You are on page 1of 6

1 อ.

สุรสิงห์ นิรชร

การเคลือ่ นทีแ่ บบหมุน


การเคลื่อนที่แบบหมุนเป็ นการเคลื่อนที่รอบจุดหมุนของตัวเอง และอาจเคลื่อนที่ไปข้างหน้าด้วย
จากกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันได้อธิบายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่รูปแบบต่างๆของวัตถุไว้ดงั นี้
1. ถ้าแรงลัพธ์ที่มากระทําต่อวัตถุผา่ นศูนย์กลางของมวลวัตถุ จะทําให้วตั ถุน้ นั ๆ เคลื่อนที่เป็ นเส้นตรง
2. ถ้าแรงลัพธ์ที่มากระทําต่อวัตถุ ไม่ผา่ นศูนย์กลางมวลของวัตถุ จะทําให้วตั ถุเกิดการหมุน หรื อ
บางครั้งอาจเกิดการหมุน และเคลื่อนที่ไปข้างหน้าด้วย ซึ่งเรี ยกว่าการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุน จะเกิดบนวัตถุที่แข็งแกร็ ง (วัตถุที่มีรูปทรงคงที่) โดยที่แรงที่มากระทําไม่ผา่ นจุด
ศูนย์กลางมวล จึงจะทําให้เกิดโมเมนต์ของแรงหรื อทอร์ก (Torque) ซึ่งบางครั้งเรี ยกแรงนี้วา่ แรงบิด
สู ตรความสัมพันธ์


 = Torque = แรงบิด = r  F = mr 2
I = โมเมนต์ความเฉื่ อย = mr 2

 L 
 = I = ( L = โมเมนต์เชิงมุม)
t

กฎการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม  L 
   
ถ้า   0  L  0 นั้นคือ L1  L2
จะได้ I11  I 22
“ถ้า ทอร์กของแรงกระทําต่อวัตถุมีค่าเป็ นศูนย์ วัตถุจะมีอตั ราการเปลี่ยนโมเมนตัมเชิงมุมคงที่”
1 2
พลังงานจลน์ ในการหมุน K .Er  I
2
ในการเคลื่อนที่แบบกลิ้งของวัตถุ เป็ นการเคลื่อนที่ในแนวตรงของศูนย์กลางมสลกับการเคลื่อนที่แบบ
หมุนรอบศูนย์กลางของมวลนั้นๆ จะได้
1 2 1 2
ผลรวมของพลังงานจลน์ = EK  K .Er = mv  I  การ
2 2
เปรี ยบเทียบการเคลื่อนที่แบบเส้นตรงและการเคลื่อนที่แบบกลิ้ง
Linear Motion Angular Motion ความสัมพันธ์
   
 u v  1  2  
v  .R
v   
2 2
     
S  v .t    .t S   .R
       
v  u  a.t 2  1   .t a   .R
  1   1  2
S  u .t  a.t 2   1.t   .t 2 
2 2 T
  1   1 
S  v .t  a.t 2   2 .t   .t 2   2 f
2 2
v 2  u 2  2aS 22  12  2

15.การเคลื่อนที่แบบหมุน.doc
2 อ.สุรสิงห์ นิรชร

      
F  ma Fc  mac  m 2 R   I  mR 2
   
P  mv L  I
1 1
Ek  mv 2 K .Er  I  2
2 2
ตัวอย่ างข้ อสอบแบบหมุน
1. ล้อๆ หนึ่งหมุนอยูก่ บั ที่โดยเริ่ มจากสภาวะหยุดนิ่ง ไปจนมีความเร็ วเชิงมุม 45 rad/s ภาย ในเวลา 9 วินาที
จงหา ความเร่ งเชิงมุม
1. 3 rad/s2 2. 4 rad/s2
3. 5 rad/s2 4. 6 rad/s2
2. เครื่ องเล่นแผ่น CD เครื่ องหนึ่งกําลังหมุนด้วยอัตราเร็ ว 2.5 rad/s และค่อยๆช้าลง และสามารถหยุดได้
ใน 1.5 รอบ จงหาความเร่ งเชิงมุมของการหมุนแผ่น CD นี้
1. -0.42 rad/s2 2. -0.65 rad/s2
3. -0.87 rad/s2 4. -0.93 rad/s2
3. วงล้อขนาด 6 กิโลกรัม อันหนึ่งมีรัศมีการหมุนเป็ น 30 ซม. ถ้าต้องการให้วงล้อนี้ เกิด ความเร่ งเชิงมุมเป็ น
5 rad/s2 จะต้องใช้แรงบิด (Torque) ขนาดเท่าใด
1. 1.25 N.m 2. 2.70 N.m
3. 3.35 N.m 4. 4.20 N.m
4. แผ่นเสี ยงแผ่นหนึ่ง มีรัศมี 60 ซม. ที่ขอบจานเสี ยงมีเสาหลักติดอยูด่ งั รู ป ปลายเสา มีวตั ถุมวล 100 กรัม
ผูกติดกับเสาแบบลูกตุม้ นาฬิกาเมื่อแผ่นเสี ยงหมุน
ด้วยอัตราเร็ ว 0.2 รอบ/วินาที ทําให้วตั ถุ เอียงทํามุม
60cm.  กับแกนดิ่ง จงหามุม 
1. tan-1(0.1) 2. tan-1(0.3)
3. tan-1(0.5) 4. tan-1(0.9)
5. มู่เล่ตวั หนึ่งมีโมเมนต์ของความเฉื่ อยเป็ น 4.2 Kg-m2 จงหาแรงบิด (Torque) ที่จะทําให้ม่เู ล่ ตัวนี้เปลี่ยน
อัตราเร็ วเชิงมุมจาก 3 รอบ/วินาที เป็ น 5 รอบ/วินาที ภายใน 6 รอบ
1. 19.8 N.m 2. 27.3 N.m
3. 35.2 N.m 4. 42.3 N.m
6. แผ่นกลมตันมวล 12 กิโลกรัม กลิ้งไปตามพื้นราบระดับด้วยอัตราเร็ ว 3 เมตร/วินาที จงคํานวณหาพลังงาน
จลน์ท้ งั หมดของแผ่นกลมนี้ (กําหนดให้ I  2 mr 2 )
5
1. 27 j 2. 36 j
3. 54 j 4. 75.6 j

15.การเคลื่อนที่แบบหมุน.doc
3 อ.สุรสิงห์ นิรชร

7. ใบพัดเครื่ องบิน ลําหนึ่งมีมวล 50 Kg. มีรัศมีการหมุน 90 ซม. ในการทําให้ใบพัดมี ความเร่ ง เชิงมุมเป็ น


4 รอบ/(วินาที)2 จะต้องใช้แรงบิด (Torque) มากระทําเท่าใด
1. 1220 N.m 2. 1090 N.m
3. 1018 N.m 4. 990 N.m
8. เฟื อง 3 ตัว ขบกันอยูใ่ นระบบเครื่ องกลอันหนึ่ง โดยมีรัศมี เป็ น 10, 20 และ 40 ซม. ตาม ลําดับ ถ้าเฟื อง
เล็กหมุน ด้วยอัตราเร็ วเชิงมุมเป็ น 2.0 เรเดียน / วินาที เฟื องที่มีขนาดใหญ่ ที่สุดจะมีอตั ราเร็ วเชิงมุมเป็ นกี่
เรเดียน / วินาที
1. 0.5 rad/s 2. 1.0 rad/s
3. 1.5 rad/s 4. 2.0 rad/s
9. วงล้ออันหนึ่งกําลังหมุนด้วยอัตราเร็ ว 10 รอบ / วินาที ถ้าใช้แรงค่าหนึ่งกระทําต่อวงล้อนี้ แล้วทําให้วงล้อ
นี้ สามารถหยุดได้ในเวลา 30 วินาที หลังจากเริ่ มออกแรงกระทํา จงหาว่าวงล้อนี้จะหมุนไปได้ท้ งั หมดกี่
รอบ
1. 300 รอบ 2. 150 รอบ
3. 75 รอบ 4. 37.5 รอบ
10. สว่านไฟฟ้ าตัวหนึ่ง ขณะกําลังทํางาน จะหมุนด้วยอัตราเร็ วเชิงมุม 1200 รอบ/นาที เมื่อปิ ดสวิตซ์ (ดับ
เครื่ อง) สว่าน ไฟฟ้ าจะหมุนช้าลงจนหยุดในที่สุด จากเครื่ องวัดการหมุนพบว่า สว่านไฟฟ้ ายังคงหมุน
ต่อไปอีก 1200 รอบ จึงหยุด จงหาว่าหลังจากปิ ดสวิตซ์แล้วกี่วนิ าทีเครื่ องจึงจะหยุด
1. 180 วินาที 2. 120 วินาที
3. 60 วินาที 4. 30 วินาที
11. แผ่นวงกลมรัศมี 2.0 เมตร กําลังหมุนในแนวระดับโดยที่ขอบของแผ่นมีความเร็ ว 3.0 m/s ชายคนหนึ่ง
ซึ่งยืนอยูท่ ี่ขอบของวงกลมนี้ ขว้างลูกบอลออกไปในแนวระดับด้วยความเร็ว 4.0 เมตรต่อวินาทีในทิศ
ที่ตรงไปยังจุดศูนย์กลางของวงกลม ถ้าขณะที่ขว้างนั้นลูกบอล อยูส่ ูงจากพื้น 1.25 เมตร จงหาว่า
ลูกบอลนี้จะตกลงบนแผ่นวงกลมที่ตาํ แหน่งซึ่งห่างจากจุดศูนย์กลางวงกลมเป็ นระยะกี่เมตร
1. 0 เมตร 2. 0.5 เมตร
3. 1.0 เมตร 4. 1.5 เมตร
12. แผ่นกลมรัศมี 20 เซนติเมตร อยูใ่ นแนวระดับและกําลังหมุนรอบจุดศูนย์กลางด้วยอัตราเร็ ว
0.5 รอบ/วินาที มีมวลรู ปลูกบาศก์เล็ก ๆ วางที่ขอบของแผ่น สัมประสิ ทธิ์ความเสี ยดทานระหว่าง
มวลกับ ผิวของแผ่นจะมีค่าน้อยที่สุดเท่าใด มวลนี้จึงจะไม่เลื่อนไถลไปบนแผ่นกลมนั้น
1. 0.2 2. 0.4
3. 0.6 4. 0.8

15.การเคลื่อนที่แบบหมุน.doc
4 อ.สุรสิงห์ นิรชร

13. แผ่นกลมแบนมวล 30 กิโลกรัม รัศมี 50 เซนติเมตร มีโมเมนต์ความเฉื่อยเท่ากับ 6.5 kg-m2เมื่อปล่อย


ให้กลิ้งลงมาตามพื้นซึ่งเอียงทํามุม 30 เทียบกับแนวระดับ จงหาอัตราเร็ วเชิงมุมของแผ่นกลมขณะ
กลิ้งลงได้ระยะ 2 เมตรตามพื้นเอียง
1 2
1. 10 rad/s 2. 10 rad/s
7 7
3 4
3. 10 rad/s 4. 10 rad/s
7 7
14. วงล้อ 2 วง มีขนาด เส้นผ่าศูนย์กลาง 24 และ 18 ซม. ตามลําดับ วงล้อทั้งสอง มีสายพาน พันรอบดังรู ป
โดยวงล้อเริ่ มจากสภาวะ หยุดนิ่ง โดยล้อ A หมุน อยู่
นาน 30 วินาที จึงได้อตั ราเร็ วเชิงมุมเป็ น 25 rad/s
A B จงหาอัตราเร่ งของ วงล้อ B ณ เวลา นั้น

10 10
1. rad / s2 2. rad / s 2
3 9
100 100
3. rad / s 2 4. rad / s 2
3 9
15. ในการทดลองเพื่อศึกษาการหมุน นักเรี ยนคนหนึ่งขึ้นไปยืนบนแป้ นหมุนซึ่งหมุนรอบแกนแนวดิ่ง โดยมือ
ทั้งสอง ถือขวดนํ้าซึ่งมีน้ าํ เต็ม ขวดนํ้าแต่ละขวด มีมวล 1.5 กิโลกรัม ถ้ากําหนดให้ โมเมนต์ความเฉื่อยของ
นักเรี ยนกับแป้ นรวมกันเป็ น 12.0 Kg.m2 ในขณะที่นกั เรี ยนหมุนอยูบ่ น แป้ นและยืดแขนออกขวดนํ้าจะห่าง
จากแกนหมุน 75 ซม. แป้ นจะหมุนด้วยอัตราเร็ ว 3.0 รอบ/ วินาที ถ้าหดมือเข้ามา ห่างจากแกนหมุน 25 ซม.
แป้ นหมุน จะหมุนด้วยอัตราเร็ วเท่าไร
1. 21.17 rad/s 2. 19.43 rad/s
3. 15.27 rad/s 4. 10.45 rad/s
16. ชายคนหนึ่งยืนอยูบ่ นแท่นหมุนที่หมุนได้ อิสระโดยแกนหมุนอยูใ่ นแนวดิ่งในขณะที่เขายืดแขน ออกไปจน
สุ ดเขาหมุนด้วยอัตราเร็ วเชิงมุม 0.25 รอบ/วินาที แต่ถา้ เขาดึงแขนกลับเข้ามา อัตรา เร็ วเชิงมุมของเขาจะมีค่า
0.75 รอบ/วินาที จงหาอัตราส่ วนโมเมนต์ของความเฉื่ อย ของเขาในกรณี ที่ 1 ต่อกรณี ที่ 2
1. 4 : 3 2. 3 : 2
3. 3 : 1 4. 1 : 3

15.การเคลื่อนที่แบบหมุน.doc
5 อ.สุรสิงห์ นิรชร

17. รอกตัวหนึ่งหลุดจากแท่นยึด กลิ้งไปตามพื้นราบลื่นโดยไม่ไถล ถ้ารอกมีรัศมี 15 ซม. และมีมวล3.0 กิโลกรัม


อัตราเร็ วของจุดศูนย์กลางมวล เป็ น 12 ซม./วินาที ทําให้โมเมนต์ความเฉื่อยของรอกเป็ น 0.05 Kg-m2 จงหา
พลังงานจลน์ของรอกอันเนื่องมาจากการกลิ้งนี้
1. 6.42 x 10-2 j 2. 5.25 x 10-2 j
3. 4.27 x 10-2 j 4. 3.76 x 10-2 j
18. จากรู ป เชือกพันรอบล้อหมุน มวล m = 500 กรัม ห้อยลงมาจากขอบล้อรัศมี 20 ซม. เมื่อปล่อยมวล m kg
จากสภาพหยุดนิ่ง มวลตกลงมา 2.0 เมตร ใน เวลา
r 5.0 วินาที จงหาโมเมนต์ ความเฉื่ อยของล้อ

1. 1.00 Kg.m2
2. 1.15 Kg.m2
3. 1.23 Kg.m2
m
4. 1.45 Kg.m2
19. ลูกโบว์ลิ่ง กลิ้งมาบนผิวระดับด้วยอัตราเร็ ว 5 เมตร/วินาที แล้วกลิ้งขึ้นพื้นเอียง ซึ่งเอียงทํามุม 37 ◌ํ ดังรู ป
2
ถ้าพื้นผิวจากผิวเกลี้ยง จาหาว่า ลูกโบว์ลิ่งจะขึ้นไปสู งเท่าใด จึงจะหยุด (กําหนดให้ I Mr 2 )
5
1. 0.75 เมตร
5 m/s h 2. 1.25 เมตร
370 3. 1.75 เมตร
4. 2.25 เมตร
20. คนกางร่ ม ขอบร่ มสูงจากพื้น 1.5 เมตร ขณะที่หยดนํ้าฝน หยดตามขอบร่ ม คนถือร่ มหมุนด้ามให้ร่มหมุน
ด้วยอัตรา 21 รอบ ในเวลา 44 วินาที โดยร่ มมีรัศมี 0.75 ม. จงหาความเร็ วเชิงมุมของร่ ม
1. 3.0 rad/s
2. 3.5 rad/s
3. 4.2 rad/s
4. 4.7 rad/s
21. จากโจทย์ขอ้ 21. จงหาว่า หยดนํ้าฝนจะไปตกถึงพื้น ณ ตําแหน่งห่ างจาก แกนร่ มตามแนวราบ เท่าใด
1. 1.00 ม. 2. 1.23 ม.
3. 1.78 ม. 4. 1.95 ม.

15.การเคลื่อนที่แบบหมุน.doc
6 อ.สุรสิงห์ นิรชร

22. ล้อ A,B และ C มีขนาดรัศมี 40,10 และ 20 ซม. ตามลําดับโดยรอก A และ B ถูกคล้อง ไว้ดว้ ยสายพาน
และแกนหมุนทั้ง 2 ขนานกัน ส่ วนรอก B และ C
มีแกน หมุนร่ วมกัน ดังรู ป ถ้า รอก A หมุนด้วย
ความเร็ ว 240 รอบต่อนาที จงหาอัตราเร็ ว เชิงมุม
A C ของล้อ C
B 1. 18 rad/s
2. 28 rad/s
3. 32 rad/s
4. 36 rad/s
23. จากโจทย์ขอ้ 22. ถ้าหมุนล้อ C ด้วยอัตราเร็ว 240 รอบต่อนาที ล้อ A จะมีอตั ราเร็ วเร็ วมุมเท่าใด
1. 2 rad/s 2. 16 rad/s
3. 20 rad/s 4. 25 rad/s

              

เฉลย
ข้อ1 = 3 ข้อ2 = 1 ข้อ3 = 2 ข้อ4 = 1 ข้อ5 = 3 ข้อ6 = 4 ข้อ7 = 3
ข้อ8 = 1 ข้อ9 = 2 ข้อ10 = 2 ข้อ11 = 1 ข้อ12 = 1 ข้อ13 = 3 ข้อ14 = 2
ข้อ15 = 1 ข้อ16 = 3 ข้อ17 = 4 ข้อ18 = 3 ข้อ19 = 3 ข้อ20 = 1 ข้อ21 = 4
ข้อ22 = 3 ข้อ23 = 1

              

15.การเคลื่อนที่แบบหมุน.doc

You might also like