You are on page 1of 9

ใบความรู้ที่ 3

เรื่อง พลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี
วิชาเคมีเพิ่มเติม 2 (ว 32222 ) ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 ผู้สอน ครูหวานใจ โบบทอง

ชื่อ…………………………………….สกุล.....................................................ชั้น.....................เลขที่...................

พลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยา

การเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีพลังงานเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยเนื่องจากมีการสลายและสร้างพันธะ
ระหว่างอะตอมของสารในปฏิกิริยา อาจแสดงได้ด้วยกราฟ ดังรูป
ก. กราฟระหว่าง NO2 กับ CO ซึ่งเป็นประเภทคายความร้อน
NO2 (g) + CO (g)  NO (g) + CO2 (g) + 234 kJ
เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาได้ดังนี้

รูปที่ 1 การเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยา NO2 (g) + CO (g)  NO (g) + CO

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ชลบุรี เขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 1 หน้า 1


จากรูปที่ 1 อธิบายได้ดังนี้

จากกราฟรูป ที่ 1 อธิบายได้ว่าสารตั้งต้นมีพลังงาน E1 เมื่อโมเลกุล


ของสารตั้งต้นชนกันมีพลังงานเป็น E2หลังจากนั้นก็จะเปลี่ยนเป็น
ผ ลิตภัณฑ์ซึ่งมีพลังงานเป็น E3 ผลต่างระหว่างพลังงาน E2 กับ E1
คือพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา (Ea) เนื่องจากผลิตภัณฑ์ที่
เกิดขึ้นมีพลังงานเท่ากับ E3 ซึ่งมีค่าน้อยกว่า E1 ระบบจึงคาย
พลังงานออกมามีค่าเท่ากับ E3 - E1 = - ∆E ปฏิกิริยานี้จึงเป็น
ปฏิกิริยาคายพลังงาน(คายความร้อน)

∆E ของปฏิกิริยาการคายความร้อน (exothermic reaction) นั้น จะ


มีเครือ่ งหมายเป็นลบเสมอ เพราะ Ep < Er

ข. ปฏิกิริยา 2HI (g) H2 (g) + I2 (g) ซึ่งเป็นปฏิกิริยาประเภทดูดความร้อน

รูปที่ 2 การเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยา 2HI (g) H2 (g) + I2 (g)

รูปที่ 10 อธิบายได้ว่า
E1 คือ.......................................................................................................
E3 คือ.......................................................................................................
Ea คือ.......................................................................................................
 E คือ ......................................................................................................

∆E ของปฏิกิริยาการดูดความร้อน (Endothermic reaction) นั้น จะมีเครื่องหมายเป็น...........เสมอ


เพราะ .....................
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ชลบุรี เขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 1 หน้า 2
แบบฝึกหัด

1 จากข้อมูล จงเติมข้อความในช่องว่างให้ถูกต้องโดยพิจารณาจากกราฟ

1.1 พลังงานของปฏิกิริยาไปข้างหน้าเท่ากับ.............................กิโลจูล
1.2 พลังงานของปฏิกิริยาไปย้อนกลับเท่ากับ.............................กิโลจูล
1.3 ปฏิกิริยานี้ดูดหรือคายพลังงานเท่ากับ..................................กิโลจูล
1.4 ผลิตภัณฑ์มีความเสถียรหรือไม่.........................เพราะ.............................................................................

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ชลบุรี เขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 1 หน้า 3


กลไกของปฏิกิริยา

หมายถึง ขั้นตอนต่างๆ ของการเกิดปฏิกิริยา ปฏิกิริยาเคมีหนึ่งๆ อาจจะมีขั้นตอนของ


การเกิดปฏิกิริยาเพียง 1 ชั้นตอน แต่ปฏิกิริยาบางชนิดอาจจะเกิดขั้นหลายขั้นตอน แต่ละ
ขั้นตอนเรียกว่า ขั้นย่อยของปฏิกิริยา
- ทุกๆ ขั้นย่อย จะมีพลังงานก่อกัมมันต์ หรือพลังานกระตุ้นประจาขั้น และมีค่าต่างๆ กัน ขั้นตอนย่อยที่
สาคัญที่สุดคือ ขั้นตอนที่เกิดช้าที่สุด ซึ่งจะมีพลังงานก่อกัมมันต์มากที่สุด เรียกว่า ขั้น กาหนดอัตราการ
เกิดปฏิกิริยา กฎอัตราเร็วจะได้มาจากขั้นย่อยที่เกิดช้าที่สุดนี้
- โดยทั่วๆ ไปเมื่อทราบกลไกของปฏิกิริยา จะสามารถหากฎอัตราเร็วได้ และในทางตรงกันข้าม ถ้า
ทราบกฎอัตราเร็วก็สามารถเขียนกลไกของปฏิกิริยาได้เช่นเดียวกัน

ตัวอย่างกลไกของปฏิกิริยา

1 เกิดเพียงขั้นตอนเดียว จะมีพลังงานก่อกัมมันต์หรือพลังงานกระตุ้น
เพียงค่าเดียวและเป็นพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา

รูปที่ 2 กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยา
A+B C+D

2 เกิดขึ้น 2 ขั้นตอนจะมีพลังงานก่อกัมมันต์ 2 ค่า เนื่องจากขั้นแรกเกิดช้า จึงมีพลังงานก่อนกัมมันต์สูง


กว่าขั้น ที่ 2

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ชลบุรี เขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 1 หน้า 4


รูปที่ 3 กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยา A + B C +_ D

เนื่องจากขั้นย่อยที่เกิดช้าเป็นขั้นตัดสินอัตราการเกิดปฏิกิริยา ดังนั้น a จึงเป็นพลังงานก่อกัมมันต์ของ


ปฏิกิริยา

2 ในกรณีที่มีขั้นย่อยเกิดขึ้นมากกว่า 2 ขั้น ก็จะมีพลังงานก่อกัมมันต์มากกว่า 2 ค่า


จานวนขั้นย่อยจะ เท่ากับจานวนพลังงานก่อกัมมันต์ ดังเช่นปฏิกิริยา

A → B เกิดช้าที่สุด
B → C เกิดเร็วที่สุด
C → D เกิดเร็วปานกลาง

รูปที่ 3 กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยา A D

พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาก็คือ a ซึ่งเป็นพลังงานก่อกัมมันต์ของขั้นย่อยขั้นแรกที่เกิดช้าที่สุด
นั่นเอง

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ชลบุรี เขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 1 หน้า 5


ช่วยทาแบบฝึกหัดหน่อยครับ

1 ปฏิกิริยา A + B C+D มีกลไกดังภาพ

จากกราฟ
1 ประกอบด้วย.........ขั้นตอนคือ
ขั้นที่ 1 มีปฏิกิริยาคือ.................................................เกิด...............
ขั้นที่ 2 มีปฏิกิริยาคือ........................................................................เกิด..........................
2 พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยานี้มีค่า............................กิโลจูล
3 ปฏิกิริยานี้เป็นแบบดูดหรือคายความร้อน.........................กิโลจูล
4 สารมัธยันต์คือ................................................
5 ขั้นที่กาหนดอัตราการเกิดปฏิกิริยาคือ..............................เพราะ...........................................

2 พิจารณาปฏิกิริยา A D

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ชลบุรี เขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 1 หน้า 6


จากภาพ จงตอบคาถามต่อไปนี้
1 จงเขียนกลไกของปฏิกิริยา
..................................................................
...................................................................
...................................................................
2 สารมัธยันธ์คือ......................................
3 พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยานี้มีค่า..........................กิโลจูล.
4 ปฏิกิริยานี้ดูดหรือคายความร้อน.....................................

จากกราฟจงตอบคาถามต่อไปนี้
1.1 สารใดอยู่ตาแหน่งที่จุด G ......................................................................
1.2 สารใดอยู่ตรงตาแหน่งที่จุด F..................................................................
1.3 H ของปฏิกิริยา D J มีค่าเท่าใด.............................................
1.4 พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา D J มีค่า ...................................กิโลจูล
1.5 ปฏิกิริยาในขั้นตอนใดเกิดเร็วที่สุดของปฏิกิริยา D J .......................................
1.6 ขั้นตอนใดของปฏิกิริยาที่ใช้กาหนดกฎอัตราของปฏิกิริยา....................................................
1.7 ปฏิกิริยา D J เกิด .................ขั้น
ขั้นที่ 1คือ...................................................................
ขั้นที่ 2............................................................
ขั้นที่ 3 ......................................................................

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ชลบุรี เขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 1 หน้า 7


4 ปฏิกิริยา X Z ประกอบด้วย 2 ขั้นตอนคือ
X Y ............................(1)
Y Z ............................(2)
สมการรวม X Z
สารมัธยันธ์ของปฏิกิริยานี้คือ..............................

5 ศึกษากราฟต่อไปนี้
กาหนดให้อัตราการเกิดปฏิกิริยา A B = 6 mol/s
อัตราการเกิดปฏิกิริยา B C = 2 mol/s
อัตราการเกิดปฏิกิริยา C D = 4 mol/s
จากกราฟปฏิกิริยา A D
5.1 ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นมี.........................ขั้นตอน
5.2 ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเร็วที่สุดคือ .........................
5.3 ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นช้าที่สุดคือ.........................................................
5.4 ขั้นตอนที่กาหนดอัตราการเกิดปฏิกิริยาคือ.............................................................................
5.5 ในเวลา 5 วินาทีปฏิกิริยานี้จะเกิดผลิตภัณฑ์........................................ mol/dm3

6. ปฏิกิริยา A B มี Ea ไปข้างหน้า = 100 Ea ย้อนกลับ = 130 จงหา H ของปฏิกิริยา


( ให้เขียนกราฟด้วย )
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
7. ปฏิกิริยา A B มี Ea ไปข้างหน้า = 150 ย้อนกลับ = 120 จงหา H ของปฏิกิริยา B A
( ให้เขียนกราฟด้วย)
......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ชลบุรี เขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 1 หน้า 8


กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ชลบุรี เขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 1 หน้า 9

You might also like