You are on page 1of 4

บทที่ 1 จรรยาบรรณและศลี ธรรมของนายหน้าประก ันวินาศภ ัย

(จำนวนข้อสอบ 10 ข้อ)
---------
จรรยาบรรณ คือ หลักความประพฤติอน ั เหมาะสมทีแ ่ สดงถึงคุณธรรมในการประกอบวิชาชพ ี
ทีก
่ ลุม
่ บุคคลแต่ละสาขาวิชาชพี ประมวลขึน ้ ไว ้เป็ นหลักยึดถือปฏิบต ั เิ พือ ื่ เสย
่ รักษาชอ ี ง
และสง่ เสริมวิชาชพ ี ของผู ้ประกอบวิชาชพ ี นัน

คุณล ักษณะของนายหน้าประก ันวินาศภ ัยทีด


่ ี

1. เคารพและปฏิบต
ั ต
ิ ามกฎหมายอย่างเคร่งครัด

ิ ธิประโยชน์ของผู ้อืน
2. เคารพสท ่

3. มีความรับผิดชอบต่อผู ้เอาประกันภัย

ื่ สต
4. มีความซอ ั ย์สจ
ุ ริต

5. รักษาคำมัน ั ญา
่ สญ

ี ธรรม และคุณธรรมประจำใจ
6. มีศล

7. ไม่โอ ้อวดหรือโฆษณาเกินความจริง

8. ไม่ใสร่ ้ายป้ ายสค


ี แ
ู่ ข่งขัน

ี นายหน้าประก ันวินาศภ ัย
ประโยชน์ของจรรยาบรรณวิชาชพ

่ คงให ้แก่ธรุ กิจประกันภัยและสงั คม


1. สร ้างความมัน

ื่ ถือด ้วยบริการทีม
2. สร ้างความเชอ ่ ค
ี ณ
ุ ภาพ


3. สร ้างความภูมใิ จในวิชาชพ
ผลกระทบของการกระทำผิดจรรยาบรรณต่อธุรกิจประก ันวินาศภ ัย

ื่ มเสย
1. เสอ ี ชอ
ื่ เสย
ี งบริษัท และทำลายภาพลักษณ์ของธุรกิจประกันภัย

ื่ ถือศรัทธาในตัวนายหน ้าประกันวินาศภัย
2. ลูกค ้าขาดความเชอ

3. ธุรกิจหากการพัฒนาและเติบโตอย่างต่อเนือ
่ ง

4. สงั คม ชุมชน ประเทศชาติ ได ้รับผลกระทบจากความเสย


ี หายทีเ่ กิดขึน

ี ธรรมของนายหน้าประก ันวินาศภ ัยมีทงหมด


จรรยาบรรณและศล ั้ 6 ข้อ

ื่ สต
ข้อที่ 1 : ประกอบธุรกิจด ้วยความซอ ั ย์ สุจริต และไม่สนับสนุนการกระทำอันเป็ นความผิดตามกฎหมาย
ี ธรรมและผิดจรรยาบรรณใดๆ
ผิดศล

่ ให ้ฝ่ ายหนึง่ ฝ่ ายใดได ้ประโยชน์ในสงิ่ ทีไ่ ม่ควรได ้


❖ ไม่หลอกลวงเพือ

ี้ จงเงือ
❖ ต ้องชแ ่ นไขความคุ ้มครอง ข ้อยกเว ้นของกรมธรรม์ประกันภัย ให ้ผู ้เอาประกันภัยทราบโดยไม่
ปกปิ ด

่ เป็ นข ้อมูลให ้ผู ้เอาประกันภัยทำประกันวินาศภัยอย่างตรงความต ้องการ อันจะนำมาซงึ่ ภาพพจน์ท ี่


❖ เพือ
ดีของธุรกิจ

ข้อที่ 2 : ปฏิบต
ั ต ่ ลูกค ้าอย่างเป็ นธรรม และยึดถือประโยชน์ของลูกค ้าเป็ นสำคัญ
ิ อ

❖ ให ้คำปรึกษา แนะนำ และจัดการดูแลเกีย ่ วกับการประกันภัยให ้กับผู ้เอาประกันภัยรวมทัง้ การให ้บริการ


แก่ผู ้เอาประกันภัยอย่างสม่ำเสมอทัง้ ก่อนและหลังการขาย


เชน

ี้ จงให ้ผู ้เอาประกันภัยทราบถึงสท


● ต ้องแนะนำชแ ิ ธิและหน ้าทีข
่ องผู ้เอาประกันภัยทีต
่ ้องกระทำ

● ผู ้เอาประกันภัยมีหน ้าทีท ี่ ะต ้องชำระเบีย


่ จ ้ ประกันภัยตามทีก
่ ำหนดในกรมธรรม์ประกันภัย

ิ ทีป
● ต ้องดูแลรักษาทรัพย์สน ั ของวิญญูชนจะพึงปฏิบต
่ ระกันวินาศภัยไว ้อย่างปกติตามวิสย ั ิ

● เมือ
่ เกิดวินาศภัยขึน ั ชา้
้ จะต ้องแจ ้งให ้บริษัททราบโดยไม่ชก
ข้อที่ 3 : ปฏิบต ี และพัฒนาความรู ้ความสามารถ ให ้รองรับต่อการเปลีย
ั งิ านตามมาตรฐานวิชาชพ ่ นแปลงของ
ธุรกิจโดยตลอด

❖ ปฏิบต
ั ต
ิ ามกฎหมาย กฎระเบียบทีก
่ ำกับ และปฏิบต
ั ต
ิ ามจรรยาบรรณ

❖ พัฒนาตัวเองให ้มีความรู ้ความสามารถอย่างต่อเนือ


่ ง เพือ
่ ให ้ทันต่อสภาวะธุรกิจทีเ่ ปลีย
่ นแปลงอยู่
ตลอดเวลา (ผลิตภัณฑ์ประกันวินาศภัยได ้พัฒนา และเปลีย ่ นแปลงจากอดีตค่อนข ้างมาก ผลิตภัณฑ์
ประกันวินาศภัยบางประเภทมีความสลับซบ ั ซอน
้ บางประเภทได ้ปรับปรุงเปลีย ่ นแปลงเพือ ่ ให ้
เหมาะสมกับภัยต่างๆทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป)

❖ ต ้องพัฒนาให ้มีความรู ้ด ้านผลิตภัณฑ์ประกันวินาศภัยทีห่ ลากหลายสามารถทีจ ่ ะอธิบายให ้ลูกค ้า (ผู ้


เอาประกัน) ได ้เห็นความแตกต่างของสน ิ ค ้า (ผลิตภัณฑ์) ทัง้ ในด ้านความคุ ้มครอง เงือ
่ นไข
ข ้อกำหนดในกรมธรรม์ประกันวินาศภัย เสนอแนะว่ากรมธรรม์ประเภทไหนเหมาะสมกับลูกค ้าทัง้ ด ้าน
ราคา (เบีย
้ ประกันภัย) และความคุ ้มครอง

❖ การพัฒนาความรู ้ ความสามารถของนายหน ้าฯ เพือ ่ ทีจ


่ ะรองรับต่อการเปลีย่ นแปลงของธุรกิจอย่างต่อ
่ งและสม่ำเสมอ สง่ ผลให ้นายหน ้าฯ มีรายได ้จากการประกอบอาชพ
เนือ ี ดังกล่าวเพิม ้ รวมทัง้ จะสง่
่ ขึน
ผลให ้ธุรกิจประกันวินาศภัยขยายตัวตามไปด ้วย

❖ นายหน ้าฯ สามารถหาความรู ้เพิม ่ เติมในด ้านอืน


่ ๆ โดยไม่ถอ ่ ศก
ื ว่าผิดจรรยาบรรณ เชน ึ ษาหาความรู ้
เกีย ่ วกับทักษะการพูด การนำเสนอ หรือในเรือ ่ งทีเ่ กีย
่ วข ้องกับภาวะเศรษฐกิจ ตลาดเงิน ตลาดทุน
เป็ นต ้น การพัฒนาความรู ้ความสามารถจะทำให ้นายหน ้าประกันวินาศภัยก ้าวทันต่อการเปลีย ่ นแปลง
ซงึ่ เกิดขึน
้ ค่อนข ้างเร็วมากในยุคปั จจุบน

ข้อที่ 4 : รักษาความลับของลูกค ้าทีต ่ นได ้ล่วงรู ้มาจากการดำเนินธุรกิจอย่างดี และไม่เปิ ดเผยแก่บค


ุ คล
ภายนอกอืน ่ ใด ยกเว ้นเป็ นการเปิ ดเผยตามหน ้าที่ หรือตามกฎหมาย

❖ ต ้องรักษาความลับอันไม่ควรเปิ ดเผยของผู ้เอาประกันภัยและของบริษัทประกันภัย

❖ การเปิ ดเผยข ้อมูลทีเ่ ป็ นความลับของผู ้เอาประกันภัยและของบริษัทประกันภัยต่อบุคคลภายนอก


เชน

● นายหน ้าประกันวินาศภัยทราบว่าผู ้เอาประกันภัยประสบปั ญหาทางด ้านการเงิน ไม่สามารถ


ดำเนินธุรกิจต่อไปได ้ รวมทัง้ ไม่สามารถชำระเบีย ้ ประกันภัยเพือ
่ ต่ออายุกรมธรรม์ภย
ั ได ้ตรงตาม
กำหนดทีน ่ ัดหมาย จึงเปิ ดเผยเรือ่ งนีใ้ ห ้บุคคลอืน
่ ฟั ง อาจทำให ้เกิดความเสยี หายหรือเสย ี
ประโยชน์ตอ ่ ผู ้เอาประกันภัย

● นายหน ้าประกันวินาศภัยได ้ทราบข่าวจากแหล่งข่าวทีเ่ ชอ ื่ ถือได ้ว่าบริษัทประกันวินาศภัยทีส


่ ง่
งานอยู่ มีฐานะทางการเงินไม่คอ่ ยจะมัน
่ คง จึงนำเรือ
่ งดังกล่าวไปแจ ้งเพือ ่ นซงึ่ กำลังจะ
ิ ใจทำประกันวินาศภัยกับบริษัทนีอ
ตัดสน ้ าจจะทำให ้เกิดความเสย ี หายต่อบริษัทประกันภัย
ข้อที่ 5 : ประกอบธุรกิจโดยมีระบบการดำเนินงานทีเ่ ป็ นมาตรฐาน มีการควบคุมทีด
่ ี มีความโปร่งใสเพียงพอที่
จะสร ้างความเชอื่ มัน
่ ให ้กับประชาชนได ้

ี้ อ
❖ นายหน ้าประกันวินาศภัยเป็ นผู ้ชช ่ งหรือจัดการให ้บุคคลทำสญ ั ญาประกันภัยกับบริษัทประกันภัย
ดังนัน
้ จึงเปรียบเสมือนว่านายหน ้าฯเป็ นผู ้ทีต
่ ้องจัดให ้บุคคลสามารถทำประกันภัยเหมาะสมทัง้ ใน
ด ้านความคุ ้มครอง และราคา (เบีย ้ ประกันภัย) ทีเ่ หมาะสม

❖ ต ้องประกอบธุรกิจโดยมีระบบการดำเนินงานทีเ่ ป็ นมาตรฐาน มีการควบคุมทีด ่ ี ให ้เป็ นไปตามกรอบ


กติกา กฎหมายทีก ่ ำกับอยู่ สามารถตรวจสอบการดำเนินงานได ้เพือ่ สร ้างความเชอ ื่ มัน่ ให ้กับประชาชน

ข้อที่ 6 : ไม่ใชถ้ ้อยคำหรือการแสดงออกในการโฆษณา ประชาสม


ั พันธ์กจิ การทีเ่ กินจริงหรือก่อให ้เกิด
ความเข ้าใจผิด

❖ นายหน ้าประกันวินาศภัย ต ้องมีความรู ้ ความเข ้าใจผลิตภัณฑ์ประกันวินาศภัยของแต่ละบริษัททีต่ นเอง


่ ึ
ต ้องการสงงานอย่างถ่องแท ้ โดยศกษาจากกรมธรรม์ประกันภัยของบริษัทต่างๆทัง้ ในแง่เงือ ่ นไขความ
คุ ้มครอง อัตราเบีย
้ ประกันภัย เพือ
่ ทีจ่ ะสามารถแนะนำผู ้เอาประกันภัยได ้อย่างเหมาะสม

❖ ไม่ใชถ้ ้อยคำทีแ
่ สดงออกไม่วา่ จะเป็ นการนำเสนอขายต่อพวกประกันภัยหรือประชาชนทัว่ ไปทีเ่ ป็ นการ
สร ้างความเข ้าใจผิด ซงึ่ จะสง่ ผลต่อภาพพจน์ของธุรกิจ

ี ก ับจรรยาบรรณ
วิชาชพ

1. จรรยาบรรณต่อลูกค้า

● มีความใสใ่ จให ้บริการและรับผิดชอบต่อลูกค ้าด ้วยความยุตธิ รรมถูกต ้อง

2. จรรยาบรรณต่อคูแ
่ ข่งข ัน

● ประกอบธุรกิจโดยมีการแข่งขันทีถ
่ ก
ู ต ้อง

ู่ ข่ง หรือใชวิ้ ธก
● ไม่ให ้ร ้ายโจมตีคแ ี ารทีไ่ ม่เหมาะสมเพือ
่ แย่งงาน


3. จรรยาบรรณต่อสงคม ชุมชน ประเทศชาติ

● ตระหนักถึงความสำคัญและบทบาทของการประกันภัย โดยพัฒนาธุรกิจให ้เกิดความมัน


่ คงและ
ความน่าเชอื่ ถือ

● ให ้บริการชว่ ยเหลือผู ้ทีไ่ ด ้รับความเดือดร ้อนในทันท่วงที

● ชว่ ยงานทีเ่ ป็ นประโยชน์ตอ


่ สงั คม ชุมชน และประเทศชาติโดยสว่ นรวม

You might also like