You are on page 1of 71

5/4/67 12:34 ENGenius

CHEMICAL ENGINEERING KINETICS AND REACTOR DESIGN

1. ข้อใดที่ไม่เกี่ยวกับจลนพลศาสตร์ทางเคมี (Chemical Kinetics)


4.พลังงานอิสระกิบส์ใช้ทํานายทิศทางการเกิดปฏิกิริยา

2. ข้อความใดถูกต้อง เมื่อกล่าวถึงปฏิกิริยาแบบเอกพันธุ์ (Homogeneous reaction) และปฏิกิริยาแบบวิวิธพันธุ์ (Heterogeneous


reaction)
1.ปฏิกิริยาแบบเอกพันธุ์ เป็ นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในวัฏภาคเดียวจะได้ผลิตภัณฑ์กี่สารก็ได้

3. นิยามของอัตราเร็วปฏิกิริยา (Rate of Reaction) ขององค์ประกอบ “i” (Component “i”) ในข้อใดไม่ถูกต้อง


3.คือ จำนวนโมล i ที่เกิดขึ้นต่อหนึ่งหน่วยของปริมาตรของเครื่องปฏิกรณ์ต่อหนึ่งหน่วยเวลา

4. จากสมการ B + 2D -----> 3T ถ้าวัดอัตราเร็วปฏิกิริยาของสาร B ได้ -rb = kCbCd2 จะมีอันดับปฏิกิริยา (Order of Reaction) เท่าใด
4.ข้อ 1 และข้อ 2 ถูก

5. ปฏิกิริยามูลฐาน (Elementary Reaction) มีความหมายตรงกับข้อใด

a) ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในขั้นตอนเดียว
b) อันดับของปฏิกิริยาจะเท่ากับจำนวนโมเลกุลอะตอมของสารตั้งต้นที่เข้าทำปฏิกิริยา
c) เป็ นปฏิกิริยาที่สมการของอัตราการเกิดปฏิกิริยาสอดคล้องกับสมการปริมาณสารสัมพันธ์เคมี
d) เป็ นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นหลายขั้นตอน
2.ข้อ a, b และ c

6.

3.

7. ข้อใดเป็ นสมการของ Arrhenius

3.

8. จากปฏิกิริยา ข้อใดต่อไปนี้เป็ นข้อที่ผิด

4.

9. สมการใดเป็ นสมการที่ถูกต้อง

3.

10. ถ้าปฏิกิริยาด้านล่าง เป็ นปฏิกิริยาอันดับศูนย์ ข้อใดกล่าวถูกต้อง

4.

11. จงคำนวณ

1.0.36 mol/m3

12. จงหาอัตราเร็วปฏิกิริยาในหน่วย mol/(kg.s) ถ้าอัตราเร็วของปฏิกิริยาเท่ากับ 5 mol/(m2•s) โดยที่พื้นที่ผิวของของตัวเร่งปฏิกิริยาหนัก


5 กรัมมีค่าเท่ากับ 1000 m2
https://engenius.neighborsoft.com/test 1/71
5/4/67 12:34 ENGenius

3.

13. เครื่องปฏิกรณ์ในข้อใดไม่สามารถทำปฏิกิริยาที่สภาวะคงตัว (Steady State)


2.Batch

14.

4.

15. ข้อใดถูกต้องสำหรับระบบเอกพันธ์ (Homogeneous system)


4.ในระบบที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างเฉียบพลัน อัตราเร็วปฏิกิริยา (Reaction Rate) ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นและอุณหภูมิ

16. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก) Van’t Hoff Equation นำมาใช้กับปฏิกิริยาผันกลับได้เท่านั้น ข) ค่าพลังงานกระตุ้นมีค่าเป็ นบวกเสมอ ค)


จาก Arrhenius’ law พบว่า ปฏิกิริยาที่มีค่าพลังงานกระตุ้นต่ำ ปฏิกิริยานั้นมีความอ่อนไหวต่ออุณหภูมิ (Temperature-sensitive) มาก ข้อใด
ถูกต้อง
3.ถูกเฉพาะ ก และ ข

17. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก) ปฏิกิริยาของก๊าซเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อพลังงานที่เกิดขึ้นเนื่องจากการชนกันระหว่างโมเลกุลของก๊าซมีค่าอย่าง


น้อยที่สุด เท่าค่าพลังงานกระตุ้น ข) ค่าคงที่ของปฏิกิริยา ณ สมดุล (Equilibrium Constant) มีค่าเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ค) อัตราเร็ว
ปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น 2 เท่า เมื่อเพิ่มอุณหภูมิทุก 10 ºC เสมอ ข้อใดถูกต้อง
1.ถูกเฉพาะ ก เท่านั้น

18. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก) Space Time (T) เป็ นค่าที่คำนวณจากค่าอัตราการไหลเชิงปริมาตร ณ สภาวะที่ทางออก ข) Space


Velocity เป็ นค่าที่คำนวณจากค่าอัตราการไหลเชิงปริมาตร ณ อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน ค) Space Velocity มีหน่วยเป็ นต่อเวลา
1.ผิดเฉพาะ ก

19. พิจารณาปฏิกิริยามูลฐาน (Elementary Reaction) ต่อไปนี้ A ----> B ความเข้มข้นของสาร A เริ่มต้น และที่เหลือจากปฏิกิริยา = 2 และ
1.5 mol/l จงหาค่าคอนเวอร์ชัน (Conversion) ของสาร A
2.0.25

20. ปฏิกิริยามูลฐาน (elementary reaction) แบบผันกลับได้ เมื่อค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยา (Chemical Equilibrium Constant) = Keq จง
หาสมการอัตราเร็วปฏิกิริยาของสาร A (-rA)

4.

21. ปฏิกิริยามูลฐาน (elementary reaction) แบบผันกลับได้ จงหาค่าคงที่ของปฏิกิริยา ณ สมดุล (Chemical Equilibrium Constant)

2.

22. ปฏิกิริยาเอกพันธุ์ (homogeneous reaction) หมายถึง


2.ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในวัฏภาคใดวัฏภาคหนึ่ง

23. ข้อใดไม่ใช่ปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ (heterogeneous reaction)


3.ปฏิกิริยาของการไตเตรตระหว่างกรดกับเบส

24. จากปฏิกิริยาต่อไปนี้ A + 2B -----> R + 3S ข้อใดถูกต้อง

4.

https://engenius.neighborsoft.com/test 2/71
5/4/67 12:34 ENGenius

25. ปฏิกิริยาระหว่าง A และ B เป็ นไปดังสมการ A + 2B ------> R + 2S ถ้าปฏิกิริยานี้เป็ นปฏิกิริยามูลฐาน (elementary reaction) อัตราเร็ว
ของปฏิกิริยาควรมีรูปแบบเป็ น

3.

26. ปฏิกิริยาเดี่ยว (Single reaction) หมายถึงข้อใดต่อไปนี้


2.ปฏิกิริยาที่อธิบายได้ด้วยสมการปริมาณสัมพันธ์เพียงสมการเดียวและมีสมการ อัตราเร็วเพียงสมการเดียว

27. ปฏิกิริยาการสลายตัวในวัฏภาคก๊าซของ A คือ 2A -----> R ถ้าปฏิกิริยานี้เป็ นปฏิกิริยาอันดับสอง ค่าคงที่ปฏิกิริยา (rate constant) ของ
ปฏิกิริยานี้ควรมีหน่วยเป็ น
1.sec-1 / atm

28. ข้อใดไม่สามารถเป็ นสาร Intermediate ได้


2.ทุกข้อสามารถเป็ นสาร Intermediate ได้

29. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับกฎของอาร์เรเนียส

4.ความชันของกราฟ ln k และ 1/T มีค่าเป็ นบวก

30. การเปลี่ยนแปลงค่าพลังงานกระตุ้น (activation energy) ตามอุณหภูมิในข้อใด สอดคล้องกับปฏิกิริยาที่มีการเปลี่ยนกลไกซึ่งควบคุม


อัตราเร็วในลักษณะอนุกรมกัน

4.

31. ข้อใดถูกต้องสำหรับปฏิกิริยา

3.ปฏิกิริยานี้เป็ นปฏิกิริยาอมูลฐาน (non-elementary reaction) ซึ่งมีอันดับรวมเป็ น 3

32. ปฏิกิริยาการสลายตัวของสาร A เป็ นไปตามสมการ A ---> 2B และมีค่าคงที่ปฏิกิริยา (rate constant) k = 1 ลิตร / (โมล.นาที) ข้อสรุป
ใดถูกต้อง
ปฏิกิริยานี้เป็ นปฏิกิริยาอันดับสอง และ

2.

33. ปฏิกิริยาผันกลับได้

3.

34. ถ้าปฏิกิริยา A + 2B → C + D เป็ นปฏิกิริยามูลฐาน(elementary reaction) ถ้าอัตราการหายไปของสาร B, -rB = kCACB2 อัตราการเกิด


ปฏิกิริยาของสาร C สามารถเขียนได้ในรูปแบบใด

1.rC = k CACB2 / 2

https://engenius.neighborsoft.com/test 3/71
5/4/67 12:34 ENGenius

35. ถ้าอัตราการเกิดปฏิกิริยาเขียนได้ในรูปสมการด้านล่าง แล้วค่าคงที่ปฏิกิริยา (rate constant) จะมีหน่วยเป็ นเช่นไร

2.

36. ปฏิกิริยาหนึ่งมีค่าคงที่ปฏิกิริยา (rate constant) เท่ากับ ด้านล่าง ข้อใดสามารถเป็ นสมการที่แสดงถึงอัตราการเกิดปฏิกิริยานี้ได้ 0.2


Lmol -1 s-1
4.ถูกทั้ง 2 และ 3

37. ปฏิกิริยาคายความร้อน (exothermic reaction) จะมีค่าคงที่ปฏิกิริยา (rate constant) เป็ นอย่างไรเมื่ออุณหภูมิของระบบมีค่าลดลง


3.ลดลง

38. ปฏิกิริยาเป็ นสถานะแกีสและมีสมดุล A + B <----> C จะเป็ นอย่างไร เมื่อความดันรวมของระบบเพิ่มขึ้น


1.สมดุลเลื่อนไปข้างหน้า

39. อัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นอยู่กับตัวแปรใดของระบบ
4.ถูกทุกข้อ

40. จากปฏิกิริยาต่อไปนี้ในวัฏภาคก๊าซ

1.เพิ่มขึ้น

41. ข้อใดเป็ นสิ่งที่เกิดขึ้นเมื่อเราเติมตัวเร่งปฏิกิริยาเข้าไปในระบบ


1.อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น

42. จากปฏิกิริยาด้านล่าง ซึ่งทั้งสองปฏิกิริยาเป็ นปฏิกิริยาดูดความร้อน หาก B เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ต้องการ การกระทำในข้อใดต่อไปนี้สามารถ


เพิ่มค่าการเลือกเกิด (selectivity) ของสาร B ได้

4.ลดเวลาของสารที่อยู่ในเครื่องปฏิกรณ์

43. ให้ปฏิกิริยาคู่ควบของมีเทน ด้านล่าง เป็ นปฏิกิริยามูลฐาน (Elementary reaction) ที่ผันกลับได้ จงหาค่าคงที่ของปฏิกิริยา ณ สมดุล
(chemical equilibrium constant)

3.

44. เมื่อพิจารณาจากปฏิกิริยาคู่ควบของมีเทนและปฏิกิริยาการเผาไหม้ของมีเทนดังสมการเนื่องจากปฏิกิริยาการเผาไหม้ของมีเทนเป็ น
ปฏิกิริยาคายความร้อนที่รุนแรงกว่าปฏิกิริยาคู่ควบของมีเทนตามหลักการแล้ววิธีใดสามารถเพิ่มค่าการเลือกเกิดของอีเทนได้ a) เพิ่มความดัน b)
ลดอุณหภูมิ

3.ถูกทั้ง a และ b

45. ข้อใดต่อไปนี้เป็ นเครื่องปฏิกรณ์แบบกึ่งกะ (semi-batch reactor)


2.เครื่องปฏิกรณ์แบบกะ (batch reactor) ที่ปฏิบัติการแบบต่อเนื่อง

46. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ a) เรามักใช้ค่าผลได้ (yield) ในการเปรียบเทียบความสามารถของแต่ละปฏิกิริยา โดยหากมีใกล้เคียงกัน จึง


พิจารณาที่ค่าการเลือกเกิด b) สำหรับปฏิกิริยามูลฐาน (Elementary reaction) แล้วโดยปกติเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหล (PFR) จะมีปริมาตร
น้อยกว่าเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง (CSTR) เมื่อค่าผลได้ที่จากเครื่องปฏิกรณ์ทั้งสองเท่ากัน
3.ถูกทั้ง a และ b

47. จากสมการ B + 2D ---> 3T เป็ นปฏิกิริยามูลฐาน (Elementary reaction) อัตราการเกิดปฏิกิริยาข้อใดผิด

https://engenius.neighborsoft.com/test 4/71
5/4/67 12:34 ENGenius

4.

48. ถ้าปฏิกิริยา ด้านล่าง เป็ นปฏิกิริยาอันดับสอง ข้อใดกล่าวถูกต้อง

1.

49. สำหรับปฏิกิริยา ด้านล่าง ความสัมพันธ์ของอัตราปฏิกิริยาในข้อใดผิด

2.

50. ข้อใดเป็ นหน่วยของอัตราการเกิดปฏิกิริยา (rate of reaction)


3.mol/(site.s)

51. ปฏิกิริยาในข้อใดเป็ นปฏิกิริยาคายความร้อน (exothermic reaction)


3.partial oxidation of ethane

52. ปฏิกิริยา water gas shift reaction เกิดขึ้นในภาชนะปิ ดที่มีปริมาตรคงที่ จากการตรวจสอบพบว่าความดันภายในภาชนะคงที่ ข้อใดสรุป
ถูกต้อง

4.ไม่สามารถสรุปได้

53. ปฏิกิริยาดูดความร้อน (endothermic reaction) จะมีคงที่สมดุลปฏิกิริยา (reaction equilibrium constant) เป็ นอย่างไรเมื่ออุณหภูมิสูง
ขึ้น
1.เพิ่มขึ้น

54. ข้อใดเป็ นหน่วยของค่าคงที่ของอัตราการเร็วการเกิดปฏิกิริยา (reaction rate constant) สำหรับปฏิกิริยาแบบอันดับหนึ่ง (first order


reaction)
1.

55. เครื่องปฏิกรณ์แบบฟลูอิดไดซ์เบด (fluidize bed reactor) มีพฤติกรรมใกล้เคียงกับเครื่องปฏิกรณ์แบบอุดมคติชนิดใด


2.เครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง (CSTR)

56. จงหาสมการแสดงค่าคงที่สมดุล (K) ของปฏิกิริยา A + 2B ---> C

3.

57. จงหาสมการแสดงอัตราเร็วปฏิกิริยาของปฏิกิริยา A + 2B ---> C ถ้าปฏิกิริยาเป็ นแบบมูลฐาน (elementary)

2.

58. จงหาค่าเรซิเดนซ์ไทม์ (Residence time, ) ของปฏิกิริยา ด้านล่าง ซึ่งเกิดขึ้นในวัฏภาคของเหลวภายในเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อ


เนื่อง (CSTR) โดยให้ปริมาตรของสาร A เท่ากับ 100 ลิตร และอัตราการไหลเชิงปริมาตรเท่ากับ 10 ลิตร/นาที

3.10 นาที

https://engenius.neighborsoft.com/test 5/71
5/4/67 12:34 ENGenius

59.

4.2 นาที

60. ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในเครื่องปฏิกรณ์ (Reactor) ชนิดใดที่มีอัตราเร็วในการเกิดปฏิกิริยาสูงสุด


4.ไม่มีข้อถูก

61. สมการออกแบบทั่วไปสำหรับเครื่องปฏิกรณ์แบบกะ (batch reactor) ที่มีปริมาตรคงที่เป็ นดังสมการด้านล่าง เวลาในการทำปฏิกิริยา (t)


จะมีค่าตรงกับข้อใด ถ้าปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในเครื่องปฏิกรณ์เป็ นปฏิกิริยาอันดับศูนย์

3.

62. พื้นที่แรเงาใต้กราฟมีค่าตรงกับข้อใด

3.

63.

4.

64. ปฏิกิริยาเคมี A ---> B เกิดขึ้นในเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหล (PFR) ปฏิกิริยานี้มีอันดับปฏิกิริยาเป็ นศูนย์ (Zero Order Reaction) มีค่า
คงที่ปฏิกิริยา (k) = 0.03 mol/dm3•sec เกิดในวัฎภาคของเหลว อัตราเชิงโมลของสาร A เริ่มต้นมีค่าเท่ากับ 3 mol/sec จงคำนวณหาปริมาตร
ของเครื่องปฏิกรณ์นี้เมื่อต้องการให้ได้ค่าคอนเวอร์ชัน (Conversion) เป็ น 70%
3.

65. ปฏิกิริยาเคมี A(g) + B(g) ---> C(g) + D(g) เกิดขึ้นในเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหล (PFR) ภายใต้อุณหภูมิและความดันคงที่ ความเข้มข้น
ของก๊าซ A เริ่มต้นเท่ากับ 3 mol/dm3 จงคำนวณหาความเข้มข้นของก๊าซ A (CA) เมื่อค่าคอนเวอร์ชัน (Conversion) ของ A เท่ากับ 60%

2.

66.

https://engenius.neighborsoft.com/test 6/71
5/4/67 12:34 ENGenius
4.0.8
67. ข้อใดเป็ นคุณสมบัติของเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง (continuous-stirred tank reactor)
4.ถูกทั้งข้อ 1 และ 2

68. ข้อใดเป็ นลักษณะของเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหล (plug flow reactor)

3.มีการผสมทั้งในแนวตั้งฉากกับการไหลและในแนวทิศทางการไหล

69. ข้อใดเป็ นการดำเนินการโดยทั่วไปของเครื่องปฏิกรณ์แบบกะ (Batch reactor)


4.ผิดทุกข้อ

70.

4.

71.

4.ต่อนาที

72. ข้อใดถูกต้องสำหรับการดำเนินการของเครื่องปฏิกรณ์แบบกึ่งกะ (Semibatch reactor)


4.ถูกทั้ง 1 และ 3

73. กำหนดปฏิกิริยา A + 2B ---> C + D เป็ นปฏิกิริยามูลฐาน (elementary reaction) พิจารณาว่าข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้อง

2.

74.

3.

75. ข้อใดเป็ นสมดุลโมลที่ได้จากระบบเครื่องปฏิกรณ์แบบกะ


2.อัตราการเกิดปฏิกิริยาคุณด้วยปริมาตราเท่ากับอัตราการเปลี่ยนแปลงของสาร

76. ถ้าการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับดำเนินไปภายใต้สมดุลที่กำหนด ข้อใดแสดงถึงสมการอัตราเร็วปฏิกิริยา(rate law) ที่เกิดขึ้น

1.

77. จากปฏิกิริยา A ---> 2 B จากการทดลองพบว่าอัตราการหายไปของ A มีค่าเท่ากับ 0.25 mol/(L.min) อยากทราบว่าอัตราการเกิดสาร B


มีค่าเป็ นเท่าใด
1.0.5 mol/(L.min)

https://engenius.neighborsoft.com/test 7/71
5/4/67 12:34 ENGenius

78.

2.O2

79.

3.

80. ในการวิเคราะห์หาค่าคงที่ปฏิกิริยา (reaction rate constant) และอันดับปฏิกิริยา (reaction order) สำหรับเครื่องปฏิกรณ์แบบกะ


(batch reactor) ค่าการทดลองใดต่อไปนี้ที่ไม่จำเป็ นต้องทำการตรวจวัด
4.ไม่มีข้อใดถูก

81. ในการทดลองหาข้อมูลสมการอัตราเร็วปฏิกิริยา (Rate equation) นั้นข้อมูลที่ได้จะนำไปใช้ในการประเมินหาค่าของพารามิเตอร์ใดต่อไป


นี้
1.ค่าคงที่ปฏิกิริยา (rate constant)

82. สำหรับกรณีที่ปฏิกิริยาของสารที่เกี่ยวข้องเป็ นของเหลวที่ใช้เครื่องปฏิกรณ์แบบกะปริมาตรคงที่ (Constant-volume batch reactor) นั้น


คำว่าปริมาตรคงที่ หมายถึง
2.ปริมาตรของของผสมที่อยู่ในเครื่องปฏิกรณ์

83. ระบบแบบกะ (Batch system) เป็ นระบบที่มีลักษณะเฉพาะคือ


4.ไม่มีสารไหลเข้าและออกจากระบบ

84. ระบบกึ่งกะ (Semi batch system) เป็ นระบบที่มีลักษณะเฉพาะคือ


4.ถูกทั้งข้อ (2) และ (3)

85. ปฏิกิริยาประเภทอมูลฐาน (non-elementary reaction) มีลักษณะเฉพาะคือ


4.มีอันดับปฏิกิริยา (reaction order) เป็ นเลขเศษส่วน

86. ขั้นตอนที่เป็ นตัวกำหนดอัตราเร็วปฏิกิริยาคือขั้นตอนใด


3.ขั้นตอนที่เกิดได้ช้าที่สุด

87.

3.

https://engenius.neighborsoft.com/test 8/71
5/4/67 12:34 ENGenius

88.

3.0.5 s

89. จากรูปกราฟที่กำหนด ข้อใดคือคำตอบที่ถูกต้องสำหรับปฏิกิริยา aA ----> products

2.กราฟนี้เป็ นข้อมูลของปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง

90.

4.0.4

91.

1.

92.

2.

93. โดยอาศัยหลักการของ Microscopic reversibility ปฏิกิริยาข้อใดเป็ นปฏิกิริยาอมูลฐาน (non-elementary)


3.2A B + 3C

94.

4.ถูกข้อ 1 และ 2

95. ข้อใดถูกต้อง
1.ทั้งปฏิกิริยาคายความร้อนและดูดความร้อน อัตราเร็วการเกิดปฏิกิริยาจะสูงขึ้นเมื่อเพิ่มอุณหภูมิให้สูงขึ้น

96. จงหาน้ำหนักของก๊าซออกซิเจนที่จำเป็ นในการเผาไหม้ก๊าซไฮโดรเจน 10 กรัม

https://engenius.neighborsoft.com/test 9/71
5/4/67 12:34 ENGenius
3.80 กรัม
97. ปฏิกิริยาอันดับสองเกิดขึ้นในเครื่องปฏิกรณ์แบบกะ (batch reactor) นาน 5 min โดยความเข้มข้นเริ่มต้นและสุดท้ายของสารตั้งต้นคือ 8
และ 2 mol/l ตามลำดับ จงหาค่าคงที่ปฏิกิริยา (rate constant)
1.

98.

3.80 %

99.

2.ข้อ 1 และ 4 ถูก

100.

2.ปฏิกิริยาไปข้างหน้าและย้อนกลับจะมีพลังงานกระตุ้นเท่ากัน

101.

4.

https://engenius.neighborsoft.com/test 10/71
5/4/67 12:34 ENGenius

102.

2.อุณหภูมิเพิ่มขึ้น อัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงขึ้น

103.

4.ข้อ 1, 2, 3 และ 4 ถูก

104.

4.4.8 min

105.

2.

106.

2.184 l/mol

107.

https://engenius.neighborsoft.com/test 11/71
5/4/67 12:34 ENGenius
4.2500 l/mol
108.

2.

109.

2.

110.

4.

111.

4.0.7

112.

3.

113.

4.

https://engenius.neighborsoft.com/test 12/71
5/4/67 12:34 ENGenius

114.

2.0.17

115. พิจารณาปฏิกิริยา 3 A + B ---> C + 2 D ซึ่งเกิดในสถานะแก๊ส คำกล่าวข้อใดถูกต้อง หากใช้เครื่องปฏิกรณ์แบบไหลต่อเนื่องในการทำ


ปฏิกิริยา
4.ถูกทุกข้อ

116. พิจารณาปฏิกิริยาในสถานะของเหลว 3 A + B ---> 3 C + 2 D จงหาความเข้มข้นของสาร D เมื่อสารตั้งต้น A ทำปฏิกิริยาในเครื่อง


ปฏิกรณ์แบบกะ(batch reactor) จนมีค่าการแปลงผันทางเคมีเท่ากับ 0.8 กำหนดให้ความเข้มข้นของสาร A และ B ในเครื่องปฏิกรณ์ที่เวลาเริ่ม
ต้นเท่ากับ 9 และ 1.5 mol/dm3 ตามลำดับ
4.ไม่มีข้อใดถูก

117.

3.

118.

1.

119.

4.

120.

1.

https://engenius.neighborsoft.com/test 13/71
5/4/67 12:34 ENGenius

121.

3.

122.

2.

123.

2.

124.

2.

125.

1.20 %

https://engenius.neighborsoft.com/test 14/71
5/4/67 12:34 ENGenius

126.

4.ไม่ถูกทุกข้อ

127.

1.

128.

4.0.9

129. ปฏิกิริยา A ---> 2 B เกิดในวัฏภาคก๊าซในภาชนะปิ ดที่มีปริมาตรคงที่ ถ้าเริ่มต้นระบบประกอบด้วยก๊าซ A บริสุทธิ์ จงหาค่าคอนเวอร์ชัน


(conversion) ที่ทำให้ความเข้มข้นของ A มีค่าเป็ นครึ่งหนึ่งของค่าเริ่มต้น
2.0.33

130.

3.

131.

4.25 นาที

132. จงหาอัตราการสลายตัวของ A, -rA ในเทอมของความเข้มข้นเริ่มต้นของ A (CA0) และค่าคอนเวอร์ชัน (X)

2.

https://engenius.neighborsoft.com/test 15/71
5/4/67 12:34 ENGenius

133. จงหาอัตราการเปลี่ยนแปลงค่าคอนเวอร์ชัน (conversion) เทียบกับเวลา (dX/dt)

1.

134. ปฏิกิริยา A(l) ---> B(l) เป็ นปฏิกิริยาแบบอันดับหนึ่ง (first order) ถ้าปฏิกิริยาเกิดขึ้นในเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนที่ดำเนินงานแบบกะ
(batch reactor) ถ้าเริ่มต้นในระบบมีสาร A บริสุทธิ์ จงหาเวลาที่ทำให้ความเข้มข้นของสาร A ลดลงเหลือครึ่งหนึ่งของที่เวลาเริ่มต้น กำหนดให้ k
เป็ นค่าคงที่ปฏิกิริยา
2.0.693/k

135.

2.0.45

136.

1.

137.

1.

138.

2.

139. ถ้าปฏิกิริยามีอันดับรวมเท่ากับ n แล้วหน่วยของค่าคงที่อัตราเร็วปฏิกิริยาคือใด

3.(time)n - 1 (concentration)

https://engenius.neighborsoft.com/test 16/71
5/4/67 12:34 ENGenius

140. ข้อใดเป็ นปฏิกิริยาเอกพันธ์ (Homogeneous reaction)

4.ข้อ 1 และข้อ 2

141.

ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1.เป็ นปฏิกิริยาคายความร้อน

142. เมื่อลดอุณหภูมิที่เกิดปฏิกิริยา จะส่งผลต่อปฏิกิริยาตามข้อใด

4.พลังงานจลน์ของอนุภาคลดลง อัตราการเกิดปฏิกิริยาลดลง

143. การเพิ่มอุณหภูมิของปฏิกิริยาจะไม่เพิ่มข้อใดต่อไปนี้

4.พลังงานกระตุ้น

144. สารตั้งต้นถูกป้ อนเข้าเครื่องปฏิกรณ์ขนาด 3 dm3 ด้วยอัตราการไหล 1 dm3/s จงหา Space Time

2.3 s

145. พิจารณาปฏิกิริยามูลฐาน(Elementary Reaction) ต่อไปนี้ A + 2B ® 3C ความเข้มข้นเริ่มต้นของสาร A และ B เท่ากับ 2 mol/l และ 5


mol/l ตามลำดับ จงหาค่าคอนเวอร์ชัน (Conversion) ของสาร B เมื่อความเข้มข้นของสาร A เท่ากับ 1.5 mol/l
3.0.20

146.

3.–rA = k[CACB2 – CCCD/ Keq]

147.

3.

148. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ปฏิกิริยาดูดความร้อน

1.การเผาไหม้ของกำมะถัน

149.

3.

https://engenius.neighborsoft.com/test 17/71
5/4/67 12:34 ENGenius

150.

ที่อุณหภูมิ T2 มีโอกาสเกิดปฏิกิริยามากกว่าที่อุณหภูมิ T1
3.

151. ข้อความใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง

โดยทั่วไป อัตราเร็วปฏิกิริยาจะเพิ่มเป็ น 3 เท่า เมื่อเพิ่มอุณหภูมิทุก ๆ 10 °C


2.

152.

3.ถ้า X1 > X2 แล้วค่าคงที่สมดุล (K) ที่ T1 > K ที่ T2

153. ปฏิกิริยาคายความร้อน (Exothermic Reaction) สารตั้งต้นเป็ นอย่างไรเมื่อเปรียบเทียบกับสารผลิตภัณฑ์

2.มีพลังงานสูงกว่า

154.

1.20.1 mol/L-s , 8.3 kJ/mol-K

155.

4.0.26

156.

4.s-1, mol/L, และ L/mol

157.

1.455 °C

https://engenius.neighborsoft.com/test 18/71
5/4/67 12:34 ENGenius

158.

4.

159.

4.

160.

4.50 dm3

161.

1.1.21 s-1

162.

1.1,840 L

https://engenius.neighborsoft.com/test 19/71
5/4/67 12:34 ENGenius

163.

1.3.75 dm3/(mol·s)

164.

2.0.041 kmol/m3·min

165.

1.0.11

166.

2.4%

167.

1.

168.

3.0.8

https://engenius.neighborsoft.com/test 20/71
5/4/67 12:34 ENGenius

169.

2.

170.

3.1.386/k

171.

3.0.75

172.

3.3.6 L

173.

3.Xeq = 0.449, CA = 0.642 mol/ dm3, CB = 0.626 mol/ dm3, CC = CD = 0.566 mol/ dm3

174. ข้อความต่อไปนี้เกี่ยวกับ Batch, Semi-batch และ Continuous-flow Reactors เป็ นข้อความที่ไม่ถูกต้อง


4.ไม่มีข้อใดไม่ถูกต้อง

175. กระแสก๊าซป้ อนเข้าเครื่องปฏิกรณ์ ประกอบด้วย สาร A 41 mol% สาร B 16.4 mol% และที่เหลือก๊าซเฉื่อย ณ ความดัน 10 atm และ
อุณหภูมิ 227 ºC จงคำนวณหาความเข้มข้นของก๊าซ A ที่ทางเข้า กำหนดให้ค่าคงที่ก๊าซ R = 0.082 litre•atm/(mol•K)
2.0.1 mol/l

176. ความเข้มข้นของสารตั้งต้นเริ่มต้นเท่ากับ 0.2 mol/l ไหลเข้าเครื่องปฏิกรณ์แบบต่อเนื่องขนาด 5 ลิตร ด้วยอัตราไหลเชิงโมล 2 mol/min


จงคำนวณหาค่าสเปซไทม์ (Space Time) ของเครื่องปฏิกรณ์นี้
2.0.5 min

177. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก) ในการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์แบบต่อเนื่อง ขนาดของเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหล (PFR) มีขนาดเล็กกว่า


เครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง (CSTR) เสมอ ข) ในการหาขนาดของเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง (CSTR) อัตราเร็วปฏิกิริยาคำนวณ
ณ สภาวะที่ทางเข้าเครื่องปฏิกรณ์ ค) เมื่ออันดับของปฏิกิริยาเป็ นศูนย์ อัตราเร็วปฏิกิริยามีค่ามากเมื่อความเข้มข้นเริ่มต้นของสารตัน
4.ผิดทุกข้อ

178. ของไหลเข้าเครื่องปฏิกรณ์แบบต่อเนื่องขนาด 2 ลิตร ด้วยอัตราไหลเชิงโมล 0.8 mol/s ค่าคอนเวอร์ชัน (conversion) ของปฏิกิริยา


อันดับหนึ่งเท่ากับ 60% และความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่ทางออกมีค่าเป็ น 4 mol/l จงคำนวณหาสเปซไทม์ (Space Time) ของเครื่องปฏิกรณ์นี้
4.25 sec

179. ปฏิกิริยามูลฐาน (elementary reaction) ในวัฏภาคก๊าซ A + B ------> 2C อัตราการไหลเชิงโมลของสาร A ที่เข้าและออกจากเครื่อง


ปฏิกรณ์แบบต่อเนื่องมีค่าเป็ น 4 mol/min และ 1 mol/min ตามลำดับ จงหาอัตราการไหลเชิงโมล ของผลิตภัณฑ์ C
2.6 mol/min

https://engenius.neighborsoft.com/test 21/71
5/4/67 12:34 ENGenius

180. ปฏิกิริยามูลฐาน (elementary reaction) A -----> 2B อัตราการไหลเชิงโมลของสาร A ที่เข้าและออกจากเครื่องปฏิกรณ์ มีค่าเป็ น 5


mol/min และ 2 mol/min ตามลำดับ จงหาค่าคอนเวอร์ชัน (Conversion) ของสาร A
3.0.6

181. จากปฏิกิริยา ก๊าซผสมประกอบด้วย NO 30 mol% และอากาศ 70 mol% ไหลเข้าเครื่องปฏิกรณ์ด้วยอัตราการไหลเชิงโมลรวม 3


mol/min จงหาอัตราการไหลเชิงโมลของออกซิเจนที่ทางเข้า
3.0.441 mol/min

182. สารตั้งต้นมีอัตราการไหลเชิงโมลเข้าเครื่องปฏิกรณ์เท่ากับ 5 mol/min และอัตราไหลเชิงปริมาตรคงที่ ที่ 6 l/min ค่าคอนเวอร์ชัน


(Conversion) ของสารนี้ คือ 40% จงคำนวณหาความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่ทางออก
3.0.50 mol/l

183. ปฏิกิริยาการสลายตัวของก๊าซ A เกิดในเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง (CSTR) ที่อุณหภูมิคงที่ ได้ผลิตภัณฑ์เป็ น R ดังสมการ A ----


>3R ถ้าเริ่มต้นมีแต่ก๊าซ A บริสุทธิ์ ปริมาตร 1 ลิตร เมื่อปฏิกิริยาเกิดขึ้นสมบูรณ์ ปริมาตรของก๊าซผลิตภัณฑ์จะเป็ นเท่าใด
4.3 ลิตร

184. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับลักษณะหรือคุณสมบัติของเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหล (PFR) ที่มีพฤติกรรมแบบอุดมคติ


2.ความเข้มข้นของตัวทำปฏิกิริยาเปลี่ยนจากค่าเริ่มต้นเป็ นค่าสุดท้ายทันทีเมื่อสารเข้าสู่เครื่องปฏิกรณ์

185.

1.

186. ข้อใดไม่ถูกต้อง

4.
อัตราการไหลเชิงปริมาตรขาเข้าเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง (CSTR) ที่ทำงานในสถานะคงตัว (steady state) จะเท่ากับอัตราการไหลเชิงปริมาตรขาออก
เสมอ

187. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ a) เครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง (CSTR) และแบบท่อไหล (PFR) สามารถปฏิบัติการแบบต่อเนื่องได้ b)


เครื่องปฏิกรณ์แบบกะ (batch reactor) ไม่สามารถปฏิบัติการแบบต่อเนื่องได้

3.ถูกทั้ง a และ b

188.

1.0.75 mol/s

https://engenius.neighborsoft.com/test 22/71
5/4/67 12:34 ENGenius

189. สมการสมดุลมวลทั่วไปสามารถเขียนได้ดังสมการด้านล่าง

1.

190. เครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง (CSTR) ขนาดปริมาตร 5 liters มีค่าเรซิเดนซ์ไทม์ (Residence Time,T ) เท่ากับ 0.5 h จงคำนวณ
หาความเร็วสเปช (Space Velocity)

2.

191. ข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้อง

4.1 และ 2

192. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้องสำหรับเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง (CSTR) ที่มีขนาดเท่ากันต่อกันแบบขนาน ปฏิบัติการที่อุณหภูมิเท่ากัน


และมีอัตราการป้ อนสารเข้าสู่เครื่องปฏิกรณ์ที่เท่ากัน
4.1 และ 2

193. จงคำนวณหาปริมาตรของเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหล (PFR) ของปฏิกิริยาที่มีอัตราการไหลเชิงปริมาตรเท่ากับ 2 ลูกบาศก์เมตรต่อนาที


และเรซิเดนซ์ไทม์ (Residence Time) เป็ น 1 h
4.120 ลูกบาศก์เมตร

194. จงคำนวณหาปริมาตรของเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหล (PFR) ของปฏิกิริยาที่มีอัตราการไหลเชิงปริมาตรเท่ากับ 2 ลูกบาศก์เมตรต่อนาที


และเรซิเดนซ์ไทม์ (Residence Time) เป็ น 1 h
4.120 ลูกบาศก์เมตร

195.

1.0.32

https://engenius.neighborsoft.com/test 23/71
5/4/67 12:34 ENGenius

196. เรซิเดนซ์ไทม์ (Residence Time) สำหรับการเปลี่ยน (Conversion) 70% ในเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหล (PFR) มีค่าเท่ากับ 5 h จง
คำนวณหาค่าความเร็วเชิงสเปช (Space Velocity, SV)

1.0.2 h-1

197.

4.1 และ 2

198. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้องสำหรับเครื่องปฏิกรณ์ที่มีการรีไซเคิล (reactor with recycle)

4.ถูกทุกข้อ

199.

3.

200.

1.10 ลูกบาศก์เดซิเมตร

201. สำหรับเครื่องปฏิกรณ์ที่มีปริมาตรเท่ากัน และปฏิบัติการภายใต้สภาวะที่เหมือนกันข้อความต่อไปนี้ถูกต้อง


2.สำหรับเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง (CSTR) ถ้าอัตราการไหลเชิงโมลของ A เพิ่มขึ้นเป็ น 2 เท่าปริมาตรของเครื่องปฏิกรณ์จะเพิ่มเป็ น 2 เท่า

202. ข้อความต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง
4.ถูกทุกข้อ

203. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ i) yield หมายถึงจำนวนโมลของสารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นต่อหนึ่งหน่วยโมลของสารตั้งต้นที่ใช้ในปฏิกิริยา ii)


selectivity หมายถึงจำนวนโมลของสารผลิตภัณฑ์ที่ต้องการต่อหนึ่งหน่วยโมลของสารตั้งต้นที่ใช้ในปฏิกิริยา iii)ค่า selectivity ขึ้นอยู่กับค่า
คงที่ปฏิกิริยา แต่ไม่ขึ้นกับชนิดของเครื่องปฏิกรณ์
1.ถูกเฉพาะ i เท่านั้น

204. พิจารณาปฏิกิริยาขนาน 2 ปฏิกิริยาที่มีอันดับของปฏิกิริยาเท่ากัน วิธีใดต่อไปนี้ที่ไม่สามารถเปลี่ยนค่า selectivity ของปฏิกิริยาขนานนี้


4.ถูกทั้ง 3 และ 4

205. พิจารณาปฏิกิริยาขนานของก๊าซ 2 ปฏิกิริยาที่มีอันดับของปฏิกิริยาไม่เท่ากัน วิธีใดต่อไปนี้เป็ นการรักษาให้ความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่


เหลือจากปฏิกิริยาอยู่ในระดับต่ำ ซึ่งมีผลต่อค่า selectivity ของปฏิกิริยาขนาน i) เพิ่มก๊าซเฉื่อยในสายป้ อน ii) ลดความดันในเครื่องปฏิกรณ์ iii)
รักษาให้ค่าคอนเวอร์ชันของสาร (conversion) ให้อยู่ในระดับสูง
4.ถูกทุกข้อ

206. ข้อความใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับปฏิกิริยาขนาน 2 ปฏิกิริยาที่มีอันดับ (reaction order) ของปฏิกิริยาที่ต้องการสูงกว่าอันดับของปฏิกิริยา


ที่ไม่ต้องการ i) ต้องรักษาให้ความเข้มข้นของสารตั้งต้นในเครื่องปฏิกรณ์อยู่ในระดับต่ำ ii) เพิ่มก๊าซเฉื่อยในสายป้ อน iii) ควรเลือกใช้เครื่อง
ปฏิกรณ์แบบกะ (batch) หรือแบบท่อไหล (plug-flow reactor) เพื่อให้ขนาดของเครื่องปฏิกรณ์เล็กที่สุด
3.ถูกเฉพาะ iii เท่านั้น

207.

4.40 litre

https://engenius.neighborsoft.com/test 24/71
5/4/67 12:34 ENGenius

208.

3.0.75 mol/s

209. เครื่องปฏิกรณ์ชนิดถังกวนแบบต่อเนื่อง (continuous stirred-tank reactor) ซึ่งมีอัตราการไหลเชิงปริมาตรเข้าของสารตั้งต้นในสาย


ป้ อน 2 ลูกบาศก์เมตรต่อนาที ภายในเครื่องปฏิกรณ์มีปฏิกิริยาอันดับหนึ่งดำเนินไปด้วยค่าคงที่ปฏิกิริยา (rate constant) เท่ากับ 0.4 min-1 และ
ค่าคอนเวอร์ชัน (conversion) มีค่าเป็ น 80% จงหาขนาดของเครื่องปฏิกรณ์นี้
3.9 litre

210. เครื่องปฏิกรณ์ชนิดถังกวนแบบต่อเนื่อง (continuous stirred-tank reactor) ซึ่งมีอัตราการไหลเชิงปริมาตรเข้าของสารตั้งต้นในสาย


ป้ อน 2 ลูกบาศก์เมตรต่อนาที ภายในเครื่องปฏิกรณ์มีปฏิกิริยาอันดับหนึ่งดำเนินไปด้วยค่าคงที่ปฏิกิริยา (rate constant) เท่ากับ 0.4 min-1 และ
ค่าคอนเวอร์ชัน (conversion) มีค่าเป็ น 80% จงหาขนาดของเครื่องปฏิกรณ์นี้
4.20 ลูกบาศก์เมตร

211. ปฏิกิริยาอันดับหนึ่งเกิดขึ้นในเครื่องปฏิกรณ์ชนิดถังกวนแบบต่อเนื่อง (continuous stirred-tank reactor) ซึ่งมีสเปซไทม์ (space


time) เท่ากับ 3 นาที โดยที่ค่าคงที่ปฏิกิริยา (rate constant) นี้เท่ากับ 0.2 นาที -1 จงหาค่าคอนเวอร์ชัน (conversion) ของปฏิกิริยา
2.37.5 %

212. ปฏิกิริยาอันดับหนึ่งเกิดขึ้นในเครื่องปฏิกรณ์ชนิดถังกวนแบบต่อเนื่อง (continuous stirred-tank) ซึ่งมีสเปซไทม์ (space time) เท่ากับ


5 นาที โดยที่ค่าคอนเวอร์ชัน (conversion) ของปฏิกิริยาเท่ากับ 90% จงหาค่าคงที่ปฏิกิริยา (rate constant) นี้
3.1.8 min-1

213. จงหาอัตราส่วนระหว่างอัตราไหลเชิงโมลของสายป้ อนในกระแส A ต่อกระแส B สำหรับระบบที่มีเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหล (plug-flow


reactor) ต่อแบบขนาน (ดังรูป) เมื่อกำหนดให้ค่าคอนเวอร์ชัน (conversion) สุดท้ายของแต่ละกระแสเท่ากัน

1.1/3

214.

4.

215. ปฏิกิริยาหนึ่งเป็ นปฏิกิริยาแบบอันดับศูนย์ (zero order) เพื่อให้ได้ค่าคอนเวอร์ชัน (conversion) ตามต้องการ จะเลือกเครื่องปฏิกรณ์


ชนิดใดเพื่อให้ใช้ปริมาตรน้อยที่สุด
4.ถูกทุกข้อ

216.

4.22.5 litre

217. เครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง (continuous stirred-tank) ขนาด 4 ลิตร มีอัตราการไหลเชิงปริมาตรของสายป้ อนเท่ากับ 2 l/min


ซึ่งประกอบด้วยความเข้มข้นของสารตั้งต้น 5 molar จงหาค่าคอนเวอร์ชัน (conversion) ของสารตั้งต้น ถ้าอัตราเร็วปฏิกิริยาเท่ากับ 0.7 mol.
(l.min)-1
3.28 %

218. สารตั้งต้นถูกป้ อนเข้าเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง (continuous stirred-tank) และใช้เวลาอยู่ในเครื่องปฏิกรณ์นาน 10 min จง


หาค่าคงที่ปฏิกิริยา (rate constant) ถ้าปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเป็ นปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง กำหนดให้ความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่ทางออกคิดเป็ น 20%
ของความเข้มข้นของสารนี้ที่ทางเข้า
4.

https://engenius.neighborsoft.com/test 25/71
5/4/67 12:34 ENGenius

219.

2.0.75 litre

220. ปฏิกิริยามูลฐาน (elementary reaction) ในวัฏภาคก๊าซ: A ---> B เกิดขึ้นในเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหล (plug flow) สายป้ อนประกอบ
ด้วยสาร A 70 mol% และที่เหลือเป็ นก๊าซเฉื่อย โดยความเข้มข้นของสาร A ที่ออกจากเครื่องปฏิกรณ์คิดเป็ น 40% ของความเข้มข้นเริ่มต้น ถ้า
ปฏิกิริยานี้มีสมการที่ถูกต้อง คือ A ---> 4B จงหาขนาดของเครื่องปฏิกรณ์นี้เปลี่ยนแปลงอย่างไร
3.เพิ่มขึ้น 126 %

221. เครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง (continuous stirred-tank) 2 เครื่องต่ออนุกรมกัน ความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่เข้าและออกจาก


เครื่องที่ 2 มีค่าเป็ น 6 และ 2 mol/l ตามลำดับ โดยที่ปฏิกิริยาเกิดขึ้นภายในเครื่องที่ 2 เป็ นปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง ซึ่งค่าคงที่ของปฏิกิริยา (rate
constant) ในเครื่องปฏิกรณ์ที่ 2 มีค่าเท่ากับ 0.2 min-1 จงหาเวลาที่สายป้ อนเข้าเครื่องที่ 2 ใช้ในเครื่องปฏิกรณ์ นี้

4.10 min

222. เครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง (continuous stirred-tank) 2 เครื่องต่ออนุกรมกัน โดยที่อัตราไหลเชิงปริมาตรคงที่ที่ 4 l/min


ความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่เข้าเครื่องที่ 1 และเครื่องที่ 2 มีค่าเป็ น 5 และ 2 mol/l ตามลำดับ จงหาปริมาตรของเครื่องปฏิกรณ์ที่ 2 กำหนดให้ค่า
คงที่ปฏิกิริยา (rate constant) ของปฏิกิริยาอันดับหนึ่งในเครื่องปฏิกรณ์ที่ 2 มีค่าเท่ากับ 0.3 min-1

4.20 litre

223. จงเสนอวิธีการเพิ่มค่าคอนเวอร์ชัน (conversion) ของปฏิกิริยาซึ่งเกิดขึ้นในระบบของเครื่องปฏิกรณ์ที่ดำเนินการแบบต่อเนื่อง


3.ลดอัตราการไหลของสาร

224.

4.โมลของสาร A ที่ทำปฏิกิริยา/เวลา

225.

4.ทั้งข้อ 2 และ 3

226.

1.ใช้เครื่องปฏิกรณ์ชนิด PFR 1 เครื่อง

227. ข้อใดไม่ใช่ข้อสมมติฐานที่ใช้สำหรับการพัฒนาสมการสมดุลโมลของเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหล (Plug flow reactor)


4.ความเข้มข้นของสารตั้งต้นในทุกๆตำแหน่งในเครื่องปฏิกรณ์มีค่าเท่ากัน

https://engenius.neighborsoft.com/test 26/71
5/4/67 12:34 ENGenius

228.

1.อัตราการเกิดปฏิกิริยามีค่าสูงที่สุดที่ตำแหน่งทางเข้าเครื่องปฏิกรณ์

229. สมการสมดุลโมล (mole balance equation) สำหรับเครื่องปฏิกรณ์ชนิดเบดนิ่ง (fixed-bed reactor) มีความใกล้เคียงกับสมการสมดุล


โมลของเครื่องปฏิกรณ์ชนิดใดมากที่สุด
4.เครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหล (plug flow reactor)

230. โรงงานมีความต้องการผลิตเอทธิลีนไกลคอล (น้ำหนักโมเลกุล = 62) ในอัตรา 200 ล้านกรัมต่อปี อยากทราบว่าคิดเป็ นอัตราการผลิตกี่


กรัมโมล/นาที
1.6.14 กรัมโมล/นาที

231. จงคำนวณค่าอัตราการไหลเชิงโมลของ A เมื่อถูกป้ อนเข้าเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง (CSTR) (สัดส่วนเชิงโมลของ A ในสายป้ อน


เท่ากับ 0.5) ในสายป้ อนที่มีอัตราการไหลเชิงปริมาตร 6 ลิตร/วินาที ความดันเริ่มต้น 1 atm อุณหภูมิ 422.5 เคลวิน เมื่อกำหนดให้ค่าคงที่ของ
ก๊าซ (R) มีค่าเท่ากับ 0.082 (ลิตร-atm/โมล-เคลวิน)
2.0.09 โมล/วินาที

232. ในสมการสมดุลโมล (mole balance equation) เรามักนิยมทำการสมดุลโมล ของสารตัวใดในปฏิกิริยา


1.สารตั้งต้นที่เป็ นตัวจำกัดการเกิดปฏิกิริยา (limiting reactant)

233. สมการสมดุลมวล (mole balance equation) ของ differential reactor มีลักษณะคล้ายคลึงกับสมการออกแบบของเครื่องปฏิกรณ์


ชนิดใดมากที่สุด
1.เครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง (CSTR)

234. กำหนดให้ ปริมาตรของเครื่องปฏิกรณ์มีค่าคงที่

4.ถูกทั้ง 1 และ 2

235. ในระบบของเครื่องปฏิกรณ์แบบกะ (batch reactor) สมการอัตราเร็วปฏิกิริยา (Rate law) กับสมดุลโมล (Mole balance) มีความ
สัมพันธ์กันอย่างไรสำหรับปฏิกิริยาอันดับหนึ่งเทียบกับสาร A กำหนดให้ ปริมาตรของเครื่องปฏิกรณ์คงที่

2.

236.

3.1 litre

237.

4.1.6 litre

238.

1.

https://engenius.neighborsoft.com/test 27/71
5/4/67 12:34 ENGenius

239.

2.0.07 ลูกบาศก์เดซิเมตร

240. ในการทดลองหาข้อมูลสมการอัตราเร็วปฏิกิริยา (Rate equation) โดยใช้เครื่องปฏิกรณ์แบบกะ (Batch reactor) นั้นนิยมใช้สำหรับ


ปฏิกิริยาประเภทใด
1.ปฏิกิริยาเอกพันธุ์ (Homogeneous reaction)

241. ในการปฏิบัติงานเครื่องปฏิกรณ์แบบความดันคงที่ (constant pressure reactor) หากความดันรวมในระบบเพิ่มขึ้น จะต้องปรับปริมาตร


ของเครื่องปฏิกรณ์เป็ นอย่างไร
1.เพิ่มขึ้น

242.

1.จำนวนโมลของสาร D / จำนวนโมลของสาร A ที่ทำปฏิกิริยา

243. ข้อความใดถูกต้องสำหรับปฏิกิริยาอันดับหนึ่งซึ่งเกิดในสถานะแก๊ส และมีจำนวนโมลรวมของผลิตภัณฑ์มากกว่าจำนวนโมลรวมของสาร


ตั้งต้น
3.การละทิ้งผลของการเปลี่ยนแปลงปริมาตรในการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อจะทำให้เครื่องปฏิกรณ์ที่ออกแบบได้มีขนาดเล็กเกินไป

244. ข้อความใดถูกต้องในการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์สำหรับระบบที่มีหลายปฏิกิริยา
2.
การเลือกใช้เครื่องปฏิกรณ์แบบท่อจะช่วยเพิ่มค่าการเลือกเกิดของสารผลิตภัณฑ์ที่ต้องการได้ เมื่อปฏิกิริยาที่เกิดเป็ นแบบขนาน (parallel reaction) และอันดับ
ปฏิกิริยาของการเกิดผลิตภัณฑ์ที่ต้องการสูงกว่าอันปฏิกิริยาปฏิกิริยาของการเกิดผลิตภัณฑ์ที่ไม่ต้องการ

245.

4.ผิดทุกข้อ

246. ข้อความใดถูกต้องในการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์สำหรับระบบที่มีหลายปฏิกิริยา
3.instantaneous selectivity และ overall selectivity ของเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่องมีค่าเท่ากัน

247. ข้อใดเป็ นคุณสมบัติของเครื่องปฏิกรณ์กึ่งต่อเนื่อง (Semibatch reactor)


4.ถูกทั้ง คำตอบ 1 และ คำตอบ 2

248. ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติของเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหล (Plug-flow reactor) i) สมการอัตราเร็วปฏิกิริยาขึ้นอยู่กับรูปร่างของเครื่อง


ปฏิกรณ์เคมี ii) อัตราเร็วปฏิกิริยาเปลี่ยนแปลงตามแนวความยาวของท่อ iii) ถ้าระบบมีรูปแบบการไหลแบบปั่นป่ วน (turbulent) ความเข้มข้น
ไม่มีการเปลี่ยนแปลงในแนวรัศมี
1.ถูกเฉพาะ i

249. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่องที่ต่อขนานกัน โดยอัตราการไหลเชิงปริมาตร ที่เข้าในแต่ละเครื่องปฏิกรณ์


เท่ากัน ทำงานภายใต้สภาวะเดียวกัน กำหนดให้ปริมาตรของเครื่องปฏิกรณ์ทุกเครื่องเท่ากัน
4.ถูกทุกข้อ

250. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับถังกวนต่อเนื่องที่ต่ออนุกรมกัน โดยอัตราการไหลเชิงปริมาตรที่เข้าเครื่องแต่ละเครื่องเท่ากัน ทำงานที่สภาวะ


เดียวกัน i) ค่าคอนเวอร์ชันของแต่ละเครื่องปฏิกรณ์เท่ากัน ii) เมื่อเปรียบเทียบกับเครื่องปฏิกรณ์ที่มีขนาดเท่ากัน และอันดับของปฏิกิริยาไม่
เท่ากับศูนย์ ค่าคอนเวอร์ชันของเครื่องปฏิกรณ์ที่ต่อแบบอนุกรม มีค่ามากกว่าการต่อแบบขนาน iii) อัตราเร็วปฏิกิริยาของปฏิกิริยาของแต่ละ
เครื่องเท่ากัน
2.ถูกเฉพาะ ii เท่านั้น

251. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเลขดัมฮอเลอร์ (Damkohler number)


3.บอกถึงระดับของค่าคอนเวอร์ชันได้จากปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในเครื่องปฏิกรณ์แบบกะ

252. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์แบบไหลต่อเนื่อง (continuous flow reactor) i) ปริมาตรของเครื่องปฏิกรณ์


แปรผันตามอัตราการไหลเชิงปริมาตร ii) ปริมาตรของเครื่องปฏิกรณ์แปรผกผันกับอัตราการไหลเชิงโมล iii) ปริมาตรของเครื่องปฏิกรณ์แปร
ผกผันกับค่าคอนเวอร์ชัน
4.i และ iii ถูก

https://engenius.neighborsoft.com/test 28/71
5/4/67 12:34 ENGenius

253. จงพิจารณาปฏิกิริยามูลฐานของก๊าซ (elementary gas-phase reaction): A + B ----> 2C + D ปฏิกิริยานี้มีสาร B อยู่มากเกินพอ


และเกิดขึ้นภายใต้สภาวะ isothermal ข้อความต่อไปนี้ข้อใดกล่าวถูกต้อง i) ปริมาตรไม่คงที่ ii) อัตราการไหลเชิงปริมาตรไม่คงที่ iii) อันดับของ
ปฏิกิริยาเท่ากับสอง
4.ถูกทุกข้อ

254.

4.

255. ข้อความใดต่อไปนี้ไม่เป็ นสาเหตุให้ค่าคอนเวอร์ชันเปลี่ยนแปลง i) อันดับของปฏิกิริยาเปลี่ยน ii) ความเข้มข้นของสารตั้งต้นเปลี่ยน iii)


เมื่อนำเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่องมาต่อขนานกัน โดยที่ปริมาตรและเรซิเดนซ์ไทม์คงที่
3.ถูกเฉพาะ iii เท่านั้น

256. จงหาค่าเรซิเดนซ์ไทม์ของปฏิกิริยาอันดับศูนย์ในเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง

2.

257. ปฏิกิริยามูลฐานผันกลับไม่ได้ : A ---> 2B ความเข้มข้นของสาร A เท่ากับ 2 mol/l และค่าคอนเวอร์ชันของปฏิกิริยาเท่ากับ 50 % จง


หาความเข้มข้นของสาร B ผลิตได้
2.2 mol/l

258. ปฏิกิริยามูลฐานผันกลับไม่ได้ : A ---> 2B เมื่อปฏิกิริยาเริ่มต้นมีเพียงสาร A บริสุทธิ์ เกิดในเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหล ปริมาตรเริ่มต้น 3


ลิตร ซึ่งปฏิกิริยานี้มีคอนเวอร์ชัน 100 % จงหาปริมาตรเมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุด
4.6 ลิตร

259. หน่วยของ space velocity คืออะไร


time-1

4.

260. เครื่องปฏิกรณ์ขนาด 4 ลิตร และอัตราการไหลเชิงปรมาตรที่เข้าเครื่องปฏิกรณ์เท่ากับ 2 l/min จงหาว่า space velocity มีค่าเท่าไหร่


1.0.5 min-1

261. ปฏิกิริยามูลฐาน A + 2B ---> C + D; -ra = 6 mol/l-min จงหาสมการอัตราเร็วของสาร B (-rb)


4.12 mol/l-min

262.

1.ถูกเฉพาะ i เท่านั้น

263. ปฏิกิริยามูลฐาน A ---> B; -ra = 4 mol/l-min สารตั้งต้นมีอัตราการไหลเชิงโมลที่ทางเข้าและทางออกเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อ


เนื่องเท่ากับ 3 และ 2 mol/min ตามลำดับ จงคำนวณหาปริมาตรของเครื่องปฏิกรณ์นี้ กำหนดให้ อัตราเร็วปฏิกิริยามีค่าคงที่
1.0.25 litre

264.

3.

https://engenius.neighborsoft.com/test 29/71
5/4/67 12:34 ENGenius

265. ปฏิกิริยามูลฐานของก๊าซ : A + B ---> C + D ในสายป้ อนประกอบด้วยความเข้มข้นของสาร A และสาร B เท่ากัน โดยความเข้มข้นเริ่ม


ต้นของสาร B เท่ากับ 0.01 mol/l เมื่อเครื่องปฏิกรณ์ทำงานภายใต้ความดันคงที่ที่ 0.82 atm จงหาอุณหภูมิเริ่มต้นของปฏิกิริยา (ค่าคงที่ของ
ก๊าซ (R) = 0.082 atm-l/mol-K)
1.227 องศา

266. ปฏิกิริยามูลฐานของของก๊าซ A ---> B + C ในสายป้ อนประกอบด้วยสาร A บริสุทธิ์ โดยมีอัตราการไหลเชิงโมลของสาร A ที่ทางเข้าและ


ทางออกของเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหล เท่ากับ 5 และ 3 mol/min ตามลำดับ จงหาอัตราการไหลเชิงโมลของผลิตภัณฑ์ C ที่เกิดขึ้น
2.2.0 mol/min

267. ปฏิกิริยามูลฐานของของเหลว A + B ---> 2C เกิดขึ้นในเครื่องปฏิกรณ์แบบกะ โดยมีจำนวนโมลเริ่มต้นของสาร A เท่ากับ 5 mol ปริมาณ


ของ A ที่เหลือจากปฏิกิริยาคิดเป็ น 40 % ของปริมาณของ A เริ่มต้น จงหาจำนวนโมลของ A ในเครื่องปฏิกรณ์ กำหนดให้ปฏิกิริยานี้ดำเนินภาย
ใต้ความดันและอุณหภูมิคงที่
3.2.0 mol

268.

2.

269. ปฏิกิริยามูลฐานของของเหลว A ---> B + C;-ra = 3 mol/l-min ปฏิกิริยาข้างต้นเกิดในเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่องโดยที่


ผลิตภัณฑ์ B ผลิตได้ในอัตรา 6 mol/min จงหาปริมาตรของเครื่องปฏิกรณ์นี้
3.2.0 litre

270.

4.18 litre/min

271.

4.

272.

4.

273. กำหนดปฏิกิริยา A + B ---> C + D ในวัฏภาคของเหลว โดยปฏิกิริยานี้ดำเนินไปโดยใช้เครื่องปฏิกรณ์แบบกะ ที่มีปริมาตรคงที่ โดยมีราย


ละเอียดดังนี้ ความเข้มข้นของ A เริ่มต้น, Cao= 2 mol/L ความเข้มข้นของ B เริ่มต้น, Cbo = 20 mol/L อัตราการสลายตัวของ B, -rb =

https://engenius.neighborsoft.com/test 30/71
5/4/67 12:34 ENGenius
k.CbCa 3/2 ที่อุณหภูมิ 298 K จะเพิ่มอัตราการเกิดปฏิกิริยาได้อย่างไร
3.เพิ่มอุณหภูมิในการทำปฏิกิริยา
274. ปฏิกิริยาดำเนินไประยะหนึ่งพบว่าสารตั้งต้นเหลือเพียง 3 ใน 4 ของที่เริ่มต้น จงหาคอนเวอร์ชันของปฏิกิริยานี้
2.1/4

275. ข้อใดคือหน่วยของค่าคงที่อัตรา (rate constant) ที่มีเป็ นปฏิกิริยาอันดับ 3


4.ปริมาตร2ต่อจำนวนโมล2ต่อเวลา

276. กำหนดปฏิกิริยา A ไปเป็ น B และ A ไปเป็ น C โดยเกิดแบบ parallel ซึ่ง B เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ต้องการ (Desired product) ในขณะที่ C เป็ น
ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ต้องการ (Undesired product) ความเข้มข้นของสารตั้งต้น A เริ่มต้นมีค่าเท่ากับ 2 M ทำปฏิกิริยาในเครื่องปฏิกรณ์แบบกะ 20 L
เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยาพบว่าเกิด B เป็ น 3 เท่าของ C โดยโมล และมี A เหลืออยู่ครึ่งหนึ่งจงหาการเลือกเกิดของ B เทียบกับ C
2.3

277. การหากฏอัตราสามารถทำได้โดยการเก็บข้อมูลแบบกะโดยเก็บข้อมูลเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างพารามิเตอร์ใด
2.ความเข้มข้นเทียบกับเวลา

278. พิจารณาปฏิกิริยา A + B ไปเป็ น C ปฏิกิริยานี้สามารถเขียนเป็ นกฏอัตราได้อย่างไร


4.ข้อมูลไม่เพียงพอ

279. พิจารณาปฏิกิริยาจากสารตั้งต้น A ไปเป็ นผลิตภัณฑ์ B ซึ่งเกิดในวัฏภาคของเหลวและเป็ นปฏิกิริยาที่ผันกลับไม่ได้ มีกฏอัตราและ


ข้อมูลดังต่อไปนี้ -ra = kCa เมื่อ k = 0.2 min-1 ความเข้มข้นของ A เริ่มต้น (Cao) = 5 M ถ้าเปลี่ยนวัฏภาคจากของเหลวเป็ นแก๊สในปฏิกิริยา
อยากทราบปริมาตรที่คำนวณได้จะเป็ นอย่างไร
1.ปริมาตรไม่มีการเปลี่ยนแปลง

280. การต่อเครื่องปฏิกรณ์แบบใดที่ไม่ได้ช่วยในการเพิ่มประสิทธิภาพของคอนเวอร์ชัน
1.ต่อ CSTR กับ CSTR

281. เครื่องปฏิกรณ์แบบ isothermal หมายถึงเครื่องปฏิกรณ์แบบใด


4.ถูกทุกข้อ

282. เครื่องปฏิกรณ์แบบ isothermal จะให้ผลอย่างไร


2.ค่าคงที่อัตราไม่มีการเปลี่ยนแปลง

283. การออกแบบเครื่องปฏิกรณ์ที่ใช้กับของเหลวและแก๊สโดยทั่วไปจะต่างกันอย่างไร
1.ของเหลวมีปริมาตรคงที่ในขณะที่แก๊สจะไม่คงที่

284. ข้อใดคือสมการการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์แบบ PBR


4.

285. ปฏิกิริยา A(g) + 3B(g) ---> 6C(g) เกิดขึ้นในเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหล (plug flow reactor) ที่ดำเนินงานแบบอุณหภูมิคงที่
(isothermal) และมีความดันลดน้อยมาก ข้อใดถูกต้อง
1.อัตราการเกิดของสาร C มีค่าเป็ น 2 เท่าของอัตราการหายไปของสาร B

286. ปฏิกิริยา A + 3B <---> 2C เป็ นปฏิกิริยาดูดความร้อนและเกิดในวัฏภาคก๊าซ ควรดำเนินงานเครื่องปฏิกรณ์ที่สภาวะใดเพื่อให้ค่าคอน


เวอร์ชันสูงสุด (maximum conversion) มีค่าสูง
1.อุณหภูมิสูง ความดันสูง

287.

4.2.5 litre

288. ในการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง (CSTR) ที่สภาวะอุณหภูมิไม่คงที่ จะพิจารณาความร้อนที่เกิดจากปฏิกิริยา และความ


ร้อนที่ต้องนำออกจากเครื่องปฏิกรณ์ เพื่อให้เครื่องปฏิกรณ์มีสภาวะการปฏิบัติการที่มีเสถียรภาพที่สถานะคงตัว (Steady state) ข้อกำหนดใดต่อ
ไปนี้ถูกต้อง
3.ความร้อนที่เกิดจากปฏิกิริยา = ความร้อนที่ต้องนำออกจากเครื่องปฏิกรณ์

https://engenius.neighborsoft.com/test 31/71
5/4/67 12:34 ENGenius

289.

4.

290.

3.1.25 M

291.

3.15/20

292. ปฏิกิริยา A(g) + 3B(g) ---> 6C(g) เกิดขึ้นในเครื่องปฏิกรณ์ที่ดำเนินงานแบบต่อเนื่องชนิดหนึ่ง สายป้ อนประกอบด้วย A (20 mol%)
และ B (80 mol%) จากการทำปฏิกิริยาพบว่าค่าคอนเวอร์ชัน (conversion) ของ A มีค่าเท่ากับ 0.5 จงหาค่าคอนเวอร์ชันของสาร B
3.0.375

293. ปฏิกิริยา A(g) + 2B(g) ---> C(g) + D(g) เกิดขึ้นในเครื่องปฏิกรณ์ที่ดำเนินงานแบบต่อเนื่องชนิดหนึ่ง สายป้ อนประกอบด้วย A (10
mol%) B (50 mol%) และก๊าซเฉื่อย (40 mol%) จงหาค่าคอนเวอร์ชัน (conversion) สูงสุดของสาร B
2.0.4

294. ปฏิกิริยา A(g) ---> 2B(g) เกิดขึ้นในภาชนะปิ ด อุณหภูมิคงที่ ถ้าเริ่มต้นระบบประกอบด้วยสาร A บริสุทธิ์ จงหาค่าคอนเวอร์ชัน
(conversion) เมื่อความดันของระบบเพิ่มเป็ น 2 เท่าของความดันเริ่มต้น
4.1.0

295.

2.0.279 l/min

296. ปฏิกิริยามูลฐานในวัฏภาคของเหลว A + 2B --> 3C + D เกิดขึ้นในเครื่องปฏิกรณ์ที่ดำเนินงานแบบต่อเนื่องชนิดหนึ่ง ณ ความดันและ


อุณหภูมิคงที่ สายป้ อนประกอบด้วย A (25 mol%) และ B (75 mol%) โดยสาร A ไหลเข้าเครื่องปฏิกรณ์ด้วยอัตราการไหลเชิงโมล 6 mol/min
จงหาอัตราการไหลเชิงโมลของสาร B ที่ออกจากเครื่องปฏิกรณ์ ถ้าสาร C มีอัตราไหลเชิงโมลออกจากเครื่องปฏิกรณ์ 9 mol/min
4.12 mol/min

https://engenius.neighborsoft.com/test 32/71
5/4/67 12:34 ENGenius

297. ปฏิกิริยามูลฐานในวัฏภาคของเหลว A + 2B ---> 2C + 3D เกิดขึ้นในเครื่องปฏิกรณ์ที่ดำเนินงานแบบต่อเนื่องชนิดหนึ่ง ณ ความดันและ


อุณหภูมิคงที่ สายป้ อนประกอบด้วย A (10 mol%) และ B (90 mol%) โดยสายป้ อนไหลเข้าเครื่องปฏิกรณ์ด้วยอัตราการไหลเชิงโมลรวม 4
mol/s จงหาอัตราการไหลเชิงโมลรวมที่ออกจากเครื่องปฏิกรณ์ ถ้าปฏิกิริยานี้มีค่าคอนเวอร์ชันของสาร A (conversion) 25%
2.3.8 mol/s

298.

3.0.012 mol/l

299.

4.0.04 mol/l.s

300. ปฏิกิริยา A(g) + 3B(g) ---> 2C(g) + D(g) เกิดขึ้นในเครื่องปฏิกรณ์ที่ดำเนินงานแบบต่อเนื่องชนิดหนึ่ง ณ ความดันและอุณหภูมิคงที่


สายป้ อนประกอบด้วย A (25 mol%) B (60 mol%) และที่เหลือเป็ นก๊าซเฉื่อย ไหลเข้าและออกเครื่องปฏิกรณ์ด้วยอัตราการไหลเชิงปริมาตร 4
และ 3.7 litre/min ตามลำดับ จงหาค่าคอนเวอร์ชัน (conversion) ของสาร A
3.0.3

301.

4.1.2 mol/l.s

302.

3.0.0225 mol/l

303. ปฏิกิริยาการสลายตัวของก๊าซ A ได้ผลิตภัณฑ์เป็ น R ดังสมการ A --> 3R เกิดในเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง (CSTR) ซึ่งทำงานที่


อุณหภูมิคงที่ ถ้าตอนเริ่มต้นสารป้ อนประกอบด้วย A = 80% และก๊าซเฉื่อย = 20% ไหลเข้าเครื่องปฏิกรณ์ด้วยอัตรา 1 ลิตร/นาที เมื่อปฏิกิริยา
เกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ อัตราการไหลออกของก๊าซผลิตภัณฑ์จะเป็ นเท่าใด
4.2.6 ลิตร/นาที

304. ปฏิกิริยาการสลายตัวของก๊าซ A คือ 2A --> R ถ้าเราป้ อนก๊าซ A ด้วยอัตรา 1 l/min เข้าสู่เครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหล (PFR) ซึ่งมี
ปริมาตร 1 ลิตร กำหนดให้ค่าคอนเวอร์ชัน (conversion) เท่ากับ 90% จงคำนวณอัตราการไหลขาออกในสถานะคงตัว (steady state) และถ้า
เพิ่มอัตราการไหลเป็ น 2 l/min ค่าคอนเวอร์ชันจะเป็ นอย่างไร
4.อัตราการไหลขาออก = 0.55 l/min และ Xa < 90%

305. ปฏิกิริยา 2A + B --> 2C เกิดในวัฏภาคก๊าซในภาชนะปิ ดที่มีปริมาตรคงที่ ถ้าความเข้มข้นเริ่มต้นของ A, B และ C ในระบบมีค่าเท่ากับ 2,


2 และ 0 mol/l ตามลำดับ ค่าคอนเวอร์ชัน (conversion) เมื่อเทียบกับสาร A ต้องเป็ นเท่าไหร่ เมื่อความเข้มข้นของ C เพิ่มขึ้นเป็ น 1 mol/l
2.0.44

306. ปฏิกิริยา 2A --> B เกิดในวัฏภาคก๊าซในภาชนะปิ ดที่มีปริมาตรคงที่โดยเริ่มต้นจากสาร A บริสุทธิ์ที่ความเข้มข้น 4 mol/l ถ้าสาร A เกิด


ปฏิกิริยาไป 50% แล้วความเข้มข้นของสาร B จะมีค่าเท่าไร
1.1.00

https://engenius.neighborsoft.com/test 33/71
5/4/67 12:34 ENGenius

307.

1.1.25

308.

4.100 นาที

309.

4.0.91

310.

3.23 นาที

311.

1.1400 l

312.

1.288 l

https://engenius.neighborsoft.com/test 34/71
5/4/67 12:34 ENGenius

313.

1.161.7 l

314.

4.360 l

315.

4.

316.

4.0.89 mol/l

317.

3.30 วินาที

318.

2.3 mol/l

319.

4.48 mol/l

https://engenius.neighborsoft.com/test 35/71
5/4/67 12:34 ENGenius

320.

4.62.5 %

321.

4.10 litre

322. พิจารณาปฏิกิริยาของก๊าซ: A + 3B ---> 2C เกิดปฏิกิริยาในเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหล (plug flow reactor) ที่อุณหภูมิคงที่ และความ


ดันที่ 5 atm สายป้ อนประกอบด้วยก๊าซ A 30 mol% ก๊าซ B 60mol% และที่เหลือเป็ นก๊าซเฉื่อย ณ ทางออกเครื่องปฏิกรณ์พบว่าความเข้มข้น
ของสาร A เหลือจากปฏิกิริยา 20% เมื่อเทียบกับความเข้มข้นเริ่มต้น จงหาว่าอัตราไหลเชิงปริมาตรที่ทางออกเป็ นเท่าไหร่เมื่อเทียบกับสภาวะ
ที่ทางเข้า
2.ลดเหลือ 68%

323.

2.0.045 mol/l-min

324.

1.8 litre

325.

1.

https://engenius.neighborsoft.com/test 36/71
5/4/67 12:34 ENGenius

326.

3.

327.

3.

328. ปฏิกิริยาการผลิตเอทธิลีนไกลคอล (C) มีสารตั้งต้นสองชนิด คือ เอทธิลีนออกไซด์ (A) และน้ำ (B) (โดยมีกรดซัลฟูริกเป็ นตัวเร่ง
ปฏิกิริยา) ดังสมการ A + B ---> C ถ้าต้องการผลิตเอทธิลีนไกลคอลในอัตรา 100 กรัมโมล/นาที และมีค่าคอนเวอร์ชัน (conversion) ของเอทธิ
ลีนออกไซด์ในสายขาออกจากเครื่องปฏิกรณ์เท่ากับ 0.5 เราจะต้องป้ อนเอทธิลีนออกไซด์เข้าเครื่องปฏิกรณ์ในอัตราเท่าใด (กำหนดให้ไม่มีเอทธิ
ลีนไกลคอลในสายป้ อนเลย)
4.200 กรัมโมล/นาที

329. ก๊าซ A สลายตัวตามปฏิกิริยา A ---> 2R ถ้าบรรจุก๊าซ A และก๊าซเฉื่อยลงในเครื่องปฏิกรณ์แบบกะ (batch reactor) ปริมาตร 10 ลิตร
โดยให้มีอัตราส่วนระหว่างก๊าซ A ต่อก๊าซเฉื่อย เท่ากับ 4:1 และความดันรวมเริ่มต้นเท่ากับ 5 atm จงคำนวณค่าคอนเวอร์ชัน (conversion)
ขณะที่ความดันรวมมีค่าเท่ากับ 8.2 atm
4.80%

330. ในการทดลองหาข้อมูลสมการอัตราเร็วปฏิกิริยา (rate equation) โดยใช้เครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหล (PFR) เกณฑ์ตัดสินว่าเครื่อง


ปฏิกรณ์ประเภทนี้จะเป็ นแบบอนุพันธ์ (differential reactor) หรือไม่นั้นอยู่ที่ค่าคอนเวอร์ชัน (conversion) ของสารตั้งต้น ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
4.ค่าคอนเวอร์ชันมีค่าต่ำมาก

331.

2.0.5 กรัมโมล/ลิตร

https://engenius.neighborsoft.com/test 37/71
5/4/67 12:34 ENGenius

332.

1.เครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหล (plug flow reactor) แบบป้อน A และ B ร่วมกัน

333.

4.1.5 mol/l

334.

4.2.2 mol/l

335. ถ้าปฏิกิริยาดำเนินการในเครื่องปฏิกรณ์แบบ CSTR จงหาปริมาตรของปฏิกิริยาใน V2

2.

336. พิจารณาเครื่องปฏิกรณ์แบบ CSTR ดังรูปข้างล่าง จงคำนวณหาปริมาตรของปฏิกิริยาที่ V1 เมื่อ CSTR ต่อแบบอนุกรม

4.100 ลิตร

337. พิจารณาเครื่องปฏิกรณ์แบบ CSTR ดังรูปข้างล่าง จงคำนวณหาปริมาตรของปฏิกิริยาที่ V2 เมื่อ CSTR ต่อแบบอนุกรม

2.320 ลิตร

338. ถ้าต้องใช้เครื่องปฏิกรณ์ CSTR เพียงถังเดียว เพื่อให้ให้คอนเวอร์ชัน 80% จะต้องใช้ปริมาตรของปฏิกิริยาเท่าใด

https://engenius.neighborsoft.com/test 38/71
5/4/67 12:34 ENGenius

4.640 ลิตร
339. พิจารณาปฏิกิริยาจากสารตั้งต้น A ไปเป็ นผลิตภัณฑ์ B ซึ่งเกิดในวัฏภาคของเหลวและเป็ นปฏิกิริยาที่ผันกลับไม่ได้ มีสมการอัตราเร็ว
ปฏิกิริยาและข้อมูลดังต่อไปนี้ -ra = kCa k = 0.2 min-1 ความเข้มข้นของ A เริ่มต้น (Cao) = 5 M ถ้าทำปฏิกิริยานี้ในเครื่องปฏิกรณ์แบบกะ จง
หาเวลาที่ทำให้เกิดคอนเวอร์ชัน 50%
4.3.5 min

340.

2.0.038 mol/l

341. ปฏิกิริยามูลฐาน A + B ---> 2C ซึ่งเกิดในวัฏภาคของเหลว โดยความเข้มข้นเริ่มต้นของ A และ B เท่ากันซึ่งเท่ากับ 5 mol/l ณ สมดุลมี


สาร B เหลือจากปฏิกิริยา 2 mol/l จากนั้นรบกวนระบบโดยการเติมสาร C ลงไปในสารละลาย ส่งผลให้ความเข้มข้นของสาร C เพิ่มขึ้นอีก 2
mol/l จงหาความเข้มข้นของสาร B เมื่อระบบเข้าสู่สมดุลใหม่ สมมติให้ปริมาณสาร C ที่เติมลงไปไม่มีผลต่อปริมาตรรวมของสารละลายที่
เกี่ยวข้อง
4.2.4 mol/l

342. ปฏิกิริยา A + 2B ---> C ถ้าตอนเริ่มปฏิกิริยา ในระบบมีเฉพาะสารตั้งต้น A จำนวน 1 โมล และสารตั้งต้น B จำนวน 2 โมล ณ เวลาหนึ่ง
พบว่าค่าความเข้มข้นเชิงโมล (mole fraction) ของสาร C มีค่าเท่ากับ 0.5 จงหาค่าคอนเวอร์ชัน (conversion) ของสาร A
3.0.75

343.

4.66 ท่อ

344.

1.0.59

345.

2.12.6 itre

https://engenius.neighborsoft.com/test 39/71
5/4/67 12:34 ENGenius

346.

2.4.8 min

347.

2.0.75 min

348.

4.

349. จงหาค่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาในเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง (CSTR) ที่ดำเนินงานที่สถานะคงตัว (steady state) ปฏิกิริยาที่เกิด


คือ A ---> B + C ซึ่งเกิดในวัฏภาคของเหลว โดยสาร A ถูกป้ อนเข้าด้วยอัตรา 2 โมล/ลิตร มีสเปซไทม์ (space time) อยู่ในถังปฏิกรณ์ 38 นาที
และมีความเข้มข้นของสาร A ในสายขาออกเท่ากับ 1.25 โมล/ลิตร
2.0.02 โมล/ลิตร-นาที

350.

2.12 ลิตร

https://engenius.neighborsoft.com/test 40/71
5/4/67 12:34 ENGenius

351.

4.0.1 mol/l, 2, 0.34 l/mol•s

352. ปฏิกิริยาการสลายตัวของสาร A เป็ นปฏิกิริยาอันดับ ½ เกิดในเครื่องปฏิกรณ์แบบกะ (batch reactor) ขนาด 2 ลิตร เมื่อเวลาผ่านไป 5
นาที พบว่าสาร A เหลือจากการทำปฏิกิริยา 64% จงหาคำนวณหาจำนวนโมลของสาร A ที่สลายตัวไปในเวลา 1 ชั่วโมง
4.4.8 mol

353.

2.8 litre

354.

4.25 litre

355.

1.90 วินาที

https://engenius.neighborsoft.com/test 41/71
5/4/67 12:34 ENGenius

356.

3.150 วินาที

357.

4.300 วินาที

358.

3.3 L

359.

2.

360. ปฏิกิริยาในข้อใดเป็ นปฏิกิริยาแบบอนุกรม (Series Reaction)

3.

361. ปฏิกิริยาในข้อใดเป็ นปฏิกิริยาแบบขนาน (Parallel Reaction)


2.

https://engenius.neighborsoft.com/test 42/71
5/4/67 12:34 ENGenius

362.

1.

363.

2.

https://engenius.neighborsoft.com/test 43/71
5/4/67 12:34 ENGenius

364.

3.

365.

3.ค่าการเลือกเกิดผลิตภัณฑ์ D ลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น

366.

ค่าพลังงานก่อกัมมันต์ (Ea) ของการเกิดผลิตภัณฑ์ D มีค่าสูงกว่าผลิตภัณฑ์ U และควรทำปฏิกิริยาที่อุณหภูมิสูง


4.

https://engenius.neighborsoft.com/test 44/71
5/4/67 12:34 ENGenius

367. ข้อความต่อไปนี้เกี่ยวกับ Batch, Semi-batch และ Continuous-flow Reactors เป็ นข้อความที่ไม่ถูกต้อง

4.ไม่มีข้อใดไม่ถูกต้อง

368. กระแสก๊าซป้ อนเข้าเครื่องปฏิกรณ์ ประกอบด้วย สาร A 41 mol% สาร B 16.4 mol% และที่เหลือก๊าซเฉื่อย
ณ ความดัน 10 atm และอุณหภูมิ 227 ºC จงคำนวณหาความเข้มข้นของก๊าซ A ที่ทางเข้า กำหนดให้ค่าคงที่ก๊าซ
R = 0.082 litre•atm/(mol•K)
2.0.1 mol/l

369. ความเข้มข้นของสารตั้งต้นเริ่มต้นเท่ากับ 0.2 mol/l ไหลเข้าเครื่องปฏิกรณ์แบบต่อเนื่องขนาด 5 ลิตร ด้วยอัตราไหลเชิงโมล 2 mol/min


จงคำนวณหาค่าสเปซไทม์ (Space Time) ของเครื่องปฏิกรณ์นี้
2.0.5 min

370.

จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก) ในการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์แบบต่อเนื่อง ขนาดของเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหล (PFR) มีขนาดเล็กกว่าเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง (CSTR) เสมอ
ข) ในการหาขนาดของเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง (CSTR) อัตราเร็วปฏิกิริยาคำนวณ ณ สภาวะที่ทางเข้าเครื่องปฏิกรณ์
ค) เมื่ออันดับของปฏิกิริยาเป็ นศูนย์ อัตราเร็วปฏิกิริยามีค่ามากเมื่อความเข้มข้นเริ่มต้นของสารตัน

4.ผิดทุกข้อ

371. ของไหลเข้าเครื่องปฏิกรณ์แบบต่อเนื่องขนาด 2 ลิตร ด้วยอัตราไหลเชิงโมล 0.8 mol/s ค่าคอนเวอร์ชัน (conversion) ของปฏิกิริยา


อันดับหนึ่งเท่ากับ 60% และความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่ทางออกมีค่าเป็ น 4 mol/l จงคำนวณหาสเปซไทม์ (Space Time) ของเครื่องปฏิกรณ์
นี้

4.25 sec

372. ปฏิกิริยามูลฐาน (elementary reaction) ในวัฏภาคก๊าซ A + B ------> 2C อัตราการไหลเชิงโมลของสาร A ที่เข้าและออกจากเครื่อง


ปฏิกรณ์แบบต่อเนื่องมีค่าเป็ น 4 mol/min และ 1 mol/min ตามลำดับ จงหาอัตราการไหลเชิงโมล ของผลิตภัณฑ์ C
2.6 mol/min

373. ปฏิกิริยามูลฐาน (elementary reaction) A -----> 2B อัตราการไหลเชิงโมลของสาร A ที่เข้าและออกจากเครื่องปฏิกรณ์ มีค่าเป็ น 5


mol/min และ 2 mol/min ตามลำดับ จงหาค่าคอนเวอร์ชัน (Conversion) ของสาร A
3.0.6

374. ปฏิกิริยาในข้อใดเป็ นปฏิกิริยาแบบอิสระ (Independent Reaction)

1.

375.

3.ถูกทั้งข้อ 1 และ 2

376.

4.ถูกทั้งข้อ 1. และ 2.

https://engenius.neighborsoft.com/test 45/71
5/4/67 12:34 ENGenius

377.

1.ปฏิกิริยาที่ (1)

378.

4.ถูกทั้งข้อ 2. และ ข้อ 3

379.

4.ถูกทั้งข้อ 1. 2. และ 3.

380. ปฏิกิริยา A → B เกิดในวัฏภาคก๊าซในภาชนะปิ ดที่มีปริมาตรคงที่และความดันเริ่มต้นของระบบเท่ากับ 1 atm ถ้า A เกิดปฏิกิริยาไป


50% แล้วความดันของระบบจะมีค่าเป็ นเท่าไร
2.1 atm

381. ปฏิกิริยา A + 2B → C

4.

382.

3.

383. ข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้อง
4.ไม่มีข้อใดถูก

384. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
3.ถ้าปฏิกิริยาเป็ นแบบผันกลับได้ควรจะใช้ Method of Initial Rates ในการหาค่าคงที่ของอัตราการเกิดปฏิกิริยาและอันดับปฏิกิริยา

385. ข้อใดถูกต้อง
2.ค่า Half Life ของปฏิกิริยา คือ เวลาที่ใช้ในการที่สารตั้งต้นลดลงเหลือครึ่งหนึ่ง

https://engenius.neighborsoft.com/test 46/71
5/4/67 12:34 ENGenius

386. จากปฏิกิริยา A ---> Product ถ้ามีข้อมูลจากการทดลองเป็ นความเข้มข้นของ A ที่เวลาใดๆ ข้อใดไม่ใช่ขั้นตอนในการหาค่าคงที่


ปฏิกิริยา (rate constant) กับอันดับปฏิกิริยา (reaction order) โดยใช้ Differential Method

2.

387.

3.3.75 mol/(l-min)

388. ข้อใดไม่ใช่ข้อจำกัดในการวิเคราะห์หาค่าคงที่ปฏิกิริยา (rate constant) โดยใช้ Differential Method


1.เป็ นปฏิกิริยาแบบผันกลับได้

389. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการหาอันดับปฏิกิริยา (reaction order) และค่าคงที่ปฏิกิริยา (rate constant) i) วิธี differential ใช้
ปฏิกิริยาที่มีสารตั้งต้นเพียงชนิดเดียวและผันกลับไม่ได้เท่านั้น ii) วิธี integral ต้องใช้วิธีลองถูก-ลองผิด (trial-and-error) หาค่าอันดับปฏิกิริยา
iii) ต้องเขียนสมการสมดุลโมลอยู่ในรูปของตัวแปรที่วัดได้จากการทดลอง
4.ii และ iii ถูก

390. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการหาอันดับปฏิกิริยาและค่าคงที่ปฏิกิริยา i) วิธีอัตราเร็วปฏิกิริยาเริ่มต้น (initial rate method) เหมาะ


สำหรับปฏิกิริยาที่ผันกลับได้ ii) วิธีครึ่งชีวิต (half-life method) ทำการทดลองเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นเริ่มต้นของสารตั้งต้น
เมื่อมีค่าลดลงครึ่งหนึ่งกับเวลา โดยทำการทดลองเพียงครั้งเดียว iii) ข้อเสียของวิธี differential เหมาะสำหรับปฏิกิริยาที่ผันกลับไม่ได้
4.ii และ iii ถูก

391. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับตัวเร่งปฏิกิริยา (catalyst)


a) สารที่เพิ่มอัตราเร็วปฏิกิริยา เพื่อเข้าสู่สมดุลเร็วขึ้น
b) ตัวเร่งปฏิกิริยาช่วยลดค่าพลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยา
c) ตัวเร่งปฏิกิริยาถูกใช้ไปในปฏิกิริยาอย่างถาวร
d) ในกรณีที่ปฏิกิริยาข้างเคียงเกิดขึ้นตัวเร่งปฏิกิริยา มีผลต่อความสามารถในการเลือกทำปฏิกิริยา
2.ถูกเฉพาะ b เท่านั้น

392. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับตัวเร่งปฏิกิริยา (catalyst)


3.ตัวเร่งปฏิกิริยาสามารถเพิ่มอัตราเร็วปฏิกิริยาโดยเพิ่มพลังงานก่อกัมมันต์ของกิบส์ (Gibbs energy of activation, G)

393. การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีปริพันธ์ (Integral method) ถ้าสมมติอันดับปฏิกิริยา (Order of reaction) ที่เกิดขึ้นในเครื่องปฏิกรณ์แบบกะ


(Batch reactor) หลังจากที่ทำการหาปริพันธ์สมการดุลมวลสาร ถ้าสมมุติฐานถูกต้อง ผลการพล๊อตความเข้มข้นกับเวลาแล้วความสัมพันธ์ที่ได้จะ
มีลักษณะเป็ นแบบใด
2.เส้นตรง

394. ครึ่งชีวิตของปฏิกิริยา (Half-life of reaction, t1/2 ) หมายถึง


3.เวลาที่ความเข้มข้นของสารทำปฏิกิริยาลดเหลือ 50% เมื่อเทียบกับเวลาเริ่มต้น

395. ขั้นตอนหลักของการเกิดปฏิกิริยาแบบที่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา (catalytic reaction) นับตั้งแต่การถ่ายเทมวลของสารตั้งต้นเข้าสู่ระบบจนถึง


การถ่ายเทมวลของผลิตภัณฑ์ออกจากระบบมีทั้งหมดกี่ขั้นตอน
4.7 ขั้นตอน

396. การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีปริพันธ์ (Integral method) ถ้าได้อันดับปฏิกิริยา (Order of reaction) ที่เกิดขึ้นในเครื่องปฏิกรณ์แบบกะ


(Batch reactor) เท่ากับศูนย์ ผลการพล๊อตความเข้มข้นกับเวลาแล้วความสัมพันธ์ที่ได้จะมีลักษณะแบบใด
4.เส้นตรง ความชันเป็ นลบ

397.

1.

398. จงหาครึ่งชีวิตของสาร Y เมื่อสาร Y หนัก 360 g สลายตัวในเวลา 12 ชั่วโมง จนกระทั่งสาร Y เหลือ 45 g


4.4 ชั่วโมง

399. ข้อใดคือความหมายของ TOF (Turnover frequency)

https://engenius.neighborsoft.com/test 47/71
5/4/67 12:34 ENGenius
จำนวนโมเลกุลที่เข้าทำปฏิกิริยาต่อหน่วยพื้นที่ที่ว่องไวต่อวินาที
2.
400.

4.

401.

1.

402.

3.เฉพาะ iii เท่านั้น

403.

2.เฉพาะ i และ iv

https://engenius.neighborsoft.com/test 48/71
5/4/67 12:34 ENGenius

404.

4.ถูกทุกข้อ

405. เครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง (Continuous stirred-tank reactor) บรรจุตัวเร่งปฏิกิริยา โดยสาร A ถูกป้ อนเข้าเครื่องปฏิกรณ์ด้วย


อัตราเร็วเชิงโมล 2 mol/min จงหาน้ำหนักของตัวเร่งปฏิกิริยาที่ต้องการ เพื่อให้สาร A มีค่าคอนเวอร์ชัน (Conversion) 80% อัตราการสลายตัว
ของสาร A เท่ากับ 0.04 mol A/kg cat.
3.40 kg cat.

406. สารตั้งต้น A ความเข้มข้น 3 mol/l ถูกป้ อนเข้าเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง (Continuous stirred-tank reactor) ซึ่งบรรจุตัวเร่ง
ปฏิกิริยา ด้วยอัตราการไหลเชิงปริมาตรคงที่ที่ 0.2 l/min จากการทดลองพบว่าต้องใช้ ตัวเร่งปฏิกิริยาจำนวน 10 kg สาร A จึงมีความเข้มข้น
ที่ทางออกเป็ น 0.5 mol/l จงหาอัตราการสลายตัวของสาร A
2.0.05 mol A/(kg cat. min)

407. ตัวเร่งปฏิกิริยา (Catalyst) ช่วยเร่งให้อัตราเร็วปฏิกิริยาเร็วขึ้น แต่ไม่มีผลต่อปัจจัยใดต่อไปนี้


1.ค่าคงที่สมดุลปฏิกิริยา

408. ในกรณีที่มีเครื่องปฏิกรณ์ 2 ตัว เครื่องปฏิกรณ์ A บรรจุแพคกิง (packing) ที่ไม่ใช่ตัวเร่งปฏิกิริยา เครื่องปฏิกรณ์ B บรรจุตัวเร่งปฏิกิริยา


โดยให้มีปริมาตรเท่ากับปริมาตรของแพคกิง หากปล่อยให้สารตั้งต้น ประเภทก๊าซไหลผ่านเครื่องปฏิกรณ์ทั้งสองด้วยความเร็วเชิงสเปซ (pace
velocity) เท่ากัน ค่าคอนเวอร์ชัน (conversion) ของสารตั้งต้นเปรียบเทียบระหว่างเครื่องปฏิกรณ์ทั้งสองจะเป็ นอย่างใด

1.ค่าคอนเวอร์ชันของสารตั้งต้นในเครื่องปฏิกรณ์ B สูงกว่า เครื่องปฏิกรณ์ A

409. ในกรณีที่มีเครื่องปฏิกรณ์ 2 ตัว เครื่องปฏิกรณ์ A บรรจุตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีความว่องไว (activity) สูงกว่าตัวเร่งปฏิกิริยาในเครื่องปฏิกรณ์


B ซึ่งมีปริมาตรของตัวเร่งปฏิกิริยาเท่ากัน เพื่อให้ได้ค่าคอนเวอร์ชัน (conversion) ของสารตั้งต้นเท่ากันสำหรับเครื่องปฏิกรณ์ทั้งสอง ต้อง
กำหนดค่าความเร็วเชิงสเปซ (space velocity) เปรียบเทียบระหว่างเครื่องปฏิกรณ์ทั้งสองเป็ นอย่างไร
2.ให้ความเร็วเชิงสเปซสำหรับเครื่องปฏิกรณ์ A มากกว่า เครื่องปฏิกรณ์ B

410. ในวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีปริพันธ์ (integral method) นั้น ถ้าเราตั้งสมมติฐานว่าปฏิกิริยาที่เราสนใจมีอันดับของปฏิกิริยาเท่ากับ 0.5 เรา


ควรต้องพล็อตกราฟระหว่างค่าใดจึงจะได้กราฟเป็ นเส้นตรง
2.

411. ในวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีปริพันธ์ (integral method) นั้น ถ้าเราตั้งสมมติฐานว่าปฏิกิริยาที่เราสนใจมีอันดับของปฏิกิริยาเท่ากับ 1.5 เรา


ควรต้องพล็อตกราฟระหว่างค่าใดจึงจะได้กราฟเป็ นเส้นตรง
4.

412.

3.ค่าคงที่ปฏิกิริยา = -2 x ความชัน

413. ในการหาค่าพลังงานกัมมันต์ของปฏิกิริยาเมื่อเราทราบค่าคงที่ปฏิกิริยา (k) ที่อุณหภูมิ (T) ต่างๆแล้ว เราควรทำการพล็อตกราฟระหว่าง


ค่าใด และค่าพลังงานกัมมันต์จะทราบได้จากค่าใด
4.ไม่มีข้อใดถูก

414. สำหรับปฏิกิริยาอันดับหนึ่งนั้น อัตราส่วนระหว่างเวลาที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยาจนสารทำปฏิกิริยามีความเข้มข้นลดลงเหลือ 75% ของความ


เข้มข้นเริ่มต้นต่อเวลาที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยาจนสารทำปฏิกิริยามีความเข้มข้นลดลงเหลือ 50% ของความเข้มข้นเริ่มต้นควรมีค่าเท่าใด

https://engenius.neighborsoft.com/test 49/71
5/4/67 12:34 ENGenius
1.0.415
415.

3.

416. ปฏิกิริยา A → B มีค่าคงที่ปฏิกิริยาที่ 100 องศาเซลเซียสเท่ากับ 10.0 min-1 และมีค่าคงที่ปฏิกิริยาที่ 110 องศาเซลเซียสเท่ากับ 20.0
min-1 ค่าพลังงานกัมมันต์ของปฏิกิริยานี้มีค่าเท่าใด กำหนดให้ R = 8.314 J/mol-K = 1.987 cal/mol-K
4.82.33 kJ/mol

417. สำหรับปฏิกิริยาอันดับสองนั้น อัตราส่วนระหว่างเวลาที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยาจนสารทำปฏิกิริยามีความเข้มข้นลดลงเหลือ 75% ของความ


เข้มข้นเริ่มต้นต่อเวลาที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยาจนสารทำปฏิกิริยามีความเข้มข้นลดลงเหลือ 50% ของความเข้มข้นเริ่มต้นควรมีค่าเท่าใด
1.0.333

418. กราฟความสัมพันธ์ข้อใดเป็ นกราฟที่ใช้ในการหาค่าคงที่ปฏิกิริยา (rate constant) ของปฏิกิริยาอันดับที่ 1 โดยใช้ Integral Method

1.

419. การหาความสัมพันธ์ระหว่างครึ่งชีวิตของปฏิกิริยา (Half-life of reaction, t 1/2 ) กับความเข้มข้นเริ่มต้นของสารทำปฏิกิริยา ช่วยให้


สามารถกำหนดข้อมูลใดได้
3.ค่าคงที่ปฏิกิริยาและอันดับของปฏิกิริยา

420. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวได้ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการหาข้อมูลการเกิดปฏิกิริยา
2.การใช้วิธีแบบ Differential นั้นมักจะใช้กับปฏิกิริยาแบบผันกลับไม่ได้ และมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่ขึ้นกับความเข้มข้นของสารตั้งต้นได้หลายตัว

421. ข้อใดเป็ นปฏิกิริยาที่ไม่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาเคมี


2.Gas-liquid Absorption with Reaction

422. ข้อใดเป็ นปฏิกิริยาที่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาเคมี


4.ข้อ 1 กับ 2

423.

1.อันดับที่ 0

424.

1.

425. ปฏิกิริยาสลายตัวของสาร A เป็ นปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง ในเวลา 2 min สาร A สลายตัวไป 25% ในเครื่องปฏิกรณ์แบบกะ (batch reactor)
จงหาเวลาที่สาร A ใช้ในการสลายตัวไป 50% กำหนดให้ ln(2) = 0.693 และ ln(3) = 1.099
4.4.82 min

426. ปฏิกิริยาสลายตัวของสาร A เป็ นปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง ในเวลา 5 min สาร A สลายตัวไป 60% ในเครื่องปฏิกรณ์แบบกะ (batch reactor)
จงหาอัตราสลายตัวของสาร A เมื่อความเข้มข้นเริ่มต้นคือ 4 mol/l และไม่ทำปฏิกิริยา 20% กำหนดให้ ln(0.6) = - 0.511 และ ln(0.4) = -
0.916
2.

https://engenius.neighborsoft.com/test 50/71
5/4/67 12:34 ENGenius

427. ในปฏิกิริยาอันดับ ½ ของการสลายตัวของสาร A ในเครื่องปฏิกรณ์แบบกะ (batch reactor) ความเข้มข้นเริ่มต้นของสาร A คือ 0.16


mol/l เมื่อเวลาผ่านไป 2 min พบว่าสาร A เหลือจากการทำปฏิกิริยา 25% จงหาค่าคงที่ของปฏิกิริยานี้
2.

428.

4.

429. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
4.ไม่มีข้อถูก

430.

3.15 kg cat.

431.

3.

432. ปฏิกิริยาการสลายตัว A → B เกิดขึ้นในของเหลวมีค่าคงที่ปฏิกิริยาเท่ากับ 0.25 l/mol-min ที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส และพลังงา


นกัมมันต์มีค่าเท่ากับ 21 kJ/mol ถ้าความเข้มข้นเริ่มต้นของสาร A มีค่าเท่ากับ1.2 mol/l จะต้องใช้เวลาเท่าใด เพื่อให้ได้ค่าคอนเวอร์ชันสาร A ที่
อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียสเท่ากับ 80% กำหนดให้ R = 8.314 J/mol-K = 1.987 cal/mol-K
1.5.16 นาที

433.

2.1.31 บรรยากาศ

434.

4.

https://engenius.neighborsoft.com/test 51/71
5/4/67 12:34 ENGenius

435.

4.7.40 kJ/mol

436.

1.

437.

1.0.105 นาที-1

438.

1.

439.

https://engenius.neighborsoft.com/test 52/71
5/4/67 12:34 ENGenius

2.

440.

1.

441.

1.ปฏิกิริยาที่ (1)

442.

4.ถูกทั้งข้อ 1. และ ข้อ 2.

443.

4.ถูกทั้งข้อ 1. ข้อ 2. และ ข้อ 3.

444.

2.

445.

4.ถูกทั้งข้อ 1. ข้อ 2. และ ข้อ 3.

446.

1.

https://engenius.neighborsoft.com/test 53/71
5/4/67 12:34 ENGenius

447.

1.

448.

1.

449.

1.

450.

4.ถูกทั้งข้อ 1. ข้อ 2. และ ข้อ 3.

451.

4.ถูกทั้งข้อ 1. ข้อ 2. และ ข้อ 3.

452.

3.

453.

4.ถูกทั้งข้อ 1. ข้อ 2. และ ข้อ 3.

454.

ถูกทั้งข้อ 1. ข้อ 2. และ ข้อ 3.


4.

https://engenius.neighborsoft.com/test 54/71
5/4/67 12:34 ENGenius

455.

4.ถูกทั้งข้อ 1. ข้อ 2. และ ข้อ 3.

456.

3.

457.

3.

458.

2.

459.

3.

460.

2.

461.

2.

462.

4.ไม่มีข้อถูกต้อง

https://engenius.neighborsoft.com/test 55/71
5/4/67 12:34 ENGenius

463.

2.

464.

1.

465.

3.

466.

2.

467.

4.

468.

https://engenius.neighborsoft.com/test 56/71
5/4/67 12:34 ENGenius

3.

469.

3.

470.

1.

471.

3.

https://engenius.neighborsoft.com/test 57/71
5/4/67 12:34 ENGenius

472.

2.

473.

3.

474.

4.ไม่มีข้อถูกต้อง

https://engenius.neighborsoft.com/test 58/71
5/4/67 12:34 ENGenius

475.

4.ไม่ถูกทั้งข้อ 1 2 และ 3

476.

1.

477. คำกล่าวข้อใดไม่ถูกต้องสำหรับการดูดซับทางกายภาพ
1.การดูดซับทางกายภาพใช้ในการหาตำแหน่งที่ว่องไวในการเกิดปฏิกิริยา

478. คำกล่าวข้อใดถูกต้องสำหรับการดูดซับทางเคมี
1.การดูดซับทางเคมีใช้ในการหาตำแหน่งที่ว่องไวในการเกิดปฏิกิริยา

479. คำกล่าวข้อใดถูกต้องสำหรับการดูดซับทางกายภาพและการดูดซับทางเคมี
3.จำนวนชั้นของการดูดซับทางเคมีเป็ นการดูดซับแบบชั้นเดียว

480. อัตราเร็วของการถ่ายเทมวลของก๊าซผ่านฟิ ล์มของไหล (Fluid film) คือ


1.ผลคูณระหว่างฟลักซ์ของก๊าซกับพื้นที่ผิวภายนอกของอนุภาคของแข็ง

481. เครื่องปฏิกรณ์ของปฏิกิริยาก๊าซกับของแข็งชนิดใดที่มีคุณลักษณะที่ช่วยให้มีการถ่ายเทความร้อนได้ดีที่สุดแต่ผลได้ของปฏิกิริยา
(Reaction yield) มีค่าต่ำ
4.เครื่องปฏิกรณ์แบบฟลูอิดไดซ์เบด

482. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
Eley Rideal เป็ นแบบจำลองปฏิกิริยาที่สารบนจุดกัมมันต์เกิดปฏิกิริยากับสารที่อยู่ในก๊าซเฟส
1.

483.

3.

484. แบบจำลองปฏิกิริยาระหว่างก๊าซกับของแข็งที่ไม่เป็ นตัวเร่งปฏิกิริยา (Catalyst) สำหรับของแข็งอนุภาคหนึ่งแบบ Progressive


conversion model หมายถึงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นทุกๆ จุดภายในของแข็ง อัตราเร็วปฏิกิริยา ณ ผิวของแข็งทุกๆ จุดอาจไม่เท่ากัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ
ปัจจัยอะไร
3.อัตราการแพร่ของก๊าซทำปฏิกิริยาเข้าสู่อนุภาคของแข็ง

485. ข้อใดคือความหมายที่ถูกต้องของแบบจำลองปฏิกิริยาระหว่างก๊าซกับของแข็งที่ไม่เป็ นตัวเร่งปฏิกิริยา (Catalyst) สำหรับของแข็งอนุภาค


หนึ่งแบบ Unreacted-core model
1.ปฏิกิริยาเกิดขึ้นที่ผิวชั้นนอกของอนุภาคของแข็งที่ยังไม่ได้ทำปฏิกิริยา

486. โดยทั่วไปแล้วเมื่ออนุภาคของแข็งที่เป็ นตัวเร่งปฏิกิริยาสัมผัสกับก๊าซจะเกิดฟิ ล์มของไหล (Fluid film) รอบๆ ตัวเร่งปฏิกิริยา ข้อใดต่อไป


นี้คือความหมายที่ถูกต้องของฟิ ล์มของไหลนี้
2.ความต้านทานการถ่ายเทมวล

487. ในกรณีที่สารตั้งต้นไหลลอดผ่านช่องว่างระหว่างตัวเร่งปฏิกิริยาโดยไม่ได้สัมผัสพื้นผิวของตัวเร่งปฏิกิริยา (channeling effect) จะทำให้


ค่าคอนเวอร์ชัน (conversion) ของสารตั้งต้นเป็ นอย่างไร

https://engenius.neighborsoft.com/test 59/71
5/4/67 12:34 ENGenius
2.ลดลง
488. เครื่องปฏิกรณ์ 2 ตัวบรรจุด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดเดียวกันและมีปริมาณเท่ากัน หากตัวเร่งปฏิกิริยาในเครื่องปฏิกรณ์ A มีขนาดรูพรุนของ
ตัวเร่งปฏิกิริยาเล็กกว่าขนาดรูพรุนของตัวเร่งปฏิกิริยาในเครื่องปฏิกรณ์ B เมื่อให้สารตั้งต้นไหลผ่านเครื่องปฏิกรณ์ทั้งสองด้วยความเร็วเชิงสเปซ
(Space Velocity) เท่ากันพบว่าค่าคอนเวอร์ชันของสารตั้งต้นเท่ากันสำหรับเครื่องปฏิกรณ์ทั้งสอง ข้อสรุปในข้อใดถูกต้อง
2.ขั้นตอนการแพร่ของสารตั้งต้นไม่ใช่ขั้นตอนการควบคุมอัตราเร็วปฏิกิริยา

489. ข้อใดเป็ นขั้นตอนที่เกี่ยวข้องในการเกิดปฏิกิริยาโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา


4.ถูกทุกข้อ

490. เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ค่าคงที่สมดุลการดูดซับ (adsorption equilibrium constant) จะมีค่าเปลี่ยนแปลงอย่างไร


2.ลดลง

491. เมื่ออุณหภูมิลดลง ค่าคงที่สมดุลการคาย (desorption equilibrium constant) จะมีค่าเปลี่ยนแปลงอย่างไร


2.ลดลง

492. ในปฏิกิริยาในวัฏภาคก๊าซที่มีตัวเร่งปฏิกิริยาเป็ นของแข็งนั้น เมื่อต้องการทดสอบว่าในการทดลองของเรานั้น ขั้นตอนการแพร่จาก bulk


ถึงผิวนอกของตัวเร่งปฏิกิริยา (external mass transfer) นั้นเป็ นขั้นตอนควบคุมอัตราเร็วปฏิกิริยารวมหรือไม่นั้น เราควรทำอย่างไร
1.ทำการทดลองสองชุดโดยที่มีอัตราเร็วในการไหลของของไหลต่างกัน

493. ในปฏิกิริยาในวัฏภาคก๊าซที่มีตัวเร่งปฏิกิริยาเป็ นของแข็งนั้น เมื่อต้องการทดสอบว่าในการทดลองของเรานั้น ขั้นตอนการแพร่ภายใน


โครงสร้างรูพรุนของตัวเร่งปฏิกิริยา (internal mass transfer) นั้นเป็ นขั้นตอนควบคุมอัตราเร็วปฏิกิริยารวมหรือไม่นั้น เราควรทำอย่างไร
3.ทำการทดลองสองชุดโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาขนาดต่างกัน

494. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องสำหรับการดูดซับแบบกายภาพบนของแข็ง (physical adsorption)


3.การดูดซับจะมีความร้อนเกี่ยวข้องสูง

495. ข้อใดกล่าวถูกต้องสำหรับการดูดซับแบบเคมีบนของแข็ง (chemical adsorption)


3.การดูดซับจะมีความร้อนเกี่ยวข้องสูง

496. สมการไอโซเทอร์ม (Isotherm) ของ Langmuir ได้ทำนายว่าเมื่อความดันของสารในระบบเพิ่มขึ้นแล้ว สัดส่วนของสารที่ดูดซับบนพื้นผิว


ของของแข็งจะเป็ นเช่นไร
4.ไม่มีข้อใดถูก

497. ตามสมมติฐานของ Langmuir ถ้ามีสารสองชนิดที่สามารถดูดซับบนพื้นผิวแล้ว เมื่อความดันของสารตัวแรกในระบบมีค่าเพิ่มขึ้นแล้ว


สัดส่วนในการปกคลุมพื้นผิว (equilibrium surface coverage) ของสารอีกตัวหนึ่งจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร
4.อาจเป็ นไปทั้งคำตอบ 1 และ 2 ขึ้นอยู่กับความดันรวมของระบบ

498. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องสำหรับสมมติฐานของ Langmuir


4.ไม่มีคำตอบใดถูก

499. เมื่อเลือกใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีความว่องไวสูงขึ้น จะมีผลอย่างไรต่อค่าคงที่ปฏิกิริยาและค่าคงที่สมดุล


3.ค่าคงที่ปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น และค่าคงที่สมดุลเท่าเดิม

500. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสมการไอโซเทอร์มของ Brunauer, Emmett และ Taylor (BET isotherm)


3.วิธีนี้สมมติให้การดูดซับเป็ นแบบเคมี (chemical adsorption)

501. ข้อใดไม่ใช่เครื่องปฏิกรณ์ที่นิยมใช้ในกรณีที่มีตัวเร่งปฏิกิริยาแบบวิวิธพันธ์ในระบบ
4.ไม่มีคำตอบใดถูก

502. ข้อใดเป็ นขั้นตอนที่เกี่ยวข้องในการเกิดปฏิกิริยาบนตัวเร่งปฏิกิริยา


4.ถูกทุกข้อ

503. สำหรับปฏิกิริยาอันดับ 1 ที่เกิดบนตัวเร่งปฏิกิริยาที่เป็ นของแข็ง ข้อใดเป็ นหน่วยของค่าคงที่ปฏิกิริยา (rate constant)


2.

504. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับบทบาทของตัวเร่งปฏิกิริยา
4.ทำให้สารตั้งต้นเปลี่ยนไปเป็ นผลิตภัณฑ์ได้อย่างสมบูรณ์

505. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูดซับแบบกายภาพ (physical adsorption) และการดูดซับแบบเคมี (chemical adsorption)


4.ไม่มีข้อถูก

506. สำหรับเครื่องปฏิกรณ์แบบแพ็คท์เบด ถ้าต้องการลดความต้านทานจากการถ่ายเทมวลภายนอกตัวเร่งปฏิกิริยาซึ่งพบว่าเป็ นขั้นตอน


ควบคุมอัตราปฏิกิริยารวม (rate limiting step) จะทำอย่างไร

https://engenius.neighborsoft.com/test 60/71
5/4/67 12:34 ENGenius
3.ควรเพิ่ม superficial velocity
507. สาร A ดูดซับบนจุดกัมมันต์ (active site) แสดงดังสมการ A + S A.S ข้อใดแสดงสมการอัตราการดูดซับ กำหนดให้ Cv แสดงปริมาณจุ
ดกัมมันต์ที่ว่างต่อมวลตัวเร่งปฏิกิริยา
4.

508. สารผลิตภัณฑ์ C ดูดซับบนจุดกัมมันต์ (active site) เกิดการคายตัว ดังแสดงได้ด้วยสมการ C.S C + S ข้อใดแสดงสมการอัตราการคาย


ซับ กำหนดให้ Cv แสดงปริมาณจุดกัมมันต์ที่ว่างต่อมวลตัวเร่งปฏิกิริยา
2.

509. สำหรับปฏิกิริยาอันดับ 2 ที่เกิดบนตัวเร่งปฏิกิริยาที่เป็ นของแข็ง ข้อใดเป็ นหน่วยของค่าคงที่ปฏิกิริยา (rate constant)


4.

510. สำหรับปฏิกริยาที่เร่งได้เอง (Autocatalyst reaction) ข้อใดเป็ นเงื่อนไขที่จำเป็ นเพื่อทำให้ปฏิกิริยาเกิดขึ้นได้


3.ต้องมีสารผลิตภัณฑ์ที่มีปริมาณเล็กน้อยที่เวลาเริ่มต้น

511. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวได้ถูกต้อง
2.ขั้นตอนจำกัด (Rate limiting step) เป็ นขั้นตอนที่ควบคุมอัตราการเกิดปฏิกิริยาของระบบ

512. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
2.
หากถังปฏิกรณ์แบบเบดนิ่ง (fixed bed reactor) มีขั้นตอนจำกัด (Rate limiting step) เป็ นการถ่ายเทมวลที่ผิวของตัวเร่งปฏิกิริยา เราสามารถเพิ่มค่าคอน
เวอร์ชัน (Conversion) ได้โดยการป้อนสารผ่านเครื่องปฏิกรณ์ด้วยอัตราเร็วที่สูงขึ้น และทำการป้อนสารย้อนกลับ (Recycle)

513. ปฏิกิริยา A --> B เป็ นปฏิกิริยาอันดับศูนย์ (zero order reaction) ทำปฏิกิริยาในเครื่องปฏิกรณ์แบบกะ (batch reactor) โดยเริ่มต้นมี
สาร A จำนวน 10 โมล โดยมีตัวเร่งปฏิกิริยาในเครื่องปฏิกรณ์เคมีจำนวน 1 kg พบว่าหลังจากเกิดปฏิกิริยาไปแล้ว 1 ชั่วโมง คอนเวอร์ชันมีค่า
เท่ากับ 50% จงหาค่าคงที่ปฏิกิริยา (rate constant)
3.5 mol/(kg.h)

514. ปฏิกิริยา A ---> B เป็ นปฏิกิริยาอันดับศูนย์ (zero order reaction) ทำปฏิกิริยาในเครื่องปฏิกรณ์แบบกะ (batch reactor) โดยเริ่มต้นมี
สาร A จำนวน 10 โมล โดยมีตัวเร่งปฏิกิริยาในเครื่องปฏิกรณ์เคมีจำนวน 1 kg พบว่าหลังจากเกิดปฏิกิริยาไปแล้ว 1 ชั่วโมง คอนเวอร์ชันมีค่า
เท่ากับ 50% สมมติถ้าเริ่มต้นมีตัวเร่งปฏิกิริยาจำนวน 0.5 kg ที่เวลา 1 ชั่วโมง คอนเวอร์ชันจะมีค่าเป็ นเท่าใด
2.25%

515.

3.5 mol/(kg.h)

516. ปฏิกิริยาอันดับหนึ่งที่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาเกิดขึ้นในเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง (Continuously Stirred Tank Reactor, CSTR) พบ


ว่าได้ค่าคอนเวอร์ชันเท่ากับ 50% ถ้าปริมาตรของเครื่องปฏิกรณ์เพิ่มขึ้นเป็ น 2 เท่า โดยที่อุณหภูมิ ปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยา องค์ประกอบสายป้ อน
และอัตราการป้ อน มีค่าไม่เปลี่ยนแปลง ข้อใดถูกต้อง
2.ค่าคอนเวอร์ชันเท่าเดิมคือ 50%

517. ปฏิกิริยา A ---> B เป็ นปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง (first order reaction) ทำปฏิกิริยาในเครื่องปฏิกรณ์แบบแพ็คเบด (packed bed reactor)
ที่บรรจุด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาในเครื่องปฏิกรณ์เคมีจำนวน 5 g ป้ อนสาร A เข้มข้น 0.1 mol/l ด้วยอัตรา 0.25 mol/s พบว่า คอนเวอร์ชันมีค่าเท่ากับ
20% จงหาค่าคงที่ปฏิกิริยา (rate constant)
2.0.11 l/(g.s)

https://engenius.neighborsoft.com/test 61/71
5/4/67 12:34 ENGenius

518.

2.Internal mass transfer ช้า External mass transfer เร็ว

519.

3.Internal mass transfer เร็ว External mass transfer ช้า

520. ปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง A ----> B เกิดในวัฏภาคของเหลวในเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง (continuously stirred tank reactor,


CSTR) โดยบรรจุตัวเร่งปฏิกิริยาในตะกร้าที่ติดอยู่บนแกนหมุน พบว่าได้ค่าคอนเวอร์ชันเท่ากับ 50% ถ้าจำนวนตัวเร่งปฏิกิริยาเพิ่มขึ้นเป็ น 2 เท่า
โดยที่อุณหภูมิ องค์ประกอบสายป้ อน และอัตราการป้ อน มีค่าไม่เปลี่ยนแปลง ข้อใดถูกต้อง
3.ค่าคอนเวอร์ชันเพิ่มเป็ น 66%

521. ปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง A ---> B เกิดในวัฏภาคของเหลวในเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง (continuously stirred tank reactor,


CSTR) โดยบรรจุตัวเร่งปฏิกิริยาในตะกร้าที่ติดอยู่บนแกนหมุน พบว่าได้ค่าคอนเวอร์ชันเท่ากับ 50% ถ้าต้องการให้คอนเวอร์ชันมีค่าเท่ากับ 90%
โดยที่อุณหภูมิ องค์ประกอบสายป้ อน และอัตราการป้ อน มีค่าไม่เปลี่ยนแปลง จะต้องเพิ่มตัวเร่งปฏิกิริยาเป็ นเท่าใด
4.9 เท่าของเดิม

522. ปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง A ---> B เกิดในวัฏภาคของเหลวในเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง (continuously stirred tank reactor,


CSTR) โดยบรรจุตัวเร่งปฏิกิริยาในตะกร้าที่ติดอยู่บนแกนหมุน พบว่าได้ค่าคอนเวอร์ชันเท่ากับ 50% ถ้าความเข้มข้นของ A ในสายป้ อน ลดลง
เหลือครึ่งหนึ่ง โดยที่อุณหภูมิ จำนวนตัวเร่งปฏิกิริยา และอัตราการป้ อนเชิงปริมาตร มีค่าไม่เปลี่ยนแปลง ข้อใดถูกต้อง
2.ค่าคอนเวอร์ชันเท่าเดิมคือ 50%

523.

2.

524. ปฏิกิริยา A ----> B เป็ นปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง (first order reaction) ทำปฏิกิริยาในเครื่องปฏิกรณ์แบบแพ็คเบด (packed bed reactor)
บรรจุด้วยตัวเร่งปฏิกิริยา 1 kg ป้ อนสาร A บริสุทธิ์ ด้วยอัตรา 1 mol/min พบว่าคอนเวอร์ชันมีค่าเท่ากับ 50% ถ้าอัตราการป้ อนลดลงเหลือครึ่ง
หนึ่ง คอนเวอร์ชันจะมีค่าเป็ นเท่าใด
4.75%

https://engenius.neighborsoft.com/test 62/71
5/4/67 12:34 ENGenius

525. ปฏิกิริยา A -> B เป็ นปฏิกิริยาอันดับสอง (second order reaction) ทำปฏิกิริยาในเครื่องปฏิกรณ์แบบแพ็คเบด (packed bed reactor)
บรรจุด้วยตัวเร่งปฏิกิริยา 0.5 kg ป้ อนสาร A บริสุทธิ์ ด้วยอัตรา 1 mol/min พบว่าคอนเวอร์ชันมีค่าเท่ากับ 75% ถ้าอัตราการป้ อนเพิ่มขึ้นเป็ น 2
เท่า คอนเวอร์ชันจะมีค่าเป็ นเท่าใด
2.60%

526. ปฏิกิริยา A ---> B เป็ นปฏิกิริยาอันดับหนึ่งที่เกิดขึ้นในวัฏภาคของเหลว จงหาน้ำหนักตัวเร่งปฏิกิริยาที่ต้องการสำหรับเครื่องปฏิกรณ์แบบ


ถังกวนต่อเนื่อง (continuously stirred tank reactor, CSTR) เพื่อให้คอนเวอร์ชันเท่ากับ 50% กำหนดให้อัตราการไหลเชิงโมลของสายป้ อน
A เท่ากับ 5 mol/s ความเข้มข้นขาเข้าของ A เท่ากับ 0.5 mol/l และค่าคงที่ปฏิกิริยา (k) เท่ากับ 0.1 l/(kg.s)
4.100 kg

527. ปฏิกิริยา A ----> B เป็ นปฏิกิริยาอันดับหนึ่งที่เกิดขึ้นในวัฏภาคของเหลว จงหาน้ำหนักตัวเร่งปฏิกิริยาที่ต้องการสำหรับเครื่องปฏิกรณ์แบบ


เบดนิ่ง (packed bed reacto) เพื่อให้คอนเวอร์ชันเท่ากับ 50% กำหนดให้อัตราการไหลเชิงโมลของสายป้ อน A เท่ากับ 5 mol/s ความเข้มข้น
ขาเข้าของ A เท่ากับ 0.5 mol/l และค่าคงที่ปฏิกิริยา (k) เท่ากับ 0.1 l/(kg.s)
1.69 kg

528.

3.100 kg

529. ปฏิกิริยา A ---> B มีค่าคงที่ปฏิกิริยา (rate constant, k) เท่ากับ 1 m3/(kg.h) ปฏิกิริยาเกิดในเครื่องปฏิกรณ์แบบแพ็คเบด (packed
bed reactor) บรรจุด้วยตัวเร่งปฏิกิริยา 1 kg ถ้าป้ อนสาร A บริสุทธิ์ เข้มข้น 500 mol/m3ด้วยอัตรา 50 mol/h ค่าคอนเวอร์ชันจะมีค่าเป็ นเท่าใด
1.1.0

530. ปฏิกิริยา A ---> B มีค่าคงที่ปฏิกิริยา (rate constant, k) เท่ากับ 1 m3/(kg.h) ปฏิกิริยาเกิดในเครื่องปฏิกรณ์แบบฟลูอิดไดซ์เบด


(fluidized bed reactor) บรรจุด้วยตัวเร่งปฏิกิริยา 1 kg ถ้าป้ อนสาร A บริสุทธิ์ เข้มข้น 500 mol/m3ด้วยอัตรา 50 mol/h ค่าคอนเวอร์ชันจะมี
ค่าเป็ นเท่าใด
2.0.9

531.

2.Platinum ลดค่าพลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยา

532. คำกล่าวในการทำปฏิกิริยาระหว่างก๊าซกับของแข็งที่เป็ นตัวเร่งปฏิกิริยา (Catalyst) ในข้อใดผิด

3.ปฏิกิริยาเกิดขึ้นขณะที่สารตั้งต้นอยู่ในวัฏภาคก๊าซ

533. โดยทั่วไปแล้วเมื่ออนุภาคของแข็งที่เป็ นตัวเร่งปฏิกิริยาสัมผัสกับก๊าซจะเกิดฟิ ล์มของไหล (Fluid film) รอบๆ ตัวเร่งปฏิกิริยา ข้อใดต่อไป


นี้คือความหมายที่ถูกต้องของฟิ ล์มของไหลนี้

2.ความต้านทานการถ่ายเทมวล

534. ในการเกิดปฏิกิริยาโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา คำกล่าวในข้อใดถูกต้อง


1.การถ่ายโอนมวลสารเกิดขึ้นภายในรูพรุนของตัวเร่งปฏิกิริยา

535. ปฏิกิริยาในวัฏภาคก๊าซที่มีตัวเร่งปฏิกิริยาเป็ นของแข็งนั้น เมื่อต้องการทดสอบว่าในการทดลองของเรานั้น ขั้นตอนการแพร่ภายใน


โครงสร้างรูพรุนของตัวเร่งปฏิกิริยา (internal mass transfer) นั้นเป็ นขั้นตอนควบคุมอัตราเร็วปฏิกิริยารวมหรือไม่นั้น เราควรทำอย่างไร
3.ทำการทดลองสองชุดโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาขนาดต่างกัน

536. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องสำหรับการดูดซับแบบกายภาพบนของแข็ง (physical adsorption)


3.การดูดซับจะมีความร้อนเกี่ยวข้องสูง

537. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องสำหรับสมมติฐานของ Langmuir


4.ไม่มีคำตอบใดถูก

538. เมื่อเลือกใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีความว่องไวสูงขึ้น จะมีผลอย่างไรต่อค่าคงที่ของอัตราการเกิดปฏิกิริยาและค่าคงที่สมดุล


3.ค่าคงที่ของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น และค่าคงที่สมดุลเท่าเดิม

539. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสมการไอโซเทอร์มของ Brunauer, Emmett และ Taylor (BET isotherm)


3.วิธีนี้สมมติให้การดูดซับเป็ นแบบเคมี (chemical adsorption)

https://engenius.neighborsoft.com/test 63/71
5/4/67 12:34 ENGenius

540. ปฏิกิริยา A -> B เป็ นปฏิกิริยาอันดับสอง (second order reaction) ทำปฏิกิริยาในเครื่องปฏิกรณ์แบบแพ็คเบด (packed bed reactor)
บรรจุด้วยตัวเร่งปฏิกิริยา 0.5 kg ป้ อนสาร A บริสุทธิ์ ด้วยอัตรา 1 mol/min พบว่าคอนเวอร์ชันมีค่าเท่ากับ 75% ถ้าอัตราการป้ อนเพิ่มขึ้นเป็ น 2
เท่า คอนเวอร์ชันจะมีค่าเป็ นเท่าใด
2.60%

541.

4.ถูกทุกข้อ

542.

2.

543.

4.

544.

1.

545. ข้อใดเป็ นคุณสมบัติของเครื่องปฏิกรณ์แบบแอเดียแบติก (Adiabatic)


4.ข้อ 1 และ 3 ถูก

https://engenius.neighborsoft.com/test 64/71
5/4/67 12:34 ENGenius

546. พลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยาหนึ่งมีค่าเท่ากับ 38.2 kJ/mol อัตราเร็วปฏิกิริยาที่อุณหภูมิ 40 °C จะเป็ นกี่เท่าของอัตราเร็วปฏิกิริยาที่


อุณหภูมิ 0 °C
2.110 kJ/mol

547. อัตราส่วนระหว่างค่าคงที่ปฏิกิริยาที่อุณหภูมิ 600 และ 700 C มีค่าเท่าใด ถ้าค่าพลังงานกระตุ้น (activation energy) มีค่าเท่ากับ 110
kJ/mol.
4.0.21

548.

4.เฉพาะ i และ iii

549. ปฏิกิริยา A(g) ---> B(g) เกิดขึ้นในภาชนะปิ ดที่มีปริมาตรคงที่ ที่มีการหุ้มฉนวนกันความร้อนอย่างดี ถ้าปฏิกิริยาข้างต้นเป็ นปฏิกิริยาดูด
ความร้อน (Endothermic Reaction) ภายหลังจากที่สาร A ทำปฏิกิริยาไป 50% ข้อสรุปใดถูกต้อง
3.อุณหภูมิภายในภาชนะลดลง

550. ข้อใดเป็ นหน่วยของค่าความจุความร้อน (Cp, Heat Capacity) ที่ถูกต้อง


1.cal/(mole•K)

551. ปฏิกิริยา A(g) ---> B(g) เป็ นปฏิกิริยาคายความร้อน (Exothermic Reaction) ถ้าปฏิกิริยาดังกล่าวเป็ นปฏิกิริยาแบบอันดับศูนย์ (Zero
Order) ข้อใดเป็ นหน่วยของค่าคงที่ปฏิกิริยา (Reaction Rate constant)
3.

552. ปฏิกิริยา A(g) ---> 3B(g) ถ้าปฏิกิริยาดังกล่าวเป็ นปฏิกิริยาคายความร้อน (Exothermic Reaction) ในการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์ ข้อ
ใดเป็ นสิ่งที่ควรคำนึงถึงเป็ นพิเศษ
4.ถูกทั้งข้อ 1 และ 3

553.

1.

554. ข้อใดเป็ นคุณสมบัติของเครื่องปฏิกรณ์แบบแอเดียแบติก (Adiabatic)


4.ข้อ 1 และ 3 ถูก

555.

3.32 kJ/mol B

https://engenius.neighborsoft.com/test 65/71
5/4/67 12:34 ENGenius

556.

2.- 6 J/ mol B * K

557. เครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหล (plug flow reactor) มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับ 0.5 m จงหาพื้นที่แลกเปลี่ยนความร้อนต่อหนึ่งหน่วย


ปริมาตรเครื่องปฏิกรณ์
4.

558.

3.คายความร้อน 4 kcal/mol A

559.

3.0.2 kW

560.

4.6.5 kJ/mol (คายความร้อน)

561.

2.

562.

4.

563.

3.แบบความร้อนคงที่ (Adiabatic condition)

https://engenius.neighborsoft.com/test 66/71
5/4/67 12:34 ENGenius

564. ในการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์แบบแอเดียแบติก (Adiabatic reactor) เพื่อให้ได้ค่าคอนเวอร์ชัน (Conversion) ตามที่ต้องการปัจจัยที่


ต้องคำนวณหรือประเมินหาคืออะไร
4.เวลาที่เหมาะสมในการทำปฏิกิริยา

565.

1.อุณหภูมิในเครื่องปฏิกรณ์ถูกควบคุมให้มีค่าคงที่

566. ในการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหล (Plug flow reactor) ภายใต้สภาวะอุณหภูมิไม่คงที่ โดยทั่วไปแล้วจะต้องกำหนดข้อสมมุติ


อะไรในการสร้างสมการสมดุลพลังงานที่สถานะคงตัว (Steady state) เพื่อคำนวณหาการกระจายของอุณหภูมิตามแนวแกนเครื่องปฏิกรณ์อย่าง
เดียว
2.การกระจายของอุณหภูมิในแนวรัศมีของเครื่องปฏิกรณ์มีค่าเท่ากัน

567. พจน์ใดต่อไปนี้ไม่เกี่ยวข้องกับงานที่ระบบทำ
4.การให้ความร้อนแก่ระบบ

568.

2.

569. ระบบแอเดียแบติก (adiabatic) คือระบบที่มีลักษณะเฉพาะคือ


4.ไม่มีความร้อนไหลเข้า และ ออกจากระบบ

570. ในการปฏิบัติงานเครื่องปฏิกรณ์แบบแอเดียแบติก (adiabatic reactor) กรณีที่เป็ นปฏิกิริยาคายความร้อน (exothermic reaction) เมื่อ


ค่าคอนเวอร์ชัน (conversion) ของสารตั้งต้นมีค่าเพิ่มขึ้นอุณหภูมิในเครื่องปฏิกรณ์จะเป็ นอย่างไร
1.เพิ่มขึ้น

571. ในการปฏิบัติงานเครื่องปฏิกรณ์แบบแอเดียแบติก (adiabatic reactor) กรณีที่เป็ นปฏิกิริยาดูดความร้อน(endothermic reaction) เมื่อ


ค่าคอนเวอร์ชัน (conversion) ของสารตั้งต้นมีค่าเพิ่มขึ้นอุณหภูมิในเครื่องปฏิกรณ์จะเป็ นอย่างไร
2.ลดลง

572. ในการปฏิบัติงานเครื่องปฏิกรณ์แบบแอเดียแบติก (adiabatic reactor) กรณีที่เป็ นปฏิกิริยาคายความร้อน (exothermic reaction) เมื่อ


ค่าคอนเวอร์ชัน (conversion) ของสารตั้งต้นเพิ่มขึ้น ค่าคงที่ปฏิกิริยา (rate constant) จะเป็ นอย่างไร
1.เพิ่มขึ้น

573. ในการปฏิบัติงานเครื่องปฏิกรณ์แบบแอเดียแบติก (adiabatic reactor) กรณีที่เป็ นปฏิกิริยาดูดความร้อน(endothermic reaction) เมื่อ


ค่าคอนเวอร์ชัน (conversion) ของสารตั้งต้นมีค่าเพิ่มขึ้น ค่าคงที่ปฏิกิริยา (rate constant) จะเป็ นอย่างไร
2.ลดลง

574. ในการปฏิบัติงานเครื่องปฏิกรณ์แบบแอเดียแบติก (adiabatic reactor) ที่สถานะคงที่ (steady state) อัตราการสะสมพลังงานในระบบ


จะเป็ นอย่างไร
4.มีค่าเท่ากับ 0

575. ปฏิกิริยา A(g) ---> B(g) เป็ นปฏิกิริยาดูดความร้อน (endothermic reaction)เกิดขึ้นในระบบปิ ดที่มีปริมาตรคงที่ ไม่มีการแลกเปลี่ยน
ความร้อนกับสิ่งแวดล้อม เมื่อปฏิกิริยาดำเนินไป ข้อสรุปใดถูกต้อง
4.ความดันในภาชนะลดลง และอุณหภูมิในภาชนะลดลง

576. ที่ค่าพลังงานกระตุ้น 536 kJ/mol อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น 2 เท่า ในช่วงอุณหภูมิ 300-310 K ถ้าทำการทดลองที่อุณหภูมิค่าหนึ่ง


ในช่วงอุณหภูมิข้างต้น พบว่าสารนี้ใช้ในปฏิกิริยาหมดพอดีในเวลา 1 ชั่วโมง ถ้าทำการทดลองเพียงแค่ 7.5 นาที จะต้องเพิ่มอุณหภูมิเท่าไหร่ เพื่อ
ให้สารนี้ทำปฏิกิริยาหมดพอดี
3.เพิ่ม 30 C

577. กำหนดให้อัตราการสลายตัวของ A มีค่า E/R = 2400 K โดย E เป็ นพลังงานกระตุ้น (activation energy) ซึ่งมีค่าคงที่ในช่วงอุณหภูมิที่
กำหนดให้ และ R เป็ นค่าคงที่ของก๊าซ ถ้าเพิ่มอุณหภูมิสูงขึ้นจาก 400 K เป็ น 800 K อัตราเร็วที่ 800 K จะเป็ นอย่างไรเมื่อเทียบกับอัตราเร็วที่
400 K
4.เพิ่มขึ้น exp (3) เท่า

https://engenius.neighborsoft.com/test 67/71
5/4/67 12:34 ENGenius

578.

ในกระบวนการแตกตัวด้วยความร้อน (Thermal cracking) ของสาร A พบว่าปฏิกิริยาที่อุณหภูมิ 1100 K มีอัตราเร็วสูงกว่าที่อุณหภูมิ 1000 K 20 เท่า จงคำนวณ
พลังงานกระตุ้น (Activation energy)

ของปฏิกิริยานี้ (กำหนดให้ R เป็ นค่าคงที่ของก๊าซ

1.11000 R ln(20)

579.

3.(400R) ln(16)

580.

2.20.18

581. ปฏิกิริยา A B มีค่าคงที่ของสมดุลที่ 75 องศาเซลเซียสเท่ากับ 0.5 จะมีค่าคอนเวอร์ชันสูงสุด (maximum conversion) ที่ 75 องศา
เซลเซียสเท่าไหร่ ถ้าความเข้มข้นเริ่มต้นของ A และ B ในระบบมีค่าเท่ากับ 2 และ 0.5 mol/l ตามลำดับ
2.0.33

582. ปฏิกิริยา A + B C เกิดในวัฏภาคของเหลว มีค่าคงที่ของสมดุลที่ 30 องศาเซลเซียสเท่ากับ 0.5 จะมีค่าคอนเวอร์ชันสูงสุด (maximum


conversion) ที่ 75 องศาเซลเซียสเท่าไหร่ ถ้าความเข้มข้นเริ่มต้นของ A, B และ C ในระบบมีค่าเท่ากับ 2, 2 และ 0 mol/l ตามลำดับ
3.0.76

583.

4.22.97 kJ/mol

584. วิธีการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์แบบเบดนิ่ง (Fixed-bed reactor) แบบหนึ่งมิติ นั้นจะพิจารณาเฉพาะปัจจัยใดต่อไปนี้


1.การกระจายของอุณหภูมิและความเข้มข้นตามแนวยาวของเครื่องปฏิกรณ์

585. วิธีการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์แบบเบดนิ่ง (Fixed-bed reactor) แบบสองมิติ นั้นจะพิจารณาปัจจัยใดต่อไปนี้


2.การกระจายของอุณหภูมิและความเข้มข้นตามแนวยาวและรัศมีของเครื่องปฏิกรณ์

586. เหตุใดการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์แบบเบดนิ่ง (Fixed-bed reactor) ที่มีสภาวะการดำเนินงานเป็ นแบบแอเดียแบติก (Adiabatic


operation) สำหรับปฏิกิริยาในวัฏภาคก๊าซบนตัวเร่งปฏิกิริยา จึงสามารถใช้การออกแบบโดยวิธีแบบหนึ่งมิติ (One-dimensional design
method)
4.ไม่มีการถ่ายเทความร้อนทางด้านข้างหรือตามแนวรัศมีของเครื่องปฏิกรณ์

587.

1.ดูดความร้อนจากระบบ 55 kJ

https://engenius.neighborsoft.com/test 68/71
5/4/67 12:34 ENGenius

588.

4.

589.

3.

590.

2.750 cal/mol A (คายความร้อน)

591.

4.362.5 cal/mol

https://engenius.neighborsoft.com/test 69/71
5/4/67 12:34 ENGenius

592.

3.

593. ในการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์แบบถังกวนต่อเนื่อง (CSTR) ที่สภาวะอุณหภูมิไม่คงที่ ค่าคอนเวอร์ชัน ( ) ของสารทำปฏิกิริยาใดๆ จะเป็ น


อัตราส่วนระหว่างอัตราการเกิดความร้อนของปฏิกิริยาต่ออัตราการเกิดความร้อนสูงสุดที่ทำได้เมื่อสาร A ทำปฏิกิริยาจนหมดสิ้น สามารถแสดงได้
โดยสมการใดต่อไปนี้

1.

594. สำหรับระบบที่เกิดปฏิกิริยา A + B ----> C + D พบว่าที่อุณหภูมิ T จะให้ค่าเอนทาลปี ของปฏิกิริยา (Enthalpy of Reaction) เป็ นบวก
ข้อใดต่อไปนี้เป็ นจริง
3.

595. ในกรณีที่ค่าคอนเวอร์ชันที่สมดุล (Equilibrium conversion) ของปฏิกิริยา A < ---- > B ต่ำลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น สิ่งใดต่อไปนี้ไม่ถูก
ต้อง (ระบบไม่มีการแลกเปลี่ยนพลังงานกับสิ่งแวดล้อม)
1.เมื่ออุณหภูมิของสายป้อน (สารตั้งต้น) สูงขึ้น ค่าคอนเวอร์ชันที่สมดุลจะมีค่าสูงขึ้น

596.

4.

597.

3.-800 J/gmol A

598. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องสำหรับกรณีที่ปฏิกิริยาถูกควบคุมด้วยค่าสมดุลทางเคมี (Equilibrium)


4.ข้อ 1. และ 3.

599. สำหรับกระบวนการพาสเจอไรซ์เพื่อฆ่าเชื้อโรคต้องใช้เวลา 30 นาที ในการรักษาอุณหภูมิของนมให้มีค่าเท่ากับ 63 C แต่จะใช้เวลาเพียง


15 วินาที ถ้าใช้อุณหภูมิเท่ากับ 74 C เพื่อทำให้นมมีคุณสมบัติเดียวกัน จงหาค่าพลังงานกระตุ้น (Ea) ของกระบวนการนี้
4.422,000 J/mol

600. ปฏิกิริยาการแยกสลายด้วยความร้อน (pyrolysis) ของอีเทน มีค่าพลังงานกระตุ้นเท่ากับ 300 kJ/mol จงหาว่าที่อุณหภูมิ 650 C


อัตราเร็วปฏิกิริยาการสลายตัวของอีเทนจะมีค่าเป็ นกี่เท่าเมื่อเทียบกับอัตราเร็วปฏิกิริยาที่อุณหภูมิ 500 C
2.

601.

1.3.14

602.

1.30 kJ/mol

https://engenius.neighborsoft.com/test 70/71
5/4/67 12:34 ENGenius

603. เครื่องปฏิกรณ์แบบเบดนิ่ง (fixed-bed reactor) ที่กำหนดให้มีการแลกความร้อนภายนอก ควรเลือกใช้วิธีการออกแบบด้วยวิธีใดที่


เหมาะสมที่สุด
1.แบบหนึ่งมิติเพราะมีการกระจายอุณหภูมิตามแนวยาวของเครื่องปฏิกรณ์

604.

1.24.6 C

605.

1.

606. จากการทดสอบปฏิกิริยา A <----> C + 2D พบว่า ได้ค่าคอนเวอร์ชันสูงสุดที่สมดุล (equilibrium conversion) มีค่าเท่ากับ 80% เมื่อ
เครื่องปฏิกรณ์นี้ดำเนินงานแบบอุณหภูมิและความดันคงที่ จงหาว่าค่าคอนเวอร์ชันสูงสุดจะเป็ นอย่างไร หากเครื่องปฏิกรณ์ดังกล่าวดำเนินการที่
สภาวะแอเดียแบติก (adiabatic) โดยมีอุณหภูมิสายป้ อนเท่าเดิม
1.มีค่าต่ำลงถ้าเป็ นปฏิกิริยาดูดความร้อน

607.

3.ให้พลังงาน 3,500 J/s

608. ปฏิกิริยาหนึ่งมีค่าพลังงานกระตุ้น (activation energy) ที่อุณหภูมิ 600 C เท่ากับ 30,000 J/mol อัตราส่วนระหว่างค่าคงที่ปฏิกิริยาจะ
เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ที่อุณหภูมิ 600 C เมื่อเติมตัวเร่งปฏิกิริยาลงไปแล้วค่าพลังงานกระตุ้นลดลงเหลือ 5,000 J/mol.
3.30

609.

4.อุณหภูมิภายในภาชนะเพิ่มขึ้น

610. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหล (Plug flow reactor) ภายใต้สภาวะอุณหภูมิไม่คงที่


ความดันแปรผันตามความยาวของเครื่องปฏิกรณ์
3.

611. ข้อใดแสดงความสัมพันธ์ของเครื่องปฏิกรณ์แบบท่อไหล (Plug flow reactor) ภายใต้สภาวะอุณหภูมิไม่คงที่ได้ถูกต้อง


4.ข้อ 1 และ ข้อ 3 ถูก

https://engenius.neighborsoft.com/test 71/71

You might also like