You are on page 1of 9

How can power factor correction and harmonic

filtering be part of you energy efficiency program ?


PQ Standards Evaluation
 Voltage Profiles
 Unbalance Voltage Profiles
 Current Profiles

แนวทางการแกไข
 Load Profiles
 Harmonic Voltage Distortion and Individual Harmonic Order
 Harmonic Current Distortion and Individual Harmonic Order

ฮารมอนิกสในระบบไฟฟา 

Compare PQ with Standards
Recommendation

Mr.Withaya Theerasart
E-mail : withaya@asefa.co.th 2

แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา
ตรวจวัดคุณภาพไฟฟา (Power Quality Measurement) เกณฑตางๆที่ใชในการประเมินคุณภาพไฟฟา (PQ Standards Evaluation)
On – Line Condition Monitoring  Voltage Profiles

 Unbalance Voltage Profiles

 Current Profiles

 Load Profiles

- Active Power
- Reactive Power
- Appearance Power
- Power Factor

 Harmonic Voltage Distortion

 Harmonic Current Distortion

 Compare PQ with Standards

 Recommendation

3 4
แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา
Selection Diagram for Capacitor Bank and Harmonic Filter หลักการพิจารณาในการเลือกคาปาซิเตอร
สามารถเลือกคาปาซิเตอรในการปรับปรุงตัวประกอบกําลังได 4 รูปแบบ

1. Standards Capacitor Banks


2. Overate Capacitor Banks
3. Detuned Filter Banks
4. Harmonic Filter

Irms, max = 1.3 x Irated

สามารถทํางานที่กระแส 130% ของคากระแสพิกัดไดอยางตอเนื่องตลอดเวลา

5
ทั้งนี้เพื่อใหสามารถรับกระแสฮารมอนิกสในระบบไฟฟาไดในระดับหนึ่ง 6

แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา
หลักการพิจารณาในการเลือกคาปาซิเตอร หลักการพิจารณาในการเลือกคาปาซิเตอร
อุปกรณที่ติดตั้งเพื่อทําหนาที่ลดทอนหรือกําจัดฮารมอนิกสในระบบไฟฟาที่ติดตั้งโหลดที่สรางฮารมอนิกส โดย การเลือกติดตัง
้ คาปาซิเตอรแบงค (Solutions including capacitor banks)
อุปกรณปรบปรุงคุณภาพไฟฟาที่มีใชงาน เชน AC Line Reactor, Detune Filter, Tuned Filter, Passive Filter และ
Active Filter เปนตน

7 8
แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา
หลักการพิจารณาในการเลือกคาปาซิเตอร การลดฮารมอนิกสในระบบไฟฟา (Harmonics Mitigation)
การแกปญหาฮารมอนิกสแบงออกเปน 2 วิธี คือ
1. วงจรกรองฮารมอนิกสแบบพาสซีฟฟลเตอร (Passive Filter)

- Tuned Filter

- Detuned Filter
6%
4.43%
7%

2. วงจรกรองฮารมอนิกสแบบแอคทีฟฟลเตอร (Active Filter)


400 V 440 V
415 V 460 V
480 V
500 V
525 V
460 V 460 V
480 V 480 V
500 V 500 V
525 V 525 V

9 10

แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา
1. วงจรกรองฮารมอนิกสแบบพาสซีฟฟลเตอร (Passive Filter) 1. วงจรกรองฮารมอนิกสแบบพาสซีฟฟลเตอร (Passive Filter)
โครงสรางเปนวงจรเรโซแนนซอนุกรม โดยออกแบบใหคาปาซิเตอรและรีแอกเตอรมีความถี่เรโซแนนซ
เทากับความถี่ฮารมอนิกสที่เกิดขึ้นในระบบ ดังนั้นฮารมอนิกสจะมองเห็นวงจรกรองนี้มีคาอิมพีแดนซต่ําสุด และ
ทําใหกระแสฮารมอนิกสไหลผานตัวกรองทั้งหมด

Simplified distribution circuit Equivalent circuit of system with filter

ดังนั้น ถามีการเพิ่มโหลดฮารมอนิกสเขาสูระบบจะทําใหกระแสฮารมอนิกสไหลเขาสูวงจรกรองฮารมอนิกส
เพิ่มขึ้นมากกวาที่ไดออกแบบไว ทําใหไมสามารถควบคุมระดับการกรองฮารมอนิกสได

11 การเกิด series resonance ระหวาง Cap กับ Transformer 12


แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา
1. วงจรกรองฮารมอนิกสแบบพาสซีฟฟลเตอร (Passive Filter) 1. วงจรกรองฮารมอนิกสแบบพาสซีฟฟลเตอร (Passive Filter)
ความแตกตางระหวางดีจูนฟลเตอร vs จูนฟลเตอร การกําหนดขนาดของตัวกรองแบบพาสซีฟฟลเตอร

มาตรฐาน IEC61642 : 1997 Industrial a.c. networks affected by harmonics-Application of filters 1.


and shunt capacitors ไดนิยามตัวกรองฮารมอนิกสไวดังนี้
2.

3.

7% 6% 5% 4.34% 4%
4.

5.

6.

Tuned Filter : คาความถี่ไฟฟาในการจูนจะมีคาความถี่ไฟฟาอยูหางจากความถี่ฮารมอนิกสลําดับที่ต่ําที่สุดที่อยูใน


ระบบไฟฟา (order ที่ 5 คือ 250 Hz) ที่ตองการจูนไวไมเกิน 10 % เชน มีคาความถี่ที่มากกวา 225 Hz ขึ้นไป 7.

Detuned Filter : คาความถี่ไฟฟาในการจูนจะมีคาความถี่ไฟฟาอยูหางจากความถี่ฮารมอนิกสลําดับที่ต่ําที่สุดที่อยูใน


8.
ระบบไฟฟา (order ที่ 5 คือ 250 Hz) ที่ตองการจูนไวเกิน 10 % เชน มีคาความถี่ที่นอยกวา 225 Hz ลงไป

13 14

แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา
1. วงจรกรองฮารมอนิกสแบบพาสซีฟฟลเตอร (Passive Filter) หลักในการพิจารณาเลือกใชงานรีแอคเตอร

7% 6% 5% 4.34% 4%

80kVAR@525V

15 16
แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา
1. วงจรกรองฮารมอนิกสแบบพาสซีฟฟลเตอร (Passive Filter) 1. วงจรกรองฮารมอนิกสแบบพาสซีฟฟลเตอร (Passive Filter)

 Tuned Filter Banks  Tuned Filter Banks


การออกแบบ Tuned Filter อาศัยหลักการตัวฟลเตอรมีคาอิมพีแดนซต่ํามากที่ความถี่จูน ทําใหกระแสฮาร คาความถี่ไฟฟาในการจูนจะมีคาความถี่ไฟฟาอยูหางจากความถี่ฮารมอนิกสลําดับที่ต่ําที่สุดที่อยูในระบบ
มอนิกสที่ความถี่นี้ไหลผานไดเกือบทั้งหมด และอิมพีแดนซสูงๆที่ความถี่มูลฐาน (50 Hz) เพือ ่ จูนความถีเ่ ร ไฟฟา (order ที่ 5 คือ 250 Hz) ที่ตองการจูนไวไมเกิน 10 % เชนมีคาความถี่ที่มากกวา 225 Hz ขึ้นไป เปนตน
โซแนนซไปหาคาฮารมอนิกสที่ตองการกรองออกจากระบบ

จูนฟลเตอรกรองฮารมอนิกสลําดับที่ 5

17 18

แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา
1. วงจรกรองฮารมอนิกสแบบพาสซีฟฟลเตอร (Passive Filter) 1. วงจรกรองฮารมอนิกสแบบพาสซีฟฟลเตอร (Passive Filter)

 Tuned Filter Bank (AC Line Reactor)  Tuned Filter Bank (AC Line Reactor)
The circuit is divided into components into three sections:

Measurement Point

block the undesired current


harmonics flowing through
the power system. Domain Harmonic Flow

THD-I==51.56%
THD-I 121.48% THD-I =5.08%

(without the 5th harmonic low pass filter) (with the 5th harmonic low pass filter)
Variable speed drive connected to low-pass harmonic filter.
19 20
แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา
1. วงจรกรองฮารมอนิกสแบบพาสซีฟฟลเตอร (Passive Filter) 1. วงจรกรองฮารมอนิกสแบบพาสซีฟฟลเตอร (Passive Filter)

 Detuned Filter Banks  Detuned Filter Bank


การทํางานของ Detuned Filter จะเหมือนกับ Capacitor Bank ทุกประการ โดยมีหนาที่หลักในการ คือ พาสซีฟฟลเตอรที่สามารถแกไขปญหาฮารมอนิกสที่เกิดจากเรโซแนนซขนานระหวางหมอแปลงไฟฟา
ปรับปรุงคา PF เสริมดวยความสามารถในการแกปญหาเรื่องเรโซแนนซแบบขนานไดอยางมีประสิทธิภาพและ และคาปาซิเตอรที่ใชในการปรับปรุงคาตัวประกอบกําลังไฟฟา (Power Factor)
ปลอดภัย

โดยจะทําหนาที่เปลี่ยนความถี่เรโซแนนซขนานระหวางหมอแปลงไฟฟากับคาปาซิเตอรใหอยูต่ํากวาทุกลําดับฮาร
มอนิกสที่ปะปนอยูในระบบไฟฟาจึงเปนการหลีกเลี่ยงมิใหเกิดเรโซแนนซแบบขนานที่ความถี่ฮารมอนิกสตางๆ และดีจูน
Capacitor ที่ใชใน Detuned Filter จะตองสามารถทนตอแรงดันไฟฟาไดสูงขึ้นเนื่องจากมี Reactor ตอ
ฟลเตอรยังชวยกรองฮารมอนิกสออกจากระบบไดบางสวนอีกดวย
อนุกรมอยู และตองทนตอกระแสฮารมอนิกสที่ฟลเตอรกรองออกมาไดบางสวน

21 22

แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา
1. วงจรกรองฮารมอนิกสแบบพาสซีฟฟลเตอร (Passive Filter) 1. วงจรกรองฮารมอนิกสแบบพาสซีฟฟลเตอร (Passive Filter)

 Detuned Filter Bank Detune Filter Reactor จะชวยจูนใหฮารมอนิกสลําดับที่ 5 ในระบบไฟฟาลดลง และไมสามารถทํา


อันตรายกับ Capacitor ได (แตฮารมอนิกสยังมีไหลอยูภายในระบบไฟฟา)

23 24
แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา
2. วงจรกรองฮารมอนิกสแบบแอกทีฟฟลเตอร (Active Filter) 2. วงจรกรองฮารมอนิกสแบบแอกทีฟฟลเตอร (Active Filter)

อุปกรณกรองฮารมอนิกสที่โดยทําหนาที่ตรวจวัดกระแสฮารอนิกสในระบบไฟฟาเพื่อวิเคราะหและคํานวณ Operation principle of active filter


แลวจึงฉีดกระแสฮารมอนิกสที่มเี ฟสตรงขาม 180 องศากับฮารมอนิกสในระบบไฟฟา ผลทีไ ่ ดคือกระแสฮารมอ
นิกสในระบบไฟฟาถูกหักลางออกไปจนเหลือแตกระแสที่ 50 Hz

Harmonic Generator Active Filter Current Clean feeder current

25 26

แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา
2. วงจรกรองฮารมอนิกสแบบแอกทีฟฟลเตอร (Active Filter) 2. วงจรกรองฮารมอนิกสแบบแอกทีฟฟลเตอร (Active Filter)
Operation principle of active filter Operation principle of active filter

ดัง นั้น กระแสฮาร ม อนิก สที่โ หลดสรางขึ้น จะถู ก หั ก ลา งดว ยกระแสฮารม อนิก สที่ ว งจรกรอง
แบบแอกทีฟสรางขึ้นมา ทําใหกระแสไลนจากระบบไฟฟากลายเปนกระแสที่ปราศจากฮารมอนิกส

27 28
แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา
2. วงจรกรองฮารมอนิกสแบบแอกทีฟฟลเตอร (Active Filter) 2. วงจรกรองฮารมอนิกสแบบแอกทีฟฟลเตอร (Active Filter)
 ขั้นตอนและขอพิจารณาในการเลือกแอกทีฟฟลเตอรในการใชงาน  แหลงจายไฟฟาและชนิดของโหลด
กําหนดขนาดพิกัดกระแสฮารมอนิกสของ Active Filter จะตองมีคามากกวากระแสฮารมอนิกสรวมสูงสุดที่ โดยทั่วไป Active Filter 3P4W จะสามารถรองรับโหลดไดทุกชนิด และสามารถทําฟงชั่นอื่นที่มีประโยชนตอ
เกิดขึ้น โดยทั่วไปจะระบุหนวยเปนแอมป (A) เชน 30A, 50A, 100A, 120A, 190A, 200A 250A, 310A และ 400A ระบบไฟฟาไดมากกวา Active Filter 3P3W
เปนตน

29 30

แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา
2. วงจรกรองฮารมอนิกสแบบแอกทีฟฟลเตอร (Active Filter) 2. วงจรกรองฮารมอนิกสแบบแอกทีฟฟลเตอร (Active Filter)

1. Central 2. Group 3. Direct Load  ตําแหนงจุดติดตั้งในระบบไฟฟา

 แบบที่ 1 และ 2 จะไดรับความนิยม เพราะใช Active Filter


เพียงชุดเดียวเพื่อกําจัดฮารมอนิกส
 สามารถเพิ่มเติม Active Filter ในอนาคตไดงายกวาหากมีการ
เพิ่มโหลดฮารมอนิกส 1

31

31 32
แนวทางการแกไขฮารมอนิกสในระบบไฟฟา
สรุปเปรียบเทียบอุปกรณแกปญหาฮารมอนิกสในระบบไฟฟา

uestions & Answers

33 34

You might also like