You are on page 1of 13

บทที่ 4 โครงสราง (Structures)

4.1 บทนํา
4.2 Plane Trusses (โครงถักระนาบ)
4.3 Method of Joint
4.4 Method of Section
4.5 Frames and Machines
4.6 สรุป

1
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเชียงใหม

4.1 บทนํา
• บทนี้กลาวถึง การสมดุลของระบบแรงที่กระทํากับแตละชิ้นสวนของโครงสราง
• โครงสราง ประกอบดวยชิ้นสวนหลายๆชิ้นทีป่ ระกอบกันขึ้น เพื่อใชในการรับ
แรง แบงออกไดเปน Trusses, Frames และ Machines
ก. Trusses หรือโครงถัก
Truss จะมีชิ้นสวนทุกๆชิ้นเปน
Two-Force member

ข. Frames หรือโครงกรอบ และ Machines หรือเครื่องจักรกล


Frame และ Machine จะมี
ชิ้นสวนอยางนอย 1 ชิ้น ไมใช
Two-Force member
2
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเชียงใหม

1
4.2 Plane Trusses หรือโครงถักระนาบ
• Plane Trusses คือ โครงถัก
ที่มีชิ้นสวนที่สามารถเขียน
ใหอยูในระนาบเดียวกันได
ดังแสดงในรูป
• ตัวอยางเชน โครงสราง
สะพาน และหลังคา เปนตน
• แตละชิ้นสวนจะประกอบ
เขาดวยกันโดยใชการเชื่อม,
หมุดย้ํา, สลัก, หรือน็อต

• ลักษณะพื้นฐานของ Plane trusses คือการตอกันแบบ สามเหลี่ยม


- ชิ้นสวนจํานวน 3 ชิ้น ยึดเขาดวยกัน
ที่จุดปลายโดยใชสลัก หมุดย้ํา หรือการเชื่อม
-โครงสามเหลี่ยม จะเปนโครงสรางที่เกร็ง
(Rigid frame)
• โครงหลายเหลีย่ ม (เกิน 3 เหลี่ยม) จะเปนโครงที่ไมเกร็ง (Non rigid frame)
- คําถาม ทําอยางไรใหโครงสรางนี้เปน
โครงสรางที่เกร็ง?

• การใสชิ้นสวนเกินกวาการตอกันแบบสามเหลี่ยม จะทําใหโจทยเปนโจทยแบบ
Statically indeterminate - บางครั้งการเพิ่มชิ้นสวนจะกระทําเพื่อปองกัน
การยุบตัวของโครงสรางเทานั้น
- โจทยประเภทนี้จะไมสามารถหาคําตอบโดย
4
การสมดุลได

2
โครงถักอยางงาย (Simple Trusses)
คํานิยาม 1. ชิ้นสวนทุกชิ้น เปน Two-Force Member
2. การตอกันของแตละชิ้นสวนจะเปนแบบ สามเหลี่ยม
• Two-force member
วัตถุที่อยูภายใตการสมดุลของแรงสองแรง
แรงทั้งสองมีขนาดเทากัน อยูในแนวเดียวกัน
และมีทิศตรงกัน

• ชิ้นสวนของโครงสรางอยางงาย • ปกติจะเปนชิ้นสวนที่มีแนวตรง
• แรงที่กระทําจะเปนแรงดึง (Tension) หรือ
แรงกด (Compression)
• แรงที่กระทํากับชิ้นสวนใดๆ จะมีคาสม่ําเสมอ
ตลอดภาคตัดของชิ้นสวนนั้น
• ปกติจะไมคิดแรงจากน้ําหนักของโครงสราง

• การตอกันของชิ้นสวนของโครงสราง อาจใช หมุด


ย้ํา, สลัก, หรือ การเชื่อม (เรียกรวมๆ วา ขอตอ หรือ
Joint) โดยแรงที่ กระทําจากแตละชิ้นสวน (ใน
แนวแกน) จะผานจุดเดียวกัน

• แรงจากภายนอก และแรงที่จุดรองรับทั้งหมด ก็
จะถือวาผาน Joint เหมือนกัน

แรงภายนอก L กระทําผาน Joint B และแรง


ที่จุดรองรับ A และ D จะกระทําผาน Joint A
และ D เชนกัน
6
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเชียงใหม

3
4.3 วิธีวิเคราะหขอตอ - Method of Joint
• เปนวิธีการหาแรงภายในชิ้นสวนของโครงสราง Simple truss โดยใชเงื่อนไขการ
สมดุลที่แนวแรงวิ่งผาน Joint เดียวกัน (Concurrent force)
• เราจะพิจารณา FBD ของแตละ Joint ที่มีแรงที่ทราบคาอยางนอย 1 แรง และมีแรงที่
ไมทราบคาไมเกิน 2 แรง สมการที่ใชในการวิเคราะหคือ
∑F
x =0

∑F
y =0

• พิจารณาโครงสรางดังรูป เราจะเริ่มจากการหาแรงที่จุดรองรับกอน

• จากนั้น เลือกพิจารณาที่ Joint ใดกอนก็ได โดย Joint นั้นจะตองมีแรงที่ทราบคาอยาง


นอย 1 แรง และมีแรงที่ไมทราบคาไมเกิน 2 แรง
• เชน ถาเลือก Joint A เราทราบคา R1 และไมทราบ AB และ AF

รูปแสดงแรงกริยา และแรงปฏิกริยาที่ Joint รูปแสดง FBD ของ Joint A ซึ่งจะหา AB


A และแรงภายในชิ้นสวนที่ตอกับ Joint A และ AF โดยใช ∑Fx = 0
∑F = 0
y

8
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเชียงใหม

4
1. ที่ Joint A จะหา AB และ AF ได 2. ที่ Joint F จะหา BF และ EF ได

4. ที่ Joint C จะหา CE และ CD ได


3. ที่ Joint B จะหา BE และ BC ได

5. ที่ Joint D จะหา DE ได

• ในการกําหนดทิศทางของแรงที่กระทํา
กับ Joint ถาเปนแรงกดเราจะใหมีทิศ
ทางเขาสู Joint และถาเปนแรงดึงเราจะ
ใหมีทิศทางออกจาก Joint
• ถาไมทราบทิศทางใหสมมุติไปกอน ถา
ผลลัพธไดคาเปนลบแสดงวาทิศทางที่
สมมุตินั้นจะกลับดานกับที่สมมุติ

• โครงสรางแบบ Simple Truss ที่มีตัวแปรที่จุดรองรับภายนอกเกินเงื่อนไขของการ


สมดุล จะเปนแบบ Statically indeterminate Æ เราเรียกจุดรองรับที่เกินวา External
redundancy
• โครงสรางแบบ Simple Truss ที่มีชิ้นสวนพื้นฐานเกินกวาการตอกันแบบสามเหลี่ยม
จะทําใหโจทยเปนโจทยแบบ Statically indeterminate Æ เราเรียกชิ้นสวนที่เกินวา
Internal redundancy 10

5
การตรวจสอบโครงสรางที่เปนแบบ Statically Determinate
พิจารณารูปโครงสราง Simple trusses ทั้งสาม
รูป A รูป B รูป C

รายการ รูป A รูป B รูป C ทั่วไป


Number of joint (j) 3 4 5 j
Number of member (m) 3 5 7 m แตละ Joint จะมีสมการ
สมดุล 2 สมการ ดังนั้น
Number of independent equation (E) 6 8 10 2j=m+3 E=2j
สรุป ความเปนสัมพันธของ Simple trusses ที่เปนแบบ Statically determinate: E = 2j = m + 3
ดังนั้นถา 2 j = m + 3 Æโครงสรางนั้นมีความแข็งแรง และสามารถหาคําตอบโดยการสมดุลได
2 j > m + 3 Æ โครงสรางนั้นไมแข็งแรง และอาจยุบตัวภายใตการกระทําของแรงได
2 j < m + 3 Æ โครงสรางนั้นมีชิ้นสวนมากเกินความจําเปน ไมสามารถหาคําตอบโดย
11
การสมดุลได

เงื่อนไขพิเศษของ Simple Trusses


ก. เงื่อนไขที่ 1: Two collinear member จากรูปจะเห็นวาที่ Joint มีแรงภายในกระทําทั้งหมดสาม
แรง และไมมีแรงจากภายนอกมากระทํา โดยมีแรงสอง
แรงอยูในแนวเดียวกัน แตมีทิศทางตรงกันขาม คือ F1 , F2
สวน F3 ไมไดอยูในแนวเดียวกัน เราสามารถพิสูจนไดวา
F3 = 0
การสมดุลในแนวแกน y จะได
[∑ Fy = 0 ] F3 cos θ = 0
F3 = 0
ข. เงื่อนไขที่ 2: Two noncollinear member
จากรูปจะเห็นวา F1 และ F2 ไมอยูในแนวเดียวกัน และไมมี
แรงจากภายนอกมากระทําที่ Joint เราสามารถพิสูจนไดวา
F1 และ F2 เทากับ 0
[∑ Fx = 0] F1 = 0
[∑ Fx'
=0 ] F2 = 0

12
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเชียงใหม

6
กรณีที่ 3: Two pairs of collinear members
จากรูปจะเห็นไดวามีแรง 4 แรงมากระทํากับ Joint โดย
มี 2 คูท ี่อยูในแนวเดียวกันแตมีทิศทางตรงกันขาม เรา
สามารถพิสูจนไดวา แรงที่อยูตรงกันขามจะมีขนาด
เทากัน
[∑ F x =0 ] F1 = F 2

[∑ F x'
= 0] F3 = F 4

กรณีที่ 4: Cross-braced truss panels • จากรูปถาชิ้นสวน AB และ DC สามารถรับแรงดึงหรือแรง


กดไดจะทําใหโครงสรางเปนแบบ Statically indeterminate
• แตถาชิ้นสวน AB และ DC เปนเชือกหรือเคเบิล ซึ่งมีความ
ยืดหยุน จะทําใหเฉพาะชิ้นสวนที่รับแรงดึงเทานัน้ ที่ถูก
พิจารณา
• ถาไมทราบวาชิ้นสวนไหนรับแรงดึงใหสมมุติกอน ถาผล
การคํานวณเปน + แสดงวาการสมมุติถูกตอง ถาผลการ
AB และ DC เปนแบบ Cross-braced panels
คํานวณเปน – แสดงวาอีกชิ้นสวนหนึ่งจะรับแรงดึงแทน
13
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเชียงใหม

ตัวอยาง 4.1
Compute the force in each member
of the loaded cantilever truss by the
method of joints.

14
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเชียงใหม

7
4.4 วิธีวิเคราะหภาคตัด - Method of Section
• ในหัวขอกอนเปนการแรงที่กระทํากับชิ้นสวนของ Plane truss โดยวิธี Method of
Joint ซึ่งจะใชสมการสมดุลของแรงเพียงสองสมการ
• การหาแรงที่กระทํากับชิ้นสวนของ Plane truss มีอีกวิธีหนึง่ คือ Method of Section
โดยจะทําแนวตัดระนาบของ Truss กอน แลวเขียน FBD และพิจารณาการสมดุลเพื่อ
หาแรงในแตละชิ้นสวนโดยตรง
• การเลือกแนวตัดจะตองผานชิ้นสวนที่ยังไมทราบคาแรงจํานวนไมเกิน 3 ชิ้นสวน
ทั้งนี้เพราะจํานวนสมการสมดุลมี 3 สมการคือ ∑ M = 0, ∑ F = 0, ∑ F = 0
x y

• พิจารณาการสมดุลของโครงสราง และมีแรงที่จุดรองรับ ดังรูป

15

• สมมุติวาเราตองการหาแรงในชิ้นสวน BE
• เริ่มจากการทําแนวตัดตามเสนประ
ที่ผานชิ้นสวน BE
• จํานวนชิน้ สวนที่แนวเสนประผานจะมี
จํานวน 3 ชิ้นสวน

• เขียน FBD ของสวนที่ถูกตัด


• แรงในชิ้นสวนที่ถูกตัดจะอยูในแนวแกน
ของชิ้นสวนนั้น
• ถาไมทราบทิศทางในสมมุติกอน
• แตละสวนที่ถูกตัดยังอยูในสภาวะสมดุล
16

8
• ถาพิจารณาการสมดุลของสวนทางซายมือ
• แรงที่ไมทราบคาจํานวน 3 แรงคือ
EF, BE และ BC
• แรงที่ทราบคาคือ R1 และ L
• เรามีสมการสมดุล 3 สมการ
• ทําอยางไรเพื่อหาแรงทั้งสาม ?

• ถาพิจารณาการสมดุลของสวนทางขวามือ
• แรงที่ไมทราบคาจํานวน 3 แรงคือ
EF, BE และ BC
• แรงที่ทราบคาคือ R2
• เรามีสมการสมดุล 3 สมการ
• ทําอยางไรเพื่อหาแรงทั้งสาม ? 17

ขอสังเกตเกี่ยวกับ Method of Section


• แนวตัดจะผานชิ้นสวนของโครงสราง จะไมผาน Joint
• บางครัง้ เราตองการหาแรงในชิ้นสวน ที่เมื่อทําภาคตัดแลว พบวาแนวตัดตัดผาน
ชิ้นสวนที่ไมทราบคาแรงจํานวน 4 ชิ้นสวน ดังนั้นอาจจะตองทําการตัด 2 ครั้ง
โดยครั้งแรกใหตัดผานแนวขางเคียงที่ผาน 3 ชิ้นสวนกอน จากนั้นจึงทําการตัด
แนวที่ตองการอีกครั้งหนึ่ง (ดูตัวอยาง)
• การเขียน FBD ยังคงเปนสวนที่สําคัญที่สุด
• การรูจ ักใชสมการโมเมนตโดยหาจุดหมุนที่เหมาะสม จะทําใหการแกปญหา
งายขึ้น
• ถาสมมุติทิศทางของแรงแลวไดคําตอบคาแรงเปนลบ แสดงวาทิศทางที่ถูกตอง
ของแรงจะกลับดาน เชน สมมุติเปนแรงกดแตไดคําตอบคาแรงเปนลบ แรงที่
กระทํากับชิ้นสวนนั้นจริงๆ จะเปนการดึง เปนตน
18

9
ตัวอยาง 4.2
Calculate the forces included in
members KL, CL, and CB by the
200-kN load on the cantilever truss.

19
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเชียงใหม

ตัวอยาง 4.3
Calculate the forces included in
member DJ of the Howe root truss
illustrated. Neglect any horizontal
components of force at the
supports.

20
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเชียงใหม

10
4.5 Frames and Machhines
• Frames และ Machines คือโครงสรางที่มีชิ้นสวนอยางนอย 1 ชิ้น เปนชิ้นสวนที่รับ
แรงหลายแรง (Multi-force member)
• Multi-force member คือ ชิ้นสวนที่รับแรง 3 แรงหรือมากกวา
• Frames เปนโครงสรางที่ออกแบบใหรับแรงซึ่ง ปกติจะโครงสรางที่อยูนิ่ง
• Machines เปนโครงสรางที่มีชิ้นสวนบางอันเคลื่อนที่ได ดังนั้น Machines จึงมักจะ
เปนอุปกรณที่ใชสําหรับถายแรงหรือคูควบ
• การวิเคราะห Frames และ Machines จะไมสามารถใชวิธเี ดียวกับ Simple Truss ได
ทั้งนี้เพราะชิน้ สวนที่รับแรงมากกวา 3 แรงขึ้นไปจะไมใช Two-force member
• การวิเคราะห Frames และ Machines ก็เพื่อหาแรงภายในที่กระทํากับแตละชิ้นสวน
ซึ่งจะหาไดจากการพิจารณา FBD และการสมดุลของชิ้นสวนนั้นๆ ดังนั้นการ
พิจารณาแรงกริยาและปฏิกิริยาที่ถูกตองจึงเปนสิ่งสําคัญมาก
• บทนี้เราจะพิจารณาเฉพาะโครงสราง Frames และ Machines ใน 2D และเปนโจทย
ปญหาแบบ Statically determinate เทานั้น 21

ประเภทการพิจารณาแรงภายใน
ถาดึงจุดรองรับภายนอกออกไป ใหเหลือเฉพาะ
โครงสราง แลวเปนโครงสรางที่แข็งแรง
1. หาแรงภายนอกที่กระทําที่จุด Support กอน
2. เขียน FBD ของแตละชิ้นสวน แลวพิจารณา
การสมดุลของแตละชิ้นสวน

แตถาดึงจุดรองรับภายนอกออกไป ใหเหลือ
เฉพาะโครงสราง แลวพบวาเปนโครงสรางที่ไม
แข็งแรง ใหพิจารณา FBD และการสมดุลของ
โครงสรางรวมและแตละชิ้นสวน พรอมๆ กัน

22

11
ขอควรระลึก
1. การเขียนแรงที่จุดรองรับภายนอก และจุดตอภายในโครงสราง จะตองมี
ทิศทางสอดคลองกับแกนของพิกัดฉากที่ตั้งขึ้น
2. ปฏิบัติตามกฎพื้นฐานของแรงกริยาและแรงปฏิกริยาอยางเครงครัด (ดูรูป)

3. ถาไมทราบทิศทางใหทําการสมมุติกอน ถาคําตอบสุดทายเปนลบแสดงวา
ทิศทางจริงจะกลับดานกับที่สมมุติ
4. การที่ทราบวาชิน้ สวนไหนเปน Two-force member จะชวยใหการแกโจทย
ปญหา Frames และ Machines ทําไดงายขึ้น
23
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเชียงใหม

ตัวอยาง 4.5
The frame supports the 400-kg load in the
manner shown. Neglect the weights of the
members compared with the forces induced by
the load and compute the horizontal and vertical
components of all forces acting on each of the
members.

24
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเชียงใหม

12
ตัวอยาง 4.6
Neglect the weight of the frame and compute
the forces acting on all of its members.

25
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเชียงใหม

ตัวอยาง 4.7
The machine shown is designed as an
overload protection device which releases the
load when it exceeds a predetermined value
T. A soft metal shear pin S is inserted in a
hole in the lower half and is acted on by the
upper half. The two halves then rotate about
A under the action of the tensions in BD and
CD, as shown in the second sketch, and
rollers E and F release the eye bolt.
Determine the maximum allowable tension T
if the pin S will shear when the total force on
it is 800 N. Also compute the corresponding
force on the hinge pin A. 26
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเชียงใหม

13

You might also like