You are on page 1of 13

METROLOGY info

Vol.21 No.W9-2019

NIMT ARTICLE:

ขอบคุณภาพจาก freepik.com

โมล คืออะไร ? ทําไมต้องเปลี่ยนนิยาม ?


เลขอโวกาโดร คืออะไร ?
การหาค่าเลขอโวกาโดรจากทรงกลมซิลิกอน
(Silicon sphere หรือ Si sphere) ทําได้อย่างไร ?
เอกสารประชาสัมพั นธ์ข่าวสารด้านมาตรวิทยา
บนเว็บไซต์ www.nimt.or.th
METROLOGY info
Vol.21 No.W9-2019
1
คืออะไร
Mole สั ญ ลั ก ษณ์ mol เป็ น หน่ ว ยวั ด พื้ นฐานหนึ่ ง ที่ ท าง
International System of Units (SI) ได้ บั ญ ญั ติ ใ ห้ เ ป็ น หน่ ว ยวั ด
พื้ นฐานทางเคมี คือ ปริมาณของสสาร (amount of substance)
ของระบบที่ ป ระกอบด้ ว ยองค์ ป ระกอบมู ล ฐาน (elementary
................................................................. entities) ซึ่ ง เป็ น ได้ ทั้ ง อะตอม (atoms), โมเลกุ ล (molecules),
อิ เ ล็ ก ตรอน (electrons), ไอออน (ions), อนุ ภ าคอื่ น ๆ (other
เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม particles) หรือกลุ่มจําเพาะเจาะจงของอนุภาคดังกล่าว
2562 สถาบั น มาตรวิ ท ยาโลก
“โมล” จะเกี่ ย วข้ อ งกั บ ปริ ม าณสารสั ม พั นธ์ ใช้ ใ นการหา
ไ ด้ ป ร ะ ก า ศ นิ ย า ม ห น่ ว ย วั ด
ปริมาณของสารตั้งต้นและผลผลิตที่ใช้และได้จากปฏิกิริยาเคมี โดย
พื้ น ฐ า น ( International
เป็นการอธิบายในเชิงปริมาณสารที่ต้องใช้ในปฏิกิริยาเคมีหนึ่งๆ เช่น
system of units, SI units)
สมการเคมี (สมการ 1) นี้
ทั้ง 7 หน่วยวัด รวมถึงหน่วย
วัดทางเคมีที่เรียกว่า “โมล” 2H2 (g) + 1O2 (g)  2H2O (g) สมการ 1

สามารถอธิบายสมการเคมีข้างต้นได้ว่า ก๊าซไฮโดรเจน 2 โมล


ทําปฏิกิริยาพอดีกับก๊าซออกซิเจน 1 โมล ได้ผลิตภัณฑ์เป็นนํ้า 2 โมล
ในสถานะก๊ า ซ หรื อ ธาตุ ใ ดๆ ที่ มี ป ริ ม าณ 6.022 140 76 x 10 23
อะตอมหรือ 1 โมล จะมีมวลเป็นกรัมเท่ากับมวลอะตอมของธาตุนั้นๆ
เช่น แมกนีเซียมมีมวลอะตอมเท่ากับ 24.3 ดังนั้น แมกนีเซียม 1 โมล
หรือ 6.022 140 76 x 1023 อะตอมจะมีมวล 24.3 กรัม


นิยามเดิมของโมล คือ


หนึ่ ง โมล คื อ ปริ ม าณของสารที่ มี ห น่ ว ยย่ อ ยเท่ า กั บ
จํานวนอะตอมของคาร์บอน-12 ทีม ่ ีมวล 0.012 กิโลกรัม

การที่ นิ ย ามเดิ ม ขึ้ น ตรงกั บ นิ ย ามของกิ โ ลกรั ม ต้ น แบบที่ เ ป็ น


ก้ อ นโลหะ ซึ่ ง เก็ บ รั ก ษาไว้ ท่ี International Bureau of Weights
and Measures (BIPM) และนํ้าหนักของต้นแบบกิโลกรัมนั้น มีการ
กิโลกรัมต้นแบบ
(International Prototype of
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ดังแสดงในรูปที่ 1
the kilogram, IPK)

2 METROLOGY info
Vol.21 No.W9-2019
เอกสารประชาสัมพั นธ์ข่าวสารด้านมาตรวิทยา
บนเว็บไซต์ www.nimt.or.th
การที่ น้ํ า หนั ก ของต้ น แบบกิ โ ลกรั ม มี ก าร ประกอบกับงานวิจัยบางประเภท ต้องการผลการวัด
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ทําให้นักวิทยาศาสตร์ มี ค วามแม่ น ยํ า มาก (high accuracy) และมี ค่ า
เกิดคําถามและความไม่ม่ันใจในการเปลี่ยนแปลง ค ว า ม ไ ม่ แ น่ น อ น ตํ่ า ๆ ( small measurement
ของต้นแบบกิโลกรัมนั้น การแปลงนิยามให้อยู่ใน uncertainty)ดังนั้น การอ้างอิงไปยังต้นแบบที่เป็น
รูปของค่าคงที่ทางฟิสิกส์ โดยการอ้างอิงทฤษฎี ก้ อ นโลหะผสมจึ ง ไม่ ต อบโจทย์ ข องการพั ฒนา
ที่ ผ่ า นการพิ สู จ น์ ม าแล้ ว นั้ น ทํ า ให้ นิ ย ามใหม่ มี วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในอนาคตได้อีกต่อไป
ความน่าเชื่อถือ พิ สูจน์ได้และมีเสถียรภาพมากขึ้น

รูปที่ 1 การเปลี่ยนแปลงนํ้าหนักของต้นแบบกิโลกรัม (International Prototype of the Kilogram, IPK)[1]

“ โมล สั ญ ลั ก ษณ์ “mol” คื อ หน่ ว ย SI ของปริ ม าณของสสาร


หนึ่งโมลมีจํานวน elementary entities อย่างแน่นอนเท่ากับ 6.022 140 76
x 1023 ตัวเลขนี้ถูกกําหนดเป็นค่าคงที่เรียกว่า ค่าคงที่อโวกาโดร (Avogadro
constant, NA) เมื่ อ เขี ย นในรู ป ของหน่ ว ย mol-1 และเรี ย กว่ า เลขอโวกาโดร


(Avogadro Number)

เอกสารประชาสัมพั นธ์ข่าวสารด้านมาตรวิทยา
บนเว็บไซต์ www.nimt.or.th
METROLOGY info
Vol.21 No.W9-2019
3
อาเมเดโอ อโวกาโดร (Amedeo Avogadro) นั ก วิ ท ยาศาสตร์
ชาวอิตาลี เสนอสมมติฐานว่า "ที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน ก๊าซต่างชนิด
กั น ที่ มี ป ริ ม าตรเท่ า กั น จะมี จํ า นวนโมเลกุ ล เท่ า กั น " ต่ อ มาภายหลั ง ได้
พิ สูจน์สมมติฐานของอโวกาโดรและได้รับการยอมรับในที่สุด เกิดเป็นกฎของ
อโวกาโดรขึ้นมา ซึ่งกล่าวว่า "ที่ความดันและอุณหภูมิของก๊าซคงที่ ปริมาตร
ของก๊าซจะแปรผันตรงกับจํานวนโมเลกุลหรือจํานวนโมลของก๊าซนั้น" เพื่ อ
เป็นเกียรติแก่อาโวการโดร ตัวเลข 1 โมล ซึ่งเท่ากับ 6.02 x 1023 จึงเรียกว่า
เลขอโวกาโดร (Avogadro Number, NA)
เมื่ อ มี ก ารนิ ย ามหน่ ว ยวั ด โมล ขึ้ น เลขอโวกาโดร หรื อ ค่ า คงตั ว
อาเมเดโอ อโวกาโดร
อโวกาโดร (Avogadro's constant) จึงสัมพั นธ์กับจํานวนของอะตอมของ
(Lorenzo Romano Amedeo
ธาตุคาร์บอนในไอโซโทปคาร์บอน-12 จํานวน 12 กรัมเท่ากับ 6.022140857 x Carlo Avogadro
1023 อะตอม ตามนิยามเดิม ค.ศ. 1776 - 1856)

+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
(Silicon sphere หรือ Si sphere)

เมื่อมีแนวคิดในการเปลี่ยน สาเหตุ ที่ เ ลื อ กศึ ก ษา Si อ้ า ง อิ ง ไ ป ที่ ต้ น แ บ บ กิ โ ล ก รั ม


นิ ย ามเนื่ อ งจากสาเหตุ ข้ า งต้ น sphere มีดังนี้ น อ ก จ า ก นั้ น Si sphere เ ป็ น
นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ จ า ก ห ล า ย ห ลั ก ฐ า น ชิ้ น สํ า คั ญว่ าค่ าคงที่
1. โครงสร้างผลึก (Crystal
หน่ ว ยงานได้ อ ภิ ป ราย โต้ แ ย้ ง ของอโวกาโดรในอดีตนั้นถูกต้อง
structure) ของซิ ลิ ก อนมี ค วาม
ตีพิมพ์ ผลงานวิจัย และอื่นๆ เพื่ อ รูปที่ 2 แสดง Si sphere ที่นํามา
สมบู ร ณ์ แ บบ กล่ า วคื อ มี ค วาม
เสนอแนวทางในการศึ ก ษาหาค่ า ้ นี้
ศึกษาในงานวิจัยชิน
สมมาตร โดยอะตอมเรี ย งตั ว ใน
อ โ ว ก า โ ด ร ที่ แ น่ น อ น พ บ ว่ า 4. ด้ ว ยวิ วั ฒ นาก า รท าง
ผลึ ก แบบลู ก บาศก์ ไม่ ยื ด หยุ่ น
การศึกษาผ่านผลึกซิลิกอนที่เ ป็น วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ทํ า ให้
ไม่ซับซ้อน สามารถวัด/หาขนาด
ทรงกลม (Silicon sphere) มี ส า ม า ร ถ ผ ลิ ต Si sphere 2 8
ของผลึกได้อย่างแม่นยํา
ความเป็ น ไปได้ สู ง ที่ สุ ด จึ ง เกิ ด (28Si enriched) ที่ความบริสุ ท ธิ์
2. ด้ ว ยเทคโนโลยี ปั จ จุ บั น
การรวมตั ว ของนั ก เคมี แ ละนั ก มากกว่า 99.995% และการผลิต
พบว่ าซิ ลิ ก อนเป็ น ธาตุ ที่ ส ามารถ
ฟิ สิ ก ส์ เพื่ อ ศึ ก ษาแ ล ะทํ า ก า ร ซํ้ า แต่ ล ะครั้ ง ทํ า ได้ ใ กล้ เ คี ย งกั น
ทําให้มีความบริสุทธิ์ได้สูง
ทดลองในการพิ สู จ น์ แ ละหาค่ า มาก
3. การอ้ า งอิ ง สมการหรื อ
อ โ ว ก า โ ด ร จ า ก ผ ลึ ก ซิ ลิ ก อ น
ค่าคงที่ของอโวกาโดรที่ได้จาก Si
(Silicon crystal) บริสุทธิ์
sphere ทําได้จริงและใช้แทนการ

4 METROLOGY info
Vol.21 No.W9-2019
เอกสารประชาสัมพั นธ์ข่าวสารด้านมาตรวิทยา
บนเว็บไซต์ www.nimt.or.th
ปกติ ซิ ลิ ก อนในธรรมชาติ จ ะมี
ไอโซโทป 28Si, 29Si และ 30Si (92.2%,
4.7% และ 3.1% ตามลําดับ)
enriched 2 8 Si คื อ ก า ร ที่
Isotope composition ไ ม่ เ ป็ น ไ ป
ตามธรรมชาติ โดยมี ไ อโซโทปใด
ไอโซโทปหนึ่งมากกว่าธรรมชาติ เช่น
ใ น ที่ นี้ Si sphere เ ป็ น enriched
28
Si หมายถึ ง มี 28 Si มากกว่ า ปกติ
โดยมีถึง 99.995%) ซึ่งการที่อะตอม
มี ไ อโซโทปเดี ย ว จะทํ าให้ โครงสร้ า ง
ผลึ กมี ความสมบู รณ์ แบบมากขึ้ น
สามารถหาค่ าแลตติ ชพารามิ เ ตอร์ ไ ด้
อย่างแม่นยํา
………………………………………….……
ไอโซโทป (isotope) เป็นความ รูปที่ 2 แสดง Si sphere ที่นํามาศึกษาในงานวิจัยชิ้นนี้[1]
แตกต่างขององค์ประกอบทางเคมีที่
เฉพาะเจาะจงของธาตุ ห นึ่ ง ซึ่ ง จะมี
จํ า นวนนิ ว ตรอนแตกต่ า งกั น นั่ น คื อ จากรูปที่ 2 แท่งซิลิกอนในรูปด้านซ้าย ถูกตัดแบ่งออกเป็ น
อะตอมของธาตุ ช นิ ด เดี ย วกั น จะมี ก้อนทรงกลมสองก้อน (Si sphere) หมายเลข AVO28-S5 และ
จํานวนโปรตอนหรือเลขอะตอมเท่ากัน AVO28-S8 ทั้งสองก้อนถูกส่งไปยังหน่วยงานต่างๆ เพื่ อหาความ
แต่มีจํานวนนิวตรอนต่างกัน ส่งผลให้ หนาแน่น มวล และศึกษาพารามิเตอร์ท่ีเกี่ยวข้อง ในขณะที่ส่วนที่
เลขมวล (โปรตอน+นิวตรอน) ต่างกัน เป็นชิ้นตรงกลาง (สีเหลือง) นําไปใช้ในการหาแลตติชพารามิเ ตอร์
ด้วย และเรียกเป็ นไอโซโทปของธาตุ มวลอะตอม เป็นต้น
นั้น ๆ.

เราจะนับจํานวนอะตอมใน Si sphere ได้อย่างไร?


การเปลี่ยนแนวคิดจากการชั่งนํ้าหนักคาร์บอน 12 มาเป็นการนับจํานวนอะตอม (counting atom) ของ
ิ อนใน Si sphere แทนนั้น ในความเป็นจริงเราไม่สามารถนับจํานวนอะตอมตรงๆ ได้ แต่สามารถศึกษาผ่าน
ซิลก
ความสั มพั นธ์เชิงปริมาตรได้ โดยเมื่อพิ จารณา Si sphere ลึกลงไปในระดับอะตอมจะพบว่า มีอะตอมของ
ซิลิกอนเรียงตัวกันอยู่ นักวิทยาศาสตร์พยายามนับจํานวนอะตอมใน Si sphere นี้ โดยอาศัยความสัมพั นธ์ดังนี้

จํานวนอะตอมของซิลิกอน = ปริมาตร Si sphere สมการ 2


ปริมาตรอะตอมของซิลิกอน

เอกสารประชาสัมพั นธ์ข่าวสารด้านมาตรวิทยา
บนเว็บไซต์ www.nimt.or.th
METROLOGY info
Vol.21 No.W9-2019
5
หากต้องการหาจํานวนอะตอมของซิลิกอนทั้งหมด ให้ใช้ปริมาตรทรงกลม (ปริมาตรของ Si sphere) เป็นตัวตั้ง
หารด้วยปริมาตรหนึ่งอะตอมของซิลิกอน ก็จะได้จํานวนอะตอมทั้งหมด (ดูรูปที่ 3 ประกอบ)

ในการหาจํานวนโมลสามารถ
หาได้จากสองความสัมพั นธ์คือ N จํานวนอะตอม = Vsphere ปริมาตรของ Si sphere สมการ 3
Vatom ปริมาตรของอะตอมซิลิกอน
1) จํ า นวนอะตอม หารด้ ว ย
เลขอโวกาโดร ตามสมการที่ 4 และ ท จํานวนโมล = N จํานวนอะตอม สมการ 4
NA เลขอโวกาโดร
2) มวล Si sphere หารด้วย
ม ว ลข อ ง ซิ ลิ ก อ น อ ะต อ ม ต าม
ท จํานวนโมล = m มวล Si sphere สมการ 5
สมการที่ 5 M มวลของอะตอมซิลิกอน
สมการที่ 4 และสมการที่ 5 นั้ น
เท่ากัน ย้ายข้างตัวแปรจะได้จํานวน N = m
NA M
อะตอมเท่ากับมวลของ Si sphere
คู ณ เลขอโวกาโดร หารด้ ว ยมวล
N
.
= m NA
ของซิ ลิ ก อนอะตอม จากนั้ น นํ า ไป M
แทนในสมการที่ 3 ได้ เ ป็ น สมการ
ที่ 6 ปริมาตรของซิ ลิ ก อนอะตอม m . NA = Vsphere สมการ 6
หาได้ จ ากโครงสร้ า งผลึ ก เท่ า กั บ M Vatom
a3 /8 (ดู หั ว ข้ อ ปริ ม าตรอ ะตอม
NA = Vsphere . M
ซิลิกอน) แทนตัวแปรลงในสมการ
a3 m
ที่ 6 จะได้สมการที่ 7 เป็ นสมการ 8
สุดท้ายที่ใช้ในการหาเลขอโวกาโดร
NA = 8 . M . Vsphere สมการ 7
ที่ ม าของสมการหาค่ า อโวกาโดร m . a3
ดังแสดงในรูปที่ 3 
รูปที่ 3 แสดงที่มาของสมการการหาเลขอโวกาโดร

จากสมการข้างต้นจะพบว่ามีตัวแปรเข้ามาเกี่ยวข้องทั้งหมด 4 ตัวแปร
ได้แก่ ปริมาตรของซิลิกอนอะตอม (หาจากแลตติชพารามิเตอร์, a) ปริมาตร
ของ Si sphere (Vsphere) มวลผลึกซิลิกอน (m) และมวลของซิลิกอนอะตอม
(M) นักวิทยาศาสตร์หาค่าของตัวแปรแต่ละตัวเพื่ อกําหนดค่าของเลขอโวกาโดร
ดังนี้

6 METROLOGY info
Vol.21 No.W9-2019
เอกสารประชาสัมพั นธ์ข่าวสารด้านมาตรวิทยา
บนเว็บไซต์ www.nimt.or.th
ปริมาตรอะตอมซิลิกอน ค่าแลตติชพารามิเตอร์
หาได้จากโครงสร้างผลึกซิลิกอน (Crystal หาได้ จ ากการใช้ เ ทคนิ ค X-ray interferometer หรื อ
structure) ในหนึ่งหน่วยเซลล์ (unit cell) ตาม X-ray crystal density คื อ การฉายรั ง สี เ อ็ ก ซ์ (มี คุ ณ สมบั ติ
ทฤษฎีในหนึ่งหน่วยเซลล์อะตอมของซิ ลิก อนจะ เป็นคลื่น) ไปยังผลึก บางส่วนของรังสีเอ็กซ์ จะสะท้อนออกไป
จัดเรียงตัวกันมีโครงสร้างผลึกของซิลิกอนเป็น บางส่ ว นผ่ า นไปยั ง ระนาบต่ อ ๆ ไป คลื่ น ที่ ส ะท้ อ นออกมาจาก
ลู ก บาศก์ มี อ ะตอมซิ ลิ ก อนอยู่ 8 อะตอม ดั ง ระนาบ จะเกิ ด การเสริ ม หรื อ หั ก ล้ า งกั น ตรวจวั ด มุ ม ของรั ง สี
แสดงในรูปที่ 4 และจากปริมาตรของหนึ่งหน่วย เอกซ์ที่เลี้ยวเบนนี้ จะทําให้สามารถคํานวณหาความยาวตามขอบ
เซลล์ ม าจาก กว้ า ง x ยาว x สู ง (ปริ ม าตร ของหน่ ว ยเซลล์ ข องผลึ ก ซิ ลิ ก อนได้ จากสมการของแบรกก์
ลู ก บาศก์ ) หรื อ a3 ดั ง นั้ น จะได้ ป ริ ม าตรหนึ่ ง (Bragg’s equation) ด้วยเทคนิคนี้สามารถวัดระยะของแลตติช
อะตอมเท่ากับ a3/8 ได้ อ ย่ า งแม่ น ยํ า รายละเอี ย ดเชิ ง ลึ ก สามารถค้ น คว้ า ได้ จ าก
เอกสารอ้างอิง[3]
รูปที่ 4
ปริมาตรของ Si sphere (Vsphere)
โครงสร้างผลึกซิลิกอน
ในหนึ่งหน่วยเซลล์ เมื่อ คือปริมาตรของ Si sphere ทีน ่ ํามาศึกษา คํานวณได้จาก
a คือแลตติชพารามิเตอร์ สูตรการหาปริมาตรพื้ นฐานของทรงกลม นักวิทยาศาสตร์ ของ
(ดัดแปลงจาก[2]) PTB และ NMIJ ใช้เครื่อง Optical Sphere interferometers
ในการหาค่ า เฉลี่ ย เส้ น ผ่ า นศู น ย์ ก ลางของ Si sphere โดย
การนับจํานวนอะตอมในหนึ่งหน่วยเซลล์ หลักการคร่าวๆ แสดงในรูปที่ 5 เบื้องต้นวัดระยะระหว่าง plate
ลูกทรงกลมทั้งหมดแสดงอะตอมของซิลิกอน a และ b จากนั้นนํา Si sphere มาวางตรงกลาง แล้วทําการวัด
 สีแดง คืออะตอมที่อยู่ในหน่วยเซลล์ ระยะระหว่าง Si sphere กับทั้งสอง plate แล้วนํามาหักลบกัน
่ อะตอม) มี 4 อะตอม
(นับเป็นหนึง จะได้ค่าเส้นผ่านศูนย์กลาง (d) วัดซํ้าหลายๆ ครั้งแล้วนํามาหา
 สีเหลือง คืออะตอมที่อยู่บนระนาบของหน่วยเซลล์ ค่ า เฉลี่ ย แทนค่ า ลงในสู ต รการหาปริ ม าตร จะได้ ป ริ ม าตรของ
(ใช้พ้ื นที่ 1 ใน 2 ของอะตอม) มี 6/2 = 3 อะตอม Sphere รายละเอี ย ดเชิ ง ลึ ก สามารถค้ น คว้ า ได้ จ ากเอกสาร
 สีเขียว คืออะตอมทีอ ่ ยู่ทีม
่ ุม (ใช้พ้ื นที่ 1 ใน 8 อ้างอิง[4]
ของอะตอม) มี 8/8 = 1 อะตอม ข้อดีหนึ่งของการขึ้นรูปซิลิกอนเป็นทรงกลม ทําให้ตัวแปร
รวมอะตอมทั้งหมดในหนึ่งหน่วยเซลล์ ในการหาปริมาตรมีเพี ยงตัวแปรเดียวคือ ค่าเฉลี่ยของเส้ นผ่ าน
4 + 3 + 1 = 8 อะตอม ศูนย์กลาง (หากขึ้นรูปเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส จะมีอย่างน้อยสามตัว
แปรคือ กว้าง, ยาว และสูง)

รูปที่ 5 การหาปริมาตรของ Si sphere ด้วยเทคนิค Optical Interferometry

เอกสารประชาสัมพั นธ์ข่าวสารด้านมาตรวิทยา
บนเว็บไซต์ www.nimt.or.th
METROLOGY info
Vol.21 No.W9-2019
7
มวลของ Si sphere (m)
หาได้จากการชั่งนํ้าหนักของผลึกซิลิกอน จาก
mass comparator ที่ ชั่ ง นํ้ า หนั ก ของ Si sphere mcore = mtot - moxide - mdef - msorpt สมการ 8
ได้ในสุญญากาศ และในบรรยากาศที่ควบคุมอุณหภูมิ
ความดั น และความชื้ น แต่ ใ นการชั่ ง นํ้ า หนั ก นี้ เมื่อ mcore คือ มวลจริงๆ ของ Si sphere
ประกอบไปด้ ว ยปั จ จั ย หลายอย่ า ง แสดงได้ ดั ง mtot คือ มวลรวมของ Si sphere
สมการ 8  moxide คือ มวลของซิลิกอนออกไซด์ (หาได้จาก
นักวิทยาศาสตร์ของ BIPM, PTB และ NMIJ ความหนาแน่นของซิลิกอนออกไซด์)
ชั่งนํ้าหนักของ Si sphere ทั้งสองก้อน แล้วนําผล mdef คือ มวลของความไม่สมบูรณ์ของผลึก
การทดลองมาเปรี ย บเที ย บกั น เพื่ อหามวลของ Si (คํานวณได้จากปริมาณสารปนเปื้ อน
sphere ผลการวัดทั้งหมดสามารถสอบกลับไปยัง และตําแหน่งว่างในผลึกซิลิกอน
มาตรฐานเดี ย วกั น คื อ ต้ น แบบกิ โ ลกรั ม (IPK) ผ่ า น ทั้งก้อน Si sphere)
ต้ น แบบกิ โ ลกรั ม ของแต่ ล ะประเทศเอง จากการ msorpt คือ มวลของปริมาณสารปนเปื้ อนและ
ทดลองพบว่าค่าที่วัดได้มีความใกล้เคียงกันมาก ไม่ การดูดซับความชื้น (หาได้จากการ
แตกต่ า งกั น อย่ า งมี นั ย สํ า คั ญ รายละเอี ย ดเชิ ง ลึ ก วิเคราะห์พ้ื นผิวของ Si sphere)
สามารถค้นคว้าได้จากเอกสารอ้างอิง[5]

มวลอะตอมของซิลิกอน (M)
การหามวลอะตอมได้ จากค่ า เฉลี่ยผลรวมของทั้ ง สาม
M = Σ M( Si)x
n
n สมการ 9 ไอโซโทป ดังแสดงในสมการ 9
n ส่ ว นที่ ต้ อ งพิ จารณาคื อ ปริ ม าณของแต่ ล ะไอโซโทป
นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ จ า ก PTB ใ ช้ เ ท ค นิ ค IDMS (Isotope
เมื่อ n คือ ไอโซโทปของซิลิกอน
Dilution Mass Spectrometry) ด้วยเครื่อง MC-ICP-MS
(28, 29, 30)
(Multi-collector Inductively Coupled Plasma Mass
M(nSi) คือ มวลอะตอมของแต่ละ Spectrometer) ซึ่งเป็นวิธีท่ีให้ค่าความไม่แน่นอนตํ่าในระดับ
ไอโซโทป 10-9 ทําได้โดยนําตัวอย่างผลึกซิลิกอนส่วนที่เหลือจากการขึ้น
(ข้อมูลของมวลอะตอม
รู ป Si sphere ม า ล ะ ล า ย ด้ ว ย ส า ร ล ะ ล า ย โ ซ เ ดี ย ม -
(exact mass) ของแต่ละ
ไฮดรอกไซด์ แล้วใช้ enriched 30
Si (ที่ทราบความเข้มข้นที่
ไอโซโทปได้จาก IUPAC)
แน่ น อน) เป็ น Spike เติ ม ลงในตั ว อย่ า งผลึ ก ซิ ลิ ก อนตาม
xn คือ ปริมาณของแต่ละไอโซโทป
เท คนิ ค IDMS ทํ าใ ห้ ส าม ารถ ห าป ริ ม า ณ (amount-of-
(amount-of-substance) substance) ข อ ง 29
Si แ ล ะ 30
Si ที่ มี ป ริ ม า ณ น้ อ ย ม า ก
(หาจาก IDMS ดังรูปที่ 6)
(รวมกันน้อยกว่า 0.005%) ได้อย่างแม่นยํา รายละเอียดใน
เรื่องนี้มีมากเกินกว่าจะอธิบายในบทความนี้ได้ สามารถค้นคว้า
เพิ่ มเติมได้จากเอกสารอ้างอิง[6] ถึง [9]

8 METROLOGY info
Vol.21 No.W9-2019
เอกสารประชาสัมพั นธ์ข่าวสารด้านมาตรวิทยา
บนเว็บไซต์ www.nimt.or.th
IDMS (Isotope dilution mass
spectrometry) เป็ นเทคนิ คที่ ได้ รับการยอมรั บ
ว่ า มี ค วามแม่ น ยํ า สู ง และมี ค่ า ความไม่ แ น่ น อน
ของการวัดตํา่

คล้ า ยกั บ วิ ธี ก ารวิ เ คราะห์ ด้ ว ยเทคนิ ค


internal standard แต่ใช้ธาตุตัวเดียวกับที่สนใจ
(analyte) แต่มีไอโซโทปต่างกันมาเป็น internal
standard (ในที่ นี้ คื อ 30 Si) วั ด สั ญ ญาณเ ป็ น
อั ต ราส่ ว นแทน ซึ่ ง เป็ น การวิ เ คราะห์ ธ าตุ ตั ว
เดี ย วกั น คุ ณ สมบั ติ ท างกายภาพและทางเคมี
รูปที่ 6 การหาปริมาณ Si และ Si จาก IDMS
29 30 (เกือบจะ) เหมือนกัน ทําให้อิทธิพลภายนอก เช่น
การเตรียมตัวอย่าง การนําสารละลายตัวอย่างเข้า
เครื่ อ ง เป็ น ต้ น ไม่ ส่ ง ผลต่ อ ทั้ ง analyte และ
internal standard

ปัจจัยอื่นๆ ที่ต้องพิ จารณาควบคู่ไปกับตัวแปรที่กล่าวมา


ทั้งหมด
เนื่ อ งจาก Si sphere ในอุ ด มคติ ไ ม่ ไ ด้ มี อ ยู่ จ ริ ง ดั ง นั้ น ต้ อ ง
พิ จารณาปั จจั ยอื่น ๆ เพื่ อให้ได้ผลการวัดที่แ ม่นและเชื่ อถือ ได้ โดย
พิ จารณาทุ ก เหตุ ปั จ จั ย ที่ อ าจจะส่ ง ผลต่ อ ผลการวั ด และผลการวั ด
ความไม่สมบูรณ์แบบของตัว Si sphere เองด้วยเช่นกัน ปั จจัย ที่
อาจทําให้เกิดความไม่สมบูรณ์แบบของ Si sphere ได้แก่
1. Oxide ของซิ ลิ ก อน หรื อ Silicon oxide ที่ เ คลื อ บอยู่
บน ผิ ว ข อ ง Si sphere เกิ ด จาก ก า ร ที่ ผิ ว ข อ ง Si sphere ทํ า
ปฏิกิริยากับออกซิเจนเมื่อสัมผัสกับอากาศ
2.ความชื้นในบรรยากาศที่เกาะบนพื้ นผิวของ Si sphere ที่
อาจส่งผลต่อนํา้ หนักของ Si sphere
3. โครงสร้ า งผลึ ก เองที่ ไ ม่ ส มบู ร ณ์ เช่ น มี อ ะตอมของ
ซิลิกอนหายไปจากบางหน่วยเซลล์
4. Impurity หรื อ ความไม่ บ ริ สุ ท ธิ์ ข อง Si sphere เอง
โอกาสที่จะมีอะตอมหรือธาตุอื่นเข้ามาปนเปื้ อน เช่น C, O, N, H
5. ความหนาของพื้ นผิวที่ไม่ใช่ซิลิกอน

นักวิทยาศาสตร์ได้คํานึงถึง ปั จ จัยเหล่ านี้ เพื่ อใช้คํานวณเลข


อโวกาโดรให้ แ ม่ น ที่ สุ ด นั ก วิ ท ยาศาสตร์ พ ยายามควบคุ ม ค้ น หา
คํานวณและประเมินออกมาในรูปของตัวเลข เป็นค่าความไม่แน่น อน
ของการวัดในแต่ละพารามิเตอร์
ขอบคุณภาพจาก freepik.com

เอกสารประชาสัมพั นธ์ข่าวสารด้านมาตรวิทยา
บนเว็บไซต์ www.nimt.or.th
METROLOGY info
Vol.21 No.W9-2019
9
สรุปผลการทดลอง
จากการวั ด ค่ า ตั ว แปรต่ า งๆ ที่ ส่ ง ผลต่ อ เลข ที่อาจเกิดขึ้น
อโวกาโดร ตารางที่ 1 แสดงค่ า อโวกาโดรของ Si
จากการเปลี่ยนแปลงนิยาม
sphere ทั้ ง สองก้ อ น พบว่ า ไม่ มี ค วามแตกต่ า งกั น
.....................................................
อย่ า งมี นั ย สํ า คั ญ เมื่ อ นํ า มาหาค่ า เฉลี่ ย จะได้ เ ท่ า กั บ
6.022 140 76 x 10 23 และมี ค่ า ความไม่ แ น่ น อนของ กลุ่มที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดคือ วงการ
การวัดเป็นไปตามที่กําหนดไว้คือ 10-9 การศึ ก ษาทั่ วโลก และสถาบั น มาตรวิ ท ยาของ
แต่ ล ะประเทศ ที่ ต้ อ งทํ า ความเข้ า ใจ ให้ ข้ อ มู ล
ตารางที่ 1 ค่าอโวกาโดรของ Si sphere หมายเลข AVO28-S5
รวมถึ ง จั ด การเรี ย นการสอนให้ เ ป็ น ปั จ จุ บั น
และ AVO28-S8[10]
รวมถึงสื่อ สิ่งพิ มพ์ ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับนิยามของ
Sphere NA/1023 mol-1 ur/10-9
“โมล” ต้องตีพิมพ์ และแก้ไขใหม่ นักวิทยาศาสตร์
AVO28-S5 6.022 140 72(13) 21
และนักเรียน นักศึกษาสายวิทยาศาสตร์ที่ต้องทํ า
AVO28-S8 6.022 140 80(14) 23
ความเข้าใจกับพื้ นฐานของหน่วยวัดใหม่ เพื่ อให้
Mean value 6.022 140 76(12) 20
ความรู้มีความเป็นปัจจุบัน การเปลี่ยนนิยามของ
ตารางที่ 2 แสดงแหล่งที่มาของความไม่แน่นอน “โมล” ถือเป็นเรื่องสําคัญ แต่จะไม่ส่งผลกระทบ
ข อ ง ก า ร วั ด แ ล ะ % Contribution ข อ ง แ ต่ ล ะ โดยตรงกับการทํางานของนักวิทยาศาสตร์เพราะ
พารามิ เ ตอร์ ท่ี ส่ ง ผลต่ อ การวั ด จากตารางจะเห็ น ว่ า สาเหตุดังนี้
มีสองพารามิเตอร์หลักที่ส่งผลต่อการวัดมากถึง 80% ■ การรายงานผลการวั ด ทางเคมี จะอยู่
ไ ด้ แ ก่ ป ริ ม า ต ร ข อ ง Si sphere แ ล ะ surface ในรู ป ของเศษส่ ว นมวล, ความเข้ ม ข้ น จะใช้ เ ลข
characterization โ ด ย มี % Contribution สู ง ถึ ง อโวกาโดรเพื่ อแปลงปริ ม าณสารให้ อ ยู่ ใ นหน่ ว ย
59% และ 23% ตามลําดับ ของโมลเท่านั้น

ตารางที่ 2 ค่าความไม่แน่นอนของการวัด Si sphere หมายเลข ■ เลขอโวกาโดรเปลี่ ยนไปจากเดิม เพี ยง


AVO28-S5[10] เล็กน้อย ทําให้ไม่ส่งผลต่อการรายงานผลการวัด
Quantity ur/10-9 % ของห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ทดสอบ
Molar mass 5 6 ■ สําหรับนักเคมีวิเคราะห์ ห้องปฏิบัติการ
Lattice parameter 5 6 วิเคราะห์ทดสอบ โดยมากจะไม่คุ้นกับหน่วยโมลนัก
Surface characterization 10 23 เพราะปกติเราหาปริมาณสิ่งหนึ่งในอีกสิ่งหนึ่งแล้ว
Sphere volume 16 59 รายงานในรูปของความเข้มข้น (concentration)
Sphere mass 4 4 และสัดส่วนโมล (mass fraction) ซึ่งผลการวัด
Point defects 3 2 จะสอบกลับไปยังหน่วยวัดมวล
Total 21 100 ■ การสอนและงานเชิ ง ทฤษฎี ต้ อ งปรั บ
เปลี่ยนให้มีความเป็นปัจจุบัน

10 METROLOGY info
Vol.21 No.W9-2019
เอกสารประชาสัมพั นธ์ข่าวสารด้านมาตรวิทยา
บนเว็บไซต์ www.nimt.or.th
จะเป็นอย่างไรต่อไป ?
การสอบกลับได้ทางการวัดเป็นคุณสมบัติหนึ่งของผลการวัด ที่บ่งบอกถึงคุณภาพและความน่าเชื่อถือของ
ผลการวัด จากนี้ไป การแปลงปริมาณสารให้เป็นจํานวนโมล จํานวนอะตอม ไอออน อนุภาค หรือสิ่งที่เราสนใจ จะ
ทําได้ง่ายโดยผ่านเลขอโวกาโดร ไม่จําเป็นต้องคํานวณผ่านคาร์บอน 12 อีกต่อไป ดังแสดงในรูปที่ 7

นิยามเดิม (ยกเลิก) นิยามใหม่


Amount of substance Amount of substance
ปริมาณสาร ปริมาณสาร

▼ ▼
Molar mass of carbon 12, to be exactly ▼
0.012 kg/mol ▼
สารหนึ่งโมล มีค่าเท่ากับจํานวนอะตอมของ 12C

หนัก 0.012 กิโลกรัม)

▼ Avogadro constant,
Avogadro constant, NA (6.022 140 857 x 1023) NA (6.022 140 76 x 1023)
ค่าคงที่ของอโวกาโดร ค่าคงที่ของอโวกาโดร

รูปที่ 7 การแปลงปริมาณสารไปเป็นจํานวนโมลด้วยเลขอโวกาโดร

ถึงแม้ว่าผลกระทบในทางปฏิบัตินั้นค่อนข้างน้อย นับว่าเป็นนิมิตหมายอันดีท่ีทํ า ให้


นักเคมี นักวิทยาศาสตร์แทบไม่ต้องเปลี่ยนวิถีชีวิต หรือวิธีการคํานวณปริมาณสารแต่อย่างใด
แต่เมื่อพิ จารณาในมุมมองของประวัติศาสตร์ และวงการวิทยาศาสตร์โลกแล้ว การนิยาม
หน่วยโมลใหม่ครั้งนี้ ถือว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งสํ าคัญในศตวรรษเลยก็ว่าได้ ทั้งนี้
เพราะนับจากวันที่ 20 พฤษภาคม 2562 จะไม่มีการอ้างอิงโมลไปยั งคาร์ บอน 12 อีก
ต่ อ ไป และถู ก แทนที่ ด้ ว ยเลขอโวกาโดรโดยตรง เป็ น ความร่ ว มมื อ ของนั ก เคมี แ ละ
นั ก ฟิสิ ก ส์ จ ากหน่ ว ยงานวิ จั ย ชั้ น นํ า ทางด้ า นมาตรวิ ท ยาหลายสิ บ ชี วิ ต ที่ ร่ ว มกั น สร้ า ง
ประวัติศาสตร์ครั้งนี้ ไม่ใช่ผลงานของนักวิทยาศาสตร์คนใดคนหนึง ่ อย่างที่เป็นในอดีต

เอกสารประชาสัมพั นธ์ข่าวสารด้านมาตรวิทยา
บนเว็บไซต์ www.nimt.or.th
METROLOGY info
Vol.21 No.W9-2019
11
รวมถึงความเกี่ยวข้องระหว่าง โมล และ Avogadro Number
ลําดับการพั ฒนางานด้านวิทยาศาสตร์ท่ีสําคัญๆ ที่เกี่ยวกับโมล จะเห็นว่า Avogadro Concept เกิด
ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1811 แต่เพิ่ งจะมีหลักฐานหรือการทดลองทางวิท ยาศาสตร์ม ายื นยันสมมติฐ านได้ ก็ป ระมาณ
หนึง่ ศตวรรษให้หลัง
ค.ศ. John Dalton
<<
1808 เสนอนิยามของมวลอะตอม
แต่ไม่มีหลักฐานการทดลอง
Amedeo Avogadro ค.ศ.
>>
เสนอสมมติฐานว่า จํานวนโมเลกุล 1811
ทุกก๊าซจะเท่ากันที่ปริมาตร
อุณหภูมิ และความดันเดียวกัน ค.ศ. Stanislao Cannizzaro
<<
1858 ่ วกับความสัมพั นธ์
ตีพิมพ์ เกีย
ของสูตรเคมีกับนํา้ หนักอะตอม
Wilhelm Ostwald ค.ศ.
>>
กําหนดนิยามของ “โมล” โดย 1893
่ ํ้าหนักในหน่วยกรัม
อ้างอิงไปทีน

ค.ศ. Jean Perrin &


<< Albert Einstein
1909
มีการทดลองเพื่ อยืนยันและอธิบายทฤษฎีเกี่ยวกับ
Friedrich von Laue & Knipping ค.ศ. อะตอม และมีการนิยามเลขอโวกาโดรขึ้น
>>
แนวคิดเรื่อง “โมล” ใช้เป็น 1912
หน่วยวัดทางเคมี และ/หรือ
หน่วยที่เกีย
่ วข้องกับจํานวนอนุภาค
ค.ศ. ก่อตั้ง IUPAC
<<
1919 (International Union of Pure
and Applied Chemistry)
ในการประชุม 14th General Conference ค.ศ.
>>
on Weights and Measures 1971
SI กําหนดให้ “โมล” เป็นหน่วยพื้ นฐาน
ค.ศ. ก่อตั้ง CCQM (Consultative Committee
<<
1993 for Amount of Substance)

ค.ศ.
กําหนดนิยามใหม่ของ “โมล” >>
2019
ขอบคุณภาพจาก commons.wikimedia.org

|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||

12 METROLOGY info
Vol.21 No.W9-2019
เอกสารประชาสัมพั นธ์ข่าวสารด้านมาตรวิทยา
บนเว็บไซต์ www.nimt.or.th
เอกสารอ้างอิง เนื้อหาบทความ
โดย
[1] B. Güttler, H. Bettin, R. J. C. Brown, R. S.
Davis, Z. Mester, M.J. T. Milton, A. Pramann, ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
O. Rienitz, R. D. Vocke, R. I. Wielgosz,
Accepted manuscript, Metrologia, 2019
2. L. Shi-Songa, Z. Zhong-Huab, Z. Weia, L. Graphic Design
Zheng-Kun, H. Song-Ling, Chinese Physics B, โดย
September 2014
3. E. Massa, G. Mana, L. Ferroglio, E.G. Kessler,
D. Schiel, S. Zakel, Metrologia, 48, 2, 2011
4. N. Kuramoto, K. Fujii, K. Yamazawa,
ฐานิยา คัมภิรานนท์
Metrologia, 48, S83, 2011
กลุ่มงานสื่อสารองค์การ
5. A. Picard, P. Barat, M. Borys, M. Firlus,
S. Mizushima, Metrologia 48, S112, 2011 ********************
6. A. Pramann, O. Rienitz, D. Schiel, J. Schlote,
สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ
B. Güttler, S. Valkiers, Metrologia 48, S20, 2011
www.nimt.or.th
7. O. Rienitz, A. Pramann, D. Schiel, International
Journal of Mass Spectrometry, 289, 47, 2010
8. A. Pramann, O. Rienitz, D. Schiel, B. Güttler,
International Journal of Mass Spectrometry
299, 78, 2011
9. A. Pramanna, O. Rienitza, D. Schiela,
B. Güttler, S. Valkiersb, International Journal
of Mass Spectrometry, 305, 58, 2011
10. Final Publishable JRP Report, Version V1.1,
October 2015

ติดตาม
่ ๆ ได้ที่
บทความด้านมาตรวิทยาอืน

เอกสารประชาสัมพั นธ์ข่าวสารด้านมาตรวิทยา
บนเว็บไซต์ www.nimt.or.th
METROLOGY info
Vol.21 No.W9-2019
13

You might also like