You are on page 1of 51

SWANGSANSUK BOOKS

   
 

Shop drawing work
External drawing 
Mr. Somnuk Swangsansuk 

2014 

[TYPE THE COMPANY ADDRESS] 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swaangsansuk 
  B
B ‐ External  D
Drawing 

• B‐‐01
B‐Exte
ernal draawing
• Drrainage d
drawing

สําหรับแบบบ Shop drawwing ในสวนงาานภายนอก ( External


E Work ) นั้น ถือไดวามีความสําคัญมากแบบ

หนึงที
ง่ ่จะตองทําการเตรียมการตั้งแตตน และมีหลากหลายแบบบที่นับเปนงานภภายนอก ไมวาจจะเปน ปอมยาาม(Guard
Houuse) ประตูทางเขาหลัก (Mainn gate) รั้ว ( Feence) ที่จอดรถถยนตและมอเตตอรไซด ( Car-M
Motorcycle Paarking)
ศาลลพระภูมิ ( Spirit house) เสาธธง ( Flag Pole)) รวมทั้ง งาน ทางเท
ท า และถนนนคอนกรีตเสริริมเหล็ก (Paveement ,
Conncrete road ) และ
แ ระบบระบายน้ํา ( Drainaage system ) ซึ่งจะมีทั้ง รางรระบายน้ําชนิดเเปด และปด บอพั
อ กตางๆ
ตลออดจนทอคอนกรีตี ใตดิน และคัคันทาง เปนตน

ในที่นี้ผมจะขอเริ่มที่การรเขียนแบบในสสวนของระบบระะบายน้ํากอนเปปนอันดับแรก เเพราะนอกจากจะเปน
ตัวกําหนดทิศทางกการไหลของน้ําทัท้งหมดในโครงงการแลว ยังมีผลต
ผ อความลึกของฐานราก
ข ( ใในกรณีที่มีรางนน้ําหรือบอ
พักวางอยู
ว ในบริเวณ
ณฐานราก ) แลละจะเปนสวนที่มีความสัมพันธธกับการเชื่อมตตอกับสวนสาธาารณะอีกดวย.

เนื่องจากกในพื้นที่การทํางาน
า ไมวาจะเปปนภายในหรือนอกเขต
น นิคมอุอุตสาหกรรม เรราจําเปนอยางยิยิ่งที่จะตอง
ทําการตรวจสอบค
ก าระดับของน้ําในรางน้
ใ ําของการนิคม ณ.จุดที่เราจะทําการรระบายน้ําจากตัตัวอาคารมาสูภายนอก
ภ
นั้นๆก
ๆ อนเปนลําดับแรก
บ เพราะระดับน้ําดังกลาวจะใชเปนตัวกําหนดค
า าความลลาดเอียงตลอดดจนคาระดับขอองราง
ระบายน้ําภายในอาคารที่จะมาปลลอยออก อยางน
ง อยตองไมตากว
่ํา าคาระดับที่ตรวจสอบไดที่หนางานจริง

สําหรับกรรณีที่ปรับคาคววามลาดเอียงใหหนอยที่สุดแลวยั
ว งต่ํากวาจุดปลอยออก คงตอองแกไขโดยใชเรืเ ่องของ
ระบบปม น้ําเขามาาชวยในการระบบายน้ําออก แตตสิ่งหนึ่งที่ตองรระวังก็คือที่ระดัับทองทอระบายน้ําควรที่จะตอง

ยกระดับใหสูงกวาคคาระดับ ณ.จุดปล
ด อยน้ําออกออยางนอยประมมาณ 20 เซนติเมตร
เ สาเหตุในนการเผื่อคาระดัดับให
สูงขึ้นไวก็เพราะเราาตองการปองกัันกรณีที่อาจจะะมีการอุดตันขอองรางระบายน้ําหลั
า กหรือในกรรณีที่มีพายุฝนตตกอยาง
หนักจนทํ
ก าใหการระบายน้ําอาจจะไมทัน ทําใหระดับน้ําสูงเกินกว
ก าปกติ จะไดไมมีผลกระทบกับการระบายนน้ําภายใน
อาคคาร จนกอใหเกิดน้ําทวมภายในอาคารได

จุดที่เราตตองทําการตรวจจสอบกับผูออกกแบบ คือ รายกการคํานวณเรื่องของการระบาายน้ํา ไมวาจะเปปนพื้นที่


รับน้ําในสวนของพื้นที่เปด หรือในนรางระบายน้ํา เชน ขนาดของทอ หรือ ความมกวางของรางระบายน้ําเพียงพพอหรือไม
เพื่อเปนขอมูลสําหรับอางอิงในกาารทํางานตอไป

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

B‐01‐1
• Open Gutter

ตอไปเปนขอมูลตางๆที่ตองแสดงในแบบงาน Drainage ซึ่งตองแสดงใหเห็นชัดเจนในเรื่องของจุดเริ่มตน


จุดสิ้นสุด ทิศทางการระบายน้ํา คาความลาดเอียงและคาระดับ ณ.ทองราง, ทองทอ ตลอดจนขนาดและชนิดของราง
ระบายนั้นๆ สําคัญที่สุดคือในการหาขนาดของรางหรือทอระบายน้ํานั้น ตองคิดเผื่อในสวนของพื้นที่ๆเปนสวนที่จะตอ
เติมในภายหนาดวย และคาความลาดเอียงนั้นตองคํานึงจุดสิ้นสุดของราง,ทอ ที่จะปลอยลงสูรางสาธารณะดวย.

สําหรับขอมูลตางๆที่ตองแสดงในแบบมีรายการดังตอไปนี้

1.แสดงสัญลักษณ และคํายอที่ใชในการกํากับระดับ เชน BOG.GL-600 ระดับทองรางระบายน้ํา

( Bottom Of Gutter ) หรือ BOG.GL-600 ระดับทองทอ ( BOP. Bottom of Pipe)

2.แสดงตําแหนงจุดเริ่มตนราง ( Start Point ) พรอมระบุคาระดับกํากับ เชน GL-600

3.แสดงทิศทางพรอมคาความลาดเอียงของทองราง ( มาตรฐานสําหรับงานภายนอก 1:200 )

4.ระบุชื่อของชนิดรางและทอตางๆ เชน. รางระบายน้ําเปดขนาดกวาง 0.50 ม. (Open Gutter W=500)

รางระบายน้ําผานถนนปดดวยฝาตระแกรงเหล็ก ( Open gutter cross road W/Grating )

รางดินขุดเปนรูปตัววี ( V-Ditch Soil Gutter )

หรือ ทอคอนกรีตขนาดเสนผาศูนยกลาง 0.30 ม. ( Ø 300 mm. Concrete Pipe )

5.แสดงคาระดับ ณ. ตําแหนง ที่เปนจุดเปลี่ยนทิศทางหรือจุดตัดหรือทุกๆระยะของศูนยกลางเสา

6.แสดงตําแหนงของ ค้ํายัน และบอพัก,ฝาตระแกรงเหล็ก ปดรางตางๆ

7.แสดงรูปตัดและขยายรายละเอียดของบอพักกับทอน้ํา,รางระบายน้ํา หรือ Water Stop

8.แสดงรูปตัดขยายรายละเอียดของเหล็กเสริม ของบอพักกับทอน้ํา, รางระบายน้ํา

9.แสดงตารางของคาระดับเทียบกับระยะทางและคาความลาดเอียง ( ถามี )

10. แสดงรูปแปลนและรูปตัดบริเวณที่ตอกับรางน้ําสาธารณะ

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

ในการทําแบบระบบระบายน้ํา ใหเราศึกษาแบบแปลนแผนผังทั้งหมด และแยกประเภทของแบบวา บริเวณ


ใดเปนรางน้ําดิน บริเวณใดเปนรางน้ําคอนกรีตเสริมเหล็ก บริเวณใดเปนทอระบายน้ํา โดยการทํา Shade สีแยกไว
ตอจากนั้นใหดูที่แบบขยายเพื่อที่จะทราบความหนา ความลึก และ รายละเอียด การเสริมเหล็ก , ฝาตระแกรง
จากนั้นใหพิจารณาจุดเริ่มตนที่จะกําหนดความลึกของราง ซึ่งโดยทั่วไปมักจะกําหนดไวที่ลึก 0.60 เมตร. ทั้งนี้ให
ครอบคลุมถึงบริเวณที่เปนพื้นที่ดินที่จะปลูกสรางอาคารในอนาคตดวย

อีกสวนหนึ่งที่ตองนํามาประกอบกับการทําแบบรางระบายน้ําคือ เราตองทําการประชุมกับฝายงานระบบ
เพื่อตรวจสอบแบบวามีความสอดคลองกันหรือไม เพราะทั่วไปแลวงานเดินทอน้ําหรือทอไฟ จะมีการติดตั้งโดยยึดกับ
ผนังรางระบายน้ํา อาจจะไวนอกหรือในราง รวมทางอาจจะมีในสวนของทอลอดเฉพาะสําหรับงานไฟฟาแรงสูง มา
ตรงกับตําแหนงรางระบายน้ําชนิดที่ผานถนน ทั้งนี้สวนนี้ใหเราตรวจสอบใหดีกอนทําแบบดวย.

หลังจากนั้นใหเรานําคาระดับบริเวณที่จะทําการระบายน้ําออก สูรางน้ําสาธารณะมารวมพิจารณา โดยทํา


การหักลบคาความตางระดับออก จะเหลือคาระดับจริงเพื่อใชเปนตัวกําหนดอัตราสวนความลาดเอียงตอไป

รูปที่ B-01-1.1 แสดง ตัวอยาง แบบงานแปลนแผนผัง ( Layout Plan )

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

ในสวนของรางระบายน้ําเปด ( แบบดิน ) โดยทั่วไปนิยมใชอยู 2 แบบ คือ รูปตัว U และรูปตัว V. ในการ


จัดทําใหเราตรวจสอบ ในเรื่องของความกวาง และความลึก ตลอดจน คาความลาดชันของผนังดินดานขางดวย.

รูปที่ B-01-1.2 แสดง ตัวอยาง รางดินระบายน้ําชนิด U และ V

ทั่วไปนั้นแบบรางระบายน้ําเปด ( แบบดิน ) มักจะอยูในสวนของพื้นที่วางสําหรับการตอเติมในอนาคต


และมักจะกําหนดใหทิศทางการระบายน้ํามาเชื่อมตอกับเสนทางระบายน้ําปจจุบัน ดังนั้น กอนที่จะทําการเชื่อมตอ
ไมวาจะเปนการเชื่อมตอเขากับทอระบายน้ํา หรือ รางระบายน้ํา จําเปนตองจัดทําบอพักมาเปนตัวเชื่อมตอ เพื่อเปน
การชวยปองกันเศษดินที่อาจจะมีการไหลมากับน้ําลงสูรางระบายหลักโดยตรง อาจทําใหเกิดการอุดตันได ดังนั้นการ
เพิ่มบอพักจึงเปรียบเสมือนบอสําหรับดักเศษดินในเบื้องตน และเราสามารถที่จะใชทอน้ําตอจากตัวบอพักเพื่อเชื่อม
เขากับรางระบายน้ําหลักไดสะดวกขึ้น.

รูปที่ B-01-1.3 แสดง ตัวอยางการตอเชื่อมบอพักกับรางดินระบายน้ํา

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

ในการเชื่อมตอกับบอพักใหเราทําการเวนชองระบายน้ําดานที่รางระบายน้ํามาเชื่อมตอดวย และในสวน
ของความลึกของบอควรมีระยะจากทองทอ ถึงทองบอ อยางนอยประมาณ 0.10 ม. เพื่อใชในการดักเศษดิน.

สูงประมาณ 0.10 ม.
สําหรับดักเศษดิน

รูปที่ B-01-1.4 แสดง ตัวอยางการเจาะรูระบายน้ําขางบอพักกับรางดินระบายน้ํา

สําหรับแบบระบายน้ําประเภท บอพักที่อยูติดหรือขนานตามแนวอาคารนั้น ถือไดวามีความสําคัญอยาง


มากในการจัดทําแบบ Shop Drawing เพราะกอนที่จะขึ้นงานโครงสรางฐานรากไดนั้น เราตองทราบถึงทิศทางและ
ระดับความลึก ของแนวทอหรือบอพักที่ผาดผานฐานรากนั้นๆเสียกอน ในบางโครงการอาจจะใหคาระดับในแตละ
ฐานลึกไปตามคาความลาดเอียงของทอ,บอ พัก บางโครงการอาจจะใชคาระดับ ณ.จุดที่ลึกที่สุดของทอ,บอพัก เปน
เกณฑในการทําฐานราก

รูปที่ B-01-1.5 แสดงแบบแนวทอขนานตัวอาคารบนฐานราก

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

ซึ่งจะเห็นไดวางานในสวนนี้มีผลกระทบคอนขางมาก โดยตรงกับการขึ้นงานโครงสรางอาคาร ในกรณีที่มี


แนวทอขนานกับตัวอาคารวิ่งพาดผานฐานรากนั้น ใหเรากําหนดความลึกขั้นตนของบอพัก ณ.จุดเริ่ม เทากับ 0.60 ม.
(กรณี นี้คิดจากขนาดทอคอนกรีตขนาด Ø 0.30 ม.) โดยใหคิดหลังบอพักเทากับระดับดิน และใหคิดระยะจากบนฝา
ตระแกงมาถึงขอบบนของทอ เปนระยะ 0.10 ม. และคิดระยะของขอบนอกทอ (บน) ถึงขอบนอกทอ (ลาง) และให
เผื่อระยะจากขอบนอกทอ (ลาง) ถึงพื้นบอพัก เทากับ 0.10 ม.

รูปที่ B-01-1.6 แสดงแบบขยายขนาดบอพัก

ในกรณีที่มีบอพักอยู ณ.ตําแหนงบนฐานรากก็ใหคิดระดับความลึกของบอพักเหมือนกัน แตอยาลืมวา


ระดับดังกลาวเปนระดับของทองบอพักดานใน เราตองคิดความหนาของโครงสรางพื้นบอและความหนาในสวนของ
คอนกรีตหยาบไปดวยเพราะจะมีผลในการกําหนดความลึกของฐานรากควบคูกันไป.

รูปที่ B-01-1.7 แสดงแบบบอพักและแนวทอบนฐานราก

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

ถาเกิดกรณีที่ระดับที่จะระบายน้ําออกอยูต่ํากวาคาระดับเริ่มตน เราอาจจะเปลี่ยนจากการใชทอระบายน้ํา
คสล. จากขนาด Ø 0.30 ม. มาเปนการใชทอ PVC.ขนาด Ø 0.20 ม.วาง เปนทอคูออกมาแทนก็ได เพราะถา
ตรวจสอบพื้นที่หนาตัดระหวางทอ 2 ชนิด แลว ทอ PVC.ขนาด Ø 0.20 ม.จะมีพื้นที่หนาตัดที่มากกวา และยัง
สามารถยกระดับของบอพักขึ้นมาไดอีกดวย

รูปที่ B-01-1.8 แสดงแบบบอพักและแนวทอบนฐานราก

แบบบอพักบริเวณสนามหญา สิ่งที่ตองเขียนกํากับลงในแบบ ดวยก็คือคอนกรีตหยาบ ( Lean Concrete )


ที่รองอยูบริเวณทองทอ และใหตรวจสอบระดับของหลังทอระบายน้ําอยางนอยควรอยูใตดินไมควรนอยกวา 0.20 ม.
เผื่อสําหรับการถมดินปลูกหญาในงานถัดไป ที่อาจจะมีการปรับดิน จนทําใหทอระบายน้ําเสียหาย

รูปที่ B-01-1.9 แสดงแบบบอพักและแนวทอบริเวณสนามหญา

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

ทอระบายน้ําคอนกรีตเสริมเหล็ก หนวยเปนเมตร

TIS 128 CLASS 2

ขนาด ความหนา ความลึก ความหนา ความ


ภายในทอ ทอ บังใบ ขอบปกใน หนาขอบ
ปกนอก
(D) (T) (t) (a)
(c)

0.30 0.05 0.03 0.019 0.023


ความยาว ( L ) = 1.00 ม.

0.40 0.06 0.03 0.023 0.027

0.50 0.07 0.04 0.028 0.032

0.60 0.075 0.04 0.028 0.032

0.80 0.095 0.045 0.038 0.042

1.00 0.110 0.045 0.043 0.047

1.20 0.125 0.05 0.048 0.052

1.50 0.15 0.06 0.057 0.063

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

ชื่อขนาด Normal Size ราคาตอทอน (บาท) Unit Price ( Baht ) จํานวนทอน / มัด
mm. (in.) มม. (นิ้ว) Pieces / Bundle
ชั้นคุณภาพ 5 ชั้นคุณภาพ 8.5 ชั้นคุณภาพ 13.5
Class 5 Class 8.5 Class 13.5
18 (1/2”) - 42.00 53.00 25

20 (3/4”) - 53.00 64.00 25

25 (1”) - 70.00 101.00 25

35 (1 1/4”) 66.00 87.00 132.00 10

40 (1 1/2”) 80.00 114.00 170.00 10

55 (2”) 120.00 180.00 260.00 10

65 (2 1/2”) 195.00 285.00 430.00 -

80 (3”) 265.00 395.00 600.00 -

100 (4”) 425.00 640.00 965.00 -

125 (5”) 650.00 965.00 1,455.00 -

150 (6”) 905.00 1,355.00 2,050.00 -

200 (8”) 1,355.00 2,180.00 3,485.00 -

250 (10”), 300 (12”) , 350 (14”) , 400 ( 16”) เปนสินคาที่ตองสั่งผลิตลวงหนา

หมายเหตุ มอก. 17-2532 เปนมาตรฐานทอ พีวีซีแข็ง สําหรับใชเปนทอน้ําดื่ม มีสีฟา ความยาวมาตรฐาน 4 เมตร

10 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

การทําแบบ Shop Drawing ของรางระบายน้ําเปด ( Open Gutter ) มีอยูดวยกันหลายชนิด ทั้งชนิดที่มีพื้น


คสล. ปดทับบนหลังรางน้ําเพื่อใชเปนทางเดิน หรือชนิดที่ลอดผานถนนเพื่อระบายน้ําไปยังจุดที่ตองการ ขอควรระวัง
ในการทําแบบรางน้ําก็คือ ความกวางภายในของราง ความหนาและความสูงของผนังทั้งสองดาน ซึ่งบางโครงการ
อาจจะกําหนดใหความสูงของปากรางเทากันทั้ง 2 ดาน

สวนความลึกนั้น ขึ้นอยูกับคาความลาดเอียง เพราะบางโครงการอาจจะมีทอตางๆของงานระบบมายึดติด


กับผนังบอ ทั้งดานในและดานนอก ซึ่งจะทําใหสูญเสียพื้นที่ในการระบายน้ําไป อาจจะตองทําการขยายความกวาง
ของรางเพิ่มขึ้นเพื่อชดเชยพื้นที่ๆเสียไป

สวนรางน้ําที่มีความลึกเกินกวา 1.00 ม. ขึ้นไป อยาลืมทํารายละเอียด ของคานรัดปากราง ( Stay ) ขนาด


0.10 x 0.10 ม. ทุกๆระยะไมเกิน 6.00 ม. ทั้งนี้ใหพิจารณาตําแหนงของคานรัดปากราง ( Stay ) ใหอยูระหวางชอง
ระบายน้ําของถนนดวย ดังนั้นในการทําแบบรางระบายน้ําแบบเปด และตรวจดูเรื่องขอกําหนดของระบบกันซึมดวย

รูปที่ B-01-1.10 แสดงแบบของมิติ รางระบายน้ําแบบเปดและรายละเอียดตางๆ

11 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

สําหรับรางระบายน้ําบริเวณมุมถนน ที่ไมมีรางระบายลอดผานถนนตรงไปนั้น เราสามารถทําได 2 วิธี คือ


เลี้ยวหักฉากไปตามผูออกแบบ และอาจทําการลดระดับพื้นรางในบริเวณจุดตัดลง เพื่อเปลี่ยนคาระดับของทองราง
หรือจะใชการตัดขอบปกรางระบายน้ําดานในออกเพื่อชวยในการระบายน้ํา ซึ่งในวิธีที่ 2 นั้นมักจะเลือกใชในเขตพื้นที่
กอสรางที่มีปริมาณน้ําฝนคอนขางมาก ซึ่งจะแกปญหาการระบายไมทันไดเปนอยางดี

รูปที่ B-01-1.11 แสดงแบบของ รางระบายน้ําแบบเปดบริเวณจุดตัด

12 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

สําหรับในสวนของรางระบายน้ําบริเวณหัวมุมถนน ที่มีรางพาดผานถนน ( Open Gutter Cross road )


ตรงออกไป ในการจัดทําแบบ ใหพิจารณาถึงรายละเอียดความกวางของผนังรางทั้งสองดาน ซึ่งจะมีความหนาที่
เพิ่มขึ้น เพื่อรองรับน้ําหนักของถนน โดยทั่วไป ผนังทั้งสองขางจะหนา 0.15 ม.เพื่อติดตั้งเหล็กฉากที่ขอบบนของราง
โดยทั่วไปเหล็กฉากจะมาพรอมกับตระแกรงเหล็กเปนชุดสําเร็จ ความกวางตามความกวางราง สวนความยาวจะอยูที่
1.00 ม. ซึ่งตองพิจารณาในการวางตําแหนงของเหล็กตระแกรงกับความกวางถนนใหดี แนะนําใหวาง ณ.ตําแหนงที่
ไมอยูในสวนที่ลอรถวิ่งทับ และระยะหางระหวางเหล็กตระแกรง ไมควรเกินกวา 2.00 ม. เพื่อความสะดวกในการลง
ไปซอมบํารุง และอยาลืมฝงเหล็กเดือยสําหรับรอยตอเพื่อการขยายตัวที่ผนัง กอนเทถนนคอนกรีตถนนมาเชื่อมตอ

รูปที่ B-01-1.12 แสดงแบบของ รางระบายน้ําแบบพาดผานถนน ( Cross Road )

13 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

หลังจากที่เราทําแบบรางระบายน้ํามาตั้งแตตนจนถึงจุดที่จะระบายน้ําออกนั้น กอนที่จะปลอยน้ําออกสูลํา
รางสาธารณะไดนั้น จะตองเชื่อมตอไปที่บอพักสําหรับการตรวจสอบคุณภาพของน้ํา ( Inspection Pit ) ฉะนั้นผนัง
ของรางระบายน้ําดานที่ติดกับบอพักจะตองทําชองเปดเพื่อระบายน้ําลงสูบอพัก หรือในกรณีที่ตําแหนงของบอพัก
ไมไดอยูติดกับริมรางระบายน้ํา ใหเราทําการเชื่อมตอโดยการใชทอคอนกรีต แตตองเลือกขนาดของ ทอใหเหมาะสม
กับปริมาณของน้ําดวย

สําหรับแบบของบอดักกลาว เราตองตรวจสอบในเรื่องของขนาดบอ ความลึกบอ และรายละเอียดของตระ


แกรงดักขยะในบอ รวมถึงฝาตระแกรงบนดวย นอกจากนั้นในการระบายน้ําจากบอพักสูลํารางสาธารณะภายนอก
เราอาจจะทําโครงสรางพื้นและผนังคอนกรีต ตอเนื่องจากบอในรูปของรางระบายน้ําเปดเอียงลาดเทสูภายนอก หรือ
บางโครงการที่ตั้งอยูบนพื้นที่ลาดชันอาจทําเปนลักษณะของบันไดปลา เปนขั้นๆ เพื่อระบายน้ําออกก็ไดเหมือนกัน

แตถาตําแหนงของบอพัก ( Inspection Pit ) อยูหางจากลํารางสาธารณะภายนอก เราสามารถเลือกใชทอ


คอนกรีตมาแทนในการเชื่อมตอได

Inspection Pit 

รูปที่ B-01-1.13 แสดงแบบของ การเชื่อมตอของรางระบายน้ํากับบอพัก

14 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

B‐01‐2
• Reinforcement  Concrete road ( RC. Road )

ตอไปเปนการเขียนแบบในสวนของงานถนน ซึ่งจะมีความสัมพันธกับงานรางระบายน้ําโดยทั่วไปเราจะ
กําหนดใหริมถนนดานที่ติดกับตัวอาคาร หรือรางน้ําฝงที่อยูติดริมอาคารมีคาระดับเปน GL ± 0.00 เสมอสาเหตุที่เรา
ตองกําหนดคาระดับเชนนั้น เพราะวา เมื่อมีการคิดคาความลาดเอียงของถนนแลวจะไดไมมีผลกระทบกับคาระดับ
ระหวางตัวอาคารกับถนนนั่นเอง.

ตอไปเปนขอมูลตางๆที่ตองแสดงในแบบงาน ถนน ซึ่งตองแสดงใหเห็นชัดเจนในเรื่องของจุดเริ่มตน ของคา


ความลาดเอียงและคาระดับ ซึ่งเราอาจจะกํากับขนาดของความกวางยาวของถนนไวที่แบบแปลนก็ได สวนจุดที่ตอง
คํานึงถึงเปนพิเศษคือ จุดบริเวณหนาทางเขาหลักสูตัวอาคาร ที่อาจจะมีผลกระทบกับระดับของขั้นบันไดขึ้นอาคาร
และอีกจุดหนึ่งคือบริเวณประตูทางเขาหลัก ซึ่งมักจะมีความลาดเอียงออกสูถนนภายนอก เราตองระวังเรื่องคาระดับ
ที่จะสงผลกระทบตอ ทางเทาที่เชื่อมตอไปยังปอมยาม และบริเวณที่จะเปนรางสําหรับประตูหนาซึ่งตองมีระดับที่
เทากันเพื่อใหประตูไดแนวระนาบไมเอียงไปตามคาความลาดชัน ของระดับถนนเปนตน

สําหรับขอมูลตางๆที่ตองแสดงในแบบถนนมีรายการดังตอไปนี้

1.แสดงตําแหนงจุดเริ่มตน ( Start Point ) พรอมระบุคาระดับกํากับ เชน GL±0.00

2.แสดงทิศทางพรอมคาความลาดเอียงของถนน เชน อัตราสวนความยาว 100 ซม. จะมีสวนสูงในแนวตั้ง 1


ซม. (Slope 1:100)

3.แสดงระยะของรอยตอตางๆ พรอมระบุชื่อของรอยตอนั้นๆ

4.แสดงตําแหนงของ คันหิน และชองเปดระบายน้ําขางคันหิน

5.แสดงรูปตัดและขยายรายละเอียดของถนน รอยตอ และคันหิน พรอมเหล็กเสริม

6.แสดงขนาดความกวางและยาวของถนน

7.แสดงแนวการตีเสนจราจร หรือเครื่องหมายทิศทางการเดินรถ

15 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

สําหรับแบบถนน สิ่งที่เราตองทราบในขั้นแรก กอนการทําแบบ คือชนิดของถนน วาเปนชนิดใด เปน


Standard Pavement หรือ Light Duty Pavement หรือ Heavy Duty Pavement และวัสดุทําดวยอะไร เชนเปน
คอนกรีตเสริมเหล็ก หรือวาแอสฟสท ซึ่งชนิดของถนนนั้นๆจะถูกระบุอยูในแบบงานแผนผังรวม ( Layout plan )

ใหเราตรวจสอบใหดี เพื่อที่จะใชเปนขอมูลในการทําแบบ ซึ่งในแตละประเภทของถนนนั้นจะมีรายละเอียด


ของความยาวและความกวางของถนนที่สามารถทําได ตลอดจนความหนาและการเสริมเหล็กตระแกรงที่ไม
เหมือนกัน.

ตอจากนั้นใหเราตรวจสอบจากแบบแปลนแผนผังรวมวา ถนนในโครงการนั้นๆ แบงออกเปนกี่ชองจราจร


และในแตละชองจราจรนั้นมีความกวางที่เทาไหร ใหเราลองขีดเสนลงในแบบ เพื่อกําหนดขนาดความกวางและยาว
ของถนนในแตละแผง ซึ่งตองเปนไปตามมาตรฐาน ของถนนในแตละชนิด รวมทั้งเสนดังกลาวจะแสดงถึงรอยตอใน
แตละประเภทอีกดวย.

จากนั้นใหเราทําการกําหนดคาระดับ โดยคิดคาความลาดเอียง (Slope 1:100) ใหตรวจสอบคาความตาง


ระดับ ระหวางถนนกับตัวอาคาร รวมถึง บริเวณประตูทางเขาหลักที่เชื่อมกับถนนดานนอกอาคาร ซึ่งสวนใหญในการ
ปลูกสรางอาคารใหมระดับถนน ภายในอาคารมักจะสูงกวาระดับของถนนภายนอก อาจจะตองคํานึงถึงอัตราสวน
ของคาความชันกับคาความลาดเอียงดวย.

รูปที่ B-01-2.1 แสดงแบบของการแบงขนาดของถนน

16 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

สวนทิศทางการระบายน้ําของถนน จะมีอยูดวยกัน 2 ชนิด คือ.

1. ปรับคาความลาดเอียงของถนนลงทั้งสองดาน ( หรือนิยมเรียกกันวา “หลังเตา” )


2. ปรับคาความลาดเอียงของถนนลงดานใดดานหนึ่ง

รูปที่ B-01-2.2 แสดงแบบคาความลาดเอียงของถนนลงรางระบายน้ําทั้งสองดาน

รูปที่ B-01-2.3 แสดงแบบคาความลาดเอียงของถนนลงบอพักน้ําทั้งสองดาน

17 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

รูปที่ B-01-2.4 แสดงแบบคาความลาดเอียงของถนนลงบอพักน้ําดาน เดียว

รูปที่ B-01-2.5 แสดงแบบคาความลาดเอียงของถนนลงรางระบายน้ําดาน เดียว

18 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

หลักในการกําหนดคาระดับสําหรับถนนที่ลาดลงทั้งสองดาน คือเราตองกําหนดใหระดับ ณ.จุดริมขอบคัน


หิน หรือริมรางระบายน้ํามีคาเทากับ GL+- 0,00 และใหคิดคาระดับความลาดเอียงขึ้นไปที่จุดกลางถนน ใน
อัตราสวน 1:100 ซึ่งถาถนนเรามีความกวางเทากับ 12.00 เมตร ครึ่งหนึ่งของความกวางจะเทากับ 6.00 เมตร ฉะนั้น
คาระดับจะสูงขึ้นจากเดิมเทากับ 0.06 เมตร ใหกํากับคาระดับลงในแบบเทากับ GL+-60 เปนตน

สําหรับรายละเอียดของถนนบริเวณริมรางระบายน้ํานั้น เราจะทํารางระบายน้ําเล็กๆไวตลอดความยาวของ
ถนนขนานไปกับปกรางระบายน้ําดานใน เพื่อชวยในการระบายน้ําและเปนการปองกันน้ําขังบริเวณขอบถนนดวย ซึ่ง
ในการทํางานสวนใหญงานรางน้ําจะทํากอนจนแลวเสร็จ จึงจะเริ่มทําการปรับและบดอัดดินเพื่อเทถนน เขาไปชนกับ
ปกรางน้ํา เพราะฉะนั้นจะเกิดรอยตอซึ่งใชโฟมพิงกับปกรางน้ําไว เพื่อแยกสวนของโครงสรางถนนกับรางน้ํา และจะ
นํายางมะตอยมาหยอดตลอดแนวรอยตอในทายที่สุด ที่ขอบรางน้ําใหเราทําการเปดชองไวเปนระยะเพื่อใชสําหรับ
ระบายน้ํา สวนตําแหนงของชองเปดสวนมากจะกําหนดไว ณ. ทุกๆจุดกึ่งกลางระหวางรอยตอของถนน

รูปที่ B-01-2.6 แสดงรายละเอียดของรอยตอถนนกับปกรางระบายน้ํา

19 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

ห ลังจากที่เราทําการแบงแนวของแผงถนน และกําหนดคาระดับทั้งหมดแลวเสร็จ เราตองทําการกําหนดชื่อ


ของแนวตางๆที่เราแบงลงบนแบบ พรอมทั้งทํารูปตัดแสดงรายละเอียดของถนนชนิดตางๆ ดวย.

รูปที่ B-01-2.7 แสดงการกํากับรายละเอียดของรอยตอถนนกับคาระดับถนน

สําหรับทางเขาดานหนาที่เปนทางลาด อัตราสวนของความลาดใหใชที่ 1 : 7 สําหรับความสูงของถนนที่มี


คาความตางระดับไมเกิน 5.00 เมตร. และในสวนของพื้นที่ความยาวของถนนกอนขึ้นตองมีระยะไมนอยกวา 6.00
เมตร

รูปที่ B-01-2.8 แสดงอัตราสวนของคาความลาดชันของถนน

20 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

หลังจากทําการแบงขนาดถนน พรอมกํากับคาระดับความลาดเอียงของถนนแลวเสร็จ เราตองทําการเขียน


รายละเอียดของมาตรฐานในการแบงความกวางยาวของถนนและรายละเอียดความหนาและการเสริมเหล็ก ถนนใน
แตละประเภทไวดวย.

มาตรฐาน ในสวนของ Standard Pavement และ Light Duty Pavement. ปกติความกวางจะเริ่มที่ 6.00
เมตร ความยาวนั้นจะเริ่มตั้งแต 6.00~8.00 เมตร

มาตรฐาน ในสวนของ Heavy Duty Pavement ปกติความกวางจะเริ่มที่ 6.00 เมตร และความยาวสูงสุดที่


10.00 เมตร.

รูปที่ B-01-2.9 แสดง มาตรฐานStandard Pavement และ Light Duty Pavement

รูปที่ B-01-2.10 แสดง มาตรฐาน Heavy Duty Pavement

21 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

สําหรับรายละเอียดของความหนาของถนนและการเสริมเหล็ก ตลอดจนความหนาของชั้นดินที่รองรับ
สามารถแบงออกไดตามชนิดของถนนตามประเภทการใชงานไดดังนี้

1. สําหรับถนนชนิด Standard Pavement ใหเราเขียนรูปตัดแสดง และกํากับคาความหนาของพื้นถนน ที่


ความหนา 0.20 ม. พรอมระบุขนาดของตระแกรงเหล็กที่ใช ขนาดเสนผาศูนยกลาง 6 มม.ตระแกรง
สี่เหลี่ยมจตุรัสขนาด 0.50x0.50 ม. วางหางจากผิวหนาถนนลึกลงในเนื้อคอนกรีตเทากับ 0.05 ม. และ
ตองกํากับความหนาของชั้นดินรองพื้นดวย.

รูปที่ B-01-2.11 แสดง มาตรฐาน Standard Pavement

2. สําหรับถนนชนิด Light Duty Pavement ใหเราเขียนรูปตัดแสดง และกํากับคาความหนาของพื้นถนน


ที่ความหนา 0.15 ม. อยางเดียวโดยไมจําเปนตองเสริมเหล็ก และตองกํากับความหนาของชั้นดินรอง
พื้นดวย.

รูปที่ B-01-2.12 แสดง มาตรฐาน Light Duty Pavement

22 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

3. สําหรับถนนชนิด Random Pavement ใหเราเขียนรูปตัดแสดง และกํากับคาความหนาของพื้นถนน ที่


ความหนา 0.07 ม. สําหรับวัสดุถนนที่เปนคอนกรีต และที่ความหนา 0.03~0.05 ม. สําหรับวัสดุถนน
ที่เปนแอลฟลท และตองกํากับความหนาของชั้นดินรองพื้นดวย.

รูปที่ B-01-2.13 แสดง มาตรฐาน Random Pavement

4. สําหรับถนนชนิด Heavy Duty Pavement ใหเราเขียนรูปตัดแสดง และกํากับคาความหนาของพื้น


ถนน ที่ความหนา 0.25 ม. พรอมระบุขนาดของตระแกรงเหล็กที่ใช ขนาดเสนผาศูนยกลาง 6 มม.ตระ
แกรงสี่เหลี่ยมจตุรัสขนาด 0.50x0.50 ม. วางหางจากผิวหนาถนนลึกลงในเนื้อคอนกรีตเทากับ 0.05 ม.
สําหรับวัสดุถนนที่เปนคอนกรีต และที่ความหนา 0.03~0.05 ม. และตองกํากับความหนาของชั้นดิน
รองพื้นดวย.

รูปที่ B-01-2.14 แสดง มาตรฐาน Heavy Duty Pavement

23 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

5. สําหรับถนนชนิด ชั่วคราวที่ ซึ่งมีทั้งชนิดที่ปูพื้นดวยบล็อกซีเมนตและใสหญาไวขางใน และชนิดที่เปนตัว


หนอนเพื่อเปนทางเทา ใหเราเขียนรูปตัดแสดง และกํากับคาความหนาของพื้นดินเดิมและดินถม หรือ
อาจจะเปนทรายถม เพื่อปรับระดับ . ในสวนของทางเดินสวนไหนที่มีคันหินกั้นที่ขอบใหเราระบุขนาดของ
คันหินดวย บางกรณีแผนวัสดุที่ใชปูพื้น อาจจะเปนแผนปูนสําเร็จรูปขนาดสี่เหลี่ยมจัตุรัส ใหเราจัดแบง
ลวดลายของแผนดวย โดยมากมักจะจัดใหเศษของแผนเฉลี่ยไวที่ดานขาง

รูปที่ B-01-2.15 แสดง มาตรฐาน Temporary Pavement

24 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

ในการเทถนนคอนกรีตในตละครั้งจะกอใหเกิดรอยตออยูดวยกัน 4 ชนิด คือ

รอยตอระหวางกอสราง ( Construction Joint )

รอยตอตามยาว ( Longitudinal Joint )

รอยตอเพื่อปองกันการแตกจากการหดตัว ( Contraction Joint )

รอยตอเพื่อปองกันการยืดหดและขยายตัว ( Expansion joint )

ในการเทถนนคอนกรีตนั้น มาตรฐานของบรัทกําหนดใหใช คากําลังอัดประลัยที่ 240 Kg/Cm3ที่รูปตัวอยาง


รูปทรงกระบอก (Concrete Strength 240 Kg/Cm3 Cylinder) และปริมาณในการเทคอนกรีตถนนแตละครั้งขึ้นอยู
กับสภาพความพรอมหลายปจจัย เชน แผนงาน จํานวนแรงงานและวัสดุที่ใชทําแบบ ปริมาณของเหล็กเสริมใน
คอนกรีต พื้นที่การขัดผิวหนาคอนกรีตและสภาพภูมิอากาศเปนตน โดยทั่วไปเฉลี่ยอยูที่ไมเกิน 1,500 ตารางเมตร
หรือประมาณ 150 คิวบิกเมตร ตอวัน.

สําหรับรอยตอระหวางการกอสราง ( Construction Joint ) และ รอยตอตามยาว ( Longitudinal Joint )


นั้นขึ้นอยูกับปริมาณการเทคอนกรีตในแตละครั้ง

สวนรอยตอเพื่อปองกันการแตกจากการหดตัว ( Contraction Joint ) นั้นใหเราทําการกําหนดลงในแบบ


แปลนที่ทุกๆความยาว 6.00~8.00 เมตร ในสวนของ Standard Pavement และ Light Duty Pavement

และทุกๆความยาว 10.00 เมตร. ในสวนของ Heavy Duty Pavement

สําหรับรอยตอเพื่อปองกันการยืดหดและขยายตัว ( Expansion joint ) นั้น ไมควรเกิน 50.00 เมตรตอความ


ยาวที่สามารถเทคอนกรีตไดในแตละครั้ง

สวนตอไปคือ เราตองทําแบบขยายรายละเอียดของรอยตอตางๆ ที่เกิดขึ้นทั้งหมดที่งานถนน ซึ่งในแตละ


รอยตอจะมีรายละเอียด ของขนาดเหล็กเดือย เหล็กตระแกรง ความกวางและความลึกของ รอยตัด ที่ไมเหมือนกัน
ขึ้นอยูกับวัตถุประสงคหลักที่ตางกัน

25 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

รอยตอเพื่อปองกันการยืดหดและขยายตัว ( Expansion joint ) : เปนรอยตอที่เกิดขึ้นเพื่อชวยปองกันการ


แตกราวของคอนกรีต เนื่องจากการยืดตัวของถนนที่ไดรับความรอนสะสมในเวลากลางวัน จนทําใหคอนกรีตขยายตัว
และปองกันการหดตัวของถนนที่ไดรับความเย็นในเวลากลางคืน. เหล็กเดือยสําหรับชวยถายแรงในการยึดเกาะ สวน
ในการวางเหล็กตระแกรงเหล็กเนื่องจากคิดเปน Temperature Bar จึงใหวาง ณ. ตําแหนงที่ผิวบนของถนน และให
ทําการแยกแผงเหล็กเสริม ณ.ตําแหนงของรอยตอ .

ในการทําแบบขยายและลงรายละเอียดของรอยตอประเภทนี้ ใหระบุรายละเอียดดังตอไปนี้

• แผนพลาสติค สําหรับปองกันความชื้น ( ความกวาง 0.60 ม. ความหนา 1.5 มม.)


• วัสดุที่นํามากั้นรอยตอ ( โดยมากใชโฟมขาว หนา 0.025 ม. )

• วัสดุที่นํามาหยอดแนวรอยตอ ( แอลฟลทผสมทราย หนา 0.025 ลึก ¼ ของความหนา )

• เหล็กเดือยสําหรับถนนชนิด Standard Pavement ( RB. ขนาดเสนผาศูนยกลาง 0.020 มม. ยาว


0.50 ม. ทเสริมทุกระยะ 0.30 ม. ทาจารบีที่ปลายดานหนึ่ง )
• เหล็กเดือยสําหรับถนนชนิด Heavy Standard Pavement ( RB. ขนาดเสนผาศูนยกลาง 0.025
มม. ยาว 0.50 ม. ทเสริมทุกระยะ 0.30 ม. ทาจารบีที่ปลายดานหนึ่ง )
• ตระแกรงเหล็ก ( ขนาด เสนผาศุนยกลาง 6 มม. ตระแกรง 0.15 x0.15 # )

รูปที่ B-01-2.15 แสดง มาตรฐาน Expansion joint

26 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

รอยตอระหวางการกอสราง ( Construction Joint ) : เปนรอยตอที่เกิดขึ้นในระหวางการกอสรางเพื่อ


สําหรับหยุดการทํางานในแตละวัน ขึ้นอยูกับปจจัยหลายอยาง อาทิเชน ปริมาณการเทคอนกรีตในแตละวัน เปนตน
ซึ่งหลังจากเทคอนกรีตแลวเสร็จใหรีบทําการบม ( เพื่อชวยควบคุมปริมาณน้ําในคอนกรีตมิใหสูญเสียไปในระหวางที่
คอนกรีตทําปฎิกริยา Hydration ภายใน ) และใหรีบทําการตัดแนวของรอยตอ เพื่อเปนการควบคุมแนวแตกให
เปนไปในทิศทางที่เราตองการ และใหทําการแยกแผงเหล็กเสริม ณ.ตําแหนงของรอยตอ .

ในการทําแบบขยายและลงรายละเอียดของรอยตอประเภทนี้ ใหระบุรายละเอียดดังตอไปนี้

• แผนพลาสติค สําหรับปองกันความชื้น ( ความกวาง 0.60 ม. ความหนา 1.5 มม.)


• ขนาดความกวางและลึกของรอยตัด ( กวางตั้งแต 5~10 มม. ลึก 0.05 ม.)
• วัสดุที่นํามาหยอดแนวรอยตอ ( แอลฟลทผสมทราย )
• เหล็กเดือยสําหรับถนนชนิด Standard Pavement ( RB. ขนาดเสนผาศูนยกลาง 0.020 มม. ยาว
0.50 ม. ทเสริมทุกระยะ 0.30 ม. ทาจารบีที่ปลายดานหนึ่ง )
• เหล็กเดือยสําหรับถนนชนิด Heavy Standard Pavement ( RB. ขนาดเสนผาศูนยกลาง 0.025
มม. ยาว 0.50 ม. ทเสริมทุกระยะ 0.30 ม. ทาจารบีที่ปลายดานหนึ่ง )
• ตระแกรงเหล็ก ( ขนาด เสนผาศุนยกลาง 6 มม. ตระแกรง 0.15 x0.15 # )

รูปที่ B-01-2.16 แสดง มาตรฐาน Construction joint

27 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

รอยตอเพื่อปองกันการแตกจากการหดตัว ( Contraction Joint ) : เปนรอยตอที่มาทําการตัดผิวถนนใน


ภายหลังจากเทคอนกรีตแลวเสร็จ เพื่อควบคุมใหการแตกที่ผิวของคอนกรีตใหเปนไปตามระยะและทิศทางที่เรา
กําหนด โดยใชความยาวมาตรฐานตามประเภทของถนนนั้นๆ .

เนื่องจากในการเทคอนกรีตที่พื้นที่และปริมาณมากๆในหนึ่งครั้ง ตัวคอนกรีตจะมีการยืดและหดตัว
เนื่องจากกระบวนการภายในของคอนกรีตเองและอิทธิพลของอุณหภูมิภายนอกที่มากระทํา จึงจําเปนตองตัดรอยตอ
ของถนนไว.สําหรับตระแกรงเหล็กเสริม ใหทําการเสริมตอเนื่องกันไป มิไดแยกหรือหยุด ณ.บริเวณรอยตอ

ในการทําแบบขยายและลงรายละเอียดของรอยตอประเภทนี้ ใหระบุรายละเอียดดังตอไปนี้

• แผนพลาสติค สําหรับปองกันความชื้น ( ความกวาง 0.60 ม. ความหนา 1.5 มม.)


• ขนาดความกวางและลึกของรอยตัด ( กวางตั้งแต 5~10 มม. ลึก 0.025 ม.)
• วัสดุที่นํามาหยอดแนวรอยตอ ( แอลฟลทผสมทราย )
• เหล็กเดือยสําหรับถนนชนิด Standard Pavement ( RB. ขนาดเสนผาศูนยกลาง 0.020 มม. ยาว
0.50 ม. ทเสริมทุกระยะ 0.30 ม. ทาจารบีที่ปลายดานหนึ่ง )
• เหล็กเดือยสําหรับถนนชนิด Heavy Standard Pavement ( RB. ขนาดเสนผาศูนยกลาง 0.025
มม. ยาว 0.50 ม. ทเสริมทุกระยะ 0.30 ม. ทาจารบีที่ปลายดานหนึ่ง )
• ตระแกรงเหล็ก ( ขนาด เสนผาศุนยกลาง 6 มม. ตระแกรง 0.15 x0.15 # )

รูปที่ B-01-2.17 แสดง มาตรฐาน Contraction joint

28 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

รอยตอตามยาว ( Longitudinal Joint ) : เปนรอยตอทางดานขางเพื่อปองกันการหอตัวของถนน โดยมาก


จะอยูที่กึ่งกลางของความกวางถนน เนื่องจากในการเทคอนกรีตถนนมักจะทําการเทไปตลอดความยาวกอน เพื่อเวนชอง
ไวสําหรับการสัญจรของยวดยานตางๆ หลังจากถนนฝงที่เทในตอนแรกไดอายุแลว จึงจะเริ่มทําการเทอีกดานหนึ่ง ซึ่งใน
แนวตลอดความยาวนั้น จะมีแนวบากเปนรองลึกเขาไปในเนื้อคอนกรีตเพื่อใชชวยในการยึดเกาะที่ดีขึ้นของคอนกรีต ใน
กรณีที่มีแรงขยายตัวออกทางดานขาง และจะมีการเสริมเหล็กขออย ( Deformed bar ) เพื่อชวยในการยึดเกาะดวย.

ในการทําแบบขยายและลงรายละเอียดของรอยตอประเภทนี้ ใหระบุรายละเอียดดังตอไปนี้

• ขนาดความกวางและลึกของรอยตัด ( กวางตั้งแต 5~10 มม.ลึก ¼ ของความหนา )

• วัสดุที่นํามาหยอดแนวรอยตอ ( แอลฟลทผสมทราย )
• เหล็กเดือยสําหรับถนนชนิด Standard Pavement ( DB. ขนาดเสนผาศูนยกลาง 0.016 มม.
ยาว 0.50 ม. ทเสริมทุกระยะ 0.30 ม.)
• เหล็กเดือยสําหรับถนนชนิด Heavy Standard Pavement ( DB. ขนาดเสนผาศูนยกลาง 0.020
มม. ยาว 0.50 ม. ทเสริมทุกระยะ 0.30 ม.)
• ตระแกรงเหล็ก ( ขนาด เสนผาศุนยกลาง 6 มม. ตระแกรง 0.15 x0.15 # )

รูปที่ B-01-2.18 แสดง มาตรฐาน Longitudinal joint

29 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

สวนสุดทายสําหรับแบบถนน คือในเรื่องของเสนแบงชองจราจรและชองจอดรถ ใหเราตองตรวจสอบแบบ


งานภายนอกวา ในสวนของบริเวณพื้นที่จอดรถเปนแบบใด เปนแบบลานกวางแลวทําการตีเสนแบงจราจร หรือจะ
เปนลักษณะของโรงจอดรถประเภทที่มีหลังคาคลุม ซึ่งในการจัดทําแบบถนนตองคํานึงถึงดวย ซึ่งประเภทของชอง
จอดรถ จะมีอยูดวยกันหลักๆแบงเปน 4 ประเภทดังนี้

1. แบงแนวตีเสนถนนแบบจอดรถในแนวขนาน

2. แบงแนวตีเสนถนนแบบจอดรถในแนวตั้งฉาก 90 องศา

3. แบงแนวตีเสนถนนแบบจอดรถในแนวเอียงทํามุม 30 องศา

4. แบงแนวตีเสนถนนแบบจอดรถในแนวเอียงทํามุม 45 องศา

สําหรับความกวางของชองจอดรถไมควรนอยกวา 2.40 ม. และความยาวไมควรนอยกวา 5.00 ม. สําหรับชองจอดรถ


สําหรับสีและขนาดของความกวางของเสนจราจร มาตรฐานใชสีขาวสะทอนแสง ความกวางอยูที่ 0.075 ม.

รูปที่ B-01-2.19 แสดง แบบของเสนแบงแนวการจอดรถ

30 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

B‐02‐1
• Main Gate & Wing wall

สําหรับแบบในสวนของทางเขาหลัก ในการจัดทําแบบจะมีรายละเอียดที่มาเกี่ยวของดวยคืองานถนน
ทางเขาดานหนา และงานกําแพงดานหนา ในการทําแบบทางเขาใหเราตรวจสอบในเรื่องของความกวางและความสูง
ของประตู ซึ่งตามมาตรฐานบริษัท จะกําหนดใหสูงเทากับ 1.50 เมตร สวนความกวางแลวแตแบบกําหนด และสวน
สําคัญในการทําแบบของประตู คือรางประตูและจุดยึดประตู

สวนใหญจะแบงประตูออกเปน 2 ชุด ชุดแรกจะมีขาค้ํายันกันลม ใชในการเลื่อนเปดและปดทางเขา ชุดหลัง


จะเปนประตูเลื่อนที่มีจุดยึดอยูกับกําแพงดานหนา เวลาเลื่อนประตูหลักเพื่อเปดทางเขาใหกวางสุดถนนทางเขาก็จะมี
จุดสัมผัสเพื่อยึดใหประตูรองเลื่อนเปดตามไปดวย ซึ่งจุดยึดเพื่อการเปดปดประตูจะสัมพันธกับงานกําแพงดานหนา

สวนกําแพงดานหนาสวนมากจะใชติดที่อยู ชื่อ และ โลโกบริษัทของโครงการนั้นๆ อาจจะมีการออกแบบชัก


รองแนวที่ผนังหรือมีพื้นที่ปลูกหญาดานหนา ซึ่งสวนของโครงสรางฐานรากของกําแพงมักจะทําเปนแบบตีนเปด
สวนตัวผนังอาจจะเปนไดทั้งผนังกออิฐฉาบปูนและผนังคอนกรีตเสริมเหล็ก ซึ่งสิ่งที่ตองระวังคือบริเวณตําแหนงที่จะ
เปนจุดยึดรางประตูและบริเวณที่จะเปนจุดสําหรับล็อคประตูดวย. ที่ตองระวังเพิ่มเติมคือในสวนของรั้วดานหนา หรือ
อาจจะเปนปอมยาม ที่จะมีสวนสัมพันธกับงานกําแพงดานหนา และบางโครงการอาจจะมีทางเทาเขามาเชื่อมตอกับ
กําแพง ฉะนั้นจะเห็นวา งานประตูทางเขาและงานกําแพงดานหนา จะมีงานสวนอื่นมาเกี่ยวของอีกมากมาย

รูปที่ B-02-1.1 แสดงรูปแบบของงาน ประตูและกําแพงทางเขา

31 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

สําหรับขอมูลตางๆที่ตองแสดงในแบบถนนมีรายการดังตอไปนี้

1.แสดงตําแหนงและรายละเอียดแบบแปลนของรางประตู

2.แสดงรูปดานและรูปตัดตลอดจนรายละเอียดของประตูหลักและประตูรอง

3.แสดงตําแหนงของลอ

4.แสดงตําแหนงของ จุดยึดรางบนและจุดกันกระแทกและจุดล็อคประตู

5.แสดงรายละเอียดแบบโครงสรางและแบบสถาปตยของกําแพงดานหนา

6.แสดงตําแหนงของทางเทา หรือจุดเชื่อมตอกับรั้ว,ปอมยาม

รูปที่ B-02-1.2 แสดงขอมูลที่ตองลงรายละเอียด

32 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

การเขียนรายละเอียดของประตูทางเขา กอนอื่นตองตรวจสอบตําแหนง ของประตู ทิศทางการเปดและ


ขนาดกวาง,ยาวและสูงของประตู ที่ประตูบานหลักที่ใชสําหรับเลื่อนโดยมากจะมีค้ํายันที่ดานหลังเพื่อปองกันประตู
ลมเวลาทําการเปดปด ในสวนของเหล็กประตูสวนลางและสวนค้ํายันใหทําการเทคอนกรีตเขาไปในชองวางเพื่อเปน
ตัวชวยถวงน้ําหนักใหมั่นคงยิ่งขึ้น และที่ประตูรองเหล็กประตูชุดบนจะยึดติดกับผนังดวยชุดรางประคองบนที่มีลูกลอ
อยูภายใน และใหทําการเทคอนกรีตเขาไปในชองวางของเหล็กประตูชุดลางเพื่อเปนตัวชวยถวงน้ําหนักใหมั่นคง
ยิ่งขึ้น

ระหวางประตูหลักกับประตูรองจะมีระยะทับซอนของประตู ( Over Lap ) ซึ่งในกรณีที่มีเหล็กซอยแนวตั้ง


ในบานประตูทั้งสอง เราตองทําการแบงชองหางของเหล็กซอยในใหตรงกันเพื่อความสวยงาม ระยะที่ใชในการซอน
จะอยูที่ความยาวไมเกิน 1.00 เมตร และในสวนของประตูรองก็เชนกันตองมีระยะซอนของประตูกับผนัง จะอยูที่
ความยาวไมเกิน 1.00 เมตร

สําหรับความสูงของประตูทั้งสองตามมาตรฐาน ตองสูงไมเกิน 1.50 เมตร เพื่อปองกันการลมของประตู


และสวนสําคัญที่จะเปนตัวกําหนดแนวของรางก็คือ ขนาดของเหล็กโครงสรางที่ใชทําประตู ระยะหางระหวางประตู
กับผนังซึ่งจะมีและขนาดของลูกลอที่รางประคองบน

รูปที่ B-02-1.3 แสดงขอมูลที่ตองตรวจสอบ

33 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

สําหรับการเขียนแบบรางลาง หลังจากทราบขนาดของเหล็กที่ใชทําประตู และชองวางระหวางผนังกับประตู


แลว เราจึงสามารถกําหนดแนวรางได โดยกึ่งกลางของเหล็กแนวในรางลางจะอยูที่กึ่งกลางของลอเสมอ ในการทํา
แบบใหขยายเฉพาะในสวนของแปลนรางทั้งสําหรับประตูหลักและประตูรอง ตรวจสอบความยาวของรางใหดี เพราะ
จะมีความยาวที่ไมเทากัน สวนระดับของถนนบริเวณรางนั้นจะตองไดระดับเสมอกัน และใหในรางนั้นๆเปนคาความ
ลาดเอียงเพื่อระบายน้ํา สําหรับแบบของรางลางจะมีหลายแบบใหเลือกใช ขึ้นอยูกับในแตละโครงการจะพิจารณา
เลือกใช และใหทํารายละเอียดของโครงสรางที่รองรับ บริเวณรางประตูดวย.

รูปที่ B-02-1.4 แสดงรายละเอียดของโครงสรางรับรางลาง

34 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

ในสวนการทําแบบขยายรายละเอียดของงานกําแพงดานหนา ใหเราตรวจสอบชนิดของผนังที่อาจจะเปนได
ทั้งในสวนของผนังคอนกรีตเสริมเหล็ก และผนังกออิฐฉาบปูน ตรวจสอบความหนา ความสูงของกําแพง และ
โครงสรางในสวนของ เสา,คาน,ฐานรากและเสาเข็ม สําคัญสุดคืออยาลืมทําเสาเอ็นและทับหลังในบริเวณที่จะใชเปน
จุดยึดรางประคองบนของประตู ตลอดจนแนวชักรองตางๆ ตามผูออกแบบกําหนดดวย.

รูปที่ B-02-1.5 แสดงรายละเอียดของโครงสรางรับกําแพงดานหนา

35 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

สําหรับสวนของแบบถนนดานหนาโครงการที่จะเชื่อมกับถนนสาธรณะ นั้น เราตองทําการแยกสวนของ


โครงสราง ไมใหไปมีผลกระทบกับ รางระบายน้ําสาธารณะดานหนา โดยการทําโครงสรางฐานรากมารองรับ เพื่อ
ปองกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น ทั้งจากการกอสราง และจากการทรุดตัวของถนนเอง

ในการทําแบบสวนนี้ เราตองทําไปพรอมๆกับการทําแบบรางประตูดานหนา เพราะเราตองเตรียมจุดรองรับ


ถนนสวนนี้ดวย หรือ อาจจะเพิ่มในสวนของฐานรากแยกสวนมารองรับก็ได สําหรับแบบในสวนที่ไปมีความสัมพันธ
กับรางระบายน้ําสาธารณะนั้น ใหเราทําการตรวจสอบขนาด และระยะของรางน้ํา เพื่อที่จะจัดทําแบบแปลนของ
เสาเข็ม และฐานราก พรอมทั้งรูปตัดที่จะแสดงใหเห็นถึงตําแหนงของฐานราก และรายละเอียดบริเวณที่พาดผานราง
น้ํา ระบุตําแหนงและขนาดของโฟมที่ใชในการแยกสวนโครงสราง

สําหรับแบบในสวนผิวถนน ตองระบุความสูงจากคาระดับถนนอางอิง ระบุคาความลาดเอียงของถนน


รวมถึงระบุ วัสดุในบริเวณที่ไปเชื่อมตอกับถนนสาะรณะ วาเปนผิว แอสฟสท หรือ คอนกรีต เปนตน

สวนสําคัญอีกอยางที่ตองระบุในแบบ คือ ตําแหนงของฝาบอระบายน้ํา ชนิดที่มีตระแกรงเหล็กปดทับ หรือ


อาจจะเปนตําแหนงของ ราง หรือ รู ระบายน้ํา ที่ผิวถนนดวย

รูปที่ B-02-1.6 แสดงรายละเอียดของโครงสรางรับถนนดานหนา

36 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

B‐03‐1
• Fence

แบบงานรั้ว สิ่งที่ตองทราบในเบื้องตนคือ ชนิดของรั้วในโครงการกอสรางของเราวามีกี่ประเภท ซึ่งจะมีระบุ


ประเภทของรั้วไวที่แบบแผนผัง ในการทําแบบรั้วใหเรากําหนดคาโคออรดิเนตลงในแบบดวย เพื่อใชในการอางอิง
ตําแหนงของหมุดหลักเขตที่ดิน เพื่อปองกันความผิดพลาดที่จะไมสรางรั้วเลยไปในที่ดินใกลเคียง.

หลังจากทราบประเภทของรั้วแลว ใหเรานําเอาความยาวของรั้วทั้งหมดมาทําการแบงขนาดความยาวในแต
ละแผงตามประเภทของรั้วนั้นๆ จุดที่ตองระวังคือ บริเวณที่รั้วสองประเภทหรือตางชนิดกันมาบรรจบกัน ซึ่งโดยมาก
จะเปนบริเวณของมุมอาคาร. หรือบริเวณที่เชื่อมตอมาถึงทางเขาดานหนา

สําหรับเรื่องของคาระดับของดินในแตละโครงการนั้น บางโครงการเราสามารถทําแบบรั้วตอเนื่องกันไปได
โดยใชคาระดับเดียวกัน แตบางโครงการเราตองทําการสรางรั้วลัดเลาะไปตามลักษณะภูมิประเทศ ในลักษณะของ
ขั้นบันได เพื่อคงไวซึ่งคาความตางระดับระหวางนอกและในรั้วเพื่อความปลอดภัยและความสวยงามของแบบ

สวนสําคัญอีกอยางหนึ่งในการกําหนดแนวของรั้ว คือแนวเสนขอบเขตที่ดิน โดยดูไดจากหมุดหลักเขตใน


การทํารั้วดานที่ติดกับที่ดินของเจาของอื่นหรือดานหนาทางเขา ใหเราเอาแนวหมุดหลักเขตเปนเกณฑแลวขยับแนวรั้ว
เขามาในเขตที่ดินของเราไมนอยกวา 0.025 ม.แลวจึงเริ่มลงมือสรางรั้ว โดยมิใหมีสวนหนึ่งสวนใดของโครงสรางรั้ว
ยื่นล้ําเขาไปในที่ดินขางเคียง

รูปที่ B-03-1.1 แสดงรายละเอียดขอบเขตของรั้ว

37 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

สําหรับวัสดุที่ใช ในสวนของโครงสรางเปนคอนกรีตเสริมเหล็กเทในที่ แตบางโครงการอาจเลือกทําเปนหลอ


สําเร็จ ( Precast System ) แลวจึงยกมาติดตั้งก็ได สวนอิฐบล็อกที่นํามาทําเปนผนังนั้นใหใชที่ความหนา 0.07 ม. ผิว
ของวัสดุใชชนิดผิวเรียบ เก็บรายละเอียดของแนวรองปูนกอ แลวจึงทาสีภายนอกทับ.ความกวางในแตละชวงไมควร
เกิน 3.00 ม. และความสูงจากระดับดินถึงระดับหลังรั้วไมนอยกวา 2.00 ม. โดยกําหนดใหคานคอดินสูงกวาระดับดิน
หรือหญาไมนอยกวา 0.15 ม.ทุกๆความยาว 30.00 ม.ใหทําการแยกโครงสรางออกจากกัน เพื่อเปนแนวรอยตอกวาง
ไมนอยกวา 0.02 ม. เพื่อปองกันการฉุดกันของรั้วในกรณีที่เกิดการทรุดหรือลมของรั้วชุดใดชุดหนึ่ง

รูปที่ B-03-1.2 แสดงรายละเอียดแบบของงานรั้ว ชนิดกําแพงกออิฐและรอยตอ

38 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

รั้วอีกชนิดหนึ่งคือ รั้วเหล็ก สวนมากจะถูกออกแบบ ใหอยูในสวนของดานหนาอาคาร ซึ่งจะมีหลายรูปแบบ


ขึ้นอยูกับเขตนิคมอุตสาหกรรม ฉะนั้นกอนลงมือทําแบบงานรั้ว เราตองทําการตรวจสอบมาตรฐานแบบในแตละพื้นที่
ดวย สําหรับโครงสรางของรั้วเหล็กจะเหมือนกับชนิดกออิฐ แตกตางกันตรงบริเวณของผนังเปลี่ยนมาใชเปนเหล็ก
แทน ซึ่งในการทําแบบรั้วเหล็ก ใหเราระบุวัสดุที่ใช พรอมระยะการติดตั้งและจุดยึดใหครบถวน

รูปที่ B-03-1.3 แสดงรายละเอียดแบบของงานรั้ว ชนิดรั้วเหล็ก

39 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

บริเวณมุมของรั้วที่มีรั้วตางชนิดมาบรรจบกันนั้น เปนสิ่งที่ตองทํารายละเอียดเพิ่มในงานเขียนแบบรั้ว เมื่อ


เราเริ่มทําการแบงรั้ว แนะนําใหเรายึดเอารั้วดานหนาอาคารเปนเกณฑในการแบงเต็มแผง ออกจากจุดรวม แลวปด
เศษของแผงรั้วที่ไมสามารถทําไดตามความยาวแผงมาตรฐาน ( L=3.00 ม. ) ไวดานทายโครงการ

สวนเรื่องของโครงสรางระหวางรั้วตางชนิดตองแยกออกจากกัน เราตองทําโครงสรางดานใดดานหนึ่งเปน
ลักษณะของคานยื่นเพื่อรับตัววัสดุที่จะทําเปนรั้ว เพราะบริเวณมุมเราไมสามารถใชฐานรากรวมกันได.

รูปที่ B-03-1.4 แสดงรายละเอียดแบบของงานรั้วบริเวณมุม

40 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

สําหรับแบบงานรั้วที่อยูในสภาพภูมิประเทศลักษณะเชิงเขาหรือเนินดิน หรือโครงการนั้นตองการที่จะสราง
รั้วใหเปนไปตามสภาพดินปจจุบัน ใหเราทําการเปลี่ยนคาระดับของรั้ว ณ.ตําแหนงที่เปนจุดเปลี่ยนของคาระดับดิน
สําหรับสวนที่ตองทํารายละเอียดแบบเพิ่มคือเรื่องของแบบโครงสรางที่มีการลดระดับของคานคอดิน และระดับของ
ฐานรากดวย.

รูปที่ B-03-1.5 แสดงรายละเอียดแบบของงานรั้วบริเวณเปลี่ยนคาระดับ

41 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

แบบงานรั้วสําเร็จ เริ่มเปนที่นิยมใชงานมากขึ้น มีหลายรูปแบบใหเลือกใชงาน สามารถนํามาแทนบริเวณรั้ว


ชนิดกออิฐได สําหรับการทําแบบรั้วประเภทนี้ จะใชระยะตางๆเหมือนรั้วกออิฐ ยกเวนเรื่องของการเตรียมโครงสราง
เชน งานเสาเข็ม งานคานคอดิน อาจจะเปนสวนที่ผูรับเหมาหลักตองรับผิดชอบเอง สวน เสา,ผนัง และทับหลังที่เปน
ระบบหลอสําเร็จมักจะเปนงานของผูรับเหมารั้ว ใหเราตรวจสอบรายละเอียดการติดตั้ง และขั้นตอนการกอสรางใหดี
กอนทําแบบงานรั้วดวย.

รูปที่ B-03-1.6 แสดงรายละเอียดแบบของงานรั้วชนิดสําเร็จรูป

สําหรับแบบรั้วที่อาจจะมีเพิ่มเติมคือ รั้วที่กั้นในเขตที่ดินของเจาของเดียวกัน ซึ่งผูออกแบบมักจะกําหนดให


เปนรั้วโปรง อาจเปนรั้วชนิดลวดหนาม ที่ใชเสาสําเร็จปกลงในดินหรืออาจจะทําฐานรากรองรับ และรั้วอีกประเภทที่
นิยมใชเหล็กกลมทําเปนเสาและกรอบ สวนวัสดุที่ใชทํารั้วมักจะใชเหล็กตาขาย ซึ่งในการจัดทําแบบอาจทําไดทั้งวัด
และตัดประกอบในที่ หรือติดตั้งเสาอยางเดียวสวนตัวของแผงรั้วใชทําระบบถอดประกอบไดฉะนั้นในการทําแบบรั้ว
ประเภทนี้ จึงตองใหรายละเอียดในสวนของ แบบขยายฐานเสาพรอมตําแหนงฝงนอต และแบบรายละเอียดของจุด
ยึดดนขางเสาดวย สวนรายละเอียดของฐานรากใหพิจารณาตามผูออกแบบซึ่งมีทั้งฐานรากรวม และฐานรากเดี่ยว
เปนตน.

42 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

รูปที่ B-03-1.7 แสดงรายละเอียดแบบของงานรั้วชนิดตาขายโปรง

รูปที่ B-03-1.8 แสดงรายละเอียดแบบของงานรั้วชนิดลวดหนาม

43 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

B‐04‐1
• Spirit House & Flag Pole

แบบงานฐานของศาลพระภูมิและงานฐานของเสาธงนั้น จัดเปนงานภายนอกที่ตองมีการจัดทํารายละเอียด
แบบดวยประเภทหนึ่ง ซึ่งบางโครงการอาจจะมีการจัดทําบางโครงการอาจจะไมมี ขึ้นอยูกับเจาของงานเปนหลัก การ
ทําแบบงานดังกลาวใหเราจัดทําทั้งแบบงานทางดาน สถาปตยกรรมและแบบงานโครงสราง ในสวนของรูปแบบและ
วัสดุตกแตงอาจจะปรับเปลี่ยนตามความตองการของเจาของงานหรือแลวแตผูออกแบบกําหนดรูปแบบของฐานศาล
พระภูมิอาจเปนรูปทรงวงกลมหรือสี่เหลี่ยม ขึ้นอยูกับผูออกแบบ ในสวนของการทําแบบคือตองตรวจสอบในเรื่องของ
โครงสรางฐานราก ความหนาพื้น ตลอดจนในสวนของเสาเข็ม ใหพิจารณาจากสภาพการรับแรงของชั้นดินในพื้นที่
นั้นๆในสวนของงานตกแตงพื้นมักจะเลือกใชวัสดุจากธรรมชาติ อาทิเชน ทําทรายลาง หรือหินลาง เพื่อมิใหพื้นผิวลื่น
เกินไป บางโครงการอาจจะใชวัสดุตกแตงเปนกระเบื้อง ใหพิจารณารุนกระเบื้องควรจะเปนแบบผิวไมมัน และ
ขอบเขตในการจัดรูปแบบ ควรจะใหอยูในสวนบริเวณฐาน และใชการทําทรายลางหรือหินลางเปนวัสดุในสวนของ
ขอบฐานที่มีสวนติดกับพื้นสนามหญา

สําหรับสวนประกอบอื่นๆที่เกี่ยวของ คือเรื่องของสายไฟที่จะมาจายใหตัวศาลพระภูมิ มักจะฝงไวที่ตําแหนง


ใตฐานของเสาศาล ใหทําการวางทอรอยสายมาพรอมกับตอนทําฐานรากแลวเผื่อปลายไวดวย

รูปที่ B-04-1.1 แสดงรายละเอียดแบบของงานโครงสรางฐานราก

44 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

รูปที่ B-04-1.2 แสดงรายละเอียดแบบของงานฐานศาลพระภูมิแบบกลม

รูปที่ B-04-1.3 แสดงรายละเอียดแบบของงานฐานศาลพระภูมิแบบสี่เหลี่ยม

45 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

สําหรับการทําแบบงานเสาธง ( Flagpole ) ในสวนของโครงสรางใหพิจารณาถึงจํานวนของเสาธงเพื่อ


เตรียมงานฐานรากไดอยางถูกตอง ในสวนของเสาเข็มนั้น.ใหตรวจสอบสภาพการรับน้ําหนักของชั้นดินตามสภาพ
หนางาน ซึ่งบางแหงอาจจะไมตองตอกเสาเข็ม อีกสวนที่มีความสําคัญในแบบของฐานเสาธง ใหทําแบบขยาย
บริเวณฐานเสาธงที่ตองมีการฝงนอตและเหล็กแผนประกับเพื่อใชยึดเสาธงกับฐานไวดวยกัน

รูปที่ B-04-1.4 แสดงรายละเอียดแบบของงานฐานเสาธง

46 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

ในสวนของการทําแบบทางดานสถาปตยกรรมของงานเสาธง กอนอื่นใหพิจารณาตําแหนงจากแผนผังรวม
ใหดี พรอมกับใหคาตําแหนงที่ใชอางอิงจากตัวอาคารหลัก ใหพิจารณาในเรื่องทิศทางของการที่จะตองพับเสาธงลง
เพื่อทําการซอมบํารุง ทั้งในเรื่องของการเปลี่ยนเชือกหรือการเปลี่ยนผืนธง

ควรทําการตรวจสอบขนาดความกวางระหวางเสาซึ่งบางครั้งขนาดของผืนธงก็เปนปจจัยที่ทําใหตองทําการ
ตรวจสอบและความสูงของแตละเสา ซึ่งโดยทั่วไปจะอยูที่ความสูง 10.00 และ 12.00 เมตร สําหรับในสวนของวัสดุ
ตกแตงที่พื้นฐานเสา ปกติจะใชหินลางในการตกแตง รวมทั้งการแบงแนวของลวดลายเพื่อปองกันการแตกราวดวย.

รูปที่ B-04-1.5 แสดงรายละเอียดแบบของงานเสาธง

47 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

B‐05‐1
• Vehicle  Shade
 

สําหรับการทํางานแบบในสวนของที่จอดรถ ใหเราพิจารณาแบบแผนผังรวมวาตําแหนงที่ตั้งอยูบริเวณใด
และตองใหมีความสัมพันธกับแบบคาระดับถนนบริเวณนั้น ตลอดจนคํานึงถึงทิศทางของการระบายน้ํา ตลอดจนให
ดูในสวนของพื้นถนน วาเปนพื้นชนิดใด อาจจะมีทั้งชนิดพื้นผิวที่เปนคอนกรีตเสริมเหล็กหรือลาดยาง (แอสฟลท)
หรือ บล็อคซีเมนตชนิดที่มีหญาปลูกอยูดานใน  

ตําแหนงที่ตั้งของโรงจอดรถ มักจะอยูบริเวณดานประตูหนาของตัวโรงงาน หรือบริเวณริมรั้วขนานกับถนน


ทางเขาหลักซึ่งในเรื่องของระยะรนนั้น ในบริเวณนี้สามารถทําชิดติดกับรั้วไดเลย ถาโครงการใด ที่ระบุตําแหนงของที่
จอดรถนั้น อยูบริเวณริมรั้วดานที่ติดกับแนวเขตที่ดินของคนอื่น ใหทําการตรวจสอบเรื่องของระยะรนในบริเวณนี้ใหดี
เพราะไมสามารถที่จะปลูกชิดกับแนวผนังได 

สําหรับโรงจอดรถ โดยทั่วไปจะแบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ  

1. สําหรับจอดรถยนต  
2. สําหรับจอดรถจักรยานยนต  

 
รูปที่ B-05-1.1 แสดงรายละเอียดแบบประเภทของโรงจอดรถยนตและรถจักรยานยนต

48 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

ในการทําแบบสถาปตยกรรมของโรงจอดรถยนต ใหระบุในสวนของ ความกวางความยาวและความสูง ของ


ชองจอดสําหรับรถในแตละประเภท ตําแหนงของการติดตั้งคันหิน  ตลอดจนระบุชนิดของแผนหลังคาและคาความ
ลาดเอียงของหลังคาดวย บางโครงการอาจออกแบบเปนลักษณะหลังคาลาดดานเดียว ( เพิงหมาแหงน ) หรือบาง
โครงการอาจจะออกแบบเปนลักษณะทรงปกผีเสื้อ ทั้งนี้ใหทํารายละเอียดแบบในสวนของการระบายน้ําจากหลังคา
ลงสูตัวถนนดวย อาจจะทําเปนลักษณะของ V‐Gutter ระบายลงสูบอพัก หรือออาจจะทําการโรยหินบริเวณระบาย
น้ําที่ชายใบเพื่อปองกันการชะหนาดินของน้ําที่ตกลงมาได 

 
รูปที่ B-05-1.2 แสดงรายละเอียดแบบประเภทของโรงจอดรถยนต

49 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

สําหรับในการทําแบบสถาปตยกรรมของโรงจอดรถจักรยานยนต ใหระบุในสวนของ ความกวางความยาว


และความสูง ของชองจอดสําหรับรถเหมือนกัน ถามีในสวนของการติดตั้งคันหินใหระบุตําแหนง  ตลอดจนระบุชนิด
ของแผนหลังคาและคาความลาดเอียงของหลังคาดวย บางโครงการอาจออกแบบเปนลักษณะหลังคาลาดดานเดียว
( เพิงหมาแหงน ) หรือบางโครงการอาจจะออกแบบเปนลักษณะทรงโคง ทั้งนี้ใหทํารายละเอียดแบบในสวนของการ
ระบายน้ําจากหลังคาลงสูตัวถนนดวย อาจจะทําการโรยหินบริเวณระบายน้ําที่ชายใบเพื่อปองกันการชะหนาดินของ
น้ําที่ตกลงมาได 

 
รูปที่ B-05-1.3 แสดงรายละเอียดแบบประเภทของโรงจอดรถจักรยานยนต

50 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557


 Somnuk Swangsansuk 
  B ‐ External  Drawing 

สําหรับในสวนของแบบโครงสรางทั้งสําหรับจอดรถทั้ง 2 ชนิด ในสวนของแบบฐานราก ใหพิจารณาตาม


สภาพของคุณภาพการรับน้ําหนักของชั้นดิน ซึ่งบางโครงการอาจจะตองทําการตอกเสาเข็ม ใหทําการระบุขนาดและ
ความยาวของเสาเข็มที่ใช สําหรับบางโครงการอาจใชชั้นดินรับน้ําหนักไดโดยตรง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับสภาพภูมิประเทศใน
แตละโครงการหรือตามผูออกแบบกําหนด พรอมทั้งทํารายละเอียดแบบฐานรากแผ ตามผูออกแบบกําหนด

สวนโครงสรางเหล็กที่นํามาทําเปนเสาและโครงหลังคา ใหเราระบุขนาดเสนผาศูนยกลางของเหล็กที่ใช ระบุ


ขนาดของแปและพุกรับแปหลังคา ตลอดจนขยายรายละเอียดในสวนของเหล็กประกับที่ฐานเสาอาจรวมถึงขนาด
และความยาวของน็อตที่ฝงลงในเนื้อคอนกรีตดวย 

  รูปที่ B-05-1.4 แสดงรายละเอียดแบบโครงสรางของโรงจอดรถทั้ง 2 ชนิด

51 

ห้องสมุด : ใกล้รงุ่ มีศีลธรรม(52) พ.ศ.2557

You might also like