ก (fy) มีคา เทากับ 4000 กิโลกรัมตอตาราง
เซนติเมตร
ตัวอยางที่ 3.7
วิธีทํา พื้นที่หนาตัดเหล็กเสริมเทากับ
Ast = 8× π × 2.52 = 39.3 ตารางเซนติเมตร
4
ว.ส.ท. มีขอกําหนดวาปริมาณเหล็กเสริมในเสาเข็มเจาะตองไมนอยกวา 0.5% ของหนาตัด
Ast min = 0.5 × π ×802 = 25.13 ตารางเซนติเมตร < Ast OK.
100 4
คุณสมบัตขิ องหนาตัดเสาเข็มแสดงไดดังนี้
4 Ast 4×39.3
p= = = 7.82×10−3
π D π ×80
2 2

fy
m= = 4000 =16.81
0.85 f c′ 0.85× 280

pm = 7.82×10−3 ×16.81= 0.13


ตัวอยางที่ 3.7

เมื่อ D’/D = 0.65/0.80 = 0.815, pm = 0.13 และ Pu = 0 จะได


M u = 0.025 ดังนั้น
φ D3 f c′

M yield = 0.025×803 × 280× 0.7 = 2,508,800 กิโลกรัม-เซนติเมตร

M yield = 25.1 ตัน-เมตร


ตัวอยางที่ 3.7
ความยาววิกฤติ (Lc) มีคา เทากับ
0.5
⎡ ⎤
9 M yield
⎢ ⎥
Lc ( ft ) =1.5D + + ⎢ ⎥
Su D 2.25Su D




⎣ ⎦

เมื่อ D = 0.80×100 = 2.67 ฟุต


30
2
⎛⎞
Su = 4× 2.2× 30 ⎟⎟ = 0.79


กิโลปอนดตอตารางฟุต
100 ⎟⎠

M yield = 25.1× 2.2×100 =1857.4 กิโลปอนด-ฟุต


30
0.5
⎡ ⎤
Lc = 1.5× 0.79 + ⎛




9 + ⎢ 1857.4 ⎥ = 25.23
⎞ ⎢ 2.25× 0.79× 2.67 ⎥
⎜ 0.79× 2.67 ⎟ ⎢⎣
⎝ ⎠ ⎥⎦
ฟุต
⎝ ⎠

Lc = 25.23× 30 = 7.57 เมตร < 9.0 เมตร


100
ดังนั้น เสาเข็มนี้จดั เปนเสาเข็มยาว (Long pile)
ตัวอยางที่ 3.7
น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนของเสาเข็มมีคา เทากับ
⎡ 0.5 ⎤
⎢⎛ ⎞ ⎥
⎢⎜ 2M yield 2 ⎟ ⎥
Hu = 9Su D e +1.5D +
⎢⎜ ⎛
⎢⎜ ⎜⎝

⎟ ⎟ − e −1.5D ⎥
⎢⎜ 9Su D ⎠ ⎟



⎢⎝ ⎠ ⎥
⎢⎣ ⎥⎦

⎡ 0.5 ⎤
⎢⎛ ⎞ ⎥
2
Hu = 9× 0.79× 2.67 0 +1.5× 2.67 ⎞⎟ + 2×1857.4
⎢⎜ ⎛ ⎟ ⎞⎥
⎢⎜ ⎜ ⎟ − 0 − ⎛⎜1.5× 2.67 ⎟⎥
⎢⎜ ⎝
⎢⎜⎝
⎠ 9× 0.79× 2.67 ⎟
⎟ ⎝ ⎠⎥


⎢⎣ ⎥⎦

⎡ 0.5 ⎤
⎢⎛ ⎥
Hu =18.98 16.04 +195.68
⎢⎜

⎟ − 4.00 ⎥
⎢⎝ ⎠ ⎥
⎣⎢ ⎦⎥

Hu = 200.25 กิโลปอนด

Hu = 200.25 = 91.02 ตัน


2.2
ตัวอยางที่ 3.8
จากตัวอยางที่ 3.6 ถาฐานรากดังกลาวรับแรงกระทําในแนวนอนในทิศทางของ x เทากับ 100 ตัน อยาก
ทราบวาฐานรากดังกลาวยังมีความปลอดภัยเพียงพอหรือไม ถาสมมติให Myield ของเสาเข็มแตละตนเทากับ
12 ตัน-เมตร

1 2 3

1.20 m
4 5 6
x (+)
0.45 m

0.35 m 1.20 m
7 8 9

1.20 m 1.20 m

y (+)
ตัวอยางที่ 3.8
วิธีทํา เนื่องจากระยะหางระหวางเสาเข็มในทิศทางของ x (ขนานกับน้าํ หนักบรรทุก) มีคา นอยกวา 6 เทา
ของเสนผานศูนยกลาง ดังนั้น ประสิทธิภาพของกลุมเสาเข็มจึงมีคา นอยกวา 1.0 ในที่นสี้ มมติให
ประสิทธิภาพของกลุมเสาเข็มเทากับ 0.7
เสาเข็มแตละตนรับแรงในแนวนอนเฉลี่ยเทากับ
H = 100 =14.3 ตัน
9

เนื่องจากเสาเข็มมีการยึดรั้งทีห่ ัวเสาเข็ม ดังนั้น ความยาววิกฤติมคี า เทากับ


1/3
⎡ ⎤
M
⎢ yield ⎥⎥
Lcs = ⎢
γ ′DK

⎢ p⎥

⎣ ⎦
ตัวอยางที่ 3.8
M yield =12× 2.2×100 = 88 กิโลปอนด-ฟุต
30

⎜0.51×1.5⎞⎟ + ⎛⎜ 0.79× 2.5⎞⎟ + ⎛⎜1.11×1.5⎞⎟
γ ′=⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ = 0.80 ตันตอลูกบาศกเมตร
5.5
3
⎛ ⎞
γ ′ = 0.80× 2.2× ⎜ 30 ⎟ = 0.048 กิโลปอนดตอลูกบาศกฟุต



100 ⎟⎟⎠
D = 0.40×100 =1.33 ฟุต
30
⎜ 28.2°×1.5 ⎟ + ⎜ 32.5°× 2.5 ⎟ + ⎜ 44°×1.5 ⎟
⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞

φ′ = ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ = 34.5°
5.5
K p = tan ⎜ 45°+
2

⎜ 34.5 ° ⎞
⎟ = 3.61


2 ⎟⎟⎠
⎡ ⎤
Lcs = ⎢⎢ 88 ⎥ = 381.84 ฟุต
⎣⎢
0.048 ×1.33 × 3.61 ⎥
⎦⎥

Lcs = 381.84× 30 =114.55 เมตร > L ดังนั้น เสาเข็มนี้จัดเปนเสาเข็มสั้น


100
ตัวอยางที่ 3.8
น้ําหนักบรรทุกประลัยในแนวนอนมีคา เทากับ
Hu =1.5γ ′DK p L2
2
⎛ ⎞
Hu =1.5× 0.048×1.33× 3.61× 5.5×100
⎜ ⎟ =116.2 กิโลปอนด

30 ⎟⎟⎠

Hu = 116.2 = 52.8 ตัน


2.2
อัตราสวนปลอดภัยของฐานรากเสาเข็มในแนวนอนเทากับ
FS = 52.8× 0.7 = 2.58
14.3
Foundation Engineering
วิศวกรรมฐานราก

รองศาสตราจาย ดร. สุขสันติ์ หอพิบูลสุข


สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุ สรุ นารี
เสถียรภาพของลาดดิน
4 (SLOPE STABILITY)
4.1 บทนํา

การถลมของดิน (Landslide) ตามธรรมชาติเกิดจากการเคลื่อนตัวขึ้นหรือลงของวัสดุลาดดิน


(Slope material) เนื่องจากการสูญเสียกําลังตานทานแรงเฉือน การถลมของแผนดินตามธรรมชาติอาจ
สังเกตไดจากภาพถายทางอากาศหรือการสํารวจทางธรณี นอกจากการถลมของดินตามธรรมชาติแลว การ
ถลมของดินยังเกิดขึ้นกับโครงสรางที่ถูกสรางขึ้นโดยมนุษย เชน เขื่อนดิน วิศวกรจะตองใหความสําคัญกับ
การเลือกใชวัสดุและขั้นตอนการกอสรางเพื่อหลีกเลี่ยงการวิบัติของลาดดินระหวางและหลังการกอสราง การ
วิเคราะหเสถียรภาพลาดดินจะเกี่ยวของกับการหาคาอัตราสวนปลอดภัย (Factor of safety) ตานการวิบัติ
ของลาดดิน
4.2 สาเหตุของการวิบัติของลาดดิน

ปจจัยภายนอก ไดแก การเพิ่มขึ้นของหนวยแรงเฉือนในขณะที่กําลังตานทานแรงเฉือนของวัสดุคงเดิม


การวิบัติอาจเกิดเนื่องจากการเพิ่มความชันของลาดดิน และแผนดินไหว เปนตน

ปจจัยภายใน ไดแก สาเหตุทั้งหมดที่ทําใหเกิดการเคลื่อนตัวของมวลดินโดยปราศจากการเปลี่ยนแปลง


ความชันและหนวยแรงเฉือนในวัสดุลาดดิน เกิดเนื่องมาจากการลดลงของกําลังตานทานแรงเฉือนซึ่งอาจ
เกิดจากการเพิ่มขึ้นของความดันโพรง การชะลางของเกลือ (Leaching of salt) การแตกสลายของพันธะ
เชื่อมประสานธรรมชาติ (Breakage of cementation bonds) และการแลกเปลี่ยนประจุ (Ion
exchange) เปนตน
4.2 สาเหตุของการวิบัติของลาดดิน

ลักษณะการวิบตั ิของลาดดิน
4.3 เสถียรภาพหลังสิน้ สุดการกอสรางและเสถียรภาพ
ที่ระยะเวลาอนันต

การวิเคราะหเสถียรของลาดดินจะตองกระทําในสองกรณี

1)เสถียรภาพหลังสิ้นสุดการกอสราง (End of construction)


2) เสถียรภาพที่ระยะเวลาอนันต (Long term condition)

เมื่อมีการกอสรางทั้งงานดินขุดหรืองานดินถมจะเกิดการเปลี่ยนแปลงของความเคนรวม (Total
stress) ในมวลดิน สงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงความดันน้ํา อัตราสวนปลอดภัยจะมีคาลดลงเมื่อ
ความดันน้ําเพิ่มขึ้น จนกระทั่งถึงจุดต่ําที่สุด (จุดวิกฤติ) เมื่อความดันน้ํามีคามากที่สุด
4.3 เสถียรภาพหลังสิน้ สุดการกอสรางและเสถียรภาพ
ที่ระยะเวลาอนันต
4.3.1 งานดินขุด (Cutting)

งานดินขุดที่สภาวะหลังสิ้นสุดการกอสราง และระยะเวลาอนันต
4.3 เสถียรภาพหลังสิน้ สุดการกอสรางและเสถียรภาพ
ที่ระยะเวลาอนันต
การลดลงของความเคนรวมจะทําใหเกิดการลดลงของความดันน้ํา และดินพยายามที่จะขยายตัว ถาการ
ขุดดินเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว ความดันน้ําสวนเกินคํานวณไดจาก

Δu = BΔσ 3 + A⎛⎜ Δσ1 −Δσ 3 ⎞⎟


⎝ ⎠

⎡ ⎞⎤
Δu = B Δσ 3 + A 1− Δσ

⎢ ⎜ ⎥
⎢ ⎜
3 ⎟⎟ ⎥
Δσ1 Δσ1


Δσ⎜ ⎥
1 ⎟⎠ ⎥
⎣ ⎝ ⎦

⎡ ⎤
Δu = B 1− ⎛1− A 1− Δσ 3 ⎟⎥⎥ = B
⎛ ⎞
⎢ ⎞⎜
⎢ ⎟⎜
Δ σ1 ⎢


⎝ Δσ1 ⎟⎟⎥⎥
⎠⎜
⎣ ⎝ ⎠⎦

เมื่อ A และ B คือตัวแปรไรหนวยของ Skempton


4.3 เสถียรภาพหลังสิน้ สุดการกอสรางและเสถียรภาพ
ที่ระยะเวลาอนันต

ความดันน้ําจะมีคาลดลงอยางมากหลังสิ้นสุดการกอสราง ซึ่งมีคามากหรือนอยขึ้นอยูกับชนิดของดิน
ขณะที่ขุด น้ําจะไหลไปตามไหลของทางลาดและเกิดการลดลงของระดับน้ํา (Drawdown) หลังสิ้นสุดการ
ขุดทันที ดินจะอยูในสภาพไมระบายน้ําและการวิเคราะหเสถียรภาพที่สภาวะนี้สามารถทําโดยการวิเคราะห
แบบความเคนรวม (Total stress analysis) การวิเคราะหแบบความเคนประสิทธิผล (Effective
stress analysis) แตตองทราบคาความดันน้ํา ซึ่งมีคาเทากับ (u0 + Δu) ดังนั้น วิธีการวิเคราะหแบบ
ความเคนรวมจึงเปนที่นิยมมากกวาเนื่องจากเปนวิธีที่งายกวา (ไมจําเปนตองทราบคาความดันน้ําสวนเกิน)
4.3 เสถียรภาพหลังสิน้ สุดการกอสรางและเสถียรภาพ
ที่ระยะเวลาอนันต

ในการวิเคราะหแบบความเคนรวม อัตราสวนปลอดภัยที่คํานวณไดจะเปนสภาวะที่ความดันน้ํามีคา
เทากับความดันน้ําเมื่อมวลดินวิบัติพอดี (เนื่องจากใชคา Su ในการวิเคราะห) ในขณะที่ อัตราสวนปลอดภัย
ที่คํานวณไดจากวิธีความเคนประสิทธิผล (Effective stress analysis) ความดันน้ําที่ใชในการวิเคราะห
จะเป น ความดั น น้ํ า ที่ แ ท จ ริ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น หลั ง สิ้ น สุ ด การก อ สร า ง ซึ่ ง มวลดิ น ยั ง ไม เ กิ ด การวิ บั ติ สํ า หรั บ การ
คํานวณหาอัตราสวนปลอดภัยที่ระยะเวลาอนันต (Long tern condition) (ความดันน้ําสวนเกินมีคา
เทากับศูนย) ดังนั้น การวิเคราะหแบบความเคนประสิทธิผลจะใหคาเหมาะสมที่สุด
4.3 เสถียรภาพหลังสิน้ สุดการกอสรางและเสถียรภาพ
ที่ระยะเวลาอนันต

กําลังตานทานแรงเฉือนที่จุดวิกฤติ (Critical state shear strength) ของดินเหนียวอัดตัวมากกวา


ปกติสําหรับใชการวิเคราะหเสถียรภาพเปนคาที่ประมาณไดยาก

Skempton (1970) แนะนําวากําลังตานทานแรงเฉือนที่สภาวะวิกฤตินี้อาจประมาณไดจากคากําลัง


ตานทานแรงเฉือนสูงสุด (Peak shear strength) ของดินเหนียวปนใหม (Remolded clay)
4.3 เสถียรภาพหลังสิน้ สุดการกอสรางและเสถียรภาพ
ที่ระยะเวลาอนันต
เมื่อปริมาณความชื้นในมวลดินเพิ่มขึ้น (อาจเนื่องจากน้ําฝนหรือน้ําที่เติมเขาในอางเก็บน้ํา) กําลัง
ตานทานแรงเฉือนจะลดลงอยางฉับพลัน และเกิดการวิบัติในที่สุด

การวิบัติของลาดดินขุดอางเก็บน้าํ ภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
4.3 เสถียรภาพหลังสิน้ สุดการกอสรางและเสถียรภาพ
ที่ระยะเวลาอนันต
4.3.2 งานดินถม

งานดินถมที่สภาวะหลังสิ้นสุดการกอสรางและระยะเวลาอนันต
4.3 เสถียรภาพหลังสิน้ สุดการกอสรางและเสถียรภาพ
ที่ระยะเวลาอนันต
การกอสรางกระทําในเวลาอันรวดเร็วบนชั้นดินที่มีสัมประสิทธิ์ความซึมผานต่ํา ความดันน้ําสวนเกินจะ
มีคามากที่สุดหลังสิ้นสุดการกอสราง และจะมีคาลดลงสูคาสุดทายที่ระยะเวลาอนันต (Long term
condition)

ที่สภาวะหลังสิ้นสุดการกอสราง (Short term condition) สามารถสมมติวาดินมีพฤติกรรมแบบไม


ระบายน้ํา (Undrained condition) ที่สภาวะนี้ อัตราสวนปลอดภัยจะมีคานอยที่สุด ที่ระยะเวลาอนันต
(Long term condition) ความดันน้ําสวนเกินจะเริ่มสลายทั้งในแนวดิ่งและแนวนอน จนกระทั่งเขาสู
สภาวะสมดุล
4.3 เสถียรภาพหลังสิน้ สุดการกอสรางและเสถียรภาพ
ที่ระยะเวลาอนันต
4.3.3 งานเขื่อนดิน
โดยสวนใหญแลว เขื่อนดินจะถูกกอสรางเปนสวนๆ เขื่อนดินจะประกอบดวยสวนแกนซึ่งเปนดินที่มี
คาสัมประสิทธิการซึมผานต่ํา และไหลเขื่อนซึ่งทําจากวัสดุมีกําลังตานทานแรงเฉือนสูง โดยทั่วไป ไหล
เขื่อนดานเหนือน้ําจะถูกคลุมดวยกอนหินที่เรียกวา Rip-rip เพื่อปองกันการกัดเซาะเนื่องจากการกระแทก
ของคลื่น ไหลเขื่อนดานทายน้ําโดยทั่วไปมักจะทําเปนสวนสาธารณะเพื่อใชเปนที่พักผอนหยอนใจ ระบบ
ระบายน้ําภายในเขื่อนดินจําเปนตองมีการจัดทําขึ้นอยางดี เพื่อปองกันผลจากการไหลซึมของน้ํา โดยอาจมี
การจัดทําระบบระบายน้ําในแนวนอนเพื่อเรงการสลายตัวของความดันน้ําสวนเกิน และมุมของไหลเขื่อนตอง
มีคามากพอที่จะปองกันการวิบัติ
4.3 เสถียรภาพหลังสิน้ สุดการกอสรางและเสถียรภาพ
ที่ระยะเวลาอนันต
สภาวะหลังสิ้นสุดการกอสราง
โดยสวนใหญ การวิบัติของเขื่อนดินเกิดขึ้นในชวงกอสรางและหลังสิ้นสุดการกอสราง ความดันน้ํา
สวนเกิน (Excess pore pressure) ขึ้นอยูกับปริมาณความชื้นของวัสดุดินถม และอัตราเร็วของการ
กอสราง การกอสรางที่รวดเร็วจะทําใหเกิดความดันน้ําสวนเกินอยางมาก การวิเคราะหที่ถูกตองที่สุดคือการ
วิเคราะหแบบความเคนประสิทธิผล (Effective stress analysis) ซึ่งจําเปนตองทราบคาความดันน้ําใน
มวลดิน
4.3 เสถียรภาพหลังสิน้ สุดการกอสรางและเสถียรภาพ
ที่ระยะเวลาอนันต
การประมาณคาความดันน้ําสามารถกระทําไดดังนี้
ความดันน้ําที่จุดใดๆ สามารถเขียนไดดังนี้

u = u0 +Δu

เมื่ อ u0 คื อ ความดั น น้ํ า เริ่ ม ต น และ Δu คื อ ความดั น น้ํ า ส ว นเกิ น ที่ เ กิ ด ขึ้ น ภายใต ส ภาวะไม ร ะบายน้ํ า
พิจารณาในพจนของการเปลี่ยนแปลงความเคนหลักใหญรวม (Total major principal stress)

u = u0 + BΔσ1
4.3 เสถียรภาพหลังสิน้ สุดการกอสรางและเสถียรภาพ
ที่ระยะเวลาอนันต
เนื่องจากการคํานวณความดันน้ําสวนเกินมีความยุงยาก จึงสรางตัวแปรตัวหนึ่งเรียกวา อัตราสวนความ
ดันน้ํา (Pore pressure ratio, ru) และมีนิยามเปนอัตราสวนระหวางความดันน้ําตอความเคนที่เพิ่มขึ้นใน
แนวดิ่งเนื่องจากวัสดุถม ณ จุดที่พิจารณาบนระนาบวิบัติ (Δσv = γH เมื่อ H คือความสูงของดินถม)
ru = u
γH
u0 Δσ
ru = +B 1
γH γH
ถาสมมติวาความเคนหลักใหญรวมที่เพิ่มขึ้น (Δσ1) เทากับความเคนในแนวดิ่งที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากวัสดุถม
(Δσv) ตามแนววิบัติ จะไดวา
u0
ru = +B
γH
4.3 เสถียรภาพหลังสิน้ สุดการกอสรางและเสถียรภาพ
ที่ระยะเวลาอนันต
การสรางเขื่อนดินจําเปนตองทําการบดอัดดิน ดินบดอัดจะอยูในสภาพไมอิ่มตัวดวยน้ํา (มีปริมาณ
ความชื้นต่ํา) ซึ่งมีคาความดันน้ําเริ่มตน (u0) เปนลบ และมีคาขึ้นอยูกับปริมาณความชื้นของดิน ปริมาณ
ความชื้นยิ่งมาก คาความดันน้ํายิ่งมีคาใกลศูนย คา B ก็เปนคาที่แปรผันตามปริมาณความชื้นเชนเดียวกัน
ปริมาณความชื้นยิ่งมาก คา B ก็ยิ่งมากตาม ดังนั้น คา ru ที่มากที่สุดคือ

ru = B

สมการดังกลาวสรางขึ้ นโดยสมมติวาไมมีการระบายน้ําเกิ ดขึ้ นระหว างการก อสร าง ดั งนั้ น อั ตราส วน


ปลอดภัยที่เทากับ 1.3 เปนคาที่เพียงพอและยอมรับไดในการวิเคราะหเสถียรภาพที่สภาวะนี้ (หลังสิ้นสุดการ
กอสราง)
4.3 เสถียรภาพหลังสิน้ สุดการกอสรางและเสถียรภาพ
ที่ระยะเวลาอนันต
ถา ru มีคามาก ระบบระบายของความดันน้ําสวนเกินมีความจําเปนอยางยิ่ง ซึ่งสามารถทําไดโดยการ
ติดตั้งชั้นระบายน้ําในแนวนอน (Horizontal drainage layers) การระบายน้ําจะเกิดขึ้นในแนวดิ่งและ
พุงเขาสูชั้นระบายน้ําในแนวนอน Gibson and Shefford (1968) กลาววาคาสัมประสิทธิ์ความซึมผาน
น้ําของชั้นระบายน้ําในแนวนอนควรมีคาอยางนอย 106 เทาของดินที่ใชทําเขื่อน
4.3 เสถียรภาพหลังสิน้ สุดการกอสรางและเสถียรภาพ
ที่ระยะเวลาอนันต
สภาวะการไหลของน้ําแบบราบเรียบ (Steady Seepage)
หลังจากเขื่อนดินถูกเติมเต็มดวยน้ํา น้ําจะไหลผานตัวเขื่อนและดินใตฐานจนทําใหดินอิ่มตัวดวยน้ํา
และเกิดการไหลแบบราบเรียบในที่สุด ที่สภาวะนี้ จะตองทําการวิเคราะหเสถียรภาพดวยวิธีความเคน
ประสิทธิผล (Effective stress analysis) คาความดันน้ําสวนเกินสามารถคํานวณไดจากตาขายการไหล
หรืออาจคํานวณโดยใชอัตราสวนความดันน้ํา ซึ่งอาจใชคาเทากับ 0.45 สําหรับการคํานวณเขื่อนที่มี
คุณสมบัติสม่ําเสมอ แตอาจมีคาต่ํากวานี้ก็ไดสําหรับเขื่อนดินที่มีชั้นระบายน้ําในแนวดิ่ง อัตราสวนปลอดภัย
ควรมีคาอยางนอย 1.5
4.3 เสถียรภาพหลังสิน้ สุดการกอสรางและเสถียรภาพ
ที่ระยะเวลาอนันต
สภาวะการลดลงของระดับน้าํ อยางรวดเร็ว (Rapid Drawdown)
การลดลงของระดับน้ําในเขื่อนอยางรวดเร็วจะสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของการกระจายความดัน
น้ํา สําหรับดินที่มีคาสัมประสิทธิ์ความซึมผานต่ํา การวิเคราะหอาจพิจารณาวาการลดลงของระดับน้ําเกิดขึ้น
อยางรวดเร็วจนทําใหความดันน้ําสวนเกินไมสามารถระบายออกไดทัน ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงความดันน้ํา
สามารถพิจารณาวาเปนแบบไมระบายน้ํา
4.3 เสถียรภาพหลังสิน้ สุดการกอสรางและเสถียรภาพ
ที่ระยะเวลาอนันต

จากรูป ความดันน้ําที่จุดใดๆ (สมมติใหเปนจุด P) บนระนาบการวิบัติกอนเกิดการลดระดับของน้ําอยาง


รวดเร็วสามารถเขียนไดดังนี้
u0 = γ w ⎛⎜ h + hw −Δh ⎞⎟
⎝ ⎠

เมื่อ hw คือระดับน้ําที่ลดลง h คือความสูงของระดับน้ําสุดทายหลังสิ้นสุดการลดลงของระดับน้ําโดยวัดจาก


จุด P และ Δh คือพลังงานที่สูญเสียทั้งหมด (Total head loss) เนื่องจากการไหลซึมของน้ําจากดาน
เหนือน้ํามายังจุด P
4.3 เสถียรภาพหลังสิน้ สุดการกอสรางและเสถียรภาพ
ที่ระยะเวลาอนันต
สมมติวาความเคนหลักใหญรวมบนระนาบวิบัติมีคาเทากับความเคนในแนวดิ่งเนื่องจากวัสดุถม และ
ความเคนหลักใหญรวมที่ลดลงมีคาเทากับความเคนที่ลดลงเนื่องจากการลดลงของระดับน้ํา ดังนั้น
Δσ1 = −γ whw

ความดันน้ําสวนเกินสามารถคํานวณไดจาก
Δu = BΔσ1 = −Bγ whw

ความดันน้ําที่จุดใดๆ บนระนาบวิบัติหลังการลดลงของระดับของน้ําคือ
⎧ ⎛ ⎞ ⎫
u = u0 +Δu = γ ⎪
w⎨ h + h 1− B −Δh
w ⎜⎜ ⎟⎟


⎪⎩ ⎝ ⎠ ⎭⎪
4.3 เสถียรภาพหลังสิน้ สุดการกอสรางและเสถียรภาพ
ที่ระยะเวลาอนันต
อัตราสวนความดันน้ํามีคาเทากับ

ru = u = γ w

⎪ h ⎛ ⎞ Δh ⎪
1+ ⎜1− B ⎟⎟ − ⎬
w

γ wh γ sat ⎩⎨⎪ h ⎜⎝ ⎠ h ⎭⎪

เมื่อความเคนรวมลดลง คา B จะมีคามากกวา 1.0 เล็กนอย ดังนั้น คา ru ที่มากที่สุดสามารถหา


ไดโดยการสมมติคา B = 1 และพิจารณาวา Δh มีคานอยมาก (สมมติวา Δh = 0) คา ru สําหรับการ
วิเคราะหการลดลงของระดับน้ําอยางรวดเร็วจึงมีคาประมาณ 0.3 ถึง 0.4 ในกรณีนี้ อัตราสวนปลอดภัยตอง
มีคาอยางนอย 1.2
4.4 การวิเคราะหสําหรับกรณี φ = 0 (วิธีความเคนรวม)
วิ ธี ก ารวิ เ คราะห แ บบนี้ เ หมาะสํ า หรั บ การวิ เ คราะห เ สถี ย รภาพของลาดดิ น เหนี ย วที่ อิ่ ม ตั ว ด ว ยน้ํ า
(Saturated soil) ภายใตสภาวะไมระบายน้ํา การวิเคราะหอาศัยหลักการเพียงแคความสมดุลของการหมุน
(Moment equilibrium) ระนาบการวิบัติถูกพิจารณาใหเปนสวนโคงของวงกลม

o
r

2Su

La
a
W Su

(a) (b)

การวิเคราะหสําหรับกรณี φ = 0
4.4 การวิเคราะหสําหรับกรณี φ = 0 (วิธีความเคนรวม)
แรงที่ทําใหเกิดการหมุนของลาดดินรอบจุด O เปนแรงเนื่องจากน้ําหนักทั้งหมดเหนือระนาบการวิบัติ
(W ตอความยาว 1 หนวย) ที่สภาวะสมดุล กําลังตานทานแรงเฉือน (τf) ของดินตองเทากับแรงเฉือนที่
เกิดขึ้นตามแนววิบัติ (τ) และสามารถเขียนไดดังสมการตอไปนี้
τf
τ= = Su
FS FS

Wa = Su La r
FS
ดังนั้น

FS = Su La r
Wa
4.4 การวิเคราะหสําหรับกรณี φ = 0 (วิธีความเคนรวม)
จากหลักการความคลายคลึงเชิงเลขาคณิต (Geometric similarity) Taylor (1937) ไดเสนอ
สัมประสิทธิ์ความเสถียรภาพ (Stability coefficient) สําหรับการวิเคราะหเสถียรภาพของลาดดินที่มี
คุณสมบัติสม่ําเสมอ และมีความสูงเทากับ H สัมประสิทธิ์ความเสถียรภาพ (Ns) สําหรับระนาบวิบัติซึ่งมีคา
อัตราสวนปลอดภัยต่ําสุดคือ
Ns = Su
(FS )γ H

อัตราสวนปลอดภัย (FS) สามารถหาไดจากสมการดังนี้

FS = Su
N sγ H

คา Ns มีคาขึ้นอยูกับความชันของลาดดิน (β ) และปจจัยความลึก (χ )


4.4 การวิเคราะหสําหรับกรณี φ = 0 (วิธีความเคนรวม)
คา Ns หาได เมื่อทราบคาความชันของลาดดิน (β ) และปจจัยความลึก (χ )

สัมประสิทธิ์ความเสถียรภาพของ Taylor สําหรับกรณี φ = 0 (Taylor, 1937)


4.5 การวิเคราะหแบบแบงเปนชิ้นๆ (Method of Slices)
การวิเคราะหโดยวิธีนี้สามารถใชไดกับการวิเคราะหทั้งแบบความเคนรวม(φ = 0) และแบบความเคน
ประสิทธิผล (c′,φ ′)

วิธีการวิเคราะหแบบแบงเปนชิ้นๆ
4.5 การวิเคราะหแบบแบงเปนชิ้นๆ (Method of Slices)
แรงที่กระทําบนแตละชิ้นคือ

1) น้ําหนักของแตละชิ้น , W = γ bH
2) แรงที่กระทําตัง้ ฉากกับฐาน (N) มีคาเทากับ σ ×l ซึ่งคือผลรวมของแรงประสิทธิผล ( N ′)
เทากับ σ ′×l และแรงดันน้าํ (U) เทากับ u ×l เมือ่ u คือความดันน้าํ ที่จุดกึ่งกลางของฐาน
และ l คือความยาวของฐาน
3) แรงเฉือนบนฐาน, T =τ ×l
4) แรงกระทําตั้งฉากในแนวนอนของแตละชิ้น ไดแก E1 และ E2
5) แรงเฉือนในแนวดิง่ ของแตละชิ้น ไดแก X1 และ X2
4.5 การวิเคราะหแบบแบงเปนชิ้นๆ (Method of Slices)
พิจารณาสมดุลของการหมุนรอบจุด O ลาดดินจะเสถียร เมื่อผลรวมของโมเมนตเนื่องจากแรงเฉือน
T บนสวนโคงวิบัติ AC เทากับโมเมนตของน้ําหนักของกอนดิน ABCD แขนของโมเมนตของน้ําหนัก W
แตละชิ้นคือ r sinα ดังนั้น
∑Tr = ∑Wr sinα
τf
เมื่อ T =τ l = l
FS

τ fl
ดังนั้น ∑ FS = ∑W sinα

∑τ fl
FS =
∑W sinα
4.5 การวิเคราะหแบบแบงเปนชิ้นๆ (Method of Slices)
สําหรับการวิเคราะหแบบความเคนประสิทธิผล (Effective stress analysis)

∑ ⎜ c′ +σ n tanφ ′⎞⎟l


FS = ⎝ ⎠
∑W sinα

c′La + tanφ ′∑ N ′
FS =
∑W sinα
เมื่อ La คือความยาวของสวนโคง AC ในการแกสมการจําเปนตองทราบคาN ′ ซึ่งสามารถหาไดจากการ
แกสมการสมดุลแบบ Indeterminate เพื่อความสะดวกในการคํานวณ ไดมีนักวิจัยหลายทาน (Fellinus,
Bishop และ Janbu เปนตน) เสนอสมมติฐานในการประมาณคา X และ E เพื่อใหปญหาดังกลาว
กลายเปนแบบ Determinate
4.5 การวิเคราะหแบบแบงเปนชิ้นๆ (Method of Slices)
4.5.1 วิธีแกปญหาของ Fellenius
ขอสมมติฐาน คือ ผลลัพธของแรงที่กระทําระหวางชิ้นมีคาเทากับศูนย (X1 = X2 และ E1 = E2)
N ′ =W cosα − ul

ดังนั้น อัตราสวนปลอดภัยสําหรับการวิเคราะหแบบความเคนประสิทธิผล
c′La + tanφ ′∑ ⎛⎜W cosα − ul ⎞⎟
FS = ⎝ ⎠
∑W sinα
คา W cosα และ W sinα สามารถคํานวณไดโดยวิธีวาดรูป (Graphic) ของชิ้นแตละชิ้น คาของ
α สามารถหาไดทั้งจากวัดหรือการคํานวณ การวิเคราะหดวยวิธีของ Fellenius นี้ใหผลคําตอบที่ต่ํากวา
ความเปนจริง (Underestimation) ความผิดพลาดที่เกิดจากการคํานวณดวยวิธีนี้ประมาณ 5 - 20%
4.5 การวิเคราะหแบบแบงเปนชิ้นๆ (Method of Slices)
4.5.2 วิธีแกปญหาของ Bishop
สมมติฐานวา ผลลัพธของแรงเฉือนในแนวดิ่งที่กระทําระหวางชิ้น มีคาเทากับศูนย
X1 − X 2 = 0

ที่สภาวะสมดุล แรงเฉือนบนฐานของแตละชิ้นมีคาเทากับ

T = 1 ⎛⎜ c′l + N ′ tanφ ′ ⎞⎟
FS ⎝ ⎠
4.5 การวิเคราะหแบบแบงเปนชิ้นๆ (Method of Slices)
ดังนั้น ผลลัพธของแรงในแนวดิ่งเปน

W = N ′cosα + ul cosα + c′l sinα + N ′ tanφ ′sinα


FS FS

⎛ ⎞
W − ′ sinα − ul cosα ⎟⎟


c l
⎜ FS ⎟
N′ = ⎝ ⎠


cosα + tan φ ′sin α ⎞

⎜ ⎟


FS ⎟

แทนคา l = b sec α ลงในสมการดานบน


⎡ ⎤
⎢⎧ ⎥
1 φ
⎫⎪ secα
FS = ∑ + −

⎢⎪ ⎞ ⎥
c′b ⎢⎨
⎜W ub ⎟ tan ′ ⎬
∑W sinα ⎝
⎢ ⎪⎩

⎠ ⎪⎭1+ ⎛ tan α tan φ / FS



⎞⎥
⎟⎥
⎠ ⎥⎦

4.5 การวิเคราะหแบบแบงเปนชิ้นๆ (Method of Slices)
Bishop (1955) ไดแสดงใหเห็นวาการสมมติวา (X1 - X2 = 0) ใหคาอัตราสวนปลอดภัยที่ใกลเคียง
กันความเปนจริงมาก

1 ⎧⎪
φ
⎫⎪ secα
FS = ∑
∑W sinα ⎪⎩
⎨c′b + W ⎛


1− ru



tan ′ ⎬
⎪⎭1+ ⎛ tanα tanφ / FS ⎞


′ ⎟

จะเห็นวา FS ปรากฏอยูทั้งพจนทางซายมือและขวามือ ซึ่งทําใหการคํานวณคอนขางยุงยากและ


ซับซอน วิธีนี้เหมาะกับการคํานวณโดยอาศัยคอมพิวเตอร

โดยทั่วไป ru จะเปนคาไมคงที่ตลอดระนาบวิบัติ แตในทางปฏิบัติคานี้สามารถสมมติใหเปนคาคงที่


อัตราสวนปลอดภัยที่คํานวณโดยวิธีนี้ใหคาต่ํากวาความเปนจริง (Underestimation) โดยมีคาความ
ผิดพลาดไมเกิน 7 เปอรเซ็นต และโดยสวนใหญมีคานอยกวา 2 เปอรเซ็นต
4.6 การวิเคราะหการลืน
่ ไถลในแนวระนาบ
ถาระนาบวิบัติอยูในแนวขนานกับผิวของลาดดิน และลาดดินมีความลึกนอยมากเมื่อเทียบกับความยาว
อาจพิจารณาวาลาดดินมีความยาวไมจํากัด พิจารณารูป ความชันของลาดดินทํามุม β กับแนวนอน และ
ความลึกของระนาบวิบัติเทากับ z ระดับน้ําใตดินถูกพิจารณาวามีทิศทางขนานกับความชันของลาดดินและสูง
เทากับ mz (0 < m < 1) เหนือระนาบวิบัติ การไหลซึมของน้ําถูกสมมติวาเปนแบบราบเรียบในทิศทางขนาน
กับระนาบวิบัติ แรงที่กระทําบนแตละดานของแตละชิ้นในแนวดิ่งมีคาเทากันและมีทิศทางตรงกันขาม

การวิบัตแิ บบระนาบ
4.6 การวิเคราะหการลืน
่ ไถลในแนวระนาบ
โดยการวิเคราะหแบบความเคนประสิทธิผล (Effective stress analysis) กําลังตานทานแรง
เฉือนของดินตลอดระนาบวิบัติคือ

τ f = c′ + (σ − u ) tanφ′

เมื่อ
⎧ ⎫
σ = ⎪⎨⎛⎜1− m ⎞⎟γ + mγ sat ⎪⎬ z cos2 β
⎪⎩⎝ ⎠ ⎪⎭

⎧ ⎫
τ = ⎪⎨⎛⎜1− m ⎞⎟γ + mγ sat ⎪⎬ z sin β cos β
⎪⎩⎝ ⎠ ⎪⎭

u = mzγ w cos2 β
4.6 การวิเคราะหการลืน
่ ไถลในแนวระนาบ
ถา c′ = 0 และ m = 0 (มวลดินและระนาบวิบัติไมอิ่มตัวดวยน้ํา) จะได

FS = tanφ ′
tan β

ถา c′ = 0 และ m = 1 (ระดับน้ําใตดินอยูที่ผิวของลาดดิน) จะได

FS = γγ ′ tanφ ′
tan β

จะเห็นไดวา เมื่อ c′ = 0 อัตราสวนปลอดภัยไมขึ้นอยูกับความลึก z


ตัวอยางที่ 4.1
ในงานดินขุดงานหนึ่ง ทําการขุดดินจนถึงระดับความลึก 8 เมตร โดยมีมุมเอียง 45 องศา งานดินขุดนี้ถูก
กระทํ า ในชั้ น ดิ น เหนี ย วอิ่ ม ตั ว ด ว ยน้ํ า ที่ มี ห น ว ยน้ํ า หนั ก เท า กั บ 19 กิ โ ลนิ ว ตั น ต อ ลู ก บาศก เ มตร และ
พารามิเตอรกําลังตานทานแรงเฉือนในสภาวะไมระบายน้ํา Su = 65 กิโลนิวตันตอตารางเมตร จงคํานวณหา
อัตราสวนปลอดภัยตานการวิบัติของลาดดินที่ระนาบวิบัติ โดยวิธีการวิเคราะหสําหรับกรณี φ = 0
ตัวอยางที่ 4.1
วิธีทํา จากรูป พื้นที่หนาตัดของสวนโคงวงกลม ABCD เทากับ 70 ตารางเมตร ดังนั้น น้ําหนักของมวลดิน
W มีคาเทากับ 70 x 19 = 1330 กิโลนิวตันตอเมตร

จุดศูนยรวมของน้ําหนัก (Centroid) ของรูป ABCD อยูที่ระยะ 4.5 เมตร วัดจากจุด O มุม AOC
เทากับ 89.5 องศา และรัศมี OC เทากับ 12.1 เมตร
ดังนั้น ความยาวสวนโคง ABC เทากับ θr = 18.9 เมตร อัตราสวนปลอดภัยตานการวิบัติของลาด
ดิน คือ
FS = Su Lar = 65×18.9×12.1 = 2.48
Wd 1330× 4.5
ตัวอยางที่ 4.1

คาอัตราสวนปลอดภัยที่คํานวณไดนี้ไมจําเปนวาจะตองเปนคาที่ต่ําที่สุด คาอัตราสวนปลอดภัยที่ต่ําที่สุด
สามารถประมาณไดโดยวิธีของ Taylor
จากรูป จะไดวา β = 45 องศา และจากการสมมติวา D มีคามาก จะได Ns เทากับ 0.18 (จากรูปสัมประสิทธิ์
ความเสถียรภาพของ Taylor สําหรับกรณี φ = 0) ดังนั้น

FS = Su
Nsγ H

= 65
0.18×19×8

= 2.37
ตัวอยางที่ 4.2
ลาดดินที่ถูกตัดในชั้นดินเหนียวออนแหงหนึ่งมีกําลังตานทานแรงเฉือนในสภวาะไมระบายน้ํา (Undrained
shear strength) เทากับ 30 กิโลนิวตันตอตารางเมตร และหนวยน้ําหนักเทากับ 18 กิโลนิวตันตอ
ลูกบาศกเมตร ลาดดินนี้มีความสูง 8.0 เมตร และมีอัตราสวนแนวราบตอแนวดิ่ง 2:1 จงหาอัตราสวน
ปลอดภัยบนระนาบสวนโคงวงกลมที่แสดงในรูป โดยการวิเคราะหแบบแบงเปนชิ้นๆ (Method of slices)
ของ Fellenius
ตัวอยางที่ 4.2
วิธีทํา น้ําหนักของแตละชิ้นหาไดจาก W = γbh
ชิ้นที่ b h W α (องศา) Wsinα La = bsecα
1 0.65 0.15 1.8 -25.7 -0.8 0.72
2 2.0 1.23 43.2 -20.0 -14.8 2.13
3 2.0 2.82 100.8 -1.8 -20.6 2.04
4 2.0 4.06 146.2 -3.9 -9.9 2.01
5 2.0 5.08 182.9 3.9 12.4 2.01
6 2.0 5.82 209.5 11.8 42.8 2.04
7 2.0 6.26 225.4 20.0 77.1 2.13
8 2.0 6.36 229.0 28.6 109.6 2.28
9 2.0 6.02 216.7 38.0 133.0 2.54
10 2.0 0.60 165.6 48.9 124.8 3.04
11 1.7 1.94 58.4 61.7 51.4 3.59
ผลรวม = 505.0 24.53
ตัวอยางที่ 4.2

FS = cu La + tanφu ∑(W cosα − ul )


∑W sinα

FS = 30× 24.53 =1.46


505.0

โดยอาศัยวิธีของ Taylor ปจจัยความลึก (Depth factor) = 9.6/8.0 = 1.2


จากรูปสัมประสิทธิ์ความเสถียรภาพของ Taylor สําหรับกรณี φ = 0 จะได Ns = 0.146 ดังนั้น

FS = 30 =1.43
0.146×18×8
ตัวอยางที่ 4.3
สําหรับลาดดินขุดในชั้นทรายปนดิ นเหนีย ว ซึ่งระดับ น้ําใตดินอยูลึ กมาก ดั งแสดงในรูป จงคํานวณหา
อัตราสวนปลอดภัยตานการวิบัติบนระนาบวิบัติสมมติ AC (Trial slip surface) โดยวิธีของ Fellinus
ตัวอยางที่ 4.3
วิธีทํา มวลดินถูกแบงออกเปน 7 ชิ้น การคํานวณแสดงดังนี้
ชิ้นที่ W (kN/m) α (องศา) Wsin α Wcos α l (เมตร)
1 28.0 70 26.3 8.4 2.924
2 368.0 54 298.1 216.4 6.803
3 544.0 38 335.1 428.6 5.076
4 544.0 24 221.4 497.2 4.376
5 488.0 12 101.5 477.2 4.090
6 336.0 0 0 336.0 4.000
7 83.2 -8 -9.25 82.7 3.232
ผลรวม = 973.2 2046.5 30.501

FS = 10×30.501+ (tan30°)× 2046.5 =1.53


973.2
ตัวอยางที่ 4.4
งานดินขุดงานหนึ่งมีความลึก 12 เมตร และความชันของลาดดินเทากับ 1:1 งานดินขุดนี้ขุดผานชั้นดินดัง
แสดงในรูป
ตัวอยางที่ 4.4
ขอมูลดินสําหรับดินแตละชั้นแสดงดังตอไปนี้ สมมติใหหนวยน้ําหนักของดินทั้งสามชั้นมีคาเทากันคือ 18 กิโล
นิวตันตอลูกบาศกเมตร จงคํานวณหาอัตราสวนปลอดภัยตานการวิบัติในสภาวะหลังสิ้นสุดการกอสราง (End
of construction) โดยการวิเคราะหแบบความเคนรวม สําหรับจุดหมุนดังแสดงในรูป

ความลึก (เมตร) ชนิดของดิน กําลังตานทานแรงเฉือน (กิโลปาสคาล)

0–5 ดินเหนียวออนมาก 10

5–8 ดินเหนียวแข็งปานกลาง 50

8 - 15 ดินเหนียวแข็ง 100

15 หิน -
ตัวอยางที่ 4.4
วิธีทํา เพื่อการคํานวณหาอัตราสวนปลอดภัย ทําการแบงมวลดินออกเปน 8 ชิ้น
ชิ้นที่ W (kN/m) rsin α Wrsin α
1 63.45 -8.2 -520.3
2 303.04 -5.0 -1515.2
3 627.65 -1.0 -627.7
4 896.36 3.0 2689.1
5 966.97 7.0 6768.8
6 833.60 11.0 9169.6
7 621.76 15.0 9326.5
8 234.39 18.4 4312.7
ผลรวม = 29603.5
ตัวอยางที่ 4.4

โมเมนตตานการหมุนคือ rSuLa = r(Su1 × l1 + Su2 × l2 + Su3 × l3)

l1 = rθ1 = 21.6×16× π = 6.03 เมตร


180

l2 = rθ2 = 21.6×9× π = 3.39 เมตร


180

l3 = rθ3 = 21.6× 75× π = 28.27 เมตร


180

rSu La = 21.6(10× 6.03 + 50× 3.39 +100× 28.27) = 66026.88 กิโลนิวตันตอเมตร

FS = rSu La = 66026.88 = 2.23


∑Wr sinα 29603.5
ตัวอยางที่ 4.5
จงใชวิธีของ Fellenius หาอัตราสวนปลอดภัยโดยการวิเคราะหแบบความเคนประสิทธิผล (Effective
stress analysis) ของลาดดินที่มีสภาวะการไหลของน้ําแบบราบเรียบ (Steady state) ดังแสดงในรูป
หนวยน้ําหนักของดินทั้งดานบนและดานลางของระดับน้ําใตดินเทากับ 20 กิโลนิวตันตอลูกบาศกเมตร และ
พารามิเตอรกําลังประสิทธิผลคือ c′ = 10 กิโลปาสคาล และ φ′ = 29°
O

r=
9 .5 0
3.15 m m

7 8
1 6
2.50 m 1
2
5
1 WT
6.00 m 4
3

2 WT
1
ze zw

u= wzw

0 1 2 3 4 5 10 m
ตัวอยางที่ 4.5
วิธีทํา มวลดินถูกแบงออกเปนชิ้นเล็กที่มีความกวาง 1.5 เมตร น้ําหนักของแตละชิ้นหาไดจาก
W = γ bh = 20×1.5× h = 30h กิโลนิวตันตอเมตร
โดยที่ h, hcosα และ hsinα หาไดจากการวัด ดังนั้น
W sinα = 30h sinα และ
W cosα = 30h cosα
ตัวอยางที่ 4.5

ความดันน้ําที่จุดกึ่งกลางของฐานที่แตละชิ้นสามารถประมาณไดเทากับ γwzw เมื่อ zw คือระยะใน


แนวดิ่งจากจุดศูนยกลางของฐานจนถึงระดับน้ํา วิธีการนี้จะใหคามากเกินความเปนจริงเนื่องจาก คาความดัน
น้ําที่แทจริงตองเทากับ γwze เมื่อ ze คือระยะในแนวดิ่งวัดจากจุดศูนยกลางของฐานจนถึงจุดตัดของระดับน้ํา
กับเสนสมะศักย (Equipotential line) ดังนั้น คาอัตราสวนปลอดภัยที่คํานวณไดจะมีคาต่ํากวาความเปน
จริง (Conservative)
ตัวอยางที่ 4.5
ความยาวสวนโคงทั้งหมด (La) คํานวณไดเทากับ 14.35 เมตร
∑W cosα = 30×17.50 = 525 กิโลนิวตันตอเมตร

∑W sinα = 30×8.45 = 254 กิโลนิวตันตอเมตร

∑(W cosα − ul ) = 525 −132 = 393 กิโลนิวตันตอเมตร

FS = c′La + tanφ ′∑(W cosα − ul )


∑W sinα

= (10×14.35) + (0.554×393) =1.42


254
ตัวอยางที่ 4.5

ชิ้นที่ hcosα (เมตร) hsinα (เมตร) u (กิโลปาสคาล) l (เมตร) ul (กิโลปาสคาลตอเมตร)

1 0.75 -0.15 5.9 1.55 9.1


2 1.80 -0.10 11.8 1.50 17.7
3 2.70 0.40 16.2 1.55 25.1
4 3.25 1.00 18.1 1.60 29.0
5 3.45 1.75 17.1 1.70 29.1
6 3.10 2.35 11.3 1.95 22.0
7 1.90 2.25 0 2.35 0
8 0.55 0.95 0 2.15 0
17.50 8.45 14.35 132.0
ตัวอยางที่ 4.6
ลาดดินขุดดังแสดงในรูป มีความชัน 2:1 และสูง 1 เมตร ถูกกอสรางบนชั้นดินแข็งที่มีพารามิเตอรกําลัง
ประสิทธิผลคือ c′ = 5 กิโลปาสคาล และ φ′ = 30 องศา และหนวยน้ําหนักเทากับ 20 กิโลนิวตันตอลูกบาศก
เมตร จงหาอัตราสวนปลอดภัยตานการวิบัติของลาดดินโดยใชวิธีของ Bishop Simplified method ที่
ระยะเวลาอนันต (Long term condition)
ตัวอยางที่ 4.6
วิธีทํา ทําการแบงมวลดินออกเปน 12 ชิ้น น้ําหนักของมวลดินแตละชิ้นหาไดจาก γbh ความดันน้ําหาได
เชนเดียวกับในตัวอยางที่ 4.5 เนื่องจาก FS ปรากฏอยูทั้งทางดานซายและขวาของสมการ

1 ⎧⎪ ⎫⎪
⎨c′b +W ⎜1− ru ⎟ tanφ ′⎬
secα
FS = ∑
∑W sinα ⎪⎩



⎠ ⎪⎭1+ ⎛ tanα tanφ / FS ⎞


′ ⎟

ดังนั้น ลองสมมติคาของ FS และแทนเขาไปยังดานขวาของสมการ จากการลองใช FS = 1.0 จะได


คาทางซายมือออกมาเปน 1.31 นําคานี้แทนในพจนทางขวามือของสมการอีก ทําเชนนี้หลายๆ ครั้ง
จนกระทั่งความแตกตางของอัตราสวนปลอดภัยทางขวามือและทางซายมือมีคานอยมาก
กําหนดให
A = c′b + ⎛⎜W − ub ⎞⎟ tanφ ′ และ B= secα
1+ tanα tanφ ′
⎝ ⎠
FS
ตัวอยางที่ 4.6
FS = 1.00 FS = 1.40
ชิ้นที่ b h W a Wsinα u A B A×B B A×B
1 2.50 0.40 20.00 -15.6 -5.4 3.9 18.4 1.24 22.8 1.17 21.5
2 2.00 1.38 55.2 -8.8 -8.4 11.1 29.1 1.11 32.3 1.01 29.4
3 2.00 2.58 103.2 -2.9 -5.2 18.0 48.8 1.03 50.3 1.00 48.8
4 2.00 3.58 143.2 2.9 7.2 22.9 66.2 0.97 64.2 0.98 64.9
5 2.00 4.40 176.0 8.8 26.9 26.0 81.6 0.93 75.9 1.01 82.4
6 2.00 5.02 200.8 14.8 51.3 27.2 94.5 0.90 85.1 0.93 87.9
7 2.00 5.40 216.0 20.9 77.1 26.0 104.7 0.88 92.1 0.92 96.3
8 2.00 5.48 219.2 27.3 100.5 21.9 111.3 0.87 96.8 0.93 103.5
9 2.00 5.26 210.4 34.1 118.0 14.8 114.4 0.87 99.5 0.94 107.5
10 2.00 4.68 187.2 41.5 124.0 4.2 113.2 0.88 99.6 0.98 110.9
11 2.00 3.64 145.6 49.9 111.4 0 94.1 0.92 86.6 1.04 97.9
12 1.67 1.57 52.4 59.1 45.0 0 38.6 0.99 38.2 1.15 44.4
ผลรวม 642.4 843.4 895.4
FS = 843.4/642.4 FS = 895.4/642.4
= 1.31 = 1.394
ตัวอยางที่ 4.7
รูปแสดงลาดดินขุดที่ผานชั้นดินสองชนิด ดินชั้นลางเปนดินเหนียวแข็งมาก (Very stiff clay) และดินชั้น
บนเปนดินเหนียวแข็งปานกลาง (Medium clay) พารามิเตอรความยึดเกาะระหวางดินทั้งสองชั้นมีคาดังนี้
ca = 10 กิโลปาสคาล และ φa = 24 องศา หนวยน้ําหนักของดินชั้นบนเทากับ 17 กิโลนิวตันตอลูกบาศก
เมตร จงคํานวณหาอัตราสวนปลอดภัยของลาดดินนี้
ตัวอยางที่ 4.7
วิธีทํา ความยาวของระนาบวิบัติเทากับ
L = 3.0 = 6.0 เมตร
sin30°

น้ําหนักของลิ่มวิบัติเทากับ
⎛ ⎞
17.0× 6.0× 3.0 sin ⎜ 45°− 30° ⎟ ⎟
⎜ ⎛ ⎞⎟
sin45° ⎝

⎜ ⎠⎟
W= ⎝ ⎠ = 560.0
กิโลนิวตันตอเมตร
2
อัตราสวนปลอดภัยเทากับ

FS = ca L +W cosα tanφa
W sinα

⎜10.0× 6.0 ⎞⎟ + ⎛⎜ 560.0× cos30°× tan24°⎞⎟
FS = ⎝ ⎠



⎠ = 0.98
⎜ 560.0×sin30° ⎟
⎝ ⎠
Foundation Engineering
วิศวกรรมฐานราก

รองศาสตราจารย ดร. สุขสันติ์ หอพิบูลสุข


สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุ สรุ นารี
แรงดันดินดานขาง
5 (LATERAL EARTH PRESSURE)
5.1 บทนํา

การวิเคราะหและการหาคาแรงดันดานขางของดินเปนสิ่งจําเปนอยางมากสําหรับการออกแบบกําแพง
กันดินและโครงสรางกันดินตางๆ ขนาดและทิศทางของแรงดันดานขางเปนขอมูลที่จําเปนสําหรับการ
ออกแบบกําแพงกันดินหรือโครงสรางกันดินตางๆ ใหมีอัตราสวนปลอดภัยมากเพียงพอ

ความดันดินดานขางมี 3 ประเภท
1) ความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง (At rest earth pressure)
2) ความดันดินที่สภาวะ Active (Active earth pressure)
3) ความดันดินที่สภาวะ Passive (Passive earth pressure)
5.1 บทนํา

ความดันดินดานขางในสภาวะ Active
5.1 บทนํา

ความดันดินดานขางในสภาวะ Passive
5.2 ความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง

ความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง หมายถึง ความดันดานขางที่กระทําตอผนังโครงสรางของดิน โดยที่ผนัง


และมวลดินไมมีการเคลื่อนตัว ความดันดินในกรณีเชนนี้อาจเกิดขึ้นกับมวลดินถมดานหลังกําแพงดินที่มี
ความหนามากและแทบจะไมเกิดการเคลื่อนตัวของกําแพง ดินที่สัมผัสกับกําแพงจะไมเกิดความเครียด
ดานขาง ในกรณีเชนนี้ ความดันดินดานขางจะมีขนาดอยูระหวางความดันดินที่สภาวะ Active และ
Passive
5.2 ความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง

ความดันดินทีค่ วามลึก z การกระจายความดันดินที่สภาวะอยูนิ่งและความดันน้ํา

พิจารณาความเคนบนชิ้นสวนเล็กๆ ในชั้นดินที่ความลึก z ถามวลดินอยูที่สภาวะอยูนิ่ง (At rest)


แมวามวลดินนี้จะเกิดการทรุดตัวในแนวดิ่งเมื่อมีน้ําหนักกระทํา แตจะไมเกิดการเคลื่อนตัวในแนวนอน
สภาพเชนนี้เปรียบเสมือนดินที่อยูในสภาวะสมดุลดานหลังกําแพงกันดินที่หนาและเรียบและไมมีการเคลื่อน
ตัว
5.2 ความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง

ความดันดินประสิทธิผล (Effective lateral earth pressure) ที่ฐานของกําแพงและแรงลัพธ


ประสิทธิผลตอความยาว 1 หนวย สามารถหาไดดังนี้
σ h′ = K0σ v′

σ h′ = K0γ ′H

P0′ = 1 K0γ ′H
2

เมื่อ σ′h คือความดันประสิทธิผลที่ฐานของกําแพง P0 คือแรงลัพธเนื่องจากความดันดินประสิทธิผล


ที่สภาวะอยูนิ่งตอความยาว 1 หนวย K0 คือสัมประสิทธิ์ของความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง (Coefficient of
earth pressure at rest) γ′ คือหนวยน้ําหนักประสิทธิผล (Submerged unit weight) และ H คือ
ความสูงของกําแพง
5.2 ความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง

ความดันดินดานขางรวม (Total lateral earth pressure, σh) ที่กระทําตอกําแพงเทากับผลรวม


ของความดันดินดานขางประสิทธิผล (Effective lateral earth pressure,σ′h) และความดันน้ํา (Pore
pressure, u)
σ h = σ h′ + u

ความเคนรวมที่กระทําตอกําแพงก็จะมีขนาดเพิ่มขึ้นตามความลึกเชนเดียวกัน และแรงดันรวมที่กระทํา
ตอกําแพงก็จะเปนผลรวมของแรงดันเนื่องจากแรงดันประสิทธิผลและแรงดันน้ํา

Ph = P0′ + Pw

เมื่อ Ph คือแรงดันดินดานขางรวมที่กระทําตอกําแพง และ Pw คือแรงดันน้ํา


5.2 ความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง

คาสัมประสิทธิ์ของความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง (K0) คืออัตราสวนระหวางความดันดินดานขางตอความ


ดันดินในแนวดิ่งในพจนของความเคนประสิทธิผล โดยทั่วไป K0 จะมีคานอยกวา 1.0 สําหรับดินเหนียวอัด
ตัวปกติ ยกเวนในกรณีของดินเหนียวอัดตัวมากกวาปกติ ซึ่งคา K0 อาจมีคาสูงถึงประมาณ 3.0 สําหรับ
ทราย K0 จะมีคาอยูระหวาง 0.4 สําหรับทรายแนน และ 0.5 สําหรับทรายหลวม

การหาคาสัมประสิทธิ์ความดันดินดานขางที่สภาวะอยูนิ่งในสนามกระทําไดยาก Jaky (1944) ได


เสนอสมการสําหรับหาคา K0 ในดินเหนียวอัดตัวปกติ และดินทรายดังนี้

K0 =1− sinφ ′
5.2 ความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง

จากผลการทดสอบของ Brooker and Ireland (1965) คาของ K0 สําหรับดินเหนียวอัดตัวปกติ


สามารถประมาณไดโดยอาศัยดัชนีสภาพพลาสติก (PI) ดังนี้
K0 = 0.4 + 0.007( PI )

K0 = 0.64 + 0.001(PI )

สําหรับดินเหนียวอัดตัวมากกวาปกติ
K0 ≈ K ⎛



OCR
0 Normally consolidated




⎝ ⎠

เมื่อ OCR คืออัตราสวนการอัดตัวมากกวาปกติ (Overconsolidated ratio)


5.2 ความดันดินที่สภาวะอยูนิ่ง

Dunn et al. (1980) เสนอความสัมพันธระหวาง K0 และอัตราสวนการอัดตัวมากกวาปกติ (OCR)

ความสัมพันธระหวาง K0 และ OCR


5.3 RANKINE EARTH PRESSURE

ทฤษฎีของ Rankine สําหรับหาความดันดินดานขางตั้งอยูบนสมมติฐานหลักสามขอ ดังนี้


1) ไมมีแรงยึดเหนี่ยว (Adhesion) หรือความเสียดทาน (Friction) ระหวางดินกับผนัง (ผนังเรียบ)
2) ความดันดินดานขาง ใชไดเฉพาะกับกําแพงที่ตั้งอยูในแนวดิ่ง การวิบัติของดินถูกสมมติใหเปนการไหล
ของลิ่มตลอดแนวระนาบวิบัติ ซึ่งอยูในรูปของมุมเสียดทานภายในของดิน (Internal friction
angle, φ′)

ระนาบการวิบัตทิ ี่ถูกสมมติขึ้นตามทฤษฎีของ Rankine


(a) Rankine active state (b) Rankine passive state
5.3 RANKINE EARTH PRESSURE

3) ความดันดินดานขางมีขนาดเพิ่มขึ้นเปนฟงกชันเสนตรงกับความลึก และแรงผลลัพธเนื่องจากความดัน
ดินดานขางถูกสมมติใหกระทําที่ระยะหนึ่งในสามของความสูง ซึ่งวัดจากฐานของกําแพงกันดินถึงระดับ
ดินถม และทิศทางของแรงลัพธนี้ขนานกับผิวของดินถม

H H
3 3

ความดันดินดานขางสําหรับทฤษฎี Rankine (a) Back side vertical, (b) Back side inclined
5.3 RANKINE EARTH PRESSURE

สําหรับดินเม็ดหยาบดานหลังกําแพงกันดิน ที่สภาวะเริ่มตน ดินจะอยูในสภาวะอยูนิ่ง (At rest)


สถานะของความเคนประสิทธิผลแสดงไดดังวงกลม a เมื่อกําแพงกันดินเริ่มเคลื่อนตัวออกจากมวลดิน ความ
เคนประสิทธิผลในแนวนอนจะมีคานอยลง ขณะที่ ความเคนประสิทธิผลในแนวดิ่งมีคาประมาณคงที่ ทํา
ใหวงกลมมอรมีขนาดใหญขึ้นเรื่อยๆ ตามการเคลื่อนตัวของกําแพงกันดิน และสัมผัสเสนขอบเขตความ
แข็งแรง (Failure envelope) โดยมีคาความดันดินดานขางประสิทธิผลเทากับ σ′a คาความดันนี้ถูก
นิยามวาเปนความดันประสิทธิผลที่สภาวะ Active ของ Rankine (Rankine effective active
pressure) ระนาบวิบัติที่เกิดขึ้นในมวลดินจะทํามุม 45 + φ′ / 2 องศากับแนวนอน
5.3 RANKINE EARTH PRESSURE

ความสัมพันธระหวางความเคนหลักใหญและความเคนหลักเล็กประสิทธิผลที่จุดวิบัติคือ

tan 2 ⎜ 45°− φ ′ ⎟ − 2c φ
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
σ a′ = σ v′ ′
′ tan 45°− 2 ⎟⎟

⎜ 2 ⎟⎟⎠ ⎜
⎜ ⎜ ⎟
⎝ ⎝ ⎠

ความเคนหลักใหญประสิทธิผล (σ′1) เทากับ σ′v และความเคนหลักเล็กประสิทธิผล (σ′3) เทากับ


σ ′a
tan 2 ⎜ 45°+ φ ′ ⎟ + 2c φ
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
σ1′ = σ 3′ ′
′ tan 45°+ ⎟⎟

⎜ 2 ⎟⎟⎠ ⎜ 2 ⎟⎠
⎜ ⎜
⎝ ⎝

σ a′ = σ v′ Ka − 2c′ Ka

เมื่อ Ka = tan2(45° - φ ′/ 2) เรียกวาสัมประสิทธิ์ความดันดินประสิทธิผลที่สภาวะ Active ของ


Rankine
5.3 RANKINE EARTH PRESSURE

ถากําแพงกันดินเคลื่อนที่เขาหามวลดิน มวลดินจะเกิดการอัดตัวและมีคาความดันในแนวนอนเพิ่ม
มากขึ้นจนกระทั่งเกิดสภาวะพลาสติก (Plastic state) ที่สภาวะนี้ความดันดินดานขางประสิทธิผลจะมีคา
มากที่สุดซึ่งเทากับความดันดานขางประสิทธิผลที่สภาวะ Passive (σ′p) ในขณะที่ ความดันในแนวดิ่งจะ
มีคาประมาณคงที่
σ ′p = σ v′ K p + 2c′ K p

เมื่อ Kp = tan2(45° + φ′ / 2) เรียกวาสัมประสิทธิ์ความดันดินประสิทธิผลที่สภาวะ Passive


ของ Rankine
5.3 RANKINE EARTH PRESSURE

สําหรับกรณีของดินเหนียวอิ่มตัวในสภาวะไมระบายน้ํา ความดันดานขางรวม (Total lateral earth


pressure) สามารถคํานวณไดโดยอาศัยขอบเขตความแข็งแรงรวม ซึ่งมุมเสียดทานภายในมีคาเทากับ
ศูนย (φu = 0) ดังนั้น ความดันดินดานขางรวมที่สภาวะ Active และ Passive สามารถคํานวณไดจาก

σ a′ = σ v′ − 2Su

σ ′p = σ v′ + 2Su
5.3 RANKINE EARTH PRESSURE

เห็นวาความดันดินประสิทธิผลที่สภาวะ Active และ Passive มีคาเพิ่มขึ้นตามความลึกในฟงกชัน


เสนตรง (Linear function) ถา c′ = 0 การกระจายของความดันดินที่สภาวะ Active จะมีรูปรางเปน
สามเหลี่ยมที่มีจุดยอด (σ′a = 0) อยูที่ผิวดิน แตเมื่อ c′ มีคามากกวา 0 คาของ σ′a จะมีคาเปนลบที่ผิวบน
และมีคาเพิ่มขึ้นจนกระทั่งเปนศูนยที่ความลึก z0 ระยะจากผิวดินจนถึง z0 เรียกวาโซนแรงดึง (Tension
zone) เมื่อ σ′a = 0 จะได
2c K a

z0 = 2c′
γ ′ Ka

1
H
2 1
1 H
(H - z o ) 3
3

2c K p
5.3 RANKINE EARTH PRESSURE

สําหรับดินถมที่เปนดินเหนียวในสภาวะไมระบายน้ํา (φ = 0) โซนแรงดึงสามารถเขียนในรูปของ
พารามิเตอรกําลังรวมไดดังนี้

z0 = 2γSu

สัมประสิทธิ์ความดันดินดานขางเมื่อผิวของดินถมทํามุม β กับแนวนอนสามารถหาไดดังสมการตอไปนี้

Ka = cos β cos β − cos β − cos φ ′


2 2

cos β + cos2 β − cos2 φ ′

K p = cos β cos β + cos β − cos φ ′


2 2

cos β − cos2 β − cos2 φ ′


5.4 ความดันดินของ Coulomb

ทฤษฎีของ Coulomb สําหรับการหาความดันดินดานขางไดถูกพัฒนาขึ้นกอนทฤษฎีของ Rankine


ซึ่งสามารถใชไดกับกําแพงกันดินที่มีความเสียดทาน ระนาบการวิบัติเริ่มจากฐานของกําแพงกันดิน ตําแหนง
ของแรงลัพธเนื่องจากความดันดินที่สภาวะ Active หาไดจากการลากเสนตรงจากจุดศูนยกลางมวลของลิ่ม
ขนานกับระนาบวิบัติ จุดตัดของเสนตรงนี้กับผนังกําแพงกันดินคือตําแหนงของแรงลัพธ ทิศทางของแรง
ลัพธทํามุม δ กับเสนซึ่งตั้งฉากกับดานหลังของผนัง เมื่อ δ คือมุมเสียดทานระหวางผนังกําแพงและดิน
5.4 ความดันดินของ Coulomb

สมการสําหรับการคํานวณความดันดินดานขางประสิทธิผลของ Coulomb มีดังตอไปนี้

Pa′ = 1 γ H 2 Ka
2

sin ⎛⎜α +φ ′⎞⎟


Ka = ⎝ ⎠
2
⎛ ⎞

⎞⎜
sin ⎛⎜φ ′ + δ ⎞⎟ sin ⎛⎜φ ′ − β ⎞⎟
⎟⎟
sin2 α sin ⎛⎜α − β 1+
⎟⎜
⎝ ⎠ ⎝ ⎠

⎝ ⎠⎜

sin α −δ sin α + β






⎞⎟
⎟⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠
⎝ ⎠

เมื่อ α คือมุมดานหลังกําแพงกันดินที่กระทํากับแนวราบ δ คือมุมเสียดทานระหวางผนังกําแพง


และดิน และ β คือมุมระหวางผิวของดินถมกับแนวราบ
5.4 ความดันดินของ Coulomb

Pp′ = 1 γ ′H 2 K p
2

sin ⎛⎜α −φ ′⎞⎟


Kp = ⎝ ⎠
2
⎛ ⎞

⎞⎜
sin ⎛⎜φ ′ + δ ⎞⎟ sin ⎛⎜φ ′ + β ⎞⎟
⎟⎟
sin2 α sin ⎜⎛α + δ 1−
⎟⎜
⎝ ⎠ ⎝ ⎠

⎝ ⎠⎜

sin α + β sin α + β






⎞⎟
⎟⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠
⎝ ⎠

เนื่องจากทฤษฏีของ Coulomb เปนวิธีที่ใชหาความดันดินดานขางโดยใชสัมประสิทธิ์ความดันดิน


ดานขาง ดังนั้น วิธีการนี้จึงไมสามารถใชกับดินถมที่มีน้ําหนักภายนอกมากระทํา
5.4 ความดันดินของ Coulomb

ทฤษฎีของ Rankine และ Coulomb สมมติวาระนาบวิบัติเปนแนวเสนตรง สมมติฐานนี้มิไดเปน


จริงเสมอไป ที่สภาวะ Active ความดันดินที่คํานวณมีความแตกตางจากความเปนจริงไมมากนัก แตที่
สภาวะ Passive ผลคํานวณมีความแตกตางคอนขางสูง และใหผลคําตอบที่ไมปลอดภัย (ผลคํานวณมีคา
สูงกวาความเปนจริงมาก)

Terzaghi (1954) พบวาที่สภาวะ Active ระนาบวิบัติมีลักษณะเกือบเปนแนวเสนตรง ก็ตอเมื่อมุม


เสียดทานภายในระหวางดินและกําแพงกันดิน (δ) มีคานอยกวา φ′/3 แตอยางไรก็ตาม ระนาบวิบัติที่สภาวะ
Passive จะมีความแตกตางจากสมมติฐานของ Rankine และ Coulomb อยางมาก เมื่อมุม δ มีคา
มากกวาφ′/3
5.5 วิธีกราฟฟกของ Culmann

วิธีของ Culmann เปนวิธีกราฟฟกที่ใชสรางรูปเหลี่ยมของแรง ซึ่งสามารถใชไดกับดินถมที่เปนดิน


เหนียวและดินทราย ทั้งที่สภาวะ Active และ Passive วิธีนี้สามารถใชไดกับกําแพงกันดินทุกชนิดที่
ตานดินถมที่ถูกกระทําดวยแรงภายนอกและปราศจากแรงภายนอก เนื่องจากวิธีการนี้ตั้งอยูบนพื้นฐานของ
ทฤษฎีความดันดินของ Coulomb ดังนั้นจึงไมเหมาะที่จะนํามาใชในการคํานวณหาความดันดินดานขางที่
สภาวะ Passive
5.5 วิธีกราฟฟกของ Culmann

ขั้นตอนในการหาความดินดานขางในสภาวะ Active

1) วาดกําแพงกันดิน ดินถม และน้ําหนักบรรทุก

2) จากจุด A (ที่ฐานของกําแพงกันดิน) ลากเสนตรงทํา


มุม φ กับแนวนอน

3) จากจุด A ลากเสนตรงทํามุม θ กับเสน AC โดยที่


มุม θ เทากับผลตางของมุม α (มุมดานหลังของ
กําแพงกันดินกระทํากับแนวนอน) และมุม δ (มุม
เสียดทานระหวางผนังกําแพงและดิน) เสนนี้แสดงได
ดังเสน AD
α = 90° θ =α −δ
= 90° − δ
5.5 วิธีกราฟฟกของ Culmann

4) ลากลิ่มวิบัติที่เปนไปได เชน ABC1, ABC2 และ


ABC3 เปนตน

5) คํานวณหาน้ําหนักของแตละลิ่ม (W1, W2, และ W3


เปนตน)

6) สรางสเกลบนเสน AC กําหนดจุด w1, w2 และ w3


สําหรับลิ่มที่หนัก W1, W2 และ W3 ตามลําดับ

7) จากจุด w1, w2 และ w3 ลากเสนตรงขนานกับเสน


AD ตัดกับเสนตรง AC1, AC2 และ AC3 ตามลําดับ
α = 90° θ =α −δ
= 90° − δ
5.5 วิธีกราฟฟกของ Culmann

8) ลากเสนโคงตอจุดตัดที่ไดจากขั้นตอนที่ 7) เสนโคงนี้
เรียกวาเสนโคงของ Culmann

9) ลากเสนตรงขนานกับเสน AC สัมผัสกับเสนโคงของ
Culmann

10) ที่จุดสัมผัส (หาไดจากขั้นตอนที่ 9) ลากเสนตรงขนาน


กับเสน AD ตัดกับเสน AC ความยาวของเสนนี้วัด
เทียบกับสเกลบนเสน AC คือแรงดันดินที่สภาวะ
Active และเสนตรงที่ลากจากจุด A ผานจุดสัมผัสนี้
คือระนาบวิบัติ
α = 90° θ =α −δ
= 90° − δ
ตัวอยางที่ 5.1
กําแพงกันดินที่เรียบและหนามากรับดินทรายแนนโดยไมมีการเคลื่อนตัวดานขาง (ที่สภาวะอยูนิ่ง) ดังแสดง
ในรูป จงหา
ก) การกระจายความดันดานขางบนกําแพงกันดิน
ข) แรงดันรวมที่กระทําตอกําแพงกันดิน
ตัวอยางที่ 5.1

วิธีทํา จากสมการ K0 =1− sinφ ′

K0 =1− sin37°= 0.398

ก) การกระจายความดันดานขางบนกําแพงกันดิน
- ความดันที่ความลึก 1 เมตร (ที่ระดับน้าํ ใตดนิ )
σ h′ = K0σ v′

σ h′ = ⎛⎜ 0.398⎞⎛⎟⎜18.39×1.00 ⎞⎟ = 7.32 กิโลปาสคาล


⎝ ⎠⎝ ⎠

- ความดันที่ลึก 2.5 เมตร (ฐานของกําแพงกันดิน)


σ h′ = ⎛⎜ 0.398⎞⎛⎟⎜18.39×1.00 ⎞⎟ + ⎛⎜ 0.398⎞⎛⎟⎜18.39 − 9.81⎞⎛⎟⎜1.5⎞⎟ =12.44 กิโลปาสคาล
⎝ ⎠⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ ⎠⎝ ⎠

σ h =12.44 + ⎛⎜ 9.81×1.5⎞⎟ = 27.16 กิโลปาสคาล


⎝ ⎠
ตัวอยางที่ 5.1
การกระจายความดันดานขางบนกําแพงกันดินแสดงดังรูป
ตัวอยางที่ 5.1

ข) แรงดันรวมที่กระทําตอกําแพงกันดิน
Ph = P0′ + Pw

σ h′1z1 σ h′1 +σ h′ 2 γ w z2
Ph = + z2 +
2 2 2

7.32 ⎞⎛⎟⎜1.00 ⎞⎟ ⎛ ⎞⎛ ⎞
⎜ 9.81⎟⎜1.5 ⎟
⎠ + 7.32 + 27.16 ⎛1.5 ⎞ + ⎝

Ph = ⎝ ⎠⎝
⎜ ⎟
⎠⎝ ⎠
2 2 ⎝ ⎠ 2

Ph = 29.52 กิโลนิวตันตอเมตร
ตัวอยางที่ 5.2
จงหาแรงดันดินที่สภาวะ Active ตอความกวางของกําแพงกันดินดังรูป โดยใชทฤษฎีของ Rankine

y
ตัวอยางที่ 5.2

วิธีทํา จากสมการ σ a′ = σ v′ Ka − 2c′ Ka

= tan2 ⎜ 45°− φ ′ ⎟ = tan2 ⎜ 45°− 30° ⎟ = 0.333


⎛ ⎞ ⎛ ⎞
Ka ⎜


2 ⎟⎟⎠ ⎜


2 ⎟

ความดันและแรงดันดินดานขางประสิทธิผลที่ความลึก 10 เมตร เทากับ


σ a′ =18×10× 0.333 = 59.9 กิโลปาสคาล
Pa′ = 1 ×59.9×10 = 299.5 กิโลนิวตันตอเมตร
2
เนื่องจากระดับน้ําใตดินอยูต่ํามาก แรงดันดานขางประสิทธิผลมีคาเทากับแรงดันดานขางรวม และ
กระทําที่ระยะหนึ่งในสามของความสูงของกําแพงกันดิน ( y ) = 10/3 = 3.33 เมตร จากฐานของ
กําแพงกันดิน
ตัวอยางที่ 5.3
จงหาความดันดินที่สภาวะ Active ตอความกวางของกําแพงกันดิน ดังแสดงในรูป และจุดที่แรงลัพธกระทํา
โดยอาศัยสมการของ Rankine

y
ตัวอยางที่ 5.3

วิธีทํา จากสมการ
Ka = cos β cos β − cos 2 β − cos2 φ ′

cos β + cos2 β − cos2φ ′

Ka = ⎛⎜ cos15° ⎞⎟ cos15°− cos 15°− cos 30° = 0.373


2 2
⎝ ⎠ cos15°+ cos215°− cos2 30°

2
1
Pa′ = Pa = ⎜17.0 ⎟⎜ 9.0 ⎟ ⎜ 0.373⎞⎟ = 257
⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛
กิโลนิวตันตอเมตร
2⎝ ⎠⎝ ⎠ ⎝ ⎠

ระยะ y = H = 9.1 = 3.03 เมตรจากฐานของกําแพงกันดิน


3 3
ตัวอยางที่ 5.4
จงหาแรงดันดานขางรวม (Total lateral earth pressure) ตอความกวางของกําแพงกันดิน ดังแสดงใน
รูป โดยใชทฤษฎีของ Rankine

h = 0.10 m
A C β = 10 o
B

γ = 19.0 kN/m3
φ’ = 35 o
W
c’ = 0

6.5 m H = 6.5 m + h = 6.6 m


P'a

10 o
W Pa

85 o 90 o P' a
10o
ตัวอยางที่ 5.4

วิธีทํา จากรูป tan5°= AB


6.5

AB = ⎛⎜ 6.5⎞⎟ tan5°= 0.57 เมตร


⎝ ⎠

และ tan10°= BC = h
AB 0.57

h = ⎛⎜ 0.57 ⎞⎛⎟⎜ tan10°⎞⎟ = 0.10 เมตร


⎝ ⎠⎝ ⎠

จากสมการ
Ka = cos10° cos10°− cos 10°− cos 35° = 0.282
2 2
cos10°+ cos210°− cos2 35°

Pa′ = 1 ×19.0× 6.62 × 0.282 =116.7 กิโลนิวตันตอเมตร


2
ตัวอยางที่ 5.4

วิธีทํา น้ําหนักของดินและแรงในแนวดิ่งและแนวนอนมีคา ดังนี้


W = 1 γ ⎛⎜ AB ⎞⎛⎟⎜ H ⎞⎟ = 1 ×19.0× 0.57× 6.6 = 35.7 กิโลนิวตันตอเมตร
2 ⎝ ⎠⎝ ⎠ 2
Ph = Pa′ cos β =116.7cos10°=114.9 กิโลนิวตันตอเมตร
Pv = Pa′ sin β =116.7sin10°= 20.3 กิโลนิวตันตอเมตร

∑V =W + Pv = 35.7 + 20.3 = 56.1 กิโลนิวตันตอเมตร


∑ H = Ph =114.9 กิโลนิวตันตอเมตร
แรงดันดินที่สภาวะ Active (Pa) เทากับ
2 2 2 2
∑V ∑H
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
Pa = ⎜ ⎟ + ⎜ ⎟ = 56.1 + 114.9 =127.9







⎟ กิโลนิวตันตอเมตร
⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠
ตัวอยางที่ 5.5
จากรูป มุมเสียดทานระหวางกําแพงกันดินและดินถมมีคาเทากับ 25 องศา จงหาความดันดินที่สภาวะ Active
โดยทฤษฎีของ Coulomb
ตัวอยางที่ 5.5
วิธีทํา จากสมการ sin 2 ⎛⎜α +φ ′⎞⎟
Ka = ⎝ ⎠
2
⎡ ⎤

⎞⎢
sin ⎛⎜φ ′ + δ ⎞⎟ sin ⎛⎜φ ′ − β ⎞⎥
⎟⎥
sin 2α sin ⎛⎜α −δ 1+ ⎟⎢
⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎥
⎝ ⎠⎢
⎢ sin α −δ sin α + β






⎞⎥
⎟⎥
⎢⎣ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎥

sin 2 ⎛⎜ 90°+ 30° ⎞⎟


Ka = ⎝ ⎠
2
= 0.296
⎡ ⎤

⎞⎢
sin ⎛⎜ 30°+ 25° ⎞⎟ sin ⎛⎜ 30°+ 0° ⎞⎟ ⎥⎥
sin 2 ⎛⎜ 90°⎞⎟ sin ⎛⎜ 90°− 25° 1+ ⎟⎢
⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎥
⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎢
⎢ sin 90°− 25° sin 90 + 0°






⎞ ⎥
⎟ ⎥
⎢⎣ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎥

Pa′ = 1 γ H 2 Ka
2
⎛ ⎞
Pa′ = 1 ⎛⎜15.0 ⎞⎟ ⎜⎜102 ⎟⎟ ⎛⎜ 0.296⎞⎟ = 222.0 กิโลนิวตันตอเมตร
2⎝ ⎠⎝ ⎝⎠ ⎠
ตัวอยางที่ 5.6
จากรูป มุมเสียดทานระหวางกําแพงและดินถมเทากับ 20 องศา จงหาความดันรวมที่สภาวะ Active ที่กระทํา
ตอกําแพงกันดิน โดยทฤษฎีของ Coulomb
ตัวอยางที่ 5.6
วิธีทํา จากสมการ
sin 2 ⎛⎜α +φ ′⎞⎟
Ka = ⎝ ⎠
2
⎡ ⎤

⎞⎢
sin ⎛⎜φ ′ + δ ⎞⎟ sin ⎛⎜φ − β ⎞⎥
⎟⎥
sin 2α sin ⎛⎜α −δ 1+ ⎟⎢
⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎥
⎝ ⎠⎢
⎢ sin α −δ sin α + β






⎞⎥
⎟⎥
⎢⎣ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎥

sin 2 ⎛⎜85°+ 35° ⎞⎟


Ka = ⎝ ⎠
2
= 0.318
⎡ ⎤

⎞⎢
sin ⎛⎜ 35°+ 20° ⎞⎟ sin ⎛⎜ 35°−10° ⎞⎟ ⎥⎥
sin 2 ⎛⎜85° ⎞⎟ sin ⎛⎜85°− 20° 1+ ⎟⎢
⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎥
⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎢
⎢ sin 85°− 20° sin 85°+10°






⎞⎥
⎟⎥
⎢⎣ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎥

Pa′ = 1 γ H 2 Ka
2

⎛ ⎞
Pa′ = Pa = 1 ⎛⎜18.0⎞⎟ ⎜⎜ 6.52 ⎟⎟ ⎛⎜ 0.318⎞⎟ =120.9 กิโลนิวตันตอเมตร
2⎝ ⎠ ⎝ ⎝ ⎠ ⎠
ตัวอยางที่ 5.7
จากรูป มุมเสียดทานระหวางกําแพงและดินถมเทากับ 20 องศา จงหาความดันรวมที่สภาวะ Active ที่กระทํา
ตอกําแพงกันดิน โดยทฤษฎีของ Coulomb
ก) กําแพงกันดินเรียบสูง 7 เมตร ตานดินถมซึ่งเปนดินเม็ดหยาบที่มีหนวยน้ําหนักเทากับ 17.0
กิโลนิวตันตอลูกบาศกเมตร และ φ′ = 28°
ข) ระดับของดินถมอยูที่ระดับเดียวกับดานบนของกําแพงกันดิน และวางตัวในแนวราบ
ค) มีนา้ํ หนักกระจายสม่าํ เสมอขนาด 40 กิโลปาสคาล บนดินถม
ตัวอยางที่ 5.7
จงหา ก) ความดันดินที่สภาวะ Active ที่กระทําตอกําแพงกันดิน
ข) จุดทีแ่ รงลัพธกระทําบนกําแพงกันดิน
วิธีทํา สัมประสิทธิ์ความดันประสิทธิผลที่สภาวะ Active ของ Rankine มีคาเทากับ
= tan 2 ⎜ 45 − φ ′ ⎟
⎛ ⎞
Ka ⎜


2 ⎟⎟⎠

Ka = tan 45 −
2⎜ 28° ⎞
⎟ = 0.361



2 ⎟⎟⎠
ความเคนประสิทธิผลในแนวดิง่ ทีผ่ ิวดินเทากับ
σ v′ = q = 40.0 กิโลปาสคาล

ความเคนประสิทธิผลในแนวดิง่ ที่ระดับความลึก 7 เมตร จากผิวดิน เทากับ


σ v′ = 40 + ⎛⎜17.0× 7.0⎞⎟ =159.0 กิโลปาสคาล
⎝ ⎠
ตัวอยางที่ 5.7
ความเคนประสิทธิผลในแนวนอนที่ผวิ ดินเทากับ
σ a′ = 40.0× 0.361=14.44 กิโลปาสคาล
ความเคนประสิทธิผลในแนวนอนที่ระดับความลึก 7 เมตรจากผิวดิน เทากับ
σ a′ =159.0× 0.361= 57.40 กิโลปาสคาล

แรงดันดานขางรวมเทากับ
Pa = Pa′ = 1 × ⎛⎜14.44 + 57.40⎞⎟ × 7.0 = 251.44 กิโลปาสคาล
2 ⎝ ⎠

ตําแหนงของแรงลัพธเทากับ
⎛ ⎞

1 ⎟
⎛ ⎜ ⎞ 7
14.44× 7×3.5 + × ⎜ 57.40 +14.44⎟ × 7.0× ⎟⎟
⎛ ⎞

⎝ 2 ⎝
⎠ ⎜ ⎠ 3 ⎟⎠
y= ⎝ = 2.80 เมตร
251.44
ตัวอยางที่ 5.8
จากรูป จงเขียนไดอะแกรมความดันดินที่สภาวะ Active หลังสิ้นสุดการกอสรางและมีน้ําหนักกระจาย
สม่ําเสมอ 100 กิโลนิวตันตอตารางเมตร กระทําทันที
ตัวอยางที่ 5.8
วิธีทํา เริ่มตนดวยการคํานวณหาสัมประสิทธิ์ความดันดินดานขางของดินทุกชนิด

= tan2 ⎜ 45°− 32° ⎟ = 0.307


⎛ ⎞
ทราย 1 Ka ⎜
⎜ 2 ⎟

⎝ ⎠

= tan2 ⎜ 45°− 30° ⎟ = 0.333


⎛ ⎞
ทราย 2 Ka ⎜
⎜ 2 ⎟

⎝ ⎠

= tan 2 ⎜ 45 − 25° ⎟ = 0.406


⎛ ⎞
ทราย 3 Ka ⎜
⎜ 2 ⎟

⎝ ⎠

ดินเหนียว Ka = tan 2 ⎛⎜ 45°⎞⎟ =1.000


⎝ ⎠

= tan 2 ⎜ 45°− 40° ⎟ = 0.217


⎛ ⎞
ทราย 4 Ka ⎜
⎜ 2 ⎟

⎝ ⎠
ตัวอยางที่ 5.8

ความลึก σ′v u Ka c’ σ ′ = K σ ′ − 2c′ K


a a v a
(เมตร) (กิโลปาสคาล) (กิโลปาสคาล) (กิโลปาสคาล) (กิโลปาสคาล)
0 100 0 0.307 0 30.7
2- 100 + (18 × 2) = 136 0 0.307 0 41.7
2+ 136 0 0.333 0 45.3
3- 136 + (18.5-9.81) × 1 9.8 0.333 0 48.2
= 144.7
3+ 144.7 9.8 0.406 10.0 46.0
6- 144.69 + (18.8-9.81) × 3 39.2 0.406 10.0 57.0
= 171.7
6+ 171.7
8.5- 171.66 + (19 - 9.81) × 2.5
= 194.6
8.5+ 194.6 63.8 0.217 5.0 37.6
10.3 194.63 + (19-9.81) × 1.8 81.4 0.217 5.0 41.2
= 211.2
ตัวอยางที่ 5.8

การกระจายความเคนประสิทธิผลในแนวดิ่ง
ตัวอยางที่ 5.8

การกระจายความดันดินดานขางประสิทธิผลในชั้นทรายและความดันน้าํ
ตัวอยางที่ 5.8
สําหรับความดันดินที่กระทําตอกําแพงกันดินในชัน้ ดินเหนียวตองคํานวณในพจนของความเคนรวม ดังนี้
ที่ระดับความลึก 6.0 เมตร
ความเคนในแนวดิง่ รวมเทากับ 171.7 + 39.2 = 210.9 กิโลปาสคาล
ความดันดินดานขางรวมเทากับ 210.9 - (2 x 40) = 130.9 กิโลปาสคาล
ที่ระดับความลึก 8.0 เมตร
ความเคนในแนวดิง่ รวมเทากับ 210.9 + 19.0(2.5) = 258.4 กิโลปาสคาล
ความดันดินดานขางรวมเทากับ 258.4 - (2 x 40) = 178.4 กิโลปาสคาล

การกระจายความดันดินดานขางรวมในชั้นทราย เกิดจากการรวมกันของความดันดินดานขางประสิทธิผล
และความดันน้ํา สวนการกระจายความดันดินดานขางรวมในชั้นดินเหนียวคํานวณไดโดยตรงในพจนของความ
เคนรวม
ตัวอยางที่ 5.8

30.7 kPa

2m
45.3 kPa
41.7
1m
kPa 58.0 kPa
55.8
kPa
3m
130.9 kPa

96.2 kPa
2.5 m
101.4 kPa
178.4 kPa

1.8 m

122.6 kPa

Total lateral earth pressure

การกระจายความดันดานขางรวม
ตัวอยางที่ 5.9
ถากําแพงกันดินดังแสดงในรูป เคลื่อนตัวออกจากดินถม จงหา
ก) โซนแรงดึง (z0)
ข) แรงดันดินดานขางรวมที่สภาวะ Active หลังเกิดรอยแยกเนื่องจากแรงดึง
ตัวอยางที่ 5.9
= tan 2 ⎜ 45°− 26° ⎟ = 0.39
⎛ ⎞
วิธีทํา Ka ⎜ ⎟


2 ⎟

ความลึก σv′ u Ka c′ σ a′ = Kaσ v′ − 2c′ Ka


(เมตร) (กิโลปาสคาล) (กิโลปาสคาล) (กิโลปาสคาล) (กิโลปาสคาล)
0 0 0 0.39 10 -12.6
6 16 x 6 = 96 0 0.39 10 24.84
ตัวอยางที่ 5.9

ก) โซนแรงดึง (z0)

z0 = 2c′ = 2×10 =1.98 เมตร


γ ′ Ka 16 0.39

ข) แรงดันดินดานขางรวมที่สภาวะ Active หลังเกิดรอยแยกเนื่องจากแรงดึง

Pa = Pa′ = 1 × 24.84× ⎛⎜ 6.00 −1.98⎞⎟ = 49.93 กิโลปาสคาล


2 ⎝ ⎠
ตัวอยางที่ 5.10
จากรูป จงใชวิธีกราฟฟกของ Culmann ในการคํานวณหาแรงดันดินที่สภาวะ Active พรอมทั้งหาตําแหนง
ของแรงลัพธ

β = 10°

85°
ตัวอยางที่ 5.10
วิธีทํา เริ่มตนดวยการสมมติระนาบการวิบตั ิ ดังแสดงในรูป

90°
20°

α = 85° φ = 35°

θ =α −δ
= 85° − 20°
= 65°
ตัวอยางที่ 5.10
น้ําหนักของแตละลิ่ม

ลิ่ม ความยาวฐาน ความสูงตัง้ ฉาก หนวยน้ําหนักของดิน น้ําหนัก


(เมตร) (เมตร) (กน. ตอ ลบ.ม.) (กน. ตอ ม.)
1 1.03 5.225 19.0 51.13
2 1.00 5.660 19.0 53.77
3 1.56 6.950 19.0 103.00
4 1.56 9.175 19.0 135.97
ตัวอยางที่ 5.10
จากคาน้ําหนักของแตละลิ่ม วาดเสนโคงของ Culmann แรงลัพธที่กระทําตอกําแพงกันดินที่สภาวะ Active
มีคาเทากับ 74 กิโลนิวตันตอเมตร และระนาบวิบตั แิ สดงดังเสนประ

x = 27.95 =1.43 เมตร


19.53

y = 69.4 = 3.55 เมตร


19.53
ตัวอยางที่ 5.10

รูปที่ x y พื้นที่ (A) xA yA


(เมตร) (เมตร) (เมตร2) (เมตร3) (เมตร3)
1 0.30 3.33 2.25 0.68 7.50
2 1.45 3.33 15.00 21.75 50.00
3 2.30 5.20 2.07 4.77 10.80
4 3.57 5.40 0.21 0.75 1.10
รวม 19.53 27.95 69.4
Foundation Engineering
วิศวกรรมฐานราก

รองศาสตราจารย ดร. สุขสันติ์ หอพิบูลสุข


สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุ สรุ นารี
โครงสรางกันดิน
6 (RETAINING STRUCTURE)
6.1 บทนํา

โครงสรางกันดินถูกสรางเพื่อปองกัน
การเคลื่ อ นตั ว ของดิ น การประยุ ก ต ใ ช
โครงสร า งกั น ดิ น ในงานวิ ศ วกรรรมมี
มากมาย อาทิเชน งานดินถม งานดินขุด
งานสะพาน และโครงสรางกันน้ําทวม

โครงสร า งกั น ดิ น ส ว นมากจะเป น


กําแพงกันดินที่สรางจากคอนกรีต
6.2 กําแพงกันดิน

เสถียรภาพของกําแพงกันดินชนิดนี้ขึ้นอยูกับน้ําหนักของตัวมันเอง กําแพงกันดินชนิดนี้จึงถูกเรียกวา
Gravity wall ในกรณีที่กําแพงกันดินมีความสูงมาก แรงดันดินดานขางมีแนวโนมที่จะทําใหกําแพงกัน
ดินพลิกคว่ํา (Overturning) เพื่อความประหยัด อาจเลือกใชกําแพงกันดินชนิด Cantilever wall ซึ่งมี
สวนฐานยื่นออกมาอยูใตดินถม น้ําหนักของดินถมที่อยูเหนือฐานนี้จะชวยปองกันการพลิกคว่ํา

(a) Gravity wall (b) Cantilever wall


6.2 กําแพงกันดิน

เมื่อมีการถมดินดานหลังกําแพงกันดิน กําแพงกันดินจะเกิดการเคลื่อนตัว เพื่อปองกันการพลิกคว่ํา


ของกําแพงกันดิน กําแพงกันดินจะถูกสรางใหมีความชันเอียงดานหนา ความชันนี้เรียกวา Batter

วัสดุที่ใชถมดานหลังกําแพงกันดินเรียกวา Backfill จะตองเปนวัสดุเม็ดหยาบที่มีความซึมผานสูง


เชน ทราย กรวด หรือหินบด (Broken stone) ถาเปนไปไดควรหลีกเลี่ยงการใชดินเม็ดละเอียดพวกดิน
เหนียวเปน Backfill เนื่องจากดินประเภทนี้กอใหเกิดความดันดานขางอยางมากตอกําแพงกันดิน วิศวกร
ผูออกแบบจําเปนอยางยิ่งที่จะตองเลือกวัสดุที่ใชเปน Backfill ใหเหมาะสม และจะตองคํานึงถึงการเพิ่มขึ้น
ของระดับน้ําใตดิน ซึ่งจะเปนตัวเพิ่มความดันดานขางตอกําแพงกันดิน
6.2 กําแพงกันดิน

ลักษณะทั่วไปของกําแพงกันดินชนิด Cantilever wall


6.2 กําแพงกันดิน

ลักษณะของฐานรากกําแพงกันดิน
6.2 กําแพงกันดิน

6.2.1 การวิบัติของกําแพงกันดิน
การออกแบบกําแพงกันดินตองคํานึงถึงสิ่งสําคัญสองประการดังนี้
1) กําแพงตองมีเสถียรภาพภายนอก (External stability) ซึ่งหมายความวากําแพงกันดินตองตั้ง
ดิ่งในตําแหนงเดิม
2) กําแพงกันดินตองมีเสถียรภาพภายใน โดยตองความสามารถตานความเคนที่เกิดขึ้นภายใน
โครงสรางโดยปราศจากการพังทลาย

(a) กําแพงกันดินขาดเสถียรภาพภายนอก (b) กําแพงกันดินขาดเสถียรภาพภายใน


6.2 กําแพงกันดิน

6.2.2 การวิเคราะหเสถียรภาพภายนอกของกําแพงกันดิน
วิธีการออกแบบกําแพงกันดินตานการวิบัติ
ภายนอก คือ การสมมติขนาดและรูปรางของกําแพง
กันดินและทําการตรวจสอบเสถียรภาพของกําแพง
ถาพบวาเสถียรภาพของกําแพงกันดินมีคาต่ําหรือไม
เพียงพอ ก็ทําการเปลี่ยนแปลงขนาดและรูปรางใหม
และทําการตรวจสอบอีกครั้ง ขั้นตอนนี้จะถูกทําซ้ําๆ
จนกระทั่ ง พบว า กํ า แพงกั น ดิ น ที่ อ อกแบบมี
เสถียรภาพเพียงพอตอการใชงาน
6.2 กําแพงกันดิน

6.2.2 การวิเคราะหเสถียรภาพภายนอกของกําแพงกันดิน
กําแพงกันดินจะมีเสถียรภาพภายนอก เมื่อกําแพงกันดินไมมีการเคลื่อนตัวในสามทิศทาง อันไดแก
ในแนวนอน (การลื่นไถล) ในแนวดิ่ง (การทรุดตัวที่มากกวาปกติ และการวิบัติเนื่องจากแรงแบกทานของดิน
ใตฐานราก) และการพลิกคว่ํา

การออกแบบเปนการตรวจสอบเสถียรภาพของการเคลื่อนตัวในสามทิศทางนี้ เพื่อใหไดอัตราสวน
ปลอดภัยที่เหมาะสม การตรวจสอบการเคลื่อนตัวในแนวนอนและการพลิกคว่ําอาศัยหลักการความสถิตย
(Law of statics) สําหรับการตรวจสอบการเคลื่อนตัวในแนวดิ่งนั้นอาศัยทฤษฎีกําลังรับแรงแบกทานของ
ดิน (Bearing capacity theory)
6.2 กําแพงกันดิน

6.2.2 การวิเคราะหเสถียรภาพภายนอกของกําแพงกันดิน
6.2 กําแพงกันดิน

อั ต ราส ว นปลอดภั ย ต า นการลื่ น ไถล คื อ อั ต ราส ว นระหว า งแรงต า นทานการลื่ น ไถล (Sliding
resistance force) ตอแรงกระทํา (Sliding force) แรงตานทานการลื่นไถล คือผลคูณของแรงลัพธใน
แนวดิ่งที่กระทําตอฐานของกําแพงกันดินกับสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน (Coefficient of friction)
ระหวางฐานของกําแพงกันดินและดินดานใตฐาน สวนแรงที่กระทําใหเกิดการลื่นไถลสวนมากจะเปนแรงใน
แนวนอนเนื่องจากแรงดันดานขางของดิน Backfill แรงตานทานการลื่นไถล (S) สามารถคํานวณไดจาก

สําหรับฐานรากที่เปนทราย S = ∑V tan ⎛⎜ 0.67φ′⎞⎟


⎝ ⎠

สําหรับฐานรากที่เปนดินเหนียว S = 2 Su B
3

เมื่อ ∑V =W1 +W2 +...+W5 + Pv


6.2 กําแพงกันดิน

ถาในการออกแบบพบวากําแพงกันดินแบบฐาน
เรียบ (Flat-bottomed wall) มีอัตราสวนปลอดภัยไม
เปนไปตามที่ตองการ อาจทําการสรางตัวตานทานการลื่น Retaining Wall
ไถลที่เรียกวา Key ที่ฐานของกําแพงกันดิน ดินดานหนา
ของ Key ทําหนาที่ตานทานการลื่นไถลในฐานะของ
A
ความดันที่สภาวะ Passive ดังแสดงโดยโซน BC แต
อยางไรก็ตาม ดินดานหนาของ Key อาจจะหายไป B
C
เนื่องจากการกัดเซาะ ดังนั้น ตัว Key นี้จะมีประสิทธิผล Passive Earth Pressure Key
Provided by Key
อยางมากถาถูกสรางใตดินแข็งหรือหิน
6.2 กําแพงกันดิน

อัตราสวนปลอดภัยตานการพลิกคว่ํา หาไดจากอัตราสวนระหวางโมเมนตตานทานการพลิกคว่ํา
ทั้งหมด (Total righting moment, ∑ M r ) ตอโมเมนตทั้งหมดที่กอใหเกิดการพลิกคว่ํา (Total
overturning moment, Mo) ที่สภาวะสมดุลและการพลิกคว่ําเริ่มเกิดพอดี แรงปฏิกิริยาระหวางดินและ
กําแพงกันดินจะอยูที่จุด Toe พอดี ดังนั้น เพื่อความสะดวกในการคํานวณ (ไมตองพิจารณาผลของแรง
ปฏิกิริยา) โมเมนตที่กอใหเกิดการพลิกคว่ํา และโมเมนตตานการพลิกคว่ําทั้งหมดสามารถคํานวณไดจาก

M o = Ph × H
3

∑ M r = M r1 + M r 2 +...M r5 + ⎛⎜⎝ Pv × B ⎞⎟⎠


เมื่อ M ri =Wi xi
xi คือระยะในแนวนอนที่วัดจากจุด Toe จนถึง Wi
6.2 กําแพงกันดิน

อัตราสวนปลอดภัยตานการวิบัติเนื่องจากแรงแบกทานของดิน หาไดจากอัตราสวนระหวางกําลังรับ
แรงแบกทานประลัย (Ultimate bearing capacity) ตอความดันที่มากที่สุดที่กระทําตอฐานของกําแพงกัน
ดิน (Actual maximum contact pressure) แรงในแนวนอนอันเนื่องจากแรงดันดานขางของดินมัก
กอใหเกิดโมเมนตในฐานรากของกําแพงกันดิน ซึ่งอาจสงผลใหความเคนในดินใตฐานรากไมสม่ําเสมอ

∑V ∑V ∑V

∑V 2∑V ∑H
Pt = ∑H
Pt =
∑H
8 ∑V
d d Pt =
3 d
6.2 กําแพงกันดิน

ระยะเยื้องศูนยและความดันดินใตฐานราก สามารถคํานวณไดจากสมการดานลาง จากประสบการณ


การออกแบบ ควรทําการตรวจสอบการเสถียรภาพเนื่องจากการวิบัติของดินฐานรากและระยะเยื้องศูนยกอน
การตรวจสอบเสถียรภาพดานอื่น เนื่องจากเสถียรภาพดานนี้จะเปนตัววิกฤติที่สุด

⎜ ∑ Mr − Mo ⎟ B
⎛ ⎞
B
e = −⎜ ⎟<
2 ⎜ ∑V ⎟ 6
⎝ ⎠

qmax = ∑ ⎛
V


⎞⎛
⎟⎜
⎟ ⎜1+
6e ⎞
⎟<q
B ⎟ ⎜⎝ B ⎟⎟⎠ all

⎝ ⎠

qmin =



∑V ⎞⎟⎟ ⎛⎜1− 6e ⎞⎟ > 0
B ⎜ B ⎟⎟⎠
⎜ ⎟ ⎜⎝
⎝ ⎠
6.2 กําแพงกันดิน

อัตราสวนปลอดภัยที่ใชในการวิเคราะหเสถียรภาพของกําแพงกันดินควรไมนอยกวาคาที่แสดง

กรณี อัตราสวนปลอดภัย หมายเหตุ อางอิง

การลื่นไถล 1.5 สําหรับกรณีที่ไมพิจารณาความดินดานขางที่สภาวะ Passive ที่ดานหนา Goodman and Karol (1968)


ของกําแพงกันดิน

2.0 สําหรับกรณีที่พิจารณาความดินดานขางที่สภาวะ Passive ที่ดานหนาของ Goodman and Karol (1968)


กําแพงกันดิน

การพลิกคว่ํา 1.5 สําหรับ Backfill ที่เปนดินเม็ดหยาบ


2.0 สําหรับ Backfill ที่เปนดินเม็ดละเอียด Teng (1962)

วิบัติแบบกําลังรับแรงแบก 3.0
ทาน
6.2 กําแพงกันดิน

เนื่ อ งจากน้ํ า มั ก เป น ตั ว


ป ญ หาอย า งมากต อ เสถี ย รภาพ
ภ า ย น อ ก ข อ ง กํ า แ พ ง กั น ดิ น
ผูออกแบบสวนใหญจึงมักจัดวาง
ระบบระบายน้ํา เพื่อลดความดั น
น้ําอันเกิดเนื่องมาจากความดันน้ํา
สวนเกินและน้ําทวม
6.3 เข็มพืด (Sheet pile)

เข็มพืดเปนแผนเหล็กยาวที่มีความกวางประมาณ 30 ถึง 50 เซนติเมตร เข็มพืดจะถูกนํามาตอกันเปน


แนวยาวตามแนวดินเพื่อใชเปนโครงสรางกันดินและน้ํา เข็มพืดยังสามารถใชรวมกับระบบค้ํายัน (ซึ่งอาจเปน
ไมหรือเหล็ก) เปนโครงสรางชั่วคราวสําหรับงานกอสรางใตดิน เชน งานวางทอน้ํา โครงสรางกันดิน และงาน
โครงสรางใตดิน แตถึงแมวาระบบค้ํายันจะมีความแข็งแรงเพียงใดก็ตาม เข็มพืดเปนแผนเหล็กที่มีความหนา
ไมมาก หากใชเปนโครงสรางกันดินในงานดินขุดที่มีความลึกมาก หรือใชเปนโครงสรางกันการเคลื่อนตัวของ
อาคารขางเคียงที่มีขนาดใหญ อาจกอใหเกิดการเสียรูปของเข็มพืดและสงผลใหเกิดเคลื่อนตัวของดินอยาง
มาก เพื่อหลีกเลี่ยงการเคลื่อนตัวที่มาก เราอาจใชเสาเข็มเจาะหรือเสาเข็มดินซีเมนตเปนโครงสรางกันดินได
6.3 เข็มพืด (Sheet pile)

Junction pile – open and


closed corner piles also
avaliable
Interlocking
joint 400 to 508

130 to 330
7.1 to
28.6 mm
Lengths 6.000
400 to 508
to 26.000
32 mm diameter lifting hole positioned
150 mm down from one end

Larseen steel sheet piles

ตัวอยางเข็มพืดแบบตางๆ และการตอเข็มพืด
6.3 เข็มพืด (Sheet pile)

Junction pile – bent corner and


coner piles also avaliable
32 mm diameter slinging hole positioned
75 mm down from one end

Interlocking
joint

6.1 to 19.8 mm 400 to 483 400 to 483 Lengths 6.000


to 24.000

Frodingham steel sheet piles

ตัวอยางเข็มพืดแบบตางๆ และการตอเข็มพืด
6.3 เข็มพืด (Sheet pile)

ตัวอยางเข็มพืดแบบตางๆ และการตอเข็มพืด
6.3 เข็มพืด (Sheet pile)

ตัวอยางการใชกําแพงกันดิน (a) Cantilever sheet pile (b) Braced cut


6.3 เข็มพืด (Sheet pile)
Provide edge safety barriers as required

150 150 raking struts at 1.800 centres

150 150 Face timbering of steel or timber


walings
150 150 puncheons at 1.800 centres
225 38 binding to both sides
Cleats and distance pieces
225 75 150 75 sole pieces
sole plate
Grillage out of 225 75 timbers

150 150 raking struts at 1.800 centres

150 150 Face timbering of steel or timber


walings
150 150 puncheons at 1.800 centres
225 38 binding to both sides

225 75 Sole piece and grillage


sole plate if required

การใชเข็มพืดรวมกับค้ํายันเพือ่ ทํางานกอสรางใตดิน
6.3 เข็มพืด (Sheet pile)

การประยุกตใชเข็มพืดรวมกับค้ํายันสําหรับงานหองใตดนิ
6.3 เข็มพืด (Sheet pile)

ระบบ Braced cuts ในการกอสรางบริเวณสถานีรถไฟ มาเกา ประเทศจีน


6.3 เข็มพืด (Sheet pile)

การประยุกตใชเสาเข็มเจาะเปนโครงสรางกันดิน
6.3 เข็มพืด (Sheet pile)

การขาดเสถียรภาพภายนอกของกําแพงกันดินทีต่ งั้ อยูในชั้นดินเหนียวออน


6.3 เข็มพืด (Sheet pile)
6.3.1 Cantilever Sheet Pile Wall
กําแพงกันดินประเภทนี้มักถูกนํามาใชเมื่อดินถมดานหลังเข็มพืดมีความสูงไมมากนัก เสถียรภาพของ
เข็มพืดชนิดนี้ขึ้นอยูกับความตานทานที่สภาวะ Passive ของดินใตระดับผิวดิน (Dredge line)

ความดันดินดานขางที่กระทําตอ Cantilever sheet pile wall


6.3 เข็มพืด (Sheet pile)

การออกแบบเข็มพืดโดยทั่วไปมักทําโดยวิธีที่เรียกวา
Simplification ซึ่งแทนแรงลัพธที่สภาวะ Passive ใตจุด
O ดวยแรง R กระทําที่จุด C (อยูต่ํากวาจุด O เล็กนอย) ซึ่ง
จุด C นี้อยูที่ความลึก d ใตระดับดินขุด ความลึก d สามารถ
หาไดโดยอาศัยหลักสมดุลของโมเมนตรอบจุด C โดย
พิจารณาคาแรงตานทานดานหนาเข็มพืดเทากับแรงตานทาน
ที่สภาวะ Passive (Pp) หารดวยอัตราสวนปลอดภัย ดังนั้น
คาระยะฝง (Depth of embedment) ของเข็มพืดที่
ตองการจึงควรมีคาไมนอยกวา 1.2d แรง R สามารถหาได
โดยอาศัยหลักสมดุลในแนวนอน
6.3 เข็มพืด (Sheet pile)
6.3.2 Anchored Sheet Pile Wall
เมื่อ Backfill หลังกําแพงเข็มพืดมีความสูงมาก (เกินกวา 6 เมตร) อาจมีการติดตั้งตัวเพิ่มความมั่นคง
ซึ่งเรียกวาตัวค้ํา (Tie-back or Prop) ที่ดานบนของเข็มพืดเปนชวงๆ การทําเชนนี้จะเปนการประหยัดกวา
การใช Cantilever sheet pile wall กําแพงกันดินระบบนี้เรียกวา Anchored sheet pile wall

วิธีการคํานวณหาเสถียรภาพของกําแพงกันดินชนิดนี้มีดวยกัน 2 วิธีคือ Free earth support


method และ Fixed earth support method วิธี Free earth support method จะเปนวิธีที่หา
ระยะฝงที่นอยที่สุดที่ไมทําใหเกิดการหมุนในตัวเข็มพืด ดังนั้น จุดรองรับที่ปลายเข็มพืดถูกพิจารณาเปนแบบ
หมุด (Pin)
6.3 เข็มพืด (Sheet pile)

การกระจายของการเสียรูปและโมเมนตของ Anchored sheet pile wall


(a) Free earth support method (b) Fixed earth support method
6.3 เข็มพืด (Sheet pile)
Free Earth Support Method
วิธีการนี้จะสมมติวาความลึกของระยะฝงใตระดับการขุดออกของดิน (Excavation level or
Dredge line) ไมมากเพียงพอที่จะทําใหเกิดสภาวะอยูกับที่ (Fixity) ที่จุดปลายของเข็มพืด ดังนั้น เข็มพืด
จะอิสระตอการหมุนที่จุดปลาย ลักษณะการวิบัติจะเปนการหมุนรอบจุดตอของตัวค้ํา (Tie) กับเข็มพืดที่จุด A
6.3 เข็มพืด (Sheet pile)
Free Earth Support Method
สิ่งที่สําคัญที่สุดในการออกแบบคือโมเมนตตานการหมุนรอบจุด A ตองมากกวาโมเมนตที่ทําใหเกิดการ
หมุน ระยะฝงที่ตองการ (d) สามารถหาไดโดยหลักการที่วาผลรวมของโมเมนตรอบจุด A ตองเทากับศูนย
การวิเคราะหลักษณะนี้จะเกี่ยวของกับการแกปญหาของตัวแปรยกกําลังสอง หลังจากไดคา d แรงที่กระทําใน
ตัวค้ํา (T) สามารถคํานวณไดโดยอาศัยหลักสมดุลของแรงในแนวนอน (ผลรวมของแรงทั้งหมดในแนวนอน
ตองเทากับศูนย) และทายสุดการออกแบบหนาตัดของเข็มพืดสามารถกระทําไดโดยอาศัยแผนภาพการ
กระจายโมเมนต

ระยะฝงควรเปนคาที่เพิ่มขึ้นจากระยะ d อีก 20 เปอรเซ็นต เพื่อใหไดระยะฝงที่เพียงพอสําหรับสภาวะ


อยูกับที่ (Fixity) ระยะฝงควรมีคาไมนอยกวา 1.2d
6.4 แผงเข็มพืดที่มีค้ํายันหลายระดับ (Braced Cuts)

กําแพงกันดินระบบนี้เหมาะกับงานขุด
ที่มีความลึกมาก เสถียรภาพของกําแพงกัน
ดินจะขึ้นอยูกับตัวค้ํายัน (Strut) ที่กระทํา
ตามขวางของดินขุด

ชนิดของ Braced cut (a) การประยุกตใชของคาน (b) การประยุกตใชของเข็มพืด


6.4.1 ขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับ

1) งานตอกแผงเข็มพืดเหล็ก
ก) งานปกแผงเข็มพืดเหล็ก
ƒ กําหนดแนวของแผงเข็มพืดเหล็ก โดยศึกษาจาก
แบบแผนที่โดยสังเขป (Lay Out)
ƒ ทํา Leg Guides ตามแนวที่เกิดขึ้น เพื่อให
แผงเข็มพืดเหล็กอยูในแนวที่ถูกตอง
ƒ ขุดหนาดินจนถึงระดับความลึกประมาณ 0.50 -
1.00 เมตร จากผิวดิน เพื่อชวยใหการปกแผง
เข็มพืดเหล็กลงในดินทําไดสะดวกขึ้น
6.4.1 ขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับ

ƒ ใช Crane ยกแผงเข็มพืดเหล็กเขามาในแนวของ Leg Guides แลวปลอยใหแผงเข็มพืดเหล็ก


จมลงดิน ดวยน้ําหนักของแผงเข็มพืดเหล็กเอง
6.4.1 ขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับ

ƒ ใช Crane ยกแผงเข็มพืดเหล็กแผนใหม


เขามาสอดในรองเขี้ยวของแผนแผงเข็ม
พืดเหล็กที่ไดปกลงไปแลว และปลอยให
แผงเข็มพืดเหล็กเคลื่อนตัวลงในดิน แลว
ทําเชนนี้ตอไปเรื่อยๆ
6.4.1 ขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับ

1) งานตอกแผงเข็มพืดเหล็ก
ข) การตอกแผงเข็มพืดเหล็ก
ƒ ใชหัวของ Vibro Hammer จับที่ปลายแผงเข็มพืดเหล็กแลวทําการตอกลงไปในดิน ดวยระบบสั่น
6.4.1 ขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับ

ƒ ตอกเสาเข็มพืดเหล็กตามแนวที่กําหนด
6.4.1 ขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับ

2) การติดตั้ง Wale
เริ่มตนโดยการกําหนดแนวระดับของ Wale โดยศึกษาจากขั้นตอนการทํางานของโครงการ และ
กําหนดระดับของ Wale โดยแบงขั้นตอนการติดตั้งดังนี้
ƒ ขุดดินออกจนถึงระดับที่สามารถทํางานได
ƒ ติดตั้งหูชาง (Bracket) เพื่อใชเปน Support ของ Wale
6.4.1 ขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับ

ƒ ติดตั้ง Wale หางจากเสาเข็มพืดเหล็กประมาณ 0.10 เมตร โดยยาวตอกันเปนแนวตรง และติดตั้ง


Cover plate บริเวณรอยตอ โดยใหมีระยะไมนอยกวา 0.50 เมตร
ƒ เมื่อติดตั้งชิ้นสวนเสร็จแลว ใหทําการเทคอนกรีตบริเวณชองวางระหวาง Wale กับเสาเข็มพืดเหล็ก
6.4.1 ขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับ

3) การติดตั้งตัวค้ํายัน (Strut)
Strut จะเปนค้ํายันซึ่งวางขวางกับ Wale และอยูในแนวระดับเดียวกันกับ Wale โดยทั่วไป Strut
ตัวบนสุดจะรับน้ําหนักในแนวแกนและน้ําหนักจาก Plat form สวน Strut ตัวลางสุดจะรับน้ําหนักตาม
แนวแกนเพียงอยางเดียว
6.4.1 ขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับ
6.4.1 ขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับ

4) การอัดแรงในค้ํายัน (Pre-loading)
การทํา Pre-loading ในตัวค้ํายันจะชวยลดการเคลื่อนตัวของดินดานขางและลดการเสียรูปแบบ
ยืดหยุน (Elastic deformation) ของค้ํายันได รวมทั้งยังชวยลดชองวางจากการติดตั้ง Bolt และ Nut
ในตัวค้ํายัน คาการอัดแรงควรอยูระหวาง 40 – 50 เปอรเซ็นต ของน้ําหนักออกแบบ (Design load)
ขั้นตอนการ Pre-loading แบงไดดังนี้
6.4.1 ขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับ

ƒ ตองทําการอัดแรงตัวค้ํายันใหครบทุกตัว โดยการติดตั้งแมแรง (Kirin jack) ไวที่ตัวค้ํายัน


6.4.1 ขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับ

ƒ ประกอบ Bracket เขากับตัวค้ํายันดวย Bolt & Nut เพื่อรองรับกระบอกไฮดรอลิค

ƒ อัดแรงที่กระบอกไฮดรอลิค แลวถายแรงไปยัง Bracket ที่ยึดติดกับ Strut แรงจะถูกสงผานจาก


ตัวค้ํายันไปยัง Wale แตละดาน
6.4.2 แรงดันดินดานขางใน Braced Cuts

กําแพงกันดินแบบ Cantilever sheet pile มีแนวโนมที่จะเกิดการหมุนที่ปลายของเข็มพืดเมื่อตานรับ


ดินถม และแรงดันดานขางสามารถประมาณไดโดยอาศัยทฤษฎีของ Rankine หรือCoulomb ลักษณะการ
กระจายความดันดานขางของ Cantilever sheet pile ไมสามารถนํามาใชกับ Braced cuts ได เนื่องจาก
ลักษณะการเสียรูปที่ความแตกตาง การเสียรูปของกําแพงกันดินระบบ Braced cuts จะเพิ่มขึ้นตามความลึก

(a) กําแพงกันดิน (b) Braced cut


6.4.2 แรงดันดินดานขางใน Braced Cuts

ความดันดินดานขางที่ดานบนจะมีคาใกลเคียงกับคาที่สภาวะอยูนิ่ง (At rest) เนื่องจากเกิดการเคลื่อนตัว


นอย ในขณะที่ ดานลางของกําแพงกันดินจะเกิดการเคลื่อนตัวมาก และสงผลใหความดันดินดานขางมีคา
ใกลเคียงกับคาความดันดานขางของ Rankine active earth pressure

ความดันดินดานขางที่สภาวะ Active ที่ระดับเหนือระดับดินขุด (Excavation level) มีคามากกวาคาที่


คํานวณไดจากทฤษฎีของ Rankine มาก และเริ่มมีคาใกลเคียงกันที่ระดับดินต่ํากวาระดับดินขุด ในขณะที่
ความดันดินที่สภาวะ Passive ที่ไดจากการคํานวณและการวัดมีคาใกลเคียงกันมาก
6.4.2 แรงดันดินดานขางใน Braced Cuts

การกระจายของความดันดินดานขางที่สภาวะ Active และ Passive


ที่ไดจากการวัดและจากการคํานวณตามทฤษฎีของ Rankine (Balasubramaniam, 1996)
6.4.2 แรงดันดินดานขางใน Braced Cuts

Peck (1969) ไดทําการทดสอบและบันทึก


ผลการกระจายความดันดินดานขาง และแนะนํา
เสนขอบเขตความดันดิน (Design pressure
envelopes) สําหรับการออกแบบ Braced cuts
ในทรายและในดิ นเหนีย ว แสดงผลการกระจาย
ความดันดินดานขางที่เกิดขึ้นจริง เปรียบเทียบกับ
คาที่คํานวณไดจากเสนขอบเขตความดันดิน จะเห็น
ไดวาความดันดินที่เกิดขึ้นจริงมีคาใกลเคียงกับคาที่
คํานวณไดจากเสนขอบเขตความดันของ Peck
6.4.3 Braced Cuts ในดินทราย

เสนขอบเขตความดันดินสําหรับ Braced cuts ในดินทราย ความดัน pa หาไดจากสมการดังตอไปนี้

pa = 0.65γ HKa

เมื่อ γ คือหนวยน้ําหนักของดิน H คือความสูงของดินขุด และ Ka


คือสัมประสิทธิ์ความดันดินดานขางของ Rankine ซึ่งเทากับ
tan2(45° - φ′ / 2)
6.4.4 Braced Cuts ในดินเหนียวออนและดินเหนียวแข็งปานกลาง

เสนขอบเขตความดันดินสําหรับดินเหนียวออนและดินเหนียวแข็งปานกลาง ซึ่งเหมาะสําหรับสภาวะที่
เมื่อ Su คือกําลังตานทานแรงเฉือนในสภาวะไมระบายน้ํา (Undrained shear strength)

ความดัน pa จะเปนคาที่มากกวาระหวาง
0.25H

pa = γ H − 4Su

pa = 0.3γ H
0.75H
pa
6.4.5 Braced cuts ในดินเหนียวแข็ง

เสนขอบเขตความดันดินดานขางของดินเหนียวแข็ง ซึ่งเสนขอบเขตนี้เหมาะสําหรับสภาพที่ γ H / Su ≤ 4.0

ความดัน pa คํานวณไดจาก

pa = 0.3γ H
6.4.6 ขอจํากัดสําหรับการใชเสนขอบเขตความดันดินของ Peck

เมื่อจะใชเสนขอบเขตความดันดินนี้ในการคํานวณ ควรพึ่งตระหนักวา
1) เสนขอบเขตความดันดินเหลานี้เหมาะสําหรับงานขุดที่มีความลึกมากกวา 6.0 เมตร
2) เสนขอบเขตความดันดินเหลานี้สรางขึ้นจากสมมติฐานที่วาระดับน้ําใตดินอยูต่ํากวาระดับขุด
3) สํ า หรั บ กรณี ข องงานขุ ด ในทราย พิ จ ารณาว า ทรายอยู ใ นสภาพระบายน้ํ า ได (Drained
condition) เพราะฉะนั้น ความดันน้ําสวนเกิน (Excess pore pressure) เทากับศูนย
4) สําหรับกรณีของงานขุดในดินเหนียว พิจารณาวาดินเหนียวอยูในสภาวะไมระบายน้ํา การวิเคราะห
จะตองใชพารามิเตอรกําลังรวม (Total strength parameters)
6.4.7 การออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts

1) ตัวค้ํายัน (Strut)
ในการกอสรางทั่วไป ตัวค้ํายันถูกติดตั้งใหมีระยะหางในแนวดิ่งอยางนอย 2.75 เมตร ตัวค้ํายันจะทํา
หนาที่เหมือนเสาในแนวนอนที่รับแรงอัด ความสามารถในการรับน้ําหนักจะขึ้นอยูกับอัตราสวนความชะลูด
(Slenderness ratio, l/r) สําหรับการกอสรางในดินเหนียว ตัวค้ํายันตัวแรกควรอยูที่ระยะต่ํากวาผิวดิน
นอยกวาโซนแรงดึง (Tension crack, z0) ซึ่งเทากับ 2Su / γ เพื่อปองกันแรงดันน้ําที่อาจจะเพิ่มขึ้นเมื่อ
มีน้ําขัง
6.4.7 การออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts

ขั้นตอนการออกแบบตัวค้ํายัน (Strut)สามารถกระทําดังนี้
1) วาดเสนขอบเขตความดันดินสําหรับ Braced cut พรอมทั้งแสดงตําแหนงของตัวค้ํายัน
6.4.7 การออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts

2) คํานวณหาแรงปฏิกิริยาที่กระทําตอตัวค้ํายัน โดย
พิจารณาเปนแบบคานยื่น (Cantilever beam)
สํ า หรั บ ตั ว ค้ํ า ยั น ตั ว บนสุ ด และตั ว ล า งสุ ด และ
พิจารณาเปนคานธรรมดา (Simple beam)
สําหรับตัวค้ํายันระหวางตัวบนสุดและตัวลางสุด
แรงปฏิกิริยาเหลานี้คือ A1, B1, B2, C1, C2,
และ D
6.4.7 การออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts

3) แรงกระทําในตัวค้ํายันสามารถหาไดดังนี้
FA = (A)(s)
FB = (B1 + B2)(s)
FC = (C1 + C2)(s)
FD = (D)(s)
เมื่อ FA, FB, FC, และ FD คือแรงที่กระทําตอตัวค้าํ ยันแตละตัวที่ระดับ A, B, C, และ D
ตามลําดับ และ s คือระยะหางในแนวนอนของตัวค้าํ ยัน

4) เมื่อทราบแรงที่กระทําตอตัวค้ํายันแตละตัวแลว ทําการเลือกหนาตัดของตัวค้ํายันตามมาตรฐาน
การออกแบบโครงสรางเหล็ก
6.4.7 การออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts

2) เข็มพืด
ขั้นตอนตอไปนี้จะเปนขั้นตอนการออกแบบเข็มพืด
1) สําหรับแตละชิ้นสวนคํานวณหาคาโมเมนตดัด (Bending moment) สูงสุด
2) หาคาโมดูลัสหนาตัดยอมให (Allowable section modulus, Z ) ของเข็มพืดที่ตองการจาก

Z=M
σ
max
all

เมื่อ Mmax คือโมเมนตดัดสูงสุด (Maximum bending moment) และσall คือความเคน


ยอมใหของวัสดุที่ใชทําเข็มพืด
3) เลือกเข็มพืดที่มีคาโมดูลัสหนาตัดมากกวาหรือเทากับคาโมดูลัสหนาตัดยอมให
6.4.7 การออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts

3) Wales
Wales อาจถูกพิจารณาเปนชิ้นสวนที่ตอเนื่อง โมเมนตดัดสูงสุดที่กระทําตอ Wales (โดยการสมมติ
วา Wales ยึดติดกับตัวค้ํายัน) คือ

A⎞⎟ ( s )


2
B1 + B2 ⎞⎟ s2

ที่ระดับ A: M max = ⎠⎝ ที่ระดับ B: M max = ⎝
8

8

D ⎞⎟ ( s )
⎛ 2
C1 + C2 ⎞⎟ s2



ที่ระดับ C: M max = ⎝ ⎠ ที่ระดับ D: M max = ⎠⎝
8 8

เมื่อไดโมเมนตดัดสูงสุดที่กระทําตอ Wales แตละระดับแลว ทําการเลือก Wales ที่มีโมดูลัสหนาตัด


ใหญกวาหรือเทากับ
Z=M
σ
max
all
6.4.8 การออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts

อัตราสวนปลอดภัยตานการอูดบวม (Heave) ที่ระดับดินขุด (Excavation) ควรมีคาไมนอยกวา


1.20 สําหรับระบบ Braced cut ที่มีความลึกกนบอมากเมื่อเปรียบเทียบกับความกวางกนบอ Terzaghi
(1943) ไดวิเคราะหลักษณะการอูดบวมของดินใตระดับดินขุด โดยสมมติระนาบวิบัติ น้ําหนักในแนวดิ่งตอ
ความกวาง 1 หนวย ที่ฐานของดินขุดตลอดแนว bd และ af คือ

Q = qB1 + γ HB1 − Su H

เมื่อ B1 = 0.7B และ Su คือกําลังตานทาน


แรงเฉือนของดินเหนียว (φ = 0)
6.4.8 การออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts

น้ําหนัก Q อาจถูกพิจารณาวาเปนน้ําหนักตอความกวาง 1 หนวย บนฐานรากที่ยาวตอเนื่องที่ระดับ bd


และ af และมีความกวางของฐาน (B1) เทากับ 0.7B โดยอาศัยทฤษฎีกําลังรับแรงแบกทานของ Terzaghi
กําลังรับแรงแบกทานตอความกวาง 1 หนวย ของฐานรากคือ

Qu = Su Nc B1 = 5.7Su B1

ดังนั้น อัตราสวนปลอดภัยตานการอูดบวมของดินใตระดับดินขุดคือ

5.7Su B1
FS = Qu = = 4.0Su B
Q qB1 + γ HB1 − Su H 0.7qB + 0.7γ HB − Su H
6.4.8 การออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts

อัตราสวนปลอดภัยที่คํานวณไดนี้ตั้งอยูบนสมมติฐานที่วาชั้นดินเหนียวมีความสม่ําเสมอตลอดชวง
0.7B ใตระดับดินขุด ถาพบชั้นดินแข็งที่ระดับความลึก D จากระดับดินขุด โดยที่ระยะ D มีคานอยกวา
0.7B อัตราสวนปลอดภัยจะกลายเปน

FS = 5.7Su D
qD + γ HD − Su H

Bjerrum and Eide (1956) ไดศึกษาปญหาการอูดบวมของดินเหนียวใตระดับดินขุด และเสนอ


อัตราสวนปลอดภัยดังนี้
FS = Su Nc
γ H +q
6.4.8 การออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts

ตัวแปรกําลังรับแรงแบกทาน (Bearing capacity factor, Nc) จะมีคาแปรผันตามอัตราสวนของ


H/B และ L/B เมื่อ L คือความยาวของดินขุด (Length of the cut)
6.4.8 การออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts

ในระบบ Braced cuts ที่กนบอมีความกวางมาก ดังเชน อาคารจอดรถใตดิน การตรวจสอบ


อัตราสวนปลอดภัยตานการอูดบวมที่ระยะปลายเข็มพืดสามารถคํานวณโดยการสมมติระนาบการวิบัติดัง
แสดงในรูป น้ําหนักของดินในสวน abcd จะเปนแรงที่ทําใหเกิดการอูดบวม ในขณะที่ แรงตานทาน S จะ
พัฒนาขึ้นเพื่อตานการเคลื่อนตัว
B1 = D1

q
a d a d

H Scd

Soft clay HB1

Excavation
b c b c
level

D1 D1
Sce
e e

2Su
Strong soil
6.4.8 การออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts

q พิ จ ารณาแผนภาพอิ ส ระ น้ํ า หนั ก ดิ น ภายในพื้ น ที่ abcd และ


d
น้ําหนักบรรทุกบนผิวดิน (Surcharge, q) ถูกตานรับโดยแรงตานทาน
a

S ตามระนาบ cd และ ce (Scd และ Sce) และแรงตานทานที่สภาวะ


Scd Passive บนระนาบ be
HB1 แรงตานทานบนระนาบ cd และ ce คํานวณไดดังนี้
b c
π Su B1
S = Su H + − Su z0
2

e
Sce เมื่อ z0 คือโซนแรงดึง ซึ่งมีคาเทากับ 2Su/γ
2Su
6.4.8 การออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts

q ในที่นี้จะพบวา σv มีคาเทากับศูนย เนื่องจากไมมีน้ําหนักกดทับ


d
ในบอเหนือระดับปลายเข็มพืด ความตานทานรวมที่สภาวะ Passive
a

(Total passive earth pressure) สามารถคํานวณไดจาก


Scd
σ p = 2Su
HB1

b
อัตราสวนปลอดภัยตานการอูดบวมสามารถคํานวณไดโดยการ
c
พิจารณาสมดุลการหมุนรอบจุด b

Sce 2Su B1 + 2Su ⎛⎜ H − 2Su / γ ⎞⎟ + π Su B1


e FS = ⎝ ⎠

⎜ γ H + q ⎞⎟ B1
2Su ⎝ ⎠
6.4.8 การออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts

ถาคํานวณแลวพบวาอัตราสวนปลอดภัยตานการอูดบวมมีคาต่ํากวา 1.20 ผูออกแบบควรทําการ


ฝงเข็มพืดใหลึกลงอีก โดยระยะฝง (D2) ควรมีคาไมนอยกวา (2/3)D1 ดังแสดงในรูป
6.4.8 การออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts

อัตราสวนปลอดภัยตานการอูดบวมของระบบ Braced cuts ในชั้นดินที่มีหลายชั้นสามารถคํานวณ


ไดเชนเดียวกับสมการ
2Su B1 + 2Su ⎜ H − 2Su / γ ⎟ + π Su B1
⎛ ⎞

FS = ⎝ ⎠

⎜ γ H + q ⎞⎟ B1
⎝ ⎠

เพียงแตความดันดินที่สภาวะ Passive ภายในบอขุดบนระนาบ be จะมีคาเพิ่มขึ้นเปน 2Su + γD2


ดังนั้น อัตราสวนปลอดภัยสามารถคํานวณไดดังนี้

2Su ⎛⎜ D1 − D2 ⎞⎟ + 2Su ⎛⎜ H + D2 − 2Su / γ ⎞⎟ + π Su ⎛⎜ D1 − D2 ⎞⎟


FS = ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠

⎜ γ H + q ⎞⎟ ⎛⎜ D1 − D2 ⎞⎟
⎝ ⎠⎝ ⎠
6.4.9 เสถียรภาพทีร
่ ะดับดินขุดในทราย

งานดินขุดในชั้นทรายมีเสถียรภาพที่ระดับดินขุด
(Bottom of excavation) สูง เมื่อระดับน้ําดานดิน
ขุดอยูสูงกวาระดับน้ําใตดิน แตถามีการสูบน้ําออกจาก
บริเวณดินขุด (Dewatering) อัตราสวนปลอดภัยจะมี
คาลดลง และจําเปนตองตรวจสอบอัตราสวนปลอดภัย
ตานการเกิดทอกลวง (Piping) หรือทรายเดือด
(Boiling) ซึ่งทําโดยการวาดตาขายการไหลเพื่อหาคา
ความลาดเชิงชลศาสตรสูงสุด (iext(max)) ที่เกิดขึ้นที่จุด
A และ B
6.4.9 เสถียรภาพทีร
่ ะดับดินขุดในทราย

การหาคาความลาดเชิงชลศาสตรสูงสุด มีคาเทากับ
h
Nd
iext(max) = a = h
Nd a
เมื่อ a คือความยาวของชิ้นสวนการไหล (Flow element) ที่จุด A หรือจุด B และ Nd คือจํานวนเสนสมะ
ศักยทั้งหมด
6.4.9 เสถียรภาพทีร
่ ะดับดินขุดในทราย

อัตราสวนปลอดภัยตานการเกิดทอกลวงคือ

FS = ic
iext (max)

เมื่อ ic คือความลาดเชิงชลศาสตรวิกฤติ (Critical hydraulic gradient) ซึ่งดินสวนใหญมีคา ic


อยูระหวาง 0.8 ถึง 1.1
6.4.9 เสถียรภาพทีร
่ ะดับดินขุดในทราย

อัตราสวนปลอดภัยตานทานการเกิดทอกลวงควรมีคาอยางนอย 1.5 โดยมีขั้นตอนดังนี้


1) หาคาโมดูลัส (m) จากคาของ 2L2/B
1.0
2L1 15 12 8 4 2
= 20 1
B
0.5
0.8 0

0.6
B
2L2
0.4

0.2

0
0.02 0.04 0.06 0.08 0.10
Modulus, m
(b)
6.4.9 เสถียรภาพทีร
่ ะดับดินขุดในทราย

2) จากคาโมดูลัสและ 2L1/B หาคา (L2iext(max))/h


3) จากคา L2 และ h ที่ทราบ หาคา iext(max)
4) คํานวณหาอัตราสวนปลอดภัยจากสมการ FS = i ic
ext (max)
0.70 0.6

0.65 0.5

0.60 0.4
2L1 2L1
=
B =0
0.55 0.3 B
0

0.5 0.2 0.5


0.50
1
1
2 16 8 2
0.45 0.1
8 4 4
12 20 12
16
20
0.40 0
0.2 0.4 0.6 0.8 1.0 1.2
0 0.02 0.04 0.06 0.08 0.10 0.12
Modulus, m Modulus, m
(a) (b)
6.4.9 เสถียรภาพทีร
่ ะดับดินขุดในทราย

ชัยและคาซูโตะ (2546) เสนอวา ในทางปฏิบัติ อาจประมาณระยะฝงของเข็มพืดเหล็กในดินไดจาก


สมการตอไปนี้
1 ⎛
FS × h
d ≥ ⎜ γ − H ⎟⎟

1) เมื่อระดับน้ําใตดินสูงกวาระดับพื้นดิน ⎜
2 ⎜⎝ ′ ⎟

⎛ ⎞
2) เมื่อระดับน้ําใตดินต่ํากวาระดับพื้นดิน h FS
d ≥ ⎜ γ −1⎟⎟

2 ⎜⎝ ′ ⎟⎠
ตัวอยางที่ 6.1
ขอมูล
1) กําแพงกันดินดังแสดงในรูป ถูกสรางจากคอนกรีตที่มีหนวยน้ําหนักเทากับ 24 กิโลนิวตันตอลูกบาศกเมตร
2) ดินเม็ดหยาบหลังกําแพงกันดินมีหนวยน้ําหนักเทากับ 19 กิโลนิวตันตอลูกบาศกเมตร และพารามิเตอร
กําลังตานทานแรงเฉือนดังนี้ c′ = 0 และ φ′ = 30°
3) สัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหวางกําแพงกัน
ดินกับดินใตฐานรากเทากับ 0.55
4) ดินใตฐานรากเปนดินทรายที่มีหนวยน้ําหนัก
เทากับ 20 กิโลนิวตันตอลูกบาศกเมตร และ
มุมเสียดทานภายในเทากับ 35 องศา ระดับ
น้ําใตดินอยูต่ํามาก
ตัวอยางที่ 6.1
จงตรวจสอบเสถียรภาพของกําแพงกันดินนี้ โดยพิจารณาอัตราสวนปลอดภัยตาน
ก) การลื่นไถล (Sliding)
ข) การพลิกคว่ํา (Overturning)
ค) การวิบัติเนื่องจากกําลังรับแรงแบกทาน (Bearing capacity failure) พรอมทั้งคํานวณการ
กระจายความดันดินใตฐานกําแพงกันดิน
วิธีทํา ความดันดานขางที่สภาวะ Active ดานหลังของกําแพงกันดิน คํานวณไดดังนี้

Pa = 1 γ H 2 cos β cos β − cos β − cos φ′


2 2
2 cos β + cos2 β − cos2φ′
ตัวอยางที่ 6.1

H = BC = 6.0 + 0.6tan15°= 6.16 เมตร

Pa′ = 1 ×19.0× 6.162 × cos15° cos15°− cos 15°− cos 30°


2 2
2 cos15°+ cos215°− cos2 30°
Pa = Pa′ =134.4 กิโลนิวตันตอเมตร
ตัวอยางที่ 6.1
แรงในแนวนอนเนื่องจากแรงดันดานขางรวม
Ph = Pa cos15°=134.4cos15°=129.8 กิโลนิวตันตอเมตร
แรงในแนวดิ่งเนื่องจากแรงดันดานขาง
Pv = Pa sin15°=134.1sin15°= 34.7 กิโลนิวตันตอเมตร
สวนประกอบ น้ําหนักของสวนประกอบของแรง แขนของโมเมนตวัดจากจุด A โมเมนตตานทานการพลิกคว่ํา
ของแรง (กิโลนิวตันตอเมตร) (เมตร) (กิโลนิวตัน- เมตร/เมตร)
1 (24)(0.5)(1.2)(6) = 86.4 (2/3)(1.2) = 0.8 69.1
2 (24)(1.2)(6) = 172.8 1.2 + 1.2/2 = 1.8 311.0
3 (24)(0.5)(0.6)(6) = 43.2 1.2 + 1.2 + (1/3)(0.6) = 2.6 112.3
4 (19)(0.5)(6.16)(0.6) = 35.1 1.2 + 1.2 + (2/3)(0.6) = 2.8 98.3
Pv 34.7 1.2 + 1.2 + 0.6 = 3.0 104.4
372.3 695.1

โมเมนตทกี่ ระทําใหเกิดการพลิกคว่ํา (M0) = (129.8)(2.05) = 266.1 กิโลนิวตัน-เมตรตอเมตร


ตัวอยางที่ 6.1
ก) อัตราสวนปลอดภัยตานการลื่นไถล

FSs = Sliding resistance


Sliding force
μ ∑V 0.55× 372.3
FSS =
Ph
= =1.57 >1.50 (O.K.)
129.8

ข) อัตราสวนปลอดภัยตานการพลิกคว่ํา
FSo = Resisting moment
Overturing moment

FSo = 695.1 = 2.61>1.50 (O.K.)


266.1
ตัวอยางที่ 6.1
ค) อัตราสวนปลอดภัยตานการวิบัติเนื่องจากกําลังรับแรงแบกทาน (Bearing capacity failure) และการ
กระจายความดันดินใตฐานกําแพงกันดิน
ตําแหนงของแรงลัพธ R ที่วัดจากจุด A

x=∑
M A ∑Mr − ∑Mo
=
∑V ∑V

x = 695.1− 266.1 =1.15


372.3

e = 1.2 +1.2 + 0.6 −1.15 = 0.35 < B (= 0.5) (O.K.)


2 6
ตัวอยางที่ 6.1
ความเคนที่เกิดขึ้นทีฐ่ านของกําแพงกันดินสามารถหาไดดังนี้
M yx
σ = R ± Mxy ±
A Ix Iy

เมื่อ R = แรงลัพธในแนวดิง่ = 372.3 กิโลนิวตัน


A = พื้นที่หนาตัดของฐานกําแพง = (1)(3) = 3 ตารางเมตร
Mx = 0
My = R × e = (372.3)(0.35) = 130.3 กิโลนิวตัน-เมตร
x = 3 =1.5 เมตร
2
I y = bh = 1×3 = 2.25
3 3
12 12
เมตร 4
σ = 372.3 ± 130.3×1.5
3 2.25
σ left =124.1+ 86.7 = 210.8 กิโลนิวตันตอตารางเมตร
σ right =124.1+ 86.7 = 37.4 กิโลนิวตันตอตารางเมตร
ตัวอยางที่ 6.1
ความกวางประสิทธิผลมีคา เทากับ 3.0 - 2(0.35) = 2.3 เมตร
ตัวแปรกําลังรับแรงแบกทานของ Vesic
π tan⎜⎜⎜35°⎟⎟⎟
⎛ ⎞

tan2 ⎜ 45°+ 35° ⎟ = 33.30


⎛ ⎞
Nq = e ⎝ ⎠
⎜ ⎟


2 ⎟

Nγ = 2 ⎛⎜ 33.30 +1⎞⎟ tan35°= 48.03


⎝ ⎠

กําลังรับแรงแบกทานประลัยสุทธิของดินฐานรากเทากับ
qu(net ) = q′⎛⎜ Nq −1⎞⎟ + 1 γ ′B′Nγ
⎝ ⎠ 2

qu(net ) = 1 × 20.0× 2.3× 48.03 =1104.7 กิโลปาสคาล


2
ตัวอยางที่ 6.1

แรงแบกทานประลัยสุทธิเทากับ
Qu =1104.7 × 2.3 = 2540.7 กิโลนิวตันตอตารางเมตร

อัตราสวนปลอดภัยตานการวิบตั ิเนื่องจากกําลังรับแรงแบกทานมีคาเทากับ

FS = 2540.7 = 6.82 > 3.0 (O.K.)


372.0
ตัวอยางที่ 6.2

จากรูป จงคํานวณหาความดันที่กระทําใตฐานของกําแพง
กั น ดิ น อั ต ราส ว นปลอดภั ย ต า นการพลิ ก คว่ํ า และ
อัตราสวนปลอดภัยตานการลื่นไถล เมื่อหนวยน้ําหนักของ
วัสดุที่ใชทํากําแพงกันดินมีคาเทากับ 23.5 กิโลนิวตันตอ
ลูกบาศกเมตร หนวยน้ําหนักของดินถมมีคาเทากับ 18
กิโลนิวตันตอลูกบาศกเมตร พารามิเตอรกําลังประสิทธิผล
มีคาดังนี้ c′ = 0 และ φ′= 38° มุมเสียดทานระหวาง
กําแพงกันดินกับดินถม และระหวางกําแพงกันดินกับดิน
ใตกําแพงกันดินมีคาเทากับ 25°
ตัวอยางที่ 6.2
วิธีทํา เนื่องจากดานหลังของกําแพงกันดินและระดับของดินถมทํามุมเอียง Ka จะตองหาจากทฤษฎีของ
Coulomb โดย α = 180° - 100° = 80°, φ = 38°, δ = 25°, และ β = 20° ดังนั้น
sin 2 ⎛⎜α + φ ⎞⎟
Ka = ⎝ ⎠
2
⎡ ⎤

⎞⎢
sin φ + δ sin φ − β






⎞ ⎥
⎟ ⎥
sin 2α sin ⎛⎜α − δ ⎟⎢1+ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎥
⎝ ⎠⎢
⎢ sin α −δ sin α + β






⎞⎥
⎟⎥
⎢⎣ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎥

sin 2 ⎛⎜80°+ 38°⎞⎟


Ka = ⎝ ⎠
2
= 0.39
⎡ ⎤

⎞⎢
sin 38°+ 25° sin 38°− 20°






⎞⎥
⎟⎥
sin 2 80°sin ⎛⎜80°− 25° ⎟⎢ 1+ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎥
⎝ ⎠⎢
⎢ sin 80°− 25° sin 80°+ 20°






⎞⎥
⎟⎥
⎢⎣ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎥

Pa = 1 × 0.39×18× 62 =126 กิ โ ลนิ ว ตั น ต อ เมตร กระทํ า ที่ ร ะยะหนึ่ ง ในสามของ


2
ความสูง และทํามุม 25° ตั้งฉากกับผิวของกําแพงกันดิน หรือ 35° กับแนวนอน
ตัวอยางที่ 6.2
พิจารณาโมเมนตรอบจุด Toe ของกําแพงกันดิน

แรงตอความกวาง 1 เมตร (กิโลนิวตัน) แขนของโมเมนต โมเมนตตอความกวาง 1 เมตร (กิโลนิว


(เมตร) ตัน-เมตร)
แรงในแนวนอน
Pa cos 35o = 103.2 2.0 M0 = 206.4
แรงในแนวดิ่ง
Pa sin 35o = 72.3 2.40 173.5
(1) (0.5)(1.05)(6)(23.5) = 74.0 2.05 151.7
(2) (0.70)(6.0)(23.5) = 98.7 1.35 133.2
(3) (0.5)(0.5)(5.25)(23.5) = 30.8 0.83 25.6
(4) (1)(0.75)(23.5) = 17.6 0.50 8.8
∑V = 293.4 ∑ M r = 492.8
ตัวอยางที่ 6.2
ระยะเยื้องศูนยเนื่องจากโมเมนตที่กระทําบนฐานของกําแพงกันดินเทากับ

e = 2.75 − 492.8 − 206.4 = 0.40 เมตร < B = 2.75 = 0.46 เมตร (O.K.)
2 293.4 6 6

ความดันทีม่ ากที่สุดและนอยที่สุดที่เกิดใตฐานของกําแพงกันดินเทากับ

q = ∑ ⎜⎜1± 6e ⎟⎟
V⎛ ⎞

B ⎜⎝ B ⎟⎠

q = 293.4 ⎛⎜1± 0.87 ⎞⎟


2.75 ⎝ ⎠

q = 200 และ 14 กิโลนิวตันตอตารางเมตร


ตัวอยางที่ 6.2
อัตราสวนปลอดภัยตานทานการพลิกคว่ําเทากับ
FSo = ∑ r
M
Mo
FSo = 492.8
206.4
FSo = 2.39

อัตราสวนปลอดภัยตานทานการลื่นไถลเทากับ
V tanδ
FSs = ∑
Ph

FSs = 293.4tan25°
103.2
FSs =1.33
ตัวอยางที่ 6.3
จงตรวจสอบเสถียรภาพของกําแพงกันดินดังแสดงในรูป ตาน (ก) การลื่นไถล และ (ข) การพลิกคว่ํา โดย
ใชทฤษฎีของ Rankine
0.5 m C C

Sand
= 18 kN/m3
’ = 30o W2

= 24 kN/m3
1.0 m
W4 87.8 kN/m
D D
Sand W1
2.0 m
= 20 kN/m3 ’ = 40o, 103.5 kN/m
= 30o 0.5 m A W3
A B x1 B
3.5 m x2 x1 = 0.5 m
x3 x2 = 1.25 m
x4 x3 = 1.75 m
x4 = 2.5 m

(a) Cantilever wall (b) Forces on cantilever wall


ตัวอยางที่ 6.3
วิธีทํา สัมประสิทธิ์แรงดันดินที่สภาวะ Active บนระนาบ BC มีคาเทากับ
= tan2 ⎜ 45°− 30° ⎟ = 0.333
⎛ ⎞
Ka ⎜ ⎟


2 ⎟

แรงดันดินที่สภาวะ Active เทากับ


2
1
Pa = ⎜ 0.333⎟⎜18.0⎟⎜ 6.0⎟ =107.9
⎛ ⎞⎛ ⎞⎛ ⎞
กิโลนิวตันตอเมตร
2⎝ ⎠⎝ ⎠⎝ ⎠

กระทําที่ระยะเทากับ 6/3 = 2 เมตร จากฐานกําแพงกันดิน


สัมประสิทธิ์แรงดันดินที่สภาวะ Passive บนระนาบ DA มีคาเทากับ
= tan2 ⎜ 45°+ 40° ⎟ = 4.599
⎛ ⎞
Kp ⎜ ⎟


2 ⎟

แรงดันดินที่สภาวะ Passive เทากับ


2
1
Pp = ⎜ 4.599⎟⎜ 20.0⎟⎜1.5⎟ =103.5
⎛ ⎞⎛ ⎞⎛ ⎞
กิโลนิวตันตอเมตร
2⎝ ⎠⎝ ⎠⎝ ⎠

กระทําที่ระยะเทากับ 1.5/3 = 0.5 เมตร จากฐานกําแพงกันดิน


ตัวอยางที่ 6.3
ก) อัตราสวนปลอดภัยตานการลื่นไถล
น้ําหนักบรรทุกที่กระทําบนฐานรากมีคา ดังนี้
W1 =1.0×1.0× 20.0 = 20.0 กิโลนิวตันตอเมตร
W2 = 0.5× 5.5× 24.0 = 66.0 กิโลนิวตันตอเมตร
W3 = 0.5× 3.5× 24.0 = 42.0 กิโลนิวตันตอเมตร
W4 = 2.0× 5.5×18.0 =198.0 กิโลนิวตันตอเมตร
แรงเสียดทานใตฐานรากเทากับ
S = ⎛⎜ 20.0 + 42.0 + 66.0 +198.0 ⎞⎟ × tan35°= 228.3 กิโลนิวตันตอเมตร
⎝ ⎠

อัตราสวนปลอดภัยตานการลื่นไถลเทากับ
FSS = 228.3 = 2.60 >1.5 (O.K.)
87.8
ตัวอยางที่ 6.3
ข) อัตราสวนปลอดภัยตานการพลิกคว่ํา
โมเมนตทกี่ อใหเกิดการพลิกคว่ําเทากับ
M 0 = Pa × H = 87.8× 6 =175.6 กิโลนิวตัน-เมตรตอเมตร
3 3
โมเมนตตา นการพลิกคว่ําเทากับ
M r =W1x1 +W2 x2 +W3x3 +W4 x4 + Pp × AD
3
M r = ⎛⎜ 20.0× 0.5⎞⎟ + ⎛⎜ 66.0×1.25⎞⎟ + ⎛⎜ 42.0×1.75⎞⎟ + ⎛⎜198.0× 2.5⎞⎟ + ⎛⎜103.5× 0.5⎞⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠

M r = 862.7 กิโลนิวตัน-เมตรตอเมตร
อัตราสวนปลอดภัยตานการพลิกคว่ําเทากับ
FSO = 862.7 = 4.91>1.5 (O.K.)
175.6
ตัวอยางที่ 6.4
จากรูป จงคํานวณหาระยะฝงยึด (d) และความยาวของเข็มพืดที่ตองการ เพื่อใหไดอัตราสวนปลอดภัย
เทากับ 2.0
ตัวอยางที่ 6.4
= tan2 ⎜ 45°− 35° ⎟ = 0.271
⎛ ⎞
วิธีทํา Ka ⎜ ⎟ K p = 1 = 3.690


2 ⎟

0.271
การกระจายความดันดินดานขางในสภาวะ Active
ความลึก σ′v Ka σ′a = Ka σ′v
(เมตร) (กิโลปาสคาล) (กิโลปาสคาล)
0 0 0.271 0
4.27 18.1 × 4.27 = 77.28 0.271 20.94
(4.27 + d) 77.28 + (20 - 9.81) d 0.271 20.94 + 2.76d
= 77.28 + 10.19d

การกระจายความดันดินดานขางในสภาวะ Passive
ความลึก σ′v Kp σ′p= Kp σ′v
(เมตร) (กิโลปาสคาล) (กิโลปาสคาล)
4.27 0 3.69 0
(4.27 + d) (20 - 9.81)d/2 = 5.09d 3.69 18.8d
ตัวอยางที่ 6.4
ตัวอยางที่ 6.4
เนื่องจากระดับน้ําใตดินที่ดานหนาและหลังเข็มพืดอยูที่ระดับเดียวกัน จึงไมจําเปนตองพิจารณาแรงดัน
น้ําในการคํานวณสมดุลรอบจุด O แรงและแขนของโมเมนตรอบจุดปลายของเข็มพืดแสดงดังตาราง

แรงและแขนของโมเมนตรอบจุด O
แรง (กิโลนิวตันตอเมตร) แขนของโมเมนตรอบจุด O (เมตร)

P1 = 0.5 × 20.94 × 4.27 = 44.71 d + (4.27/3)

P2 = 20.94d d/2

P3 = 0.5 × 2.76d × d = 1.38d2 d/3

P4 = 0.5 × 18.78d × d = 9.39d2 d/3


ตัวอยางที่ 6.4

+ Σ MO = 0
⎛ ⎛ ⎞
⎞⎟ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞
⎜ 4.27 d d d
⎜ 44.71× d +

⎜ ⎟ ⎟⎟ + ⎜ 20.94d × ⎟ + ⎜1.38d × ⎟ − ⎜ 9.39d × ⎟ = 0
⎟ ⎜ ⎟ ⎜ 2 ⎟ ⎜ 2 ⎟

⎜ ⎜

3 ⎟⎠ ⎟ ⎜⎝ 2 ⎟⎠ ⎜⎝ 3 ⎟⎠ ⎜⎝ 3 ⎟⎠
⎝ ⎠

−2.67d 3 +10.47d 2 + 44.71d + 63.64 = 0

d = 6.87 เมตร
ดังนั้น ระยะฝงที่ตองการคือ 1.2× 6.87 = 8.24 เมตร
ความยาวทั้งหมดของเข็มพืด คือ 8.24 + 4.27 =12.51 เมตร
เลือกใชเข็มพืดยาว 12.50 เมตร
ตัวอยางที่ 6.5
กําแพงกันดินตัวหนึ่งถูกสรางโดยใชเข็มพืดแบบ Anchored sheet pile ดังแสดงในรูป หนวยน้ําหนัก
ของดิ น เหนื อ และใต ร ะดั บ น้ํ า ใต ดิ น มี ค า เท า กั บ 17 และ 20 กิ โ ลนิ ว ตั น ต อ ลู ก บาศก เ มตร ตามลํ า ดั บ
พารามิเตอรกําลังประสิทธิผลมีคาดังนี้ c′ = 0 และ φ′= 36° จงหาระยะฝงของเข็มพืดเพื่อใหได
อัตราสวนปลอดภัยสําหรับแรงตานทานที่สภาวะ Passive เทากับ 2.0 และหาแรงในเคเบิล ถาระยะหาง
ระหวางเคเบิลในแนวนอนเทากับ 2 เมตร
ตัวอยางที่ 6.5
วิธีทํา สําหรับ φ′ = 36°
Ka = tan 2 ⎜⎜ 45 − 36° ⎟⎟ = 0.26 K p = tan 2 ⎜⎜ 45 + 36° ⎟⎟ = 3.85
⎛ ⎞ ⎛ ⎞



2 ⎟⎠ ⎜

2 ⎟⎠

จากรูปการกระจายความดันดานขาง เนื่องจากระดับน้ําใตดินทางดานหนาและหลังเข็มพืดอยูที่ระดับ
เดียวกัน ดังนั้นไมจําเปนตองคํานึงถึงผลของระดับน้ําใตดิน ขั้นตอนการคํานวณคือพิจารณาผลรวม
ของโมเมนตรอบจุด A เทากับ 0 แรงและแขนของโมเมนตตางๆ แสดงในตาราง
แรงตอความยาว 1 เมตร (กิโลนิวตัน) แขนของโมเมนต (เมตร)

(1) 0.5 × 0.26 × 17 × 6.42 = 90.5 2.77

(2) 0.26 × 17 × 6.4 × (d + 2.4) = 28.3d + 67.9 d/2 + 6.1

(3) 0.5 × 0.26 × 10.2 × (d + 2.4)2 = 1.33d2 + 6.36d + 7.64 2d/3 + 6.5

(4) (-0.5 × 3.85 × 10.2 × d2)/FS = - 9.82d2 2d/3 + 7.3

Tie = -T 0
ตัวอยางที่ 6.5
โดยการพิจารณาผลรวมโมเมนตรอบจุด A เทากับ 0 จะได
−5.66d 3 − 44.7d 2 + 253.0d + 714.2 = 0

d 3 + 7.9d 2 − 44.7d =126.3


d = 5.24 เมตร
ดังนั้น ระยะฝงที่ตองการคือ 1.2d = 6.29 เมตร
แรงดึงในสายเคเบิลคํานวณหาโดยใชหลักการสมดุลของแรงลัพธในแนวนอน ดังนี้
90.5 + 216.2 + 77.5 − 269.6 − T = 0

T =144.6 กิโลนิวตัน
ดังนั้น แรงในแตละเคเบิลเทากับ 2 × 144.6 = 289 กิโลนิวตัน
ตัวอยางที่ 6.6

จงออกแบบความยาวของเข็มพืดสําหรับกําแพงเข็มแบบสมอยึด (Anchored Sheet Pile) ดังรูป


กําหนดใหใชอัตราสวนปลอดภัยเทากับ 2.0 สําหรับความดันที่สภาวะ Passive
วิธีทํา
⎛ ⎞
ดิน 1 Ka = tan 2 ⎜⎜ 45°− 30° ⎟⎟ = 0.333


2 ⎟

= tan 2 ⎜ 45°− 40° ⎟ = 0.217


⎛ ⎞
ดิน 2 Ka ⎜ ⎟


2 ⎟

Kp = 1 = 4.608
0.217
ตัวอยางที่ 6.6

การกระจายความดันดินที่สภาวะ Active
ความลึก σv u σ′v Ka σ′a= Ka σ′v
(เมตร) (กิโลปาสคาล) (กิโลปาสคาล) (กิโลปาสคาล) (กิโลปาสคาล)
0 0 0 0 0.33 0
-1 17 0 17 0.33 5.61
-7 17 + (20 × 6) = 137 9.81 × 6 = 58.9 78.1 0.33 25.78
+7 137 58.9 78.1 0.22 17.19
-(7 + d) 137 + 20d 9.81 × (6 + d) 78.1 + 10.19d 0.22 17.19 + 2.24d
= 58.9 + 9.81d

การกระจายความดันที่สภาวะ Passive
ความลึก σv u σ′v Kp σ′p = Kpσ′v
(เมตร) (กิโลปาสคาล) (กิโลปาสคาล) (กิโลปาสคาล) (กิโลปาสคาล)
d 20d + (9.81 × 6) 9.81 × (6 + d) 10.19d 4.6/FS 23.46d
= 20d + 58.86 = 9.81d + 58.86 = 4.6/2 = 2.3
ตัวอยางที่ 6.6

จากผลการคํานวณการกระจายความดันประสิทธิผลที่สภาวะ Active และ Passive ลักษณะการกระจาย


ความดันประสิทธิผลดานหนาและหลังเข็มพืดสามารถสรุปไดดังรูป
ตัวอยางที่ 6.6
เนื่องจากระดับน้ําใตดินทั้งดานหนาและดานหลังเข็มพืดอยูที่ระดับเดียวกัน ดังนั้น จึงไมแสดงการ
กระจายของความดันน้ําในแผนภาพอิสระ แรงที่กระทําตอเข็มพืด และแขนของโมเมนตรอบจุด Tie rod
สามารถแสดงไดดังนี้
แรงทีก่ ระทําตอเข็มพืด (กิโลนิวตันตอเมตร) แขนของโมเมนตวัดจากระดับ Tie Rod (เมตร)
P1 = 0.5 × 5.61 × 1 = 2.81 -0.33
P2 = 5.61 × 6 = 33.66 3
P3 = 0.5 × (25.78 - 5.61) × 6 = 60.49 (2/3) ×6 = 4
P4 = 17.19d 6 + d/2 = 6 + 0.5d
P5 = 0.5 × (17.2 + 2.24d - 17.2) × d = 1.12d2 6 + 2d/3 = 6 + 0.67d
P6 = -0.5 × 23.46d × d = -11.73d2 6 + 2d/3 = 6 + 0.67d
Tie Rod = -T 0
ตัวอยางที่ 6.6

+ Σ MO = 0
⎡ ⎡⎛ ⎤
⎛ ⎞ ⎤⎥ ⎞

⎜ −2.81× 0.33 + 33.66× 3 + 60.49× 4 + 17.19d × 6 + 0.5d +









⎟ ⎢

⎜ ⎟
⎢⎜
⎢⎜
1.12d 2 ⎟ × ⎛⎜ 6 + 0.67d ⎞⎟⎥
⎟ ⎥
⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎣ ⎝ ⎠ ⎥⎦ ⎢⎣⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎥

⎡⎛ ⎞ ⎤
+ ⎢⎜
⎢⎜
−11.73d 2 ⎟ × ⎛⎜ 6 + 0.67d ⎞⎟⎥ = 0
⎟ ⎥
⎝ ⎠⎥
⎣⎢⎝ ⎠ ⎦

−0.93 +100.98 + 242.4 +103.2d + 8.6d 2 + 6.72d 2 + 0.75d 3 − 70.38d 2 − 7.86d 3 = 0

7.11d 3 + 55.06d 2 −103.2d − 342.45 = 0

d 3 + 7.74d 2 −14.51d − 48.17 = 0

d = 2.91 เมตร จากระดับดินขุด


ดังนั้น ความยาวเข็มพืดที่ตองการเทากับ = ⎛⎜1.2× 2.91⎞⎟ + 7 =10.5 เมตร
⎝ ⎠
ตัวอยางที่ 6.7

ระบบ Braced Cuts ในรูป เปนชั้นดินเหนียว


ออนถึงแข็งปานกลาง ระยะหางระหวางค้ํายัน
เทากั บ 4.0 เมตร ศู นยกลางถึงศูนยกลาง จง
คํานวณหาแรงที่กระทําตอตัวค้ํายัน A, B และ
C และอัตราสวนปลอดภัยตานการอูดบวม เมื่อ
ความยาวของค้ํายันมีคานอยเมื่อเปรียบเทียบกับ
ความลึกของระดับดินขุด
ตัวอยางที่ 6.7
วิธีทํา โดยอาศัยเสนขอบเขตความดันดิน ความดันดินที่กระทําบนเข็มพืดคํานวณไดดังนี้
γ H = 17.29×12 = 4.32 ≥ 4.0

Su ⎜ 96/2 ⎞⎟
⎝ ⎠

ดังนั้น คํานวณหา pa
pa = γ H − 4Su = ⎛⎜17.29×12 ⎞⎟ −192 =15.48 กิโลปาสคาล
⎝ ⎠

pa = 0.3γ H = 0.3×17.29×12 = 62.24 กิโลปาสคาล


ดังนั้น ความดันที่กระทําตอเข็มพืดคือ 62.24 กิโลปาสคาล
ตัวอยางที่ 6.7
การกระจายความดันดินดานขางแสดงดังรูป จากการพิจารณาขอตอที่จุด A, B, C และ D เปนบานพับ
จะไดแผนภาพอิสระของชิ้นสวนตางๆ
ตัวอยางที่ 6.7

จากรูป (a)
∑ M@B = 0
⎡ ⎤


1 × 62.24×3× ⎜⎛1.5 + 3 ⎟⎞⎥⎥ + ⎡⎢1.5× 62.24×1.5 ⎤⎥ − ⎢⎡ A× 3.0⎥⎤ = 0

⎢ 2 ⎜

3 ⎟⎟⎠⎥ ⎣⎢⎢ 2 ⎦⎥⎥ ⎣ ⎦
⎣⎢ ⎦⎥

A=101.14 กิโลนิวตันตอเมตร

∑ Fx = 0
⎡ ⎤
1
B1 = × ⎜1.5 + 4.5⎟×62.24⎥⎥ −101.14
⎛ ⎢ ⎞
2 ⎝ ⎢

⎣⎢ ⎦⎥

B1 = 85.58 กิโลนิวตันตอเมตร
ตัวอยางที่ 6.7

จากรูป (b)
∑ Fx = 0
B2 = C1 = 1 ×3× 62.24 = 93.36 กิโลนิวตันตอเมตร
2
จากรูป (c)
∑ M @C = 0
⎡ ⎤




⎢ 4.5
D×3 − 4.5×62.24× ⎥⎥ = 0
⎢ 2 ⎦⎥
⎣ ⎦
⎣⎢

D = 210.06 กิโลนิวตันตอเมตร
∑ Fx = 0
C2 = ⎡⎢4.5× 62.24⎤⎥ − 210.06 = 70.02 กิโลนิวตันตอเมตร
⎣ ⎦
ตัวอยางที่ 6.7
ดังนั้น
FA = ⎛⎜101.14× 4 ⎞⎟ = 404.56 กิโลนิวตัน
⎝ ⎠

FB = ⎛⎜85.58 + 93.36 ⎞⎟× 4 = 715.76 กิโลนิวตัน


⎝ ⎠

FC = ⎛⎜ 93.36 + 70.02 ⎞⎟× 4 = 653.52 กิโลนิวตัน


⎝ ⎠

FD = ⎛⎜ 210.06× 4 ⎞⎟ = 840.24 กิโลนิวตัน


⎝ ⎠

อัตราสวนปลอดภัยตานการอูดบวมคํานวณไดโดยอาศัยสมการของ Bjerrum and Eide (1956) และไม


พิจารณาระยะฝงของเข็มพืดใตดินขุด (คาที่ไดจะต่ํากวาความเปนจริง) ดังนั้น
FS = 48.0×5.14 =1.19 ใกลเคียง 1.20 OK.
17.29×12
ตัวอยางที่ 6.8
จากรูป (ระบบ Braced cuts สําหรับหองใตดิน) จงคํานวณหา
ก) แรงในตัวค้ํายัน A, B และ C เมื่อ
ระยะหางระหวางค้ํายันในแนวนอนเทากับ
2 เมตร
ข) โมเมนตที่เกิดใน Wales
ค) อัตราสวนปลอดภัยตานการอูดบวม
ตัวอยางที่ 6.8
วิธีทํา เนื่องจากชั้นดินเหนียวมีคาหนวยน้ําหนักและกําลังตานทานแรงเฉือนตางกัน ดังนั้นตองคํานวณหาคา
หนวยน้ําหนักและกําลังตานทานแรงเฉือนเฉลี่ย ซึ่งมีคาดังนี้
γ av = 1 ⎡⎢γ1H1 + γ 2H 2 + γ 3H3 ⎤⎥
H⎣ ⎦
⎡ ⎤
γ av = 1 ⎢⎢⎛⎜1.6× 2.5⎞⎟ + ⎛⎜1.7×1⎞⎟ + ⎛⎜1.8 + 2.5⎞⎟⎥⎥ =1.7 ตันตอลูกบาศกเมตร
6 ⎣⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎦

Su(av) = 1 ⎡⎢ Su1H1 + Su 2H 2 + Su3H3 ⎤⎥


H⎣ ⎦

⎡⎛ ⎞ ⎤⎥
1
Su(av) = ⎢⎜1.5× 2.5⎟ + ⎜ 2.0×1.0⎟ + ⎜ 3× 2.5⎟⎥ = 2.2
⎢ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛
ตันตอตารางเมตร
6 ⎣⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎦

γ H = 1.7×6.0 = 4.6 > 4.0


Su 2.2
ความดันดินที่กระทําตอเข็มพืดคํานวณไดดังนี้
⎧ ⎛
⎞⎪ ⎫
pa = γ H 1−
⎪⎪
4

Su ⎜⎟⎪

=1.7× 6.0× ⎨1−
⎪ 4 × 2.2 ⎫
⎬ =1.4
⎪ ตันตอตารางเมตร
γ H ⎟⎟⎠⎬⎪






1.7 × 6.0 ⎪

⎩⎪ ⎭⎪

pa = 0.3γ H = 0.3×1.7× 6.0 = 3.1 ตันตอตารางเมตร


ตัวอยางที่ 6.8
ดังนั้น ความดันที่กระทําตอเข็มพืดมีคาเทากับ 3.1 ตันตอตารางเมตร และการกระจายความดันดิน
แสดงดังรูป
ตัวอยางที่ 6.8
ก) แรงในตัวค้ํายัน A, B และ C คํานวณไดดังนี้
0.5 m
A
A
1.5 m
จากแผนภาพอิสระสวนบนของรูป
2m ∑ M@B = 0
⎛ ⎞
B1
B
A⎛⎜ 2 ⎞⎟ = ⎛⎜ 3.1×1.0×0.5⎞⎟ + ⎜⎜ 1 ×1.5×3.1×1.5⎟⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎜2 ⎟
⎝ ⎠
3.1 t/ m2

B
A= 2.52 ตันตอเมตร
B2

2m ∑ M@ A = 0
⎛ ⎞
C ⎛ ⎞ ⎛ 1
B 2 = 3.1×1×1.5 + ×1.5×3.1× 0.5⎟⎟
⎞ ⎜
C 1⎜⎝ ⎟


⎝ 2 ⎟


⎜ ⎟
⎝ ⎠
1.5 m
B1 = 2.91 ตันตอเมตร
3.1 t/ m2
ตัวอยางที่ 6.8

0.5 m
A
A จากแผนภาพอิสระสวนลางของรูป
1.5 m

2m ∑ M @C = 0
B1
B
B2 ⎛⎜ 2 ⎞⎟ = ⎛⎜ 3.1×3.5× 0.25⎞⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠
3.1 t/ m2

B
B2 =1.36 ตันตอเมตร
B2

∑ M@B = 0
2m

C
C
C ⎛⎜ 2 ⎞⎟ = ⎛⎜ 3.1×3.5×1.75⎞⎟
1.5 m ⎝ ⎠ ⎝ ⎠

C = 9.50 ตันตอเมตร
3.1 t/ m2
ตัวอยางที่ 6.7
เนื่องจากระยะหางของตัวค้ํายันในแนวนอนเทากับ 2 เมตร ดังนั้น แรงในตัวค้ํายัน A, B และ C มีคาดังนี้
FA = 2× 2.52 = 5.04 ตัน

FB = 2⎛⎜ 2.91+1.36 ⎞⎟ = 8.54 ตัน


⎝ ⎠

FC = 2×9.50 =19.00 ตัน

ข) โมเมนตที่เกิดใน Wales เทากับ


M A = 1 As2 = 1× 2.52× 22 =1.26 ตัน-เมตร
8 8

M B = 1 ⎛⎜ B1 + B2 ⎞⎟ s2 = 1 ⎛⎜ 2.91+1.36 ⎞⎟× 22 = 2.13 ตัน-เมตร


8⎝ ⎠ 8⎝ ⎠

M C = 1 Cs2 = 1×9.50× 22 = 4.75 ตัน-เมตร


8 8
ตัวอยางที่ 6.7
ค) อัตราสวนปลอดภัยตานการอูดบวมเทากับ
2Su B1 + 2Su ⎛⎜ H − 2Su / γ ⎞⎟ + π Su B1
FS = ⎝ ⎠

⎜ γ H + q ⎞⎟ B1
⎝ ⎠

⎛ ⎞

⎜ 2× 2.2× 4.0 ⎞⎟ + ⎛⎜ 2× 2.2 ⎞⎟ ⎜⎜ 6 − ⎛⎜ 2× 2.2/1.7 ⎞⎟ ⎟⎟ + ⎛⎜π × 2.2× 4.0 ⎞⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ ⎝ ⎠⎠ ⎝ ⎠
FS =
1.7× 6× 4 ⎞⎟


⎝ ⎠

FS = 60.3 =1.47 >1.20 OK.


40.8

You might also like