You are on page 1of 9

การสอบซ่อมกลางภาค วิชา เคมี 1 ว31221

ชื่อ………………………………………………………. ชั้น ม.4/......... เลขที่.............


สอบย่อยได้...............คะแนน ต้องการซ่อม...............คะแนน ดังนั้นต้องซ่อมทั้งหมด............ข้อ

คำชี้แจงในการสอบซ่อม
1. ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ ให้ครบถ้วนทุกข้อทุกหน้าก่อนมาสอบซ่อม โดยปริ้นท์เอกสาร
และเขียนด้วยลายมือของตนเองที่บรรจงอ่านง่าย
2. มาสอบซ่อมตามตารางนัดหมายของครูผู้สอน
3. เมื่อถึงวันนัดสอบซ่อม ให้นักเรียนปฏิบัติดังนี้
3.1 ส่งเอกสารตามข้อ 1 ที่ครูผู้สอนก่อนสอบซ่อม ลงลายมือชื่อผู้ซ่อมในบันทึกการสอบซ่อม
(หากนักเรียนซ่อมมากกว่า 1 ครั้ง ให้ส่งเอกสารเพียงครั้งเดียวในการซ่อมครั้งแรก)
3.2 สอบซ่อมในเอกสารที่ครูแจกให้ โดยเขียนคำตอบให้ถูกต้องครบถ้วน ด้วยลายมือที่อ่าน
ง่ายชัดเจน
3.3 จำนวนข้อในการซ่อมคือ 1 ข้อต่อ 0.1 คะแนน เกณฑ์ผ่านคือ 12 คะแนน เช่น สอบได้
4.3 คะแนน ต้องซ่อม 7.7 คะแนน ทำทั้งหมด 77 ข้อ
3.4 นักเรียนสามารถซ่อมได้หลายครั้งจนกว่าจะซ่อมผ่าน แต่ถ้าต้องการซ่อมหลายครั้งต้อง
ผ่านในแต่ละครั้งอย่างน้อย 20 ข้อ

-1-
การสอบซ่อมกลางภาค วิชา เคมี 1 ว31221

โจทย์สำหรับสอบซ่อม
จงเติมคำตอบลงในตารางให้ถูกต้อง
ข้อ เลขอะตอม การจัดเรียง หมู่ คาบ
อิเล็กตรอน
1 33
2 54
3 2 8 18 7
4 2 5
5 7 6
6 117

7. ระดับพลังงานย่อยที่เป็นไปได้ ในแต่ละระดับพลังงานตั้งแต่ระดับพลังงานที่ 1-4 เป็นดังนี้


ระดับพลังงานที่ 1 (n = 1) มี 1 ระดับพลังงานย่อยคือ …………………………………
ระดับพลังงานที่ 2 (n = 2) มี 2 ระดับพลังงานย่อยคือ …………………………………
ระดับพลังงานที่ 3 (n = 3) มี 3 ระดับพลังงานย่อยคือ …………………………………
ระดับพลังงานที่ 4 (n = 4) มี 4 ระดับพลังงานย่อยคือ …………………………………
8. บริเวณรอบนิวเคลียสซึ่งมีโอกาสจะพบอิเล็กตรอนและมีพลังงานเฉพาะนี้เรียกว่า
................................................
9. จากการศึกษาพบว่าจำนวนออร์บิทัลในแต่ละระดับพลังงานย่อยมีค่าแตกต่างกันซึ่งสามารถสรุปได้
ดังนี้
ระดับพลังงานย่อย s มี …………… ออร์บิทัล
ระดับพลังงานย่อย p มี …………… ออร์บิทัล
ระดับพลังงานย่อย d มี …………… ออร์บิทัล
ระดับพลังงานย่อย f มี …………… ออร์บิทัล
10. ใน 1 ออร์บิทัลสามารถบรรจุอิเล็กตรอนได้สูงสุด………อิเล็กตรอน
11. หลักการกีดกันของเพาลี กล่าวว่า …………………..…………………..…………………..…………………..
…………………..…………………..…………………..…………………..………………………………..…………………..
12. หลักของเอาฟบาว กล่าวว่า ………………..…………………..…………………..……………………………
…………………..…………………..…………………..…………………..………………………………..…………………..
13. ถ้ามี 7 อิเล็กตรอนสามารถจัดอิเล็กตรอนได้

1s 2s 2p
14. จงเรียงลำดับออร์บิทัลจากพลังงานน้อยไปมากตั้งแต่ 1s ถึง 7pได้ดังนี้
................................................................................................................................................................

-2-
การสอบซ่อมกลางภาค วิชา เคมี 1 ว31221

15. กฎของฮุนด์ กล่าวว่า ………………..…………………..…………………..……………………………


…………………..…………………..…………………..…………………..………………………………..…………………..
16. การบรรจุเต็ม คือ ………..…………………..…………………..……………………………

17. การบรรจุครึ่ง คือ ………..…………………..…………………..……………………………

18. การเขียนสัญลักษณ์แสดงการจัดเรียงอิเล็กตรอนได้เป็น 1s1 โดยมีความหมายดังนี้


…………………………………
…………
……………… 1s1 ………………………………
…….. ……….

ข้อ เลข ธาตุ แผนภาพแสดงการบรรจุ การจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบ การจัดเรียง


อะตอม อิเล็กตรอนในออร์บิทัล เต็ม อิเล็กตรอนแบบ
1s 2s 2p ย่อ
1 H 1s1
2 He 1s2
3 Li 1s22s1 [He]2s1
19 4 Be
20 5 B
21 6 C
22 7 N
23 8 O
24 9 F
25 10 Ne

26. อิเล็กตรอนที่อยู่ในระดับพลังงานหลักสูงสุดหรือชั้นนอกสุดของอะตอมเรียกว่า ...........................


27. ธาตุเบริลเลียมมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็น 1s22s2 จึงมีจำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ..........
28. ธาตุฟลูออรีนมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็น 1s22s22s5 จึงมีจำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ.......

-3-
การสอบซ่อมกลางภาค วิชา เคมี 1 ว31221

จงเขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนของ
44. 3-
7N : …………………………………………….
45. 17Cl
- : …………………………………………….
46. Al3+ : …………………………………………….
47. Fe2+ : …………………………………………….

-4-
การสอบซ่อมกลางภาค วิชา เคมี 1 ว31221

ธาตุ A B และ C มีการจัดอิเล็กตรอนดังนี้


ธาตุ A 1s2 2s2 2p6 3s2 3p2
ธาตุ B 1s2 2s2 2p6 3s2
ธาตุ C 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6
48. ธาตุ A B C มีเลขอะตอมเท่าใด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
49. ธาตุแต่ละชนิดมีอิเล็กตรอนอยู่ในระดับพลังงานใดบ้าง จำนวนเท่าใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
จงระบุสัญลักษณ์ของธาตุที่มีการจัดอิเล็กตรอนดังต่อไปนี้
50. [Ar] 4s2 3d10 4p2 ……………………………….
51. [Ne] 3s2 3p3 ……………………………….
52. [Kr] 5s2 4d5 ……………………………….
ธาตุวาเนเดียมและแคดเมียมมีเลขอะตอม 23 และ 48 ตามลำดับ จงแสดงการจัดเรียงอิเล็กตรอนใน
ระดับพลังงานย่อยและจำนวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของธาตุทั้งสอง
53. ธาตุวาเนเดียม……………………………………………………………………………………………………………
54. ธาตุแคดเมียม………………………………………………………………………………………………………………
จงเขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยของ
55. Zn2+ ………………………………………………………………………………………………………………
56.Cu+ ………………………………………………………………………………………………………………
57. S2- ………………………………………………………………………………………………………………
58. K ………………………………………………………………………………………………………………
59. Al ………………………………………………………………………………………………………………
60. Mg2+ ………………………………………………………………………………………………………………
61. Cl- ………………………………………………………………………………………………………………
62. Ni ………………………………………………………………………………………………………………
63. Ni+ ………………………………………………………………………………………………………………
กำหนดธาตุ 5 ธาตุ ซึ่งมีเลขอะตอมเท่ากับ 12 20 23 30 และ 36
64. มีธาตุแทรนซิชันทั้งหมดกี่ธาตุ ..........................................
65. ธาตุที่มีเลขอะตอมเท่าใดจัดอยู่ในกลุ่มของแก๊สมีสกุล ..........................................
66. ในปี พ.ศ. 2360 โยฮันน์ เดอเบอไรเนอร์ จัดธาตุเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3 ธาตุ ตามสมบัติที่คล้ายคลึงกัน
เรียกว่า ……………….พบว่าธาตุกลางจะมี………………………………ของมวลอะตอมของอีกสองธาตุที่เหลือ

-5-
การสอบซ่อมกลางภาค วิชา เคมี 1 ว31221

67. จอห์น นิวแลนด์ เสนอว่า ถ้าเรียงธาตุ……………………………………………………………………………


พบว่าธาตุที่ 8 จะมีสมบัติเหมือนกับธาตุที่ 1 เสมอ (ไม่รวมธาตุไฮโดรเจนและแก๊สมีสกุล)
แต่ใช้ได้ถึงธาตุ.............................เท่านั้น
68. ยูลิอุสโลทาร์ ไมเออร์และ ดิมิทรี อิวา-โนวิช เมนเดเลเอฟ มีข้อสังเกตว่า ถ้าเรียงธาตุตาม
......................จากน้อยไปมากจะพบว่าธาตุมีสมบัติคล้ายกันเป็นช่วง ๆ โดยเมลเดเลเอฟ ตั้งเป็นกฎ
เรียกว่า ............................ จึงเรียกตารางนี้ว่า ..................................................
69. เฮนรี โมสลีย์ ได้เสนอให้จัดธาตุเรียงตาม................................
70. ตารางธาตุในปัจจุบันแบ่งธาตุในแนวตั้งเป็น………. แถว โดยเรียงแถวในแนวตั้งว่า..................
71. ตารางธาตุในปัจจุบันแบ่งธาตุในแนวนอนเป็น 7 แถว เรียกแถวในแนวนอนว่า..............................
72. แต่ละคาบของตารางธาตุจัดเรียงธาตุตาม....................................ที่เพิ่มขึ้นตามลำดับ
73. ถ้าแบ่งกลุ่มธาตุตามสมบัติความเป็นโลหะจะแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ ................................... เป็น
ธาตุที่นำไฟฟ้าและนำความร้อนได้ดี ....................................... เป็นธาตุที่นำไฟฟ้าได้ไม่ดีที่อุณหภูมิ
ห้องแต่จะนำได้ดีขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น และ ............................................ ซึง่ ไม่นำไฟฟ้า ยกเว้น
คาร์บอน (แกรไฟต์) และ ฟอสฟอรัสดำ
74. ธาตุกลุ่ม s และกลุ่ม p เรียกรวมกันว่า ธาตุกลุ่ม..........ซึ่งเป็นกลุ่มของธาตุ.............................
หรืออาจเรียกว่ากลุ่มธาตุหมู่หลัก (main group element)
75. เมื่อพิจารณาการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุกลุ่ม A พบว่าธาตุในแนวตั้ง ที่อยู่ในกลุ่ม A จะมี
เวเลนซ์อิเล็กตรอน………….และจำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนจะตรงกับ…………….
76. สำหรับธาตุตามแนวนอนที่อยู่ในคาบเดียวกัน พบว่ามีจำนวน…………………………..เท่ากัน และ
จำนวนระดับพลังงานจะตรงกับเลขที…่ ………….
77. ธาตุ Na มีเลขอะตอมเท่ากับ 11 จัดอิเล็กตรอนเป็น ……………………….ดังนั้น Na จึงอยู่ในหมู่
………….เพราะมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ ……….และอยู่ในคาบที่ ………. เพราะมีจำนวนระดับ
พลังงานของอิเล็กตรอนเท่ากับ ……….
78. ธาตุ Br มีเลขอะตอมเท่ากับ 35 จัดอิเล็กตรอนเป็น ……………………….ดัง นั้น Na จึง อยู่ในหมู่
………….เพราะมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ ……….และอยู่ในคาบที่ ………. เพราะมีจำนวนระดับ
พลังงานของอิเล็กตรอนเท่ากับ ……….
79. ธาตุบางหมู่มีการกำหนดชื่อที่เป็นสากล เช่น หมู่ IA (1) มีชื่อเรียกว่า ……………………..
80. ธาตุหมู่ II A (2) เรียกว่า …………………………………..
81. ธาตุหมู่ VIIA (17) เรียกว่า …………………………………..
82. หมู่ VIIA (18) เรียกว่า …………………………………..
83. ธาตุกลุ่ม d และ f เรียกรวมกันว่าธาตุกลุ่ม B หรือ ..............................................................
84. เมื่อพิจารณาขนาดอะตอมของธาตุที่อยู่ในคาบเดียวกันพบว่า ขนาดอะตอมมีแนวโน้ม…………….
เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น เนื่องจาก…………………………………………………………………………………………….
………………………………….………………………………….………………………………….………………………………….

-6-
การสอบซ่อมกลางภาค วิชา เคมี 1 ว31221

85. เมื่อพิจารณาขนาดอะตอมของธาตุที่อยู่ในหมู่เดียวกันพบว่า ขนาดอะตอมมีแนวโน้ม…………….


จากบนลงล่าง เนื่องจาก…………………………………………………………………………………………………………
………………………………….………………………………….………………………………….………………………………….
86. การเกิดไอออนบวกนั้น ขนาดของไอออน…………………..อะตอมเดิม เพราะ …………………………..
………………………………….………………………………….………………………………….………………………………….
87. ไอออนของโลหะในหมู่เดียวกันจะมีขนาด…………………..เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น” และ “ไอออน
ของโลหะในคาบเดียวกันจะมีขนาด…………………….เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น
88. การเกิดไอออนลบนั้นขนาดไอออน…………………….อะตอมเดิม เพราะ
……………………………………………………………………………………………………..………………………………………
89. ไอออนของอโลหะในหมู่เดียวกัน จะมีขนาด………………..เมือ่ เลขอะตอมเพิ่มขึ้น” และ “ไอออน
ของอโลหะในคาบเดียวกันจะมีขนาด……………………. เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น
90. Na+ กับ F- มีการจัดอิเล็กตรอนและขนาดไอออนแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
ตอบ …………………………………………………………………………………………………..
91. Na+ Mg2+ และ Al3+ มีขนาดไอออนแตกต่างกันอย่างไร
ตอบ ……………………………………………………………………………………………………..
92. พลังงานไอออไนเซชัน คือ…………………………………………………………………………………………………
93. โดย IE น้อยแสดงว่าทำให้เป็นไอออนบวกได้...............แต่ถ้า IE มากแสดงว่าทำให้เป็นไอออนบวก
ได้.............
94. โบรอนมี 5 อิเล็กตรอนจึงมีพลังงานไอออไนเซชัน 5 ค่า เขียนแสดงได้ดังต่อไปนี้
B(g) B+(g) + e- ; IE1 = 807 kJ/mol
B+(g) B2+(g) + e- ; IE2 = 2433 kJ/mol
B2+(g) B3+(g) + e- ; IE3 = 3666 kJ/mol
B3+(g) B4+(g) + e- ; IE4 = 25033kJ/mol
B4+(g) B5+(g) + e- ; IE5 = 32834 kJ/mol
ถาม เพราะเหตุใด IE3 กับ IE4 ของธาตุโบรอนจึงมีค่าแตกต่างกันมาก
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
95. นักเรียนคิดว่าค่าพลังงานไอออไนเซชันของธาตุใช้เป็นข้อมูลสำหรับการจัดกลุ่มอิเล็กตรอนที่อยู่
รอบนิวเคลียสของแต่ละธาตุได้หรือไม่ อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
96. เมื่อพิจารณาพลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 ของธาตุตามคาบพบว่า มีแนวโน้ม.................ตาม
เลขอะตอม เนื่องจาก…………………………………………………………………………………………………….
97. พลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 ของธาตุตามหมู่พบว่า มีแนวโน้ม...................เมื่อเลขอะตอม
เพิ่มขึ้นเนื่องจาก…………………………………………………………………………………………………….

-7-
การสอบซ่อมกลางภาค วิชา เคมี 1 ว31221

98. ค่า IE พิจารณาความเป็นโลหะได้ โดยโลหะที่ดีจะเสียอิเล็กตรอนได้ง่าย ค่า IE ………….


99. สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน คือ............................................................................................................
100. อะตอมที่มีขนาดใหญ่ จะรับอิเล็กตรอนได้…………เพราะอิเล็กตรอนที่รับเข้ามาใหม่จะได้รับแรง
ดึงดูดจากนิวเคลียสได้………….จึงพร้อมที่จะหลุดออกไปอีกได้ง่าย ดังนัน้ EA จะ…………..
101. แต่ถ้าอะตอมขนาด………..จะรับอิเล็กตรอนได้…….. เพราะอิเล็กตรอนที่เข้ามาใหม่จะถูกดึงดูด
ด้วยนิวเคลียสได้มาก ดังนั้น EA จะ…………
101. ธาตุในคาบที่ 2 จะมีค่า EA ………กว่าคาบที่ 3 เพราะขนาดของอะตอมในคาบที่ 2 จะเล็กมาก
ทำให้อิเล็กตรอนที่รับเข้าไปใหม่เกิดแรงผลักกับอิเล็กตรอนเดิมได้ง่าย ทำให้อะตอมไม่เสถียร ดังนั้น
EA จะต่ำ เพราะอะตอมไม่ชอบที่จะรับอิเล็กตรอน
102. ธาตุในหมู่ 4A มี EA ………………หมู่ 5A เพราะการจัดเรียงอิเล็กตรอน
103. อิเล็กโทรเนกาติวิตี (electronegativity, EN) คือ...................................................................
..............................................................................................................................................................
104. เมื่อพิจารณาค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีของธาตุในหมู่ IA - VIIA พบว่า มีแนวโน้ม………………..ตาม
เลขอะตอมเนื่องจากในคาบเดียวกันอะตอมของธาตุหมู่ IA มีขนาดใหญ่ที่สุด และหมู่ VIIA มีขนาดเล็ก
ที่สุด ความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนตามคาบจึงเพิ่มขึ้นจากหมู่ IA ไปหมู่ VIIA
105. ธาตุในหมู่เดียวกันมีแนวโน้มของค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี……………………..เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น
เนื่องจากขนาดของอะตอมที่เพิ่มขึ้นเป็นผลให้นิวเคลียสดึงดูดอิเล็กตรอนลดลง
106. ธาตุ A มีเลขอะตอมเท่ากับ 11
หมู่................ คาบ...............
107. ธาตุ B มีจำนวนโปรตอนเท่ากับ 20
หมู่................ คาบ...............
108. ธาตุ X Y และ Z เป็นธาตุหมู่ IA IIA และ VIIA ตามลำดับ และอยู่ในคาบเดียวกัน จง
เปรียบเทียบสมบัติต่อไปนี้
พลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 ……………………………………………………………
อิเล็กโทรเนกาติวิตี้ …………………………………………………………..
109. พลังงานไอออไนเซชันของธาตุ A B C และ D เป็นดังนี้
พลังงงานไอออไนเซชัน (kJ/mol) ลำดับที่
ธาตุ
1 2 3 4
A 500 4600 6900 9500
B 740 1500 7700 10500
C 900 1800 14800 21000
D 580 1800 2700 11600
จงพิจารณาข้อมูลในตารางและตอบคำถามต่อไปนี้
ก. ธาตุใดมีแนวโน้มสูงสุดที่จะเกิดเป็นไอออนซึ่งมีประจุ +1 ……………………
ข. ธาตุใดน่าจะมีจำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากัน …………………..
-8-
การสอบซ่อมกลางภาค วิชา เคมี 1 ว31221

110. ธาตุ X และ Y มีเลขอะตอม 37 และ 38 ตามลำดับ จงเปรียบเทียบสมบัติต่อไปนี้ พร้อมทั้งให้


เหตุผลประกอบ
ก. ขนาดอะตอม
…………………………………………………………………………………………………………………………….
ข. พลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1
…………………………………………………………………………………………………………………………….
111. A B C D E และ F เป็นธาตุสมมติที่อยู่ในหมู่เดียวกันเรียงลำดับจากบนลงล่าง
จงทำนายสมบัติของธาตุดังต่อไปนี้
ก. ธาตุใดควรมีขนาดอะตอมเล็กที่สุด ……………………
ข. ธาตุใดควรมีอิเล็กโทรเนกาติวิตีสูงที่สุด ……………………
ค. ธาตุ E ควรมีพลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 สูงหรือต่ำกว่าธาตุ F ……………………
112. ขนาดอะตอมของธาตุแทรนซิชันมีแนวโน้มอย่างไร เพราะอะไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………..……………………………………………………………………………
………………………………………………………………..……………………………………………………………………………
………………………………………………………………..……………………………………………………………………………
113. เหตุใดธาตุทรานซิชันส่วนใหญ่มีสมบัติคล้ายคลึงกันตามคาบ
……………………………………………………………..………………………………………………………………………………
114. สีของสารประกอบของโลหะทรานซิชันจะ………………
สีของสารประกอบของโลหะหมู่หลักจะ…………………
115. สารละลายในบีกเกอร์ที่ใส่โลหะแต่ละชนิดมีสมบัติเป็นกรดหรือเบส
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
116. จงเปรียบเทียบความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับน้ำของโลหะหมู่หลักและโลหะแทรนซิชัน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
117. ธาตุ A B และ C มีเลขอะตอม 40 50 และ 60 ตามลำดับ ธาตุใดเป็นธาตุหมู่หลักและธาตุใด
เป็นธาตุแทรนซิชัน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
118. จงเปรียบเทียบความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยาของธาตุหมู่ IA จากน้อยไปมาก
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
119. จงเขียนสมการการเกิดปฏิกิริยาระหว่างโลหะโซเดียมกับน้ำ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
120. จงเขียนสมการการเกิดปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับน้ำ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

-9-

You might also like