You are on page 1of 9

JIST Journal of Information Science and Technology

Volume 8, NO 2 | JUL – DEC 2018 | 56-64

ระบบเฝ้ าระวังเหตุเพลิงไหม้ในอาคาร
Fire Alarm System in Building
มุกระวี มะดะเรส
คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
Received: November 16, 2018; Revised: December 23, 2018; Accepted: December 24, 2018; Published: December 25, 2018

ABSTRACT– Fire normally occurs in the area where there is no person or no inhabitant. We
see the fire when we cannot control it. For that, it is important to have a fire protection system
installed in the building or in the rooms. This is why we have an idea to create a fire alarm
system by using Arduino microcontroller to receive the signal from the smoke detector and
NodeMCU applied to the Internet. When smoke is detected, system will send alert data to
Android operating system on smartphone. In addition to the camera will take the photo and
send to user.

KEY WORDS -- Arduino; Smoke Detector; Fire; Smartphone; Android

บทคัดย่ อ -- การเกิดเหตุเพลิงไหม้ มกั จะเกิดในบริเวณทีไ่ ม่ มคี นสังเกตเห็นหรือไม่ มคี นอยู่ ซึ่งกว่ าจะรู้ ตัวเพลิงก็ลุกไหม้ จน
ไม่ สามารถควบคุมได้ จึงจําเป็ นอย่ างยิง่ ทีจ่ ะต้ องมีระบบป้ องกันเหตุเพลิงไหม้ ตดิ ตั้งไว้ ภายในอาคารหรือภายในห้ องต่ างๆ จึง
เกิ ด แนวคิด ที่ จ ะนํ า ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino มารั บ สั ญ ญาณอุ ป กรณ์ ต รวจจั บ ควั น และการนํ า NodeMCU
มาประยุกต์ ใช้ งานกับเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต เพือ่ ให้ อุปกรณ์ สามารถสื่อสารกันบนระบบเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต สามารถทําการ
แจ้ งเตือนไปยังผู้ใช้ งานผ่ านแอพพลิเคชั่ นบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ และการแจ้ งเตือนข้ อความไปยังสมาร์ ทโฟน
เพือ่ เป็ นอีกช่ องทางในการแจ้ งเตือนในกรณีทสี่ ัญญาณอินเทอร์ เน็ตขาดหาย นอกจากนีย้ งั สามารถสั่งให้ กล้ องทําการถ่ ายภาพ
บริเวณทีเ่ กิดเหตุเพลิงไหม้ เพือ่ แจ้ งเหตุให้ ผ้ทู เี่ กีย่ วข้ องทราบต่ อไป

คําสําคัญ --อาดุยโน่; อุปกรณ์ตรวจจับควัน; เพลิงไหม้; สมาร์ทโฟน; แอนดรอยด์

Corresponding Author : mukrawi@mut.ac.th


56
JIST Journal of Information Science and Technology
Volume 8, NO 2 | JUL – DEC 2018 | 56-64

1. บทนํา แจ้งเตือนไปยังผูใ้ ช้งานผ่านทางข้อความได้อย่างทันท่วงทีซ่ ึ ง


การเกิ ด เหตุ เ พลิ ง ไหม้ส ามารถเกิ ด ได้จ ากหลายสาเหตุ อาทิ จากปกติ ส ามารถส่ งข้อ ความแจ้ง เตื อ นได้เ พี ย งหมายเลข
ความประมาทในการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้ า หรื อการลุกไหม้ข้ ึนเอง โทรศัพท์เบอร์ เดียว[10] ระบบจะสามารถรองรับข้อความแจ้ง
จากปฏิกิริยาทางเคมี เป็ นต้น ซึ่ งส่ งผลกระทบ และสร้ างความ เตือนได้หลายเบอร์ และสามารถแจ้งเหตุเพลิงไหม้ไปยังสถานี
เสี ยหายอย่างรุ น แรงต่ อทรั พย์สิน และความปลอดภัยในชี วิต ดับ เพลิ ง หรื อ สถานี ต าํ รวจ เพื่ อ ลดความเสี่ ย งที่ จ ะเกิ ด ความ
เพื่ อ เป็ นการป้ องกัน และลดความเสี ย หายที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น จึ ง เสี ยหาย และการสู ญเสี ยขึ้ นจากการเกิ ดเหตุ เพลิงไหม้ และ
จําเป็ นต้องมีระบบแจ้งเตือนเหตุเพลิงไหม้ติดตั้งภายในอาคาร นอกจากนี้ ผูท้ ี่ เกี่ ยวข้อ งสามารถตรวจสอบรู ป ภาพจากกล้อ ง
หรื อ ภายในห้อ งต่ างๆ ในรู ป แบบที่ เป็ นไปตามการออกแบบ ภายในจุดการเกิดควันผ่านทางเว็บแอพพลิเคชันได้อีกด้วย
และการติ ดตั้งระบบแจ้งเหตุ เพลิ งไหม้ [1] ซึ่ งงานทางด้านนี้
จํา เป็ นจะต้อ งวิเ คราะห์ และอ้างอิ ง ตามมาตรฐานที่ ไ ด้มี การ 2. วิธีการที่นําเสนอ
กําหนดไว้ในมาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้วิศวกรรมสถาน ระบบเฝ้ าระวังเหตุเพลิงไหม้ในอาคาร ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อ
แห่ งประเทศไทย [2] เพื่อทําการป้ องกันการเกิดเพลิงไหม้เมื่อ ป้ องกัน และลดความเสี ยหายที่จะเกิดขึ้นจากเหตุเพลิงไหม้ โดยใช้
เริ่ มมีควันเกิดขึ้น ก่อนที่ไฟจะลุกลามจนไม่สามารถควบคุมได้ ไมโครคอนโทรลเลอร์ (Arduino UNO R3) ทําหน้าที่ ในการรั บ
จากการศึ ก ษาค้น คว้า ในงานวิ จัย ที่ ผ่ า นมาพบว่ า ข้อมูลจากอุปกรณ์ตรวจจับควัน และส่ งข้อมูลไปยัง Web Server,
บทบาทของอุปกรณ์ทางด้าน Internet of Things (IoT) ได้เข้ามา Camera Module, GSM Module เพื่อแจ้งเตือนผูใ้ ช้งานได้อย่าง
มีบทบาทโดยสามารถนํามาออกแบบ และพัฒนาแอพพลิเคชัน ทันท่วงที โดยระบบมีการเก็บlog file สถานะของsmoke detector
ต่าง ๆ ได้ไม่ยากนัก อาทิ การพัฒนาด้วย Android Studio [3] (สถานะปกติ และสถานะเมื่ อมี การตรวจพบควัน) โดยข้อมู ล
การประยุกต์รวมเข้ากับทฤษฎีทางด้าน IoT การทํางานร่ วมกัน ดังกล่าวจะถูกนําไป เก็บไว้ที่ไฟล์ getSmoke.php เพื่อนําไปเขียน
บน NodeMCU [4] ซึ่ งส่ งผลให้มีงานวิจยั ทางด้าน IoT ร่ วมกับ โปรแกรมบน Android Studio เพื่อดึงค่าข้อมูลมาแสดงบน Mobile
การประยุกต์และออกแบบระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ยกตัวอย่าง Application ระบบจะเริ่ มทําการแจ้งเตื อนเมื่ อตรวจพบควัน โดย
เช่น การสร้างสัญญาณเตือนอัคคีภยั โดยอัตโนมัติ การตรวจวัด Arduino board จะทําการส่ งค่าสถานะที่ได้มาจาก Smoke Detector
ปริ มาณการใช้ พ ลั ง งานไฟฟ้ า และการตรวจสอบระบบ ไปยัง Web Server และมีการส่ ง SMS ไปยังผูใ้ ช้ที่เกี่ยวข้องโดยตรง
ตรวจสอบกําลังไฟฟ้ า ที่ ได้ออกแบบมาสําหรั บการใช้งานใน หลังจากตรวจพบควันไฟ นอกจากนั้นยังมีการแจ้งเตือนผ่านเว็บ
ภาคอุตสาหกรรมและในบ้าน สามารถตรวจจับการเกิดไฟไหม้ แอพพลิเคชัน และบนสมาร์ทโฟน ดังแสดงในรู ปที่ 1
และส่ งสัญญาณเตือนผ่านข้อความเคลื่อนที่ไปยังผูร้ ับที่กาํ หนด
ไว้ล่วงหน้า รวมทั้งยังสามารถแยกความแตกต่างระหว่างไฟที่
เป็ นไฟฟ้ าปกติ และไฟที่ ไม่ใช่ ไฟฟ้ า เมื่อ ตรวจพบเพลิ งไหม้
ระบบนี้ จะระบุ ต าํ แหน่ ง ของเพลิ ง ทํา ให้ร ะบบดับ เพลิ ง ของ
สถานที่น้ นั ๆ และส่ งข้อความเคลื่อนที่ไปยังแผนกดับเพลิง [5]
[6] [7]
ด้วยเหตุ น้ ี จึ งมีแ นวคิ ดที่ จ ะนําเสนอระบบเฝ้ าระวัง
เหตุเพลิงไหม้ ในอาคารโดยอาศัยการใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์
ในการรับสัญญาณจากอุปกรณ์ตรวจจับควัน ซึ่ งถูกนํามาใช้ใน
การตรวจจับการเกิ ดควันซึ่ งมีเทคโนโลยีที่เสถียรภาพ รองรั บ
การติดตั้งได้จริ ง มีประสิ ทธิภาพมากกว่าเซ็นเซอร์ ตรวจจับแก๊ส
หรื ออุณหภูมิและความชื้ น[8] ซึ่ งมักจะเกิดความคลาดเคลื่อน
เมื่อมีการตรวจพบควัน ซึ่ งระบบทัว่ ไปจะเป็ นเพียงการส่ งเสี ยง
แจ้งเตือนผูท้ ี่อาศัยอยู่ภายในอาคาร[9] ระบบนี้ จะทําการส่ งการ รู ปที่ 1. การนําเสนอภาพรวมระบบ

57
JIST Journal of Information Science and Technology
Volume 8, NO 2 | JUL – DEC 2018 | 56-64

จากรู ปที่ 1. อธิ บายและนําเสนอภาพรวมของระบบเรื่ องของการ ระบบจะทําการตรวจสอบว่ามี Username และ Password นี้
ออกแบบโครงสร้ างของระบบแจ้งเตื อ นเหตุ เพลิ ง ไหม้ผ่ า น หรื อไม่ ถ้าบัญชีของผูใ้ ช้งานไม่ตรงกับข้อมูลใน Database ก็จะ
แอนดรอยด์และเว็บแอพพลิเคชัน โดยอุปกรณ์ Arduino UNO R3 ให้กลับไปกรอกใหม่ ถ้าบัญชีใช้งานตรงกับข้อมูลใน Database
เป็ นตั ว ที่ ค วบคุ ม ระบบ โดยที่ มี อุ ป กรณ์ GSM Module, จึงสามารถเข้าสู่ ระบบได้
Smoke Detector, NodeMCU, Camera Module ที่ทาํ การเชื่อมต่อ
กับ Arduino UNO R3 และระบบทําการแจ้งเตือน และสามารถส่ ง
ภาพจุ ดเกิ ดเหตุ ไปยังผูใ้ ช้โดยผ่านทางเว็บแอพพลิ เคชัน และ
แอนดรอยด์บนสมาร์ ทโฟน และเมื่อผูใ้ ช้ไม่ได้ทาํ การเชื่อมต่อกับ
เครื อข่ ายอิ นเทอร์ เน็ ตหรื ออยู่ในสถานที่ อ ับสั ญญาณเครื อข่ าย
อินเทอร์เน็ต ระบบจะมีการแจ้งเตือนแบบ SMS ไปยังผูใ้ ช้ต่อไป

2.1 องค์ ประกอบการทํางานโดยรวมของระบบ


องค์ประกอบการทํางานโดยรวมของระบบเฝ้ าระวังเหตุเพลิง
ไหม้ ภ ายในอาคารนั้ นประกอบไปด้ ว ย 7 ส่ วนที่ สํ า คั ญ
ดังต่อไปนี้
- ส่ วนที่ 1 อุปกรณ์ Smoke Detector ทําหน้าที่ในการตรวจจับ
ควันไฟ และทําการส่ งค่าสถานะไปยังบอร์ ด Arduino UNO R3
เพื่อทําขั้นตอนถัดไป รู ปที่ 2. แสดงการล็อคอินเข้ าสู่ระบบ
- ส่ วนที่ 2 Arduino UNO R3 ทําหน้าที่ในการรับค่าจาก Smoke
Detector เพื่อทําการส่ งค่าไปยัง GSM Module, Web Server, ขั้นตอนการทํางานของ Web Server จากรู ปที่ 3 เมื่อทําการรับ
Camera Module ค่าสถานะมาจากบอร์ ด Arduino UNO R3 จะทําการตรวจสอบ
- ส่ วนที่ 3 GSM Module ทําหน้าที่ในการรับค่าการควบคุมการ ถ้าตรวจพบว่าตรวจพบควันจะทําการแสดงผล แต่ถา้ ตรวจไม่
ส่ งข้อความจาก Arduino UNO R3 เพื่อทําการส่ ง SMS ไปยัง พบควันก็จะกลับไปรับค่าใหม่อีกครั้ง
สมาร์ ท โฟนตามหมายเลขเบอร์ โ ทรศัพ ท์ที่ ก ํา หนดไว้ โดย
สามารถรองรับการส่ งข้อความได้มากกว่า 1 หมายเลข
- ส่ วนที่ 4 Camera Module ทําหน้าที่ในการบันทึกภาพและส่ ง
ข้อมูลไปยัง Database เพื่อทําการเก็บข้อมูลรู ปภาพ
- ส่ วนที่ 5 Wi-Fi Module ทําหน้าที่ในการติดต่อสื่ อสารในการ
ส่ งข้อมูลไปยัง Web Server
- ส่ วนที่ 6 Web Server ทําหน้าที่ในการรับคําสั่งจากผูใ้ ช้งาน
และแสดงผล
- ส่ วนที่ 7 Mobile Application ทําหน้าที่ในการดูขอ้ มูลสถานะ
ของอุปกรณ์ต่างๆ และแก้ไขอุปกรณ์

2.2 ส่ วนต่ อประสานผู้ใช้ งาน


เริ่ มต้นของส่ วนการติดต่อประสานผูใ้ ช้งานคือ การล็อคอินเข้า
สู่ ระบบ โดยมีข้ นั ตอนแสดงในรู ปที่ 2 การเข้าสู่ ระบบเริ่ มจาก รู ปที่ 3. แสดงการทํางานของ Web Server
การกรอก Username และ Password เพื่อทําการยืนยันตัวตน

58
JIST Journal of Information Science and Technology
Volume 8, NO 2 | JUL – DEC 2018 | 56-64

ขั้นตอนการทํางานของ GSM Module จากรู ปที่ 4 เมื่อทําการรับ เพื่อให้ผใู้ ช้งานกรอก Username, Password ในการเข้าสู่ ระบบ
ค่าสถานะมาจากบอร์ด Arduino UNO R3 จะมีการตรวจสอบว่า เมื่อระบบทําการตรวจสอบว่า Username, Password ตรงกับ
ค่าที่ได้รับมานั้นตรงตามเงื่อนไขที่กาํ หนดไว้หรื อไม่ ถ้าไม่ใช่ ฐานข้อมูลระบบจะทําการตรวจสอบสิ ทธิ์ ของผูท้ ี่ทาํ การ login
จะกลับไปทําใหม่ แต่ถา้ ใช่ GSM Module จะทําการส่ งข้อความ ว่ามีสิทธิ์ เป็ น User หรื อ Admin แล้วจะทําการแสดงหน้าเว็บ
ไปยังสมาร์ทโฟน ตามเบอร์ที่ได้กาํ หนดไว้ ตามระดับสิ ทธิ์ของผูใ้ ช้ต่อไป แต่จะมีหน้า Home ที่แสดงข้อมูล
ที่เหมือนกัน สามารถดูข้อมูล การแจ้งเตื อนได้โดยผ่านหน้านี้
แสดงดังรู ปที่ 6

รู ปที่ 6. แสดงหน้ า Home ของการแจ้ งเตือน

ถ้าหากผูใ้ ช้ทาํ การ Login เข้ามาในสิ ทธิ์ Admin จะพบกับหน้า


รู ปที่ 4. แสดงการทํางานของ GSM Module ข้อมูลของอุปกรณ์ Smoke Detector โดยมี id, ชื่ออุปกรณ์, วันที่
ติดตั้ง, วันที่ซ้ื ออุปกรณ์, สถานะ on/off, และมีการบอกถึง
ส่ วนต่อประสานผูใ้ ช้งานเว็บแอพพลิเคชัน่ สําหรั บการเข้าใช้ ตําแหน่ งการติดตั้ง และยังสามารถเพิ่ม, ลบ, แก้ไขอุปกรณ์
งานเว็บแอพพลิเคชั่นนั้น ผูใ้ ช้จาํ เป็ นจะต้องทําการลงทะเบียน แสดงดังรู ปที่ 7
ผ่านหน้าเว็บ เพื่อสร้าง Username, Password และข้อมูลต่างๆ
ของตัวเองขึ้นมาก่อน เพื่อใช้ในการ login เข้าสู่ ระบบ หลังจาก
ทํา การลงทะเบี ย นเรี ยบร้ อ ยแล้ ว ระบบจะนํ า ไปที่ ห น้ า
เข้าสู่ ระบบทันที แสดงดังรู ปที่ 5

รู ปที่ 7. แสดงหน้ าข้ อมูลของอุปกรณ์ Smoke Detector

รู ปที่ 5. แสดงหน้ าเว็บสําหรั บทําการ Login

59
JIST Journal of Information Science and Technology
Volume 8, NO 2 | JUL – DEC 2018 | 56-64

สําหรับหน้า Register for Admin นั้นจะใช้สาํ หรับสมัครสมาชิก ระบบไปยัง IP Address ของเครื่ อง Serverที่เก็บข้อมูลอุปกรณ์
โดยสามารถกําหนดสิ ท ธิ์ ให้กับ ผูใ้ ช้ได้ โดยมี 2 สิ ท ธิ์ คื อ นั้นๆ
Admin, User หน้า Register for Admin จะเปิ ดให้ใช้สาํ หรับผูใ้ ช้
ที่ Login เข้ามาในสิ ทธิ์ Admin เท่านั้น ในหน้านี้ จะมีให้กรอก
ข้อมูล Username, Password, First-name, last-name, Address,
Telephone, E-mail, Permission เป็ นต้น แสดงดังรู ปที่ 8

รู ปที่ 10. แสดง หน้ า Change IP Address

จากรู ปที่11 เป็ นหน้า Menu หลัก โดยแสดงข้อมูลของ Smoke Detector


รู ปที่ 8. แสดงหน้ า Register for Admin ประกอบด้วย ชื่อ, ตําแหน่งที่ติดตั้ง, การแจ้งเตือน (Alert)

ส่ วนต่ อ ประสานผูใ้ ช้งานแอนดรอยด์ หน้า Login และ หน้า


Change IP Address จากรู ปที่ 9 เป็ นหน้าสําหรั บการ Login
โดยผูใ้ ช้งานต้องกรอก Username และPassword เพื่อระบุตวั ตน
ว่าตรงกับ ฐานข้อ มูล ผูใ้ ช้งานหรื อ ไม่ เพื่อ ทํา การเข้า สู่ ร ะบบ
ต่อ ไป โดยในการกรอกUsername และPassword จะมีก าร
ตรวจสอบว่ากรอกข้อมูลครบทุกช่องหรื อไม่ ถ้ามีช่องว่างจะทํา
การแจ้ง เตื อ นให้ ผู้ใ ช้ง านทราบเพื่ อ ระบุ ข้อ มู ล ให้ค รบถ้ว น
หลังจากระบุครบถ้วนแล้ว รู ปที่ 11. แสดงหน้ า Menu ของแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ ทโฟน

จากรู ปที่ 12 เป็ นการแสดงรู ปสถานที่เกิ ดเหตุ เมื่อมีการแจ้ง


เตื อ นเพลิ ง ไหม้ โดยนํ า มาจาก Database มาแสดงบน
แอพพลิเคชัน่ บนสมาร์ทโฟน

รู ปที่ 9. แสดงหน้ า Login

หลังจากเข้าสู่ ระบบแล้ว ระบบจะเข้าไปที่ หน้า Change IP


Address เพื่อทําการกรอก IP ของ Web Server เพื่อทําการ
เชื่ อมต่อกับ Server แสดงดังรู ปที่ 10 เพื่อเป็ นการเชื่ อมต่ อ
รู ปที่ 12. แสดงหน้ า CAMERA

60
JIST Journal of Information Science and Technology
Volume 8, NO 2 | JUL – DEC 2018 | 56-64

จากรู ปที่ 13 เป็ นการแสดงรู ปภาพที่จดั เก็บบนฐานข้อมูลในแต่ละ จากรู ป15 แสดง หน้าการเพิ่มอุปกรณ์ Smoke Detector, ตําแหน่ ง
รู ป เมื่อเกิ ดเหตุเพลิงไหม้ในจุดเกิ ดเหตุน้ ันๆ โดยการบันทึกรู ปที่ ที่ ติ ดตั้ งอุ ปกรณ์ (Location) และพิ นที่ เชื่ อมต่ อกั บ
ถ่ายได้จากกล้องลงฐานข้อมูล โดยมีการอ้างอิงมาจากโฟลเดอร์ ใน ไมโครคอนโทรลเลอร์
ไดร์ C:\out ซึ่ งเป็ นโฟลเดอร์ ที่ มี การเก็ บรู ปที่ ถ่ ายได้ไว้ มี การ
ตรวจสอบว่าชื่อซํ้าหรื อไม่ หากซํ้าจะไม่มีการบันทึกลงฐานข้อมูล
แต่ถา้ ไม่ซ้ าํ จะทําการบันทึกลงฐานข้อมูล

รู ปที่ 15. แสดงหน้ า การเพิ่มอุปกรณ์

จากรู ปที่ 16 แสดงหน้าการแก้ไข และลบข้อมูลอุปกรณ์ เพื่อที่จะ


สามารถแก้ไขชื่ อ สถานที่ ติดตั้ง ของอุปกรณ์ ชุดนั้นๆ เพื่อแก้ไข
รู ปที่ 13. แสดงรู ปภาพจากฐานข้ อมูล ข้อมูลที่ผิดพลาด ผูใ้ ช้ที่มีสิทธิ์ เป็ น Admin เมื่อเชื่ อมต่อกับระบบ
จะสามารถแก้ไขอุปกรณ์ได้ หรื อต้องการลบอุปกรณ์เมื่อไม่มีการ
จากรู ปที่14 แสดงหน้า ชื่ ออุปกรร์ Smoke Detector รวมถึงแสดง ติดตั้งอุปกรณ์ชุดนั้นๆในระบบแล้ว โดยผูใ้ ช้ที่มีสิทธิ์ เป็ น Admin
ตําแหน่งที่ติดตั้ง และการแจ้งAlert ว่าจุดไหนมีการตรวจพบควัน เมื่อต้องการลบอุปกรณ์ ระบบจะทําการแจ้งเตือนการยืนยันคําสั่ง
ว่าต้องการที่จะลบใช่หรื อไม่ เพื่อป้ องกันความผิดพลาด

รู ปที่ 14. แสดงหน้ า Locationการแจ้ งเตือน

รู ปที่ 16. แสดงหน้ า แก้ ไขและลบข้ อมูลอุปกรณ์

61
JIST Journal of Information Science and Technology
Volume 8, NO 2 | JUL – DEC 2018 | 56-64

จากรู ปที่ 17 แสดงหน้าคู่มือการใช้งานในส่ วนต่างๆของระบบ โดย สํา หรั บ การถ่ า ยภาพนั้น จะทํา งานก็ ต่อ เมื่อ ตรวจพบควัน ไฟ
แบ่งรายละเอียดการใช้งานเป็ น 4 เมนู คือ เมนู Smoke Detector เป็ น กล้องจะทําการถ่ายภาพจํานวน 6 ภาพ โดยมีขอ้ จํากัดคือ รู ปที่
การอธิ บายเกี่ ยวกับรุ่ น Smoke Detector, Pin ที่ติดตั้ง, Location ได้จะเป็ นสี ขาว–ดํา และขนาดของรู ปภาพจะมีขนาด 240x320
รวมถึงรายละเอียดคู่มือของรุ่ นอุปกรณ์ น้ ันๆ เมนู Camera แสดง pixels เท่านั้น ดังรู ปที่ 19
รายละเอียดการใช้งานการเปิ ด-ปิ ดกล้อง การเข้าดูเมนู รูปภาพใน
ฐานข้อมูลที่ จัดเก็บรู ปภาพเมื่อเกิ ดเหตุ ข้ ึ น เมนู Alarm เป็ นการ
แสดงรายละเอี ยดการแจ้งเตื อนโดยจะแจ้งจากการตรวจสอบ
สถานะของตั ว อุ ป กรณ์ สถานะการแจ้ ง เตื อ นสี (แดง,เขี ย ว)
รายละเอียดช่ องทางการติดต่อบุคคลอื่นจากรายการโทรศัพท์บน
แอนดรอยด์ รวมถึงคู่มือการแจ้งเตือน SMS สุ ดท้ายคือส่ วนของ
เมนู About คือผูพ้ ฒั นาโดยมีขอ้ มูลชื่อ, อีเมลและเบอร์ โทรศัพท์ที่
สามารถติดต่อได้

รู ปที่ 19. แสดงภาพถ่ ายบริ เวณที่เกิดเหตุ

การศึกษาสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับระบบแสดงดังตารางที่1
ตารางที่ 1. แสดงการศึกษาสภาพแวดล้ อมที่เหมาะสมกับระบบ

สภาพแวดล้ อมที่ควร สภาพแวดล้ อมที่ไม่ ควร


ติดตั้ง ติดตั้ง
1. ห้องที่มีอุปกรณ์ไฟฟ้ า 1. สถานที่สูบบุหรี่
รู ปที่ 17. แสดงหน้ า คู่มือการใช้ งาน 2. ห้องเอกสาร 2. ห้องครัว
3. ห้องพระ 3. ห้องนํ้า
3. ผลการทดลองและการอภิปราย 4. ห้องเก็บของ
สํา หรั บ การแจ้ง เตื อ นแบบ SMS นั้ นเมื่ อ อุ ป กรณ์ Smoke
Detector ตรวจพบควัน ระบบจะทําการส่ ง SMS ไปยังผูใ้ ช้ที่มี หมายเหตุ : ไม่ค วรติ ด ตั้ง ในที่ ที่ มีแ สงแดดมากเกิ น ไป หรื อ
ส่ วนเกี่ยวข้อง แสดงดังรู ปที่ 18 ใ น ส ถ า น ที ่ ที ่ ม ีค วา ม ชื ้ น แ ล ะ ใ น ส ถ า น ที ่ ที ่ ม ีอ ุ ณ หภูมิ
เปลี่ ยนแปลงตลอดเวลา เช่ น เย็น จัด, ร้ อ นจัด เป็ นต้น เพราะ
จะทําให้เซ็ นเซอร์ ตรวจจับควันไฟผิดพลาด หรื อ จะทําให้ตัว
เซ็ น เซอร์ เสี ยได้

จากตารางที ่ 2 แสดงผลการทดลองการทํา งานโดยใช้


Android Emulator ที่ รองรั บ ระบบ

รู ปที่ 18. แสดงSMS การแจ้ งเตือน

62
JIST Journal of Information Science and Technology
Volume 8, NO 2 | JUL – DEC 2018 | 56-64

ตารางที่ 2. แสดงการใช้ งานบน Android Emulator ติดตั้งอยู่สูงกว่าพื้นห้อง เพื่อแก้ไขปั ญหาการส่ งข้อมูลระหว่าง


รุ่ น ชื่อรุ่ น ระดับ API การทํางาน อุปกรณ์ ซึ่งถ้าสายไฟยาวเกินไปข้อมูลสถานะตรวจจับควันอาจ
Android 4.4w KitKat Wear API 20 × สู ญหายได้
Android 5.0 Lollipop API 21  ตารางที่4. แสดงผลการทดสอบการทํางานในส่ วนต่ างๆของระบบ
Android 5.1 Lollipop API 22  การ
ลําดับ หัวข้ อหลัก หัวข้ อรอง
Android 6.0 Marshmallow API 23  ทํางาน
Android 7.0 Nougat API 24  ความสู งที่ 1
การทดสอบการ 
Android เมตร
Nougat API 25  1 ตรวจจับควันไฟ
7.1.1 ความสู งที่ 2
ที่ระยะความสู ง 
Android 8.0 O API 26 × เมตร
Android API สถานะปกติ
API 27 API 27 × การทดสอบการ 
27 Normal
2 แจ้งเตือนบนหน้า
สถานะเมื่อตรวจ
เว็บไซต์ 
หมายเหตุ :  สามารถทํางานได้, × ไม่สามารถทํางานได้ พบควันไฟ Alert
จากตารางที่ 2 นั้น Android ที่มีเวอร์ ชน่ั เก่ากว่ารุ่ น Android 5.0 ส่ งข้อความไปยัง
(Lollipop) ระดับ API 21 ไม่รองรับการทํางานของแอพพลิเคชั่น โทรศัพท์มือถือ 
การทดสอบการ
และไม่ ส ามารถทํา งานได้ใ นเวอร์ ช่ัน ที่ ใ หม่ก ว่ารุ่ น Android 1 เครื่ อง
3 ส่ งข้อความแจ้ง
7.1.1 (Nougat) ระดับ API 25 ส่ งข้อความไปยัง
เตือน (SMS)
โทรศัพท์มือถือ 
ตารางที่ 3. แสดงความสูงและเวลาการแจ้ งเตือนเมื่อตรวจพบควัน 2 เครื่ อง
การทดสอบการ
ระยะความสู ง เวลาการแจ้ งเตือน 4 - 
ถ่ายภาพ
1 เมตร 35 วินาที
การทดสอบเปิ ด
2 เมตร 48 วินาที
5 รู ปผ่านระบบ - 
Android
จากตารางที่ 3 แสดงการทดสอบการทํางานของ Smoke Detector
จากการเผาไหม้ข องกระดาษ A4 จํา นวน 2 แผ่น เพื่ อ วัด
จากตารางที่ 4 ลําดับที่ 1 การทดสอบการตรวจจับควันไฟที่
ระยะเวลาการแจ้งเตือน จากการทดสอบที่ระยะความสู ง 1 เมตร
ระยะความสู งที่ 1 เมตรและ 2 เมตร สามารถทํางานได้ปกติ จาก
และ 2 เมตรนั้น จะเห็น ได้ว่าเวลาการแจ้งเตือ นมีความต่ างกัน
ลําดับที่ 2 การทดสอบการแจ้งเตือนบนหน้าเว็บ ไซต์ สถานะ
โดยมีระยะเวลาระหว่าง 1-20 วินาทีถือว่าสามารถแจ้งเตือนได้
ปกติ (Normal) และสถานะเมื่ อ ตรวจพบควัน ไฟ (Alert)
เร็ วมาก, เวลาระหว่า ง 20-30 วิน าที ถื อ ว่าค่ อ นข้า งเร็ ว, เวลา
สามารถทํา งานได้ป กติ จากลํา ดับ ที่ 3 การทดสอบการส่ ง
ระหว่าง 30-40 วินาทีถือว่าปกติ แต่ถา้ เวลามากกว่า 40 วินาที
ข้อ ความแจ้ง เตื อ น (SMS) ส่ ง ข้อ ความไปยัง โทรศัพ ท์มื อ ถื อ
ขึ้นไปถือว่ามีการแจ้งเตือนที่ชา้ ซึ่ งอาจเกิ ดจากความหนาแน่ น
เครื่ องที่ 1 และเครื่ องที่ 2 สามารถทํางานได้ปกติ จากลําดับที่ 4
ของควันที่มีการสันดาปที่สมบูรณ์จากการเผาไหม้ของกระดาษ
การทดสอบการถ่ายภาพ สามารถทํางานได้ปกติ จากลําดับที่ 5
ข้อจํากัดของการทดสอบคือ ระยะความสู งที่มีผลต่อสายไฟ ที่
การทดสอบเปิ ดรู ปภาพผ่านระบบ Android สามารถทํางานได้ปกติ
ทําการเชื่ อมต่ อระหว่างอุป กรณ์มีขอ้ จํากัดที่ ระยะความสู งไม่
เกิ น 2 เมตรจากพื้น ห้อ ง แต่ ถ ้า ในกรณี ที่ เพดานมีค วามสู ง
มากกว่า 2 เมตร จะต้องทําการติดตั้งในจุดที่เหมาะสม หรื อจุด

63
JIST Journal of Information Science and Technology
Volume 8, NO 2 | JUL – DEC 2018 | 56-64

4. บทสรุ ป [3] ศุภชัย สมพานิช, “คู่มือพัฒนาแอพพลิเคชัน่ ด้วย Android


การพัฒ นาระบบเฝ้ าระวัง เหตุ เ พลิ ง ไหม้ใ นอาคารนั้ น จาก Studio ฉบับโปรแกรมเมอร์” บริ ษทั ไอดีซี พรี เมียร์ จํากัด,
การ ศึ กษ า แ ละท ดลอ ง ร ะบบ สามารถ แสดงสถ าน ะ นนทบุรี, พิมพ์ครั้งที่ 1, 2559
การแจ้งเตือ นจาก Smoke Detector ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ [4] ธีรวุธ จิตพรมมา, “เริ่ มต้นเรี ยนรู้และพัฒนาอุปกรณ์ Internet
ระบบสามารถทําการแจ้งเตือนข้อความไปยังผูใ้ ช้งานหรื อผูท้ ี่ of Things (IoT) กับ NodeMCU” บริ ษทั อินโนเวตีฟ เอ็กเพ
เกี่ ยวข้อ งได้ นอกจากนี้ ระบบสามารถทําการบัน ทึ ก ภาพจาก อริ เมนต์ จํากัด, กรุ งเทพ, พิมพ์ครั้งที่ 1, 2521
กล้อง โดยผูใ้ ช้งานสามารถดูรูปจุดเกิดเหตุเพลิงไหม้ผ่านแอพ [5] G. K. Baddewithana, G. A. H. S. Godigamuwa, P. S. Gauder,
พลิเคชันบนสมาร์ ทโฟนได้ ข้อจํากัดของระบบเฝ้ าระวังเหตุ D. C. N. Hapuarachchi, Udaya Dampage, R.
เพลิงไหม้ในอาคาร คือบอร์ ด Arduino UNO R3 มีขา Digital Wijesiriwardana, "Smart and automated fire and power
I/O เพียง 14 Pin และ Analog I/O เพียง 6 Pin ทําให้การที่จะเพิ่ม monitoring system", Industrial and Information Systems (ICIIS)
อุปกรณ์เข้าไปในระบบนั้น ไม่เพียงพอหรื อไม่มี Pin สําหรับต่อ 2013 8th IEEE International Conference on, 2013. pp. 542-
อุปกรณ์การใช้งานเพิ่มเติมได้ การพัฒนาในอนาคตอาจต้องใช้ 547
บอร์ ดไมโครคอนโทรลเลอร์ ที่รองรับขาดิจิตอลได้มากขึ้นใน [6] XU Xiaohu, ZHENG Xin, ZHAO Hairong. “On the
กรณี การสื่ อสารข้อมูลแบบมีสาย หรื อพัฒนาระบบให้สามารถ reliability of automatic fire detection and alarm systems”,
รองรั บ การทํา งานแบบไร้ ส ายได้ต่อ ไป ในส่ วนของการแจ้ง Journal of Safety and Environment, 2012. pp.149-153.
เตือนข้อความ SMS ควรมีการจํากัดจํานวนผูร้ ั บข้อความ [7] Sun Li, Bo Wang, Liming Gong, Zhiqiang Zhou, Hailuo Wang,
เพราะถ้ามีการส่ ง SMS ที่มากเกิ นไป จะทําให้การทํางานใน “A novel smoke detection algorithm based on MSER tracking”,
ส่ วนของการถ่ายภาพนั้นช้าลง เนื่ องจากจะต้องรอการทํางาน The 27th Chinese Control and Decision Conference
ในส่ วนของการส่ ง SMS ให้ครบตามจํานวนผูร้ ับทั้งหมดก่อน จึง (CCDC), 2015.
จะสามารถทําการถ่ายภาพต่อไปได้ [8] Sarita Gupta, “Design and Development of Automatic Fire
การพัฒนาต่ อในอนาคต มี ก ารจัด การให้ ร ะบบจัด เก็ บ Alert System”8th International Conference on
ข้อมูลว่าผูใ้ ช้คนใดเป็ นคนแก้ไขข้อมูลอุปกรณ์, พัฒนาให้การ Computational Intelligence and Communication Networks
ถ่ ายภาพมี ความเสถี ยรภาพมากยิ่งขึ้ น รวดเร็ ว มากขึ้ น เช่ น (CICN), 2016
การนํากล้อง IP Camera เข้ามาใช้งาน, พัฒนาให้ระบบมีการ [9] Khurana Shreyl, “IOT Based Safety and Security System”
เชื่ อ มต่ อ เครื อข่ า ยอื่ น ๆได้ เพื่ อ ที่ จ ะสามารถรองรั บ รั บ การ International Journal of Advance Research, Ideas and
แจ้งเตือนข้ามเครื อข่ายได้, พัฒนาให้สามารถรองรับทํางานบน Innovations in Technology, Volume3, Issue3, 2017
ระบบปฏิ บ ัติก าร iOS , ปรั บ เปลี่ ยน Interface ให้มีความ [10] ยุทธนา ดีเทียน, “ระบบแจ้งเตือนเหตุอคั คีภยั ผ่านเครื อข่าย
สวยงามมากยิ่งขึ้น และออกแบบระบบให้สามารถใช้งานและ โทรศัพท์เคลื่อนที่” การประชุมวิชาการและนําเสนอ
ติดตั้งได้ง่ายขึ้นต่อไป ผลงานวิจยั ระดับชาติราชธานีวชิ าการ ครั้งที่ 2, 2560

เอกสารอ้ างอิง
[1] ลือชัย ทองนิล, “การออกแบบและติดตั้งระบบแจ้งเหตุเพลิง
ไหม้” บริ ษทั ส.เอเชียเพรส จํากัด (1989), กรุ งเทพฯ, พิมพ์ครั้ง
ที่ 4, 2554
[2] รศ.ต่อตระกูล ยมนาค, “มาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้”
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์,
กรุ งเทพ, พิมพ์ครั้งที่ 1, 2551

64

You might also like