You are on page 1of 36

บทที่ 9 จริยธรรมในการประกอบธุรกิจ

จริยธรรม คือ ความระลึกได้ในการมีสติ ประพฤติปฏิบัติสิ่งดีงาม ไม่ก่อความเดือนร้อนในการดำเนินชีวิตและการ


ประกอบสัมมาอาชีพของตน
จรรยาบรรณ หมายถึง การประพฤติตนตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับของสังคม ปฏิบัติตามที่กฎหมายกำหนด
จริยธรรมของนักธุรกิจ
ส่วนที่ 1 พฤติบัญญัติ หลักปฏิบัติ
ส่วนที่ 2 ข้อพึงปฏิบัติของการจัดการที่ดี
 การแสวงหากำไรต้องคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้
1. กำไรที่ได้มาต้องไม่เอารัดเอาเปรียบส่วนรวม
2. กำไรที่ได้มาต้องไม่มีส่วนในการทำลายธรรมชาติ
3. กำไรที่ได้มาต้องเสริมสร้างความเป็นปึ กแผ่นของสังคม
4. กำไรที่ได้มาต้องคำนึงถึงองค์ประกอบที่จำเป็นต่อความเป็นมนุษย์
ธุรกิจกับจริยธรรม
 ธุรกิจไม่เพียงต้องดำเนินตามกฎหมายเท่านั้น จะต้องมีจริยธรรมประกอบด้วย
 ธุรกิจต้องรับผิดชอบต่อสินค้าและบริการที่จำหน่ายให้แก่ผู้บริโภค
 การกระทำผิดจริยธรรมบางอย่างไม่มีกฎหมายห้ามไว้
 การตัดสินคุณค่าทางจริยธรรม
กรณีตัวอย่าง
 เหตุการณ์การปนเปื้ อนของสารเมลามีนในผลิตภัณฑ์ต่างๆ โดยเฉพาะในนมผง ซึ่งทำให้เด็กชาวจีนที่
รับประทานเข้าไปเจ็บป่ วยมากกว่า 2 แสนคน ในจำนวนนี้กว่า 5 หมื่นคนต้องเข้ารักษาตัวในโรง
พยาบาลจากอาการปัสสาวะขัด และมีเด็กทารกที่อาการรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต 6 คน
กรณีตัวอย่าง

ตัวอย่างสินค้าที่ Health Canada เรียกคืน


เนื่องจาก มีตะกั่วสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด
กรณีตัวอย่าง

กรณีผู้ผลิตรถบรรทุกมิตซูบิชิฟูโซ่รู้ว่าเพลาและคลัชท์ที่ผลิตขึ้นมีปัญหาแต่ก็ไม่รีบเรียกสินค้าคืนส่งผลทำให้เกิดอุบัติเหตุมี
ผู้เสียชีวิตเมื่อ ๔-๕ ปี ก่อนทำให้บริษัทเสื่อมเสียชื่อเสียง และขาดทุนมหาศาล
กรณีฮีทเตอร์ของบริษัทมัตสุชิตะอิเล็กทริคเป็ นต้นเหตุทำให้เกิดไฟไหม้ ผู้ผลิตทำการเรียกสินค้าคืนจากผู้บริโภคทันที
กรณีบริษัทซันโยที่ผลิตแบตเตอรี่สำหรับคอมพิวเตอร์แล้วเกิดปัญหาไฟฟ้ าลัดวงจร...เขาก็แสดงความรับผิดชอบด้วยการ
ประกาศเรียกคืนสินค้า
กรณียางของบริดจสโตนมีปัญหาทำให้รถกระบะของฟอร์ดเกิดอุบัติเหตุแก่ผู้ขับขี่ ผู้บริหารของบริดจสโตนบินไปฟังการ
ประชุมกับตัวแทนของฟอร์ดและชี้แจงข้อเท็จจริงผลของการทดสอบยาง รวมทั้งเรียกสินค้ายางรุ่นที่มีปัญหาออกจากตลาด
ด้วยความสมัครใจทันที
กรณีตัวอย่าง
การกระทำที่ "ถูกกฎหมายแต่ผิดศีลธรรม“
-อาชีพการขายบริการทางเพศ
- การขายหวยบนดิน
- ฆ่าสัตว์ขาย
- ขายอาวุธ
-ขายสุรา
- ขายสัตว์ที่ผู้ซื้ อจะนำไปฆ่า
- อาชีพทนายความ
- อาชีพทำประมง โรงฆ่าสัตว์
คุณธรรมที่ส่งเสริมการดำเนินธุรกิจ

 ความไว้วางใจเชื่อในพฤติกรรมของผู้อื่น ขาดการหวาดระแวง
 การควบคุมตนเองดำเนินการอย่างมีคุณธรรมด้วยตนเอง
 ความเห็นอกเห็นใจสามารถคาดคะเนความต้องการของลูกค้าได้ถูกต้อง
 ความยุติธรรมความชอบธรรม
 ความจริงใจการให้ข้อมูลที่ถูกต้อง
มาตรฐานจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจ

มาตรฐานของจริยธรรมที่แท้จริง มาตรฐานจริยธรรมตามตัวบทกฎหมาย

• ลัทธิความสัมบูรณ์นิยม • กฎระเบียบต่าง ๆ
• ความดีเป็นสากล อยู่ที่ตัวของมัน • เช่น พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน
เองไม่ขึ้นกับสภาพแวดล้อม • พ.ร.บ.คุ้มครองผู้บริโภค
• ลัทธิสัมพัทธ์นิยม
• ความดีขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม
• ลัทธิประโยชน์นิยม
• ความดีขึ้นอยู่กับประโยชน์ของ
ส่วนรวม
กฎบัตรจริยธรรม

คือ ตราสารที่กำหนดจริยธรรมหรือจรรยาบรรณ
จำแนกได้ 4 ประเภท
1. กฎบัตรจริยธรรมของบุคคลข้อควรประพฤติปฏิบัติของบุคคลในบริษัท
2. กฎบัตรจริยธรรมของบริษัทข้อควรปฏิบัติโดยรวมของบริษัท
3. กฎบัตรจริยธรรมในวงการ แต่ละวงการควรมีกฎบัตรจริยธรรมของวงการนั้น ๆ
4. กฎบัตรจริยธรรมวิชาชีพ จะเป็นตราสารที่กำหนดจริยธรรมของวิชาชีพต่างๆ เช่น จรรยาบรรณ
บุคคล

กฎบัตร
บริษัท วงการ
จริยธรรม

วิชาชีพ
บทบาทนักธุรกิจด้านจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจ

บทบาทนักธุรกิจต่อ บทบาทนักธุรกิจต่อ บทบาทนักธุรกิจต่อ


ลูกค้า พนักงาน คู่แข่งขัน

บทบาทนักธุรกิจต่อ บทบาทนักธุรกิจต่อ บทบาทนักธุรกิจต่อ


หน่วยงานราชการ สังคม นักธุรกิจ
บทบาทนักธุรกิจต่อลูกค้า

 ขายสินค้าและบริการในราคายุติธรรม
 ขายสินค้าและบริการให้ถูกต้อง และมีความรับผิดชอบ
 ดูแลและให้บริการลูกค้าอย่างเท่าเทียม
 ไม่ควบคุมการตัดสินใจของลูกค้า
 ไม่กระทำการเพื่อทำให้ราคาสินค้าสูงขึ้นโดยไม่เหตุผล
 ปฏิบัติต่อลูกค้า ให้บริการอย่างมีน้ำใจมีอัธยาศัยที่ดี
บทบาทนักธุรกิจต่อพนักงาน

 เคารพสิทธิส่วนบุคคลและความสามารถของพนักงาน
 ให้ค่าตอบแทนที่ยุติธรรม
 ให้ความเป็นธรรมในการปกครอง
 เอาใจใส่ต่อสวัสดิการ สิ่งแวดล้อม บรรยากาศ สถานที่ทำงาน สภาพการทำงาน ตลอดจนสภาพความเป็นอยู่
 ให้เกียรติ ให้ความเชื่อถือ
 พัฒนาให้ความรู้
 ศึกษาและทำความเข้าใจลักษณะนิสัยและความสามารถ
 ให้คำแนะนำ ช่วยเหลือ
 สนับสนุนความประพฤติที่ดี
กรณีตัวอย่าง
การดูแลพนักงานระหว่างประสบภัยน้ำท่วม บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือเอไอเอส ได้รับ
การจัดอันดับเป็น "นายจ้างดีเด่นแห่งประเทศไทย ปี 2554 อันดับที่ 1" โดยเอออน ฮิววิท แอซโซซิเอทส์แห่งประเทศไทยร่วมมือกับ
สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

"ทิพวรรณ ศิริคูณ" ผู้อำนวยการสำนักบริหารทรัพยากรบุคคล เอไอเอส เล่าว่า เอไอเอสเป็ นบริษัทที่ใส่ใจและดูแล


พนักงานเป็ นอย่างดี โดยในภาวะนี้การช่วยเหลือดูแลพนักงานของเอไอเอส มี 2 ส่วน

ส่วนแรก คือ สวัสดิการพื้นฐานตามระเบียบบริษัท ซึ่งมีสวัสดิการช่วยเหลือเมื่อประสบภัยพิบัติให้กับพนักงาน อยู่แล้ว โดยถ้าบ้าน


พนักงานได้รับความเสียหาย บริษัทให้เงินช่วยเหลือ 25,000 บาทต่อราย นอกจากนี้ถ้าบ้านพ่อแม่ได้รับความเสียหายจากภัยพิบัติ
บริษัทออกให้อีก 5,000 บาทต่อราย

ส่วนที่ 2 คือการช่วยเหลือในยามฉุกเฉิน เช่น ขณะนี้เอไอเอสทำหลายอย่างมาก อาทิ การจัดที่พักให้พนักงานระหว่างน้ำท่วม โดย


ตั้งแต่วันที่ 17-31 ตุลาคม บริษัทได้เช่าโรงแรมในย่านประดิพัทธ์-สะพานควาย ให้กับพนักงานจำนวน 250 ห้อง พร้อมจัดรถรับส่ง

ส่วนพนักงานที่ไม่สะดวกย้ายมาอยู่ในย่านที่จัดให้ สามารถใช้สิทธิเบิกค่า ที่พักได้ไม่เกิน 800 บาทต่อคืน โดยขณะนี้


บริษัทสำรองค่าที่พักให้พนักงานที่บ้านถูกน้ำท่วมจนถึงวันที่ 10 พฤศจิกายน
บทบาทนักธุรกิจต่อคู่แข่งขัน
 ละเว้นการกลั่นแกล้งให้ร้ายป้ ายสี
 ให้ความร่วมมือในการแข่งขัน เพื่อสร้างสภาวะตลาดที่ดี
บทบาทนักธุรกิจต่อหน่วยราชการ
 ทำธุรกิจกับหน่วยงานราชการอย่างตรงไปตรงมา
 ปฏิบัติตามข้อกำหนดของกฎหมาย
 ละเว้นการติดสินบน
 ละเว้นการให้ความร่วมมือ การกระทำของข้าราชการที่เจตนาทุจริต
 ละเว้นการให้ของขวัญของกำนัล
 ให้ความร่วมมือกับหน่วยราชการในการทำหน้าที่พลเมืองดี
 มีทัศนคติที่ถูกต้องและมีความเชื่อต่อหน่วยราชการ
บทบาทนักธุรกิจต่อสังคม
 ละเว้นการประกอบธุรกิจที่ทำลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
 ละเว้นการประกอบธุรกิจที่ทำให้สังคมเสื่อมเสีย
 เคารพในสิทธิทางปัญญาของผู้อื่นหรือธุรกิจอื่น
 เอาใจใส่การประกอบกิจการของตน ไม่ให้เกิดมลภาวะต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
 สนใจในเรื่องการจ้างงานแก่ชุมชน
 ให้ความร่วมมือกับทุกฝ่ ายในชุมชน
บทบาทนักธุรกิจต่อนักธุรกิจ
 ให้เกียรติซึ่งกันและกัน
 เอื้อเฟื้ อต่อกัน
 สร้างความสามัคคี
การดำเนินธุรกิจอย่างมีจริยธรรม
 เว้นจากการเบียดเบียนลูกค้า
 เว้นจากการเบียดเบียนผู้จัดหาสินค้าหรือวัตถุดิบ
 เว้นจากการเบียนพนักงาน
 เว้นจากการเบียดเบียนผู้ถือหุ้นหรือเจ้าของ
 เว้นจากจากเบียดเบียนคู่แข่ง
 เว้นจากการเบียดเบียนราชการ
 เว้นจากการเบียดเบียนสังคม
 เว้นจากการเบียดเบียนสิ่งแวดล้อม
การดำเนินธุรกิจที่ละเมิดต่อจริยธรรม
 การประกอบธุรกิจด้วยความละโมบ  ไม่ได้คงสภาพแวดล้อมให้เหมือนเดิม หรือเพิ่มคุณค่าหลังจาก
 การปกปิ ดความเป็นจริงในรายงาน/การดำเนินงาน ได้ประโยชน์
 การให้ความเท็จหรือความจริงที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับสรรพคุณ  ระบุข้อเด่นของงาน/โครงการที่ผิดจากความเป็นจริง เพื่อ

ของสินค้า ต้องการการสนับสนุนหรือการยอมรับ
 ไม่ได้ตอบแทนลูกจ้างในสัดส่วนที่สอดคล้องกับประโยชน์ที่
 ไม่ทำตามสัญญาหรือข้อตกลง
ได้รับจากลูกจ้าง
 ผลิตสินค้าหรือบริการที่มีคุณภาพต่ำ  เลื่อนตำแหน่งของพนักงานด้วยวิธีการที่ไม่เกี่ยวข้องกับความ
 บังคับให้ปฏิบัติตามคำสั่งผู้มีอำนาจ แม้คำสั่งจะผิดจริยธรรม สามารถในการทำงาน
หรือไม่เป็นธรรม  ไม่รับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นต่อลูกจ้าง
 กำหนดราคาสินค้าไม่เป็นธรรม  ดำเนินการหรือให้ความร่วมมือในกิจกรรมที่ไม่เกิดประโยชน์
 กดขี่ไม่ให้สิทธิขั้นพื้นฐานแก่ผู้ร่วมงาน ต่อบริษัท
 ผลิตสินค้าที่สร้างมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม
พฤติกรรมที่จัดว่าขาดจริยธรรม
สภาพการทำงานที่ไม่ปลอดภัย
การทำการค้าหลอกลวง
การนำความลับขององค์กรไปเปิ ดเผย
การละเมิดสิทธิส่วนบุคคล
การส่งมอบสินค้าที่มีคุณภาพต่ำหรือไม่ปลอดภัย
การจ้างงานโดยมีการแบ่งแยก
การล่วงละเมิดทางเพศ
การเปลี่ยนแปลงคุณภาพสินค้า
การละเมิดต่อต้านการผูกขาดและการแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม
การทำลายสิ่งแวดล้อม
องค์ประกอบของจริยธรรม

จริยธรรม คือ ความระลึกได้ในสิ่งที่ควรแสดงออกทางกาย วาจา ใจที่เหมาะสมและสมควร องค์ประกอบของ


จริยธรรมสามารถแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้
1.ความรู้เชิงจริยธรรม หมายถึง การรับรู้ซึ่งพฤติกรรมการแสดงออกของตนว่าพฤติกรรมใดเป็นพฤติกรรมที่ดีควร
แสดงออก ไม่ก่อให้เกิดผลเสียกับใครอีกทั้งส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีของผู้ที่แสดงออก และการมีความยับยั้งชั่งใจไม่แสดงออกซึ่ง
พฤติกรรมที่ไม่ดี
2.เจตคติเชิงจริยธรรม หมายถึง ความรู้สึกนึกคิดของแต่ละบุคคลที่มีทัศนคติ ประเพณีความเชื่อเข้ามาหล่อหลอมให้
เชื่อและปฏิบัติตาม ความเชื่อและประสบการณ์ยังคมมีอยู่แต่สิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปตามสังคมและสภาพความเป็นอยู่ในสังคม
ต่างๆ
3. เหตุผลเชิงจริยธรรม เกิดขึ้นจากการประมวลผลของสมองในการรับรู้ตีความการใช้หลักเหตุและผลของการ
เลือกที่จะกระทำหรือไม่กระทำกิจกรรมใด ส่วนหนึ่งมาจากจิตใต้สำนึกที่ถูกสั่งสม อบรมเลี้ยงดูให้เกิดการยั้งคิด คิดอย่าง
รอบคอบ มุมมองในการมองเหตุการณ์ต่าง ๆ

4. พฤติกรรมเชิงจริยธรรม หมายถึง การแสดงออกซึ่งกิจกรรมต่างๆ ที่สังคมยอมรับ ว่าการแสดงออกนั้นเป็น


บุคคลที่มีจริยธรรมในการดำรงชีวิต เป็นบุคคลตัวอย่างในการประพฤติปฏิบัติดีงาม
การปลูกฝังจริยธรรมในการดำเนินชีวิต
จริยธรรมพื้นฐานที่ใช้ในการดำเนินชีวิต
ความแตกต่างระหว่างจริยธรรมกับกฎหมาย

Ýø÷
ĉí øøö ÖãĀöć÷
1.Ýø÷ ĉí øøöđÖĉéÝćÖÖćøĂï øöđúĊ ÷ÜéÖ
Ě ǰ ćøðúĎ
Ď ÖñĆ
Ü 1. ÖãĀöć÷ëÖĎÖĞ ćĀî é×îċ
ĚÝćÖñšöĎÙ
ĊüćöøĎ šßšÿĞ
Ĕ ćĀøĆï
ðäïĉê Ćêî
ĉ đðŨî Ēï ï Ă÷Š
ćÜìéęĊ
Ċ Ùüï ÙčöóùêÖ
ĉøøöđóČ Ă
ęĔĀšÖćøĂ÷ĎøüöÖĆ
Š î Ĕî ÿĆ
ÜÙööĊ
ÙüćöđðŨî øđ
ąï ÷Ċï đø÷
Ċï øšĂ÷
2. Ýø÷ ĉí øøöđðŨî đÙøČ
Ă
ęÜÙüï ÙčöĕöŠĔĀšöî č
þ÷ŤĒÿéÜ 2. ÖãĀöć÷đðŨ î đÙøČ
Ă
ęÜöČĂÖĞćĀî éï ì úÜìē þì Ùęî
Ċ
óùêÖ ĉøøöĂîĆßü Ć
ęøšć÷×ĂÜêî ĂĂÖöć Ĕî ÿĆ
ÜÙöÝąĕéšøĆ
ï đöČ
Ă
ęÖøìąĞ ćÙüćöñé ĉ
3. ï čÙÙúì ĊĕöŠ
ę ðøóùą êêîĉ đðŨî Ùî öÝ
Ċĉø÷í øøöÝą 3. ÖãĀöć÷öïĊì úÜì ē þì ßęĆ
ĊéđÝî Ĕî åćî Ùüćöñé ĉ
ĕéšøïĆï ì úÜìē þì ćÜÿĆÜÙöÙǰ üćöøčî ĒøÜ×ĂÜ ×ĂÜđêč
Ā ÖćøèŤĒêŠ úąđêč
Ā ÖćøèŤ
ï ì úÜìē þ×îċĚĂ÷Š Ö
ĎĆ
ï óùêÖ
ĉøøöì Öęøì
Ċ ąĞ ć
ผู้มีส่วนได้เสียของธุรกิจ
มีส่วนได้เสียของธุรกิจ คือ บุคคลที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจทั้งทางตรงและทางอ้อม ผู้มีส่วนได้เสียสามารถแบ่งออก
เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่
1.ผู้มีส่วนได้เสียโดยตรงกับธุรกิจ
1.1 ลูกจ้างหรือพนักงาน
1.2 ถือหุ้นและเจ้าของ
1.3 ลูกค้า
1.4 ผู้จำหน่ายวัตถุดิบ
1.5 คู่แข่ง
1.6 ผู้จำหน่ายสินค้า
1.7 เจ้าหนี้
2.ผู้มีส่วนได้เสียโดยอ้อมกับธุรกิจ
2.1 ชุมชนโดยรอบธุรกิจ
2.2 รัฐบาล
2.3 สมาคมการค้าต่างๆ
จรรยาบรรณของนักธุรกิจ
จรรยาบรรณของนักธุรกิจ หมายถึง การประพฤติที่นักธุรกิจต้องปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับของสังคม
ปฏิบัติตามที่กฎหมายกำหนด จรรยาบรรณของนักธุรกิจมีการกำหนดโดยบทบาทที่ต้องแสดงออกซึ่งบุคคลที่เกี่ยวข้อง

1.จรรยาบรรณของผู้ประกอบการต่อพนักงาน
2.จรรยาบรรณของพนักงานมีต่อผู้ประกอบการ
3.จรรยาบรรณของผู้ประกอบธุรกิจต่อผลิตภัณฑ์
4.จรรยาบรรณของผู้ประกอบธุรกิจต่อลูกค้า
5.จรรยาบรรณของผู้ประกอบธุรกิจต่อคู่แข่ง
6.จรรยาบรรณของผู้ประกอบการต่อหน่วยราชการ
การสร้างจริยธรรมในองค์การธุรกิจ
การออกแบบวิธีการปฏิบัติงานที่ลดโอกาสการเกิดการทุจริตในงานแผนกต่างๆ การสร้างให้บุคลากรในองค์การเป็นผู้มี
จริยธรรม สามารถทำได้ ดังนี้
1.การสร้างจรรยาบรรณ เป็นขั้นตอนแรกที่องค์การธุรกิจต้องสร้างขึ้น จรรยาบรรณเป็นการออกกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ
หรือข้อกำหนดตามที่กฎหมายกำหนดในแต่ละสาขาอาชีพ
2.จัดตั้งคณะกรรมการจริยธรรม เป็นการแต่งตั้งบุคคลในองค์การหรือผู้มีประสบการณ์ในการบริหารองค์การ ทำ
หน้าที่ในกำกับดูแลผู้ปฏิบัติงานในองค์การให้เป็นผู้มีจริยธรรมในการประกอบวิชาชีพ
3.การฝึกอบรมทางจริยธรรม เป็นวิธีการอบรมเพื่อสร้างให้องค์การธุรกิจ เป็นองค์การที่มีการปฏิบัติงานมีภาพลักษณ์ที่
ดีและส่งเสริมให้พนักงานเป็นผู้มีจริยธรรม
4.การให้รางวัลแก่ผู้ปฏิบัติตามจริยธรรม เป็นการติดตามการปฏิบัติงานของพนักงานที่ได้รับการอบรมให้เป็นผู้ปฏิบัติ
หน้าที่อย่างมีจริยธรรม การให้รางวัลสนับสนุนบุคคลที่เห็นคุณค่าและการวางตัวเป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติงาน
5.การลงโทษแก่ผู้ที่ไม่ปฏิบัติตามจริยธรรม ในการปฏิบัติงานของคนจำนวนมากในองค์การเป็นไปไม่ได้ที่จะมีทุกคน
ปฏิบัติงามตามกฎ ระเบียบข้อบังคับทั้งหมด พนักงานบางส่วนไม่ตระหนักหรือให้ความสนใจที่จะปฏิบัติตนบนพื้นฐานการมี
จริยธรรมในการปฏิบัติงาน นึกถึงแต่ความสะดวกสบายของตนเป็นใหญ่ จนละเมิดหรือก้าวก่ายการปฏิบัติงานของผู้ที่มีความรับผิด
ชอบ
จริยธรรมทางธุรกิจ (Business Ethics)
องค์ประกอบของจริยธรรม
จริยธรรมนั้น เป็นเครื่องกำหนดหลักปฏิบัติในการดำรงชีวิตเป็นแนวทางในการอยู่ร่วมกันอย่าง
สงบเรียบร้อย ทุกองค์กรต้องมีข้อปฏิบัติร่วมกันจึงสามารถอยู่ร่วมกันเป็นหมู่คณะได้ มีดังนี้
1. ระเบียบวินัย (Discipline)
2. สังคม (Society)
3. อิสระ เสรี (Autonomy)
คณะกรรมการโครงการการศึกษาจริยธรรม ได้กำหนดจริยธรรมที่ควรปลูกฝังแก่คนไทยไว้ 8
ประการ ดังนี้
3.1 การใฝ่ สัจจะ 3.5 ไม่ประมาท
3.2 การใช้ปัญญาในการแก้ไขปัญหา 3.6 ซื่อสัตย์สุจริต
3.3 เมตตากรุณา 3.7 ขยัน-หมั่นเพียร
3.4 สติ-สัมปชัญญะ 3.8 หิริ-โอตตัปปะ
จริยธรรมทางธุรกิจ (Business Ethics)
ประโยชน์ของจริยธรรม สามารถแบ่งประโยชน์ของจริยธรรมที่มีต่อสังคมเป็น 7 ด้าน ดังนี้

1. เป็ นประโยชน์ต่อตัวผู้ปฏิบัติเอง
2. เป็ นประโยชน์แก่สังคมส่วนรวม
3. เป็ นการรักษาจริยธรรม
4. จริยธรรมช่วยควบคุมมาตรฐาน
5. พัฒนาบ้านเมืองและประเทศชาติ
6. จริยธรรมทำหน้าที่พิทักษ์สิทธิ์ตามกฎหมาย
7. จริยธรรมช่วยเน้นให้เห็นภาพพจน์ที่ดี
ของผู้มีจริยธรรม
จริยธรรมทางธุรกิจ (Business Ethics)
หลักเกณฑ์จริยธรรมที่นักธุรกิจพึงปฏิบัติในการดำเนินธุรกิจ มีดังนี้
 ความรับผิดชอบของพนักงานต่อนักธุรกิจ
 ความรับผิดชอบของนักธุรกิจต่อสังคม
 ความรับผิดชอบของนักธุรกิจต่อลูกค้า
 ความรับผิดชอบของนักธุรกิจต่อหน่วยราชการ
 ความรับผิดชอบของนักธุรกิจต่อคู่แข่ง
 นักธุรกิจต่อพนักงาน ลูกจ้าง
จริยธรรมทางธุรกิจ (Business Ethics)
การดำเนินธุรกิจอย่างมีจริยธรรม การดำเนินธุรกิจที่ละเมิดต่อจริยธรรม
1. ไม่เบียดเบียนลูกค้า 1. ไม่ทำตามสัญญาหรือข้อตกลงที่ได้เจรจาไปแล้ว
2. ไม่เบียดเบียนผู้จัดส่งวัตถุดิบ 2. กดราคาผู้ผลิตวัตถุดิบ
3. ไม่เบียดเบียนพนักงาน 3.ไม่ได้ตอบแทนลูกจ้างในสัดส่วนที่เหมาะสม
4. ไม่เบียดเบียนผู้ถือหุ้น 4. ให้รายงานคลาดเคลื่อนไปจากความเป็นจริง
5. ไม่เบียดเบียนผู้ร่ วมงาน 5.กดขี่ไม่ให้สิทธิขั้นพื้นฐานแก่ผู้ร่ วมงาน
6. ไม่เบียดเบียนผู้ให้กู้ยืม 6.ระบุข้อเด่นของงาน โครงการที่ผิดจากความเป็นจริง
7. ไม่เบียดเบียนคู่แข่ง 7. กำหนดราคาสินค้าไม่เป็นธรรม
8. ไม่เบียดเบียนราชการ 8. การหลีกเลี่ยงภาษี ติดสินบน
9. ไม่เบียดเบียนสังคม 9. ผลิตสินค้าหรือบริการที่มีคุณภาพต่ำ
10. ไม่เบียดเบียนสิ่งแวดล้อม 10. ผลิตสินค้าที่สร้างมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม
จริยธรรมทางธุรกิจ (Business Ethics)
แรงกดดันทางสังคมที่ผู้บริหารทุกองค์กร แนวทางในการเสริมสร้างปลูกฝังจริยธรรม
ต้องตัดสินใจตัดสินภายใต้จริยธรรมทางธุรกิจ ทางธุรกิจ
1.วิธีการกระจ่างค่านิยม
1.ประเด็นว่าด้วยนิเวศวิทยาและสิ่งแวดล้อม
(Value Clarification หรือ VC)
2. ปัจจัยที่เป็นผลในการทำงาน
2. วิธีการให้เหตุผลทางจริยธรรม
3. การปรับปรุงเพิ่มผลผลิต (Moral Reasoning หรือ M R)
4. แรงกดดัน ความต้องการ และความจำเป็นของโลก 3. วิธีการปรับพฤติกรรม
5. ความสมดุลระหว่างจริยธรรมและเศรษฐกิจ (Behavior Modification หรือ BM)
6. กำหนดหุ้นส่วนทางสังคม 4. วิธีการเรียนรู้ทางสังคม
(Social Learning หรือ SL)

You might also like